Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการคิด

ทักษะการคิด

Published by saiyoknie04, 2021-03-03 07:23:47

Description: ทักษะการคิด

Search

Read the Text Version

การสอนเพ่ือพฒั นาทกั ษะการคิด โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สจุ ิตรา เทียนสวสั ดิ์ S. Tiansawad (5/06/2018) 1

การคิด (THINKING) กระบวนการท่คี นพยายามใช้พลังทางสมอง นาเอา ข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ท่มี ีอย่มู าจัดวาง อย่างเหมาะสม เพ่อื ให้ได้มาซ่งึ ผลลัพธ์ การคดิ เป็ น ๏ ทกั ษะการใช้สมอง ๏ ทกั ษะภายในตน ๏ องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้ S. Tiansawad (5/06/2018) 2

ทกั ษะการคิด S. Tiansawad (5/06/2018) 3

ทกั ษะการคิดพืน้ ฐาน S. Tiansawad (5/06/2018) 4

S. Tiansawad (5/06/2018) 5

มิติของกระบวนการคิด เกรียงศSกั .ดTi์ิaเnจsaรwิญadว(ง5ศ/06ศ์ /2กั 0ด18์ิ,)2546 6

การคิดวิพากษ์และ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ วพิ ากษ์ การพจิ ารณาตัดสินเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงโดย ท้าทายโต้แย้งเหตผุ ลท่นี ามาอ้าง เน่ืองจาก ความสงสัยและไม่เช่อื ว่าข้ออ้างนัน้ จะเป็ นจริง (ใช้เหตผุ ลและการสืบค้น) (เกรียงศกั ด์ิ เจริญวงศ์ศักด์,ิ 2544) S. Tiansawad (5/06/2018) 7

วิจารณ์ ให้คาตดั สินส่งิ ท่กี าลังพจิ ารณา (ใช้ความรู้และความรู้สกึ อารมณ์ของผู้วิจารณ์) (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์,ิ 2544) S. Tiansawad (5/06/2018) 8

วจิ ารณญาณ  ปัญญาท่สี ามารถรู้ หรือให้เหตุผลท่ถี ูกต้อง  เกดิ จากการคิดใคร่ครวญในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง อย่างถ่ีถ้วนจนเกดิ ความรู้ความเข้าใจ (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์,ิ 2544) S. Tiansawad (5/06/2018) 9

การคิดวิพากษ์/การคิดเชิงวิจารณญาณ  การใช้ปัญญาในการพนิ ิจพจิ ารณา ไตร่ตรอง อย่างสุขุม รอบคอบ มเี หตุผล มกี ารประเมนิ สถานการณ์ เช่ือมโยงเหตุการณ์ มีการตคี วาม สรุป ความ โดยอาศัยความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ ในการสารวจข้อมูลหลักฐานอย่างละเอียดถกู ต้อง เพ่อื นาไปสู่ข้อสรุป และข้อตัดสนิ ใจท่สี มเหตสุ มผล การคดิ วิพากษ์ -- กรณีมขี ้อโต้แย้ง S. Tiansawad (5/06/2018) 10

การคิดเชิงวิเคราะห์ ความสามารถในการจาแนกแจกแจงองค์ประกอบ ต่างๆ ของส่งิ ใดส่ิงหน่ึงหรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง และ หาความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบ เหล่านัน้ เพ่อื ค้นหาสาเหตุท่แี ท้จริงของส่งิ ท่ี เกดิ ขนึ้ (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์,ิ 2546) S. Tiansawad (5/06/2018) 11

องคป์ ระกอบของการคิดเชิงวิเคราะห์  ความสามารถในการตคี วาม คือ ทาความเข้าใจ และให้เหตผุ ลแก่ส่งิ ท่ตี ้องการวเิ คราะห์  ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองท่จี ะวเิ คราะห์  ความช่างสังเกต ช่างสงสัยและช่างถาม  ความสามารถในการหาความสัมพันธ์เชงิ เหตผุ ล (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศกั ด์,ิ 2546) 12 S. Tiansawad (5/06/2018)

ขนั้ ตอนของกระบวนการคิด (ทศิ นา แขมณี, 2537) สังเกต สงสัย อยากรู้คาตอบ เสาะแสวงหาคาตอบ พจิ ารณา & สรุปข้อมูล ตัง้ สมมุตฐิ าน ทดสอบคาตอบ คาดคะเนคาตอบ รวบรวมข้อมูล สรุปคาตอบ S. Tiansawad (5/06/2018) 13

ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู ตรวจสอบ จาแนก จดั ประเภทของข้อมลู  แยกแยะระหว่าง “ความเช่ือ” กบั “ความจริง” 14 “ข้อคิดเหน็ ” กบั “ข้อเทจ็ จริง” “คากล่าวอ้าง” กบั “หลกั ฐาน”  ตวั อย่าง “คนที่ทางานมานานจะเก่งกว่าคนที่เพิ่งทางาน ใหม่” “ช่วงท่ีมีบคุ ลากรเข้าทางานใหม่ งานจะมี ข้อผิดพลาดมาก” “ผปู้ ่ วยที่ไม่ร้หู นังสือมกั จะมีภาวะแทรกซ้อน จากการรกั ษามาก” S. Tiansawad (5/06/2018)

ลองพิจารณาข้อมลู ต่อไปนี้  จากการเกบ็ ข้อมลู ผปู้ ่ วยท่ีมีการติดเชื้อของแผล ผา่ ตดั เป็นเวลา 6 เดือน พบว่า 80% เป็นผทู้ ี่เรียนจบ ระดบั ประถมศึกษา แสดงว่า ผทู้ ี่มีการศึกษาตา่ มี การติดเชื้อมากกว่าผทู้ ีมีการศึกษาสงู จากการติดตามผปู้ ่ วยหลงั ผา่ ตดั ในรอบปี ที่ผา่ นมา พบว่า ผทู้ ่ีมีการศึกษาตา่ มีการติดเชื้อ 5% ส่วนผทู้ ี่มี การศึกษาสงู มีการติดเชื้อ 4.8% ข้อมลู ใดน่าเชื่อถือกว่า S. Tiansawad (5/06/2018) 15

การคิดริเร่ิม คือ การคิดหลบหลีกจากสมมตุ ิฐาน คิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดริเร่ิมทาลาย (constructive creativity) (Destructive creativity) นวตั กรรม (Innovation) S. Tiansawad (5/06/2018) 16

การคิดเชิงสรา้ งสรรค์  การขยายขอบเขตความคิดออกไปจาก กรอบความคิดเดิมท่ีมีอยู่ ส่คู วามคิด ใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพ่ือค้นหา คาตอบที่ดีท่ีสดุ ให้กบั ปัญหาท่ีเกิดขึน้ (เกรียงศกั ด์ิ เจริญวงศศ์ กั ด์ิ, 2545) S. Tiansawad (5/06/2018) 17

คิดวิจารณญาณ VS คิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ คิดวิจารณญาณ คิดริเริ่มสร้างสรรค์  Filter approach  Sponge approach  คิดพิจารณา  คิดทางเลือก  ไม่เข้มงวดกบั เหตผุ ล ไตร่ตรอง  ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะ  เน้นการแก้ปัญหา S. Tiansawad (5/06/2018) 18

คิดวิจารณญาณ VS คิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ คิดวิจารณญาณ คิดริเริ่มสร้างสรรค์  ตรวจสอบความ  ซึมซบั รบั ทกุ สอดคล้อง ถกู ต้อง ความเหน็  ค้นหาข้อบกพร่อง  หาโอกาสท่ีจะเป็นไป ได้ (possibility)  ตดั สินหาข้อสรปุ - ความน่ าจะเป็ น (probability) S. Tiansawad (5/06/2018) 19

องคป์ ระกอบที่เสริมสรา้ งความ 20 คิดสรา้ งสรรค์  ทศั นคติและบคุ ลิกลกั ษณะ  ความสามารถทางสติปัญญา  ความรู้  รปู แบบการคิด  แรงจงู ใจ***  สภาพแวดล้อม บรรยากาศที่เป็นอิสระ ไว้วางใจ*** S. Tiansawad (5/06/2018)

ส่ิงสกดั กนั้ ความคิดสรา้ งสรรค์ การติดรปู แบบ ไม่กล้าเส่ียง กลวั ความเคยชิน ผิดพลาด การประเมินตดั สิน ยึดหลกั ตรรกะเหตผุ ล ด้วยเกณฑ์ มองว่าตนเองไม่มี บรรยากาศของความ ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ไว้วางใจ*** ความไม่เช่ือมนั ่ ใน ความกดดนั จากคน ตนเอง รอบข้าง-ไมเ่ ป็นอิสระ จากกล่มุ *** S. Tiansawad (5/06/2018) 21

การสอนเพ่ือพฒั นาการคิด (1) 1. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยใช้รปู แบบหรือ กระบวนการสอนที่เน้นการพฒั นาการคิดที่มีผู้ พฒั นาขึน้ เช่น การเรียนร้แู บบมีส่วนร่วม (Participatory learning), การเรียนร้แู บบใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) เป็น ต้น 2. การสอนเนื้อหาสาระต่างๆ โดยพยายามจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียน พฒั นาลกั ษณะการคิดแบบต่างๆ S. Tiansawad (5/06/2018) 22

ตวั อย่างเทตนิค/กิจกรรมการเรียนการสอน ที่ช่วยพฒั นาการคิด  การใช้คาถามท่ีกระต้นุ การคิด  การทาแผนท่ีความคิด (mind/concept mapping)  การวิเคราะหส์ ถานการณ์กรณีศึกษา  การใช้เทคนิคการสะท้อนคิด (Reflection) - เช่น Reflective journal, Clinical log เป็นต้น  การอภิปราย สมั มนา  การทาโครงการ S. Tiansawad (5/06/2018) 23

การใช้คาถามเพื่อนาไปส่กู ระบวนการคิด และการเรียนรู้ “5 W & H”: WHO WHAT WHERE WHEN WHY HOW S. Tiansawad (5/06/2018) 24

Mind Maps & Concept Maps แผนที่ความคิดและแผนท่ีความคิดรวบยอด S. Tiansawad (5/06/2018) 25

การทางานของสมองสองซีก S. Tiansawad (5/06/2018) 26

เราเช่ือกนั ว่า.........  ไอนส์ ไตน์ นกั วิทยาศาสตรท์ ี่มีชื่อเสียงเป็ น คนที่มีสมองซีกซา้ ยโดดเด่น S. Tiansawad (5/06/2018) 27

การคน้ ควา้ เจาะลึกพบว่า......... ไอนส์ ไตนใ์ นวยั เด็ก  สอบตกวิชาภาษาฝรง่ั เศส และชีววิทยา  ชอบศิลปะ  กจิ กรรมท่ีโปรดคือ เลน่ ไวโอลนิ แลน่ เรอื และเลน่ เกมที่ ตอ้ งใชจ้ ินตนาการ จินตนาการช่วยใหเ้ ขาสามารถหยง่ั รลู้ กึ ทาง วิทยาศาสตร์ และช่วยใหเ้ ขาคน้ พบ “ทฤษฎี สมั พทั ธภาพ (Theory of Relativity)” ซ่ึงเกิด จากการสงั เคราะหข์ องสมองทง้ั สองซีก S. Tiansawad (5/06/2018) 28

“จินตนาการสาคญั กว่าความรู้ “ S. Tiansawad (5/06/2018) 29

Mind Mapping & Concept Mapping เคร่ืองมือท่ีช่วยในการพฒั นาศกั ยภาพ ของสมอง และส่งเสริมการเรียนรู้ S. Tiansawad (5/06/2018) 30

What is Mind Map?  Mind map (แผนท่ีความคิด) เป็นเคร่ืองมอื ในการจด บนั ทึกความคิดโดยอาศยั หลกั การทางานของสมอง ทงั้ สองซีก  สมองจะทางานเช่ือมโยงหรอื จดั การข้อมลู ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ หากข้อมลู ถกู บรรจลุ งไปในลกั ษณะ “หยอดหลมุ ” และสมองจะทางานกบั “คาสาคญั ” ใน การเช่ือมโยงและประสานรวมกนั  Mind map จงึ เป็นแผนภาพที่เช่ือมโยง “คา”กบั “ความคิด” S. Tiansawad (5/06/2018) 31

Mind Maps S. Tiansawad (5/06/2018) 32

องคป์ ระกอบสาคญั 5. 1. 7. 2.แก่น 4. 6. แกน 3. S. Tiansawad (5/06/2018) 33

การทา Mind Mapping 1. กาหนดความคดิ หลกั เรยี กวา่ “แกน่ แกน” ตรงก่งึ กลางหนา้ กระดาษ A4 ท่วี างตามแนวนอน ควรใช้ ภาพสี แทนคาสาคญั 2. เขียนประเด็นรองหรอื ความคดิ รองท่แี ตกออกมาจากแกน่ แกน โดยมี เสน้ หรอื ก่งิ เช่ือมโยง (ก่งิ ท่มี โี คนหนาปลายเรยี วเรยี กว่า ก่งิ แกว้ ) และ ประเดน็ ย่อยเช่ือมโยงดว้ ยเสน้ หรอื ก่งิ ท่บี างกว่า (เรยี กวา่ ก่งิ กอ้ ย) 3. ใช้ ภาพ หรอื สญั ลกั ษณ์ ใหม้ ากท่สี ดุ 4. เขียนคาเหนือเสน้ แตล่ ะเสน้ ตอ้ งเช่ือมตอ่ กนั ทาใหม้ ี “โครงสรา้ ง” รองรบั 5. คาสาคญั ควรมีลกั ษณะเป็นหน่วยคา คอื คาสน้ั ๆ คาละเสน้ เพอ่ื เปิ ดทาง ใหส้ ามารถเช่ือมโยงคากบั คาอน่ื ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ 6. ใช้ สี อยา่ งนอ้ ย 3 สี เพ่อื ใหส้ รา้ งสสี นั น่าสนS.ใTiจansกawรadะ(ต5/0นุ้6/2ส01ม8)องซีกขวา 34

S. Tiansawad (5/06/2018) 35

Concept Maps S. Tiansawad (5/06/2018) 36

3 characteristics S. Tiansawad (5/06/2018) 37

Concept Map Construction S. Tiansawad (5/06/2018) 38

Concept Map of Human Circulation S. Tiansawad (5/06/2018) 39

ความแตกต่างระหว่าง Mind Map กบั Concept Map  Mind map มีลักษณะแบบ radial hierarchy และมี โครงสร้ างคล้ ายต้ นไม้ (มีก่งิ แตกออกจากแก่นแกนท่ี เป็ นความคดิ หรือภาพตรงกลาง)  Concept map ลักษณะ hierarchy ท่เี น้น โครงสร้างของความรู้ (ท่ปี ระกอบด้วย concepts และ propositions ซ่งึ เช่ือมโยงระหว่าง concepts) และการสร้ างความหมาย S. Tiansawad (5/06/2018) 40

การใช้ Mappings ในการเรยี นการสอนทางคลนิ ิก  ใช้ทบทวนความรู้เก่ียวกับโรค อาการและอาการ แสดง การรักษา และการพยาบาล ใช้ในการวางแผนการพยาบาลสาหรับผู้ป่ วย เฉพาะราย เป็ นการเช่ือมโยงความรู้จากทฤษฎีกับ สถานการณ์จริงของผู้ป่ วย วัตถปุ ระสงค์สาคัญ คอื การพฒั นาทกั ษะทางปัญญา :การคดิ วจิ ารณญาณ การคดิ อย่างเป็ นระบบ และการคดิ สร้างสรรค์ S. Tiansawad (5/06/2018) 41

ตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ช้ Mind Map และ Concept Map ในการบนั ทึกความคิด และการสรปุ ความรจู้ ากบทเรียน S. Tiansawad (5/06/2018) 42

Mind Map of Health S. Tiansawad (5/06/2018) 43

Concept Map of Asthma S. Tiansawad (5/06/2018) 44

Concept Map of Nephrotic Syndrome S. Tiansawad (5/06/2018) 45

Concept Map of Nursing Diagnoses and Nursing Care for Patients with Lung Cancer and Brain Cancer S. Tiansawad (5/06/2018) 46

Map of Clinical Correlation (KSa. Ttihanosalweatd a(5l/0,61/2901988) ) 47

Use of Concept Map for Clinical Nursing Care Planning  นักการศกึ ษาพยาบาลเคยเช่ือกนั ว่า “กระบวนการพยาบาล” ซ่งึ เป็ นกระบวนการในการแก้ปัญหาเป็ นเคร่ืองมอื ช่วย พฒั นาทกั ษะการคดิ ของนักศกึ ษา  ข้อจากดั คอื รูปแบบการเขียนรายงานแบบ column format เป็ น linear care plan ท่ใี ช้กระบวนการคิดของสมองซีกซ้าย (left-brain thinking)  linear care plan ไม่ช่วยให้นศ.เรียนรู้ถงึ ความสัมพนั ธ์หรือ ความเช่ือมโยงระหว่างข้อมูลกับปัญหาของผู้ป่ วยท่ตี ้องการ การดแู ลแบบองค์รวม  Concept map และ/หรือ mind map จงึ เป็ นเทคนิคการเรียน ท่ถี กู นามาใช้ S. Tiansawad (5/06/2018) 48

Clinical Concept Mapping Process (Baugh & Mellott, 1998)  Applied principles from several authors including Novak and Buzan.  Process is simple and similar to nursing process that students have used. S. Tiansawad (5/06/2018) 49

ขนั้ ตอนการเขียนแผนท่ีความคิด (Baugh & Mellott, 1998) 1. เร่ิมเขยี นมโนทศั น์หลักหรือหวั ข้อหลัก (key concept) ไว้ ตรงกลางกระดาษ และเขียนมโนทศั น์ย่อย (subconcept) ไว้ภายนอก 2. จดั กลุ่มและเขียนข้อมูลท่สี ัมพนั ธ์กันไว้ใกล้ๆกัน กับ มโนทศั น์หลักหรือมโนทศั น์ย่อยท่เี ก่ยี วข้อง 3. เช่ือมโยงมโนทศั น์หลัก มโนทศั น์ย่อยและกลุ่มข้อมูลด้วย หรือ หรือ ----- เพ่อื บ่งชีถ้ งึ ลักษณะความ สัมพนั ธ์ท่แี ตกต่างกัน แสดงความสัมพนั ธ์เชิงเหตุและผล และ ----- แสดงความสัมพนั ธ์ท่มี ากและน้อย ตามลาดบั S. Tiansawad (5/06/2018) 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook