Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1-65 แผนการสอนวิชา การติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร

1-65 แผนการสอนวิชา การติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร

Published by suchat3132, 2022-08-27 13:33:01

Description: 1-65 แผนการสอนวิชา การติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชื่อวิชา การติดตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร รหัสวิชา 20104-2106 ทฤษฎี 2 ชม. ปฏบิ ตั ิ 5 ชม. หนว่ ยกติ 3 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า ช่างไฟฟา้ กำลัง จัดทำโดย วา่ ทีร่ ้อยตรสี ุชาติ คงสนิ วิทยาลัย การอาชพี กาญจนาภิเษกหนองจอก สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบญั หนา้ ก หลกั สตู ร ข หนว่ ยการเรียนรู้ ค ตารางกำหนดนำ้ หนักคะแนนการวดั ง หนว่ ยการเรยี นรู้และสมรรถนะประจำหนว่ ย 1 หนว่ ยที่ 1 เครื่องมือในการตดิ ตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร 17 หนว่ ยท่ี 2 วัสดุอุปกรณ์ในการติดตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร 39 หน่วยท่ี 3 การปกั เสา 40 หน่วยที่ 4 การยดึ โยง 62 หนว่ ยท่ี 5 การพาดสาย 74 หน่วยท่ี 6 การดึงสาย 85 หนว่ ยท่ี 7 การตดิ ตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า 96 หนว่ ยท่ี 8 การติดตง้ั อปุ กรณ์ป้องกนั 107 หนว่ ยท่ี 9 การติดตั้งโคมไฟถนน 117 หน่วยที่ 10 การตอ่ ลงดนิ 126 หน่วยที่ 11 การติดตง้ั กโิ ลวัตต์ฮาวรม์ ิเตอร์ 137 หน่วยท่ี 12 การเดนิ สายไฟฟ้าใต้ดิน 148 ใบงาน

รายการตรวจสอบและอนุญาตใช้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………....……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ควรอนญุ าตใหใ้ ช้สอนได้ …………………………………………………. ควรปรบั ปรุงเกีย่ วกับ (นายพฒั นพงษ์ มาต่น) อ่นื ๆ หวั หน้าแผนกวชิ าช่างไฟฟ้ากำลงั ........./........./......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ควรอนุญาตให้ใชส้ อนได้ …………………………………………………. ควรปรับปรงุ เกี่ยวกับ (นายณฤวตั ลลี อ้ ม) อ่ืน ๆ หัวหน้างานพัฒนาหลักสตู รฯ ........./........./......... ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ควรอนุญาตใหใ้ ช้สอนได้ ลงชือ่ ……………………………………… ควรปรับปรงุ เก่ียวกบั (นางสาวกฤตญิ า วงั หอม) อน่ื ๆ รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ........./........./......... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ควรอนุญาตให้ใช้สอนได้ .…………………………….………… ควรปรับปรุงเกีย่ วกบั (นายพงค์สิลป์ รัตนอุดม) อนื่ ๆ ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั การอาชีพกาญจนาภเิ ษกหนองจอก ........./........./.........

ก หลักสตู รรายวชิ า ช่อื วิชา การติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร รหัสวิชา 20104-2106 ทฤษฎี 2 ชม. ปฏบิ ัติ 5 ชม. หน่วยกิต 3 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม สาขาวิชา ช่างไฟฟ้ากำลงั จุดประสงคร์ ายวิชา 1. เข้าใจมาตรฐานสายไฟฟา้ เครื่องมอื และอุปกรณ์ ทใ่ี ช้ในงานตดิ ตั้งไฟฟา้ ภายนอกอาคาร 2. มที กั ษะในการปกั เสา พาดสายไฟฟ้า และตดิ ต้งั อปุ กรณ์ระบบแรงตำ่ 3. มเี จตคตแิ ละกิจนสิ ัยทด่ี ีในการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย มีระเบยี บวนิ ยั รอบคอบ ซ่ือสัตย์และ มคี วามรบั ผิดชอบ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับมาตรฐานเครือ่ งมือและอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นงานติดต้ังไฟฟ้าภายนอกอาคาร 2. สำรวจตรวจสอบเกี่ยวกับปฏิบตั ิงานเดนิ สายไฟฟา้ แรงตำ่ ภายนอกอาคารตามมาตรฐานการไฟฟ้า 3. วิเคราะห์ผลกระทบเก่ยี วกับมาตรฐานเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ที่ใช้ในงานติดต้ังไฟฟ้าภายนอกอาคาร 4. ติดตง้ั อุปกรณเ์ ครอ่ื งวัดพลังงานไฟฟา้ อุปกรณ์ป้องกนั 5. สำรวจตรวจสอบเกย่ี วกับการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารตามหลักการและกระบวนการติดตั้งไฟฟ้า ภายนอกอาคาร คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติงานเกี่ยวกับมาตรฐาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้าภายนอก การ เดินสายไฟฟ้าฝังดินโดยตรง งานเดินสายในท่อโลหะ ท่ออโลหะ ระบบสายดิน งานปักเสา งานยึดโยง งาน ติดตั้งแร็คและลูกถ้วยไฟฟ้า งานพาดสาย งานดึงสาย งานเดินสายติดตั้งอุปกรณ์เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า งาน ติดตง้ั โคมไฟถนน อปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบแรงต่ำ งานทดสอบสายดนิ

ข หนว่ ยการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จำนวนชั่วโมง สปั ดาห์ท่ี 1 เครอ่ื งมอื ในการตดิ ตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 7 1 2 วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 7 2 3 การปกั เสา 14 3-4 4 การยดึ โยง 14 5-6 5 การพาดสาย 14 7-8 6 การดึงสาย 14 9-10 7 การตดิ ตง้ั หม้อแปลงไฟฟา้ 7 11 8 การติดตั้งอปุ กรณป์ อ้ งกัน 7 12 9 การติดตง้ั โคมไฟถนน 14 10 การต่อลงดนิ 7 13-14 11 การตดิ ตั้งกโิ ลวัตตฮ์ าวร์มิเตอร์ 7 15 12 การเดนิ สายไฟฟ้าใตด้ นิ 12 16 สอบปลายภาค 2 17-18 18 รวมทั้งหมด 126 -

ค ตารางกำหนดน้ำหนกั คะแนนการวัด ชื่อผ้สู อน วา่ ท่ีร้อยตรสี ุชาติ คงสนิ รหัสวิชา หลกั สูตร 20104 - 2106 ชอื่ วิชา การติดตัง้ ไฟฟา้ นอกอาคาร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปีท่ี 2 (ปวช.) ประเภทวิชา ชา่ งอตุ สาหกรรม น้ำหนกั คะแนน พฤติกรรม พุทธิพสิ ยั การบูรณาการตามหลกั เนื้อหา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกณฑ์ ่ผาน (%) เวลา คะแนนรายเน้ือหา ชม. ความ ู้ร ความเข้าใจ การประยุกต์ใช้ การ ิวเคราะห์ การ ิคดสร้างสรรค์ การประเมิน ่คา ทักษะพิ ัสย จิต ิพ ัสย พอประมาณ มีเหตุผล ภู ิม ุ้คม ักน เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม 1. เครอ่ื งมือในการตดิ ตงั้ ไฟฟ้านอกอาคาร 60 5 1 1 - - - - 2 - - - - 1 - 7 2. วัสดุอุปกรณ์ในการตดิ ตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร 60 5 1 1 - - - - - - - - 2 - 1 7 3. การปักเสา 60 10 2 2 1 1 - - 2 - 1 1 - - - 14 4. การยดึ โยง 60 10 2 1 1 - 1 - 1 1 1 1 - 1 - 14 5. การพาดสาย 60 10 1 1 1 1 1 1 - 1 - 1 - 1 1 14 6. การดึงสาย 60 10 1 1 - 1 1 1 1 1 1 - 1 1 - 14 7. การตดิ ตั้งหม้อแปลงไฟฟา้ 60 5 1 1 1 - - - 1 - - 1 - - - 7 8. การติดตง้ั อุปกรณป์ อ้ งกัน 60 10 2 - 1 - 1 - 2 2 1 - - 1 - 7 9. การตดิ ต้ังโคมไฟถนน 60 10 2 2 2 - - - 2 2 - - - - - 14 10. การตอ่ ลงดิน 60 10 1 1 1 - 1 1 - 1 1 - 1 1 1 7 11. การติดต้ังกโิ ลวตั ตฮ์ าวรม์ เิ ตอร์ 60 10 2 - 2 - 2 2 - - - - 1 1 - 7 12. การเดินสายไฟฟ้าใตด้ นิ 60 5 1 1 1 - 1 - - - - 1 - - - 7 สอบกลางภาคเรยี นและปลายภาคเรียน - - ------------- 7 รวม 60 100 17 12 11 3 8 5 11 8 5 5 5 7 3 ก. คะแนนด้านพุทธิพสิ ยั 56 ข. คะแนนด้านทกั ษะพิสยั 11 ค. คะแนนด้านจติ พสิ ัย 8 ง. คะแนนดา้ นการบรู ณาการตามหลักปรชั ญา 25 ของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมทัง้ ส้นิ 100 ว่าท่รี อ้ ยตรี.................................. .................................................. (สชุ าติ คงสนิ ) (นางสาวกฤตญิ า วังหอม) ครผู สู้ อน รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

ง หนว่ ยการเรียนรู้และสมรรถนะประจำหน่วย ชื่อหน่วย ความรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ทักษะ 1.1 มีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ วชิ า การติดตงั้ ไฟฟา้ นอกอาคาร หน่วยท่ี 1 1.1 บอกความหมายของ 1.1 แสดงความร้เู กี่ยวกับ และกิจนสิ ยั ที่ดีในการ ทำงาน เคร่ืองมือในการติดต้ัง เคร่ืองมือพ้ืนฐานสำหรับชา่ ง การแยกประเภทเกี่ยวกับ 1.2 มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน ไฟฟ้านอกอาคาร ไฟฟา้ ได้ เครอ่ื งมอื ในการตดิ ต้ัง มีจติ สาธารณะและอยู่อย่าง พอเพยี ง 1.2 อธิบายลกั ษณะและ ไฟฟ้านอกอาคาร กระบวนการ การทำงาน 1.2 ใช้เคร่อื งมือในการ เครอ่ื งมือพน้ื ฐานสำหรบั ชา่ ง ตดิ ตงั้ ไฟฟ้านอกอาคาร ไฟฟ้าได้ หน่วยที่ 2 2.1 อธบิ ายความหมายของ 2.1 แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั 2.1 มเี จตคติทีด่ ีตอ่ วชิ า การติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร วัสดุอุปกรณ์ในการติดต้ัง อปุ กรณ์สำหรับพาดสายและ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นงานติดตั้ง และกจิ นิสัยท่ดี ีในการ ทำงาน ไฟฟา้ นอกอาคาร ดึงสายได้ ไฟฟา้ นอกอาคาร 2.2 มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่ัน ในการทำงาน 2.2 อธบิ ายและยกตวั อย่าง 2.2 สาธิตการและเลอื กใช้ มจี ติ สาธารณะและอยู่อยา่ ง พอเพยี ง อุปกรณ์สำหรับพาดสายและ อุปกรณ์ในงานตดิ ตง้ั ไฟฟ้า ดงึ สายได้ นอกอาคาร หนว่ ยที่ 3 3.1 บอกข้อกำหนดในการ 3.1 สามารถทำฐานเสา 3.1 มเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ วชิ า การปักเสา ปกั เสาไฟฟา้ ได้ 3.2 จำแนกวิธีการปกั เสา ไฟฟ้าให้ม่นั คงแขง็ แรงได้ การตดิ ตัง้ ไฟฟา้ นอกอาคาร ไฟฟา้ ได้ 3.2 สามารถตรวจวัดระยะ และกจิ นิสยั ที่ดีในการ ระหว่างเสาไฟฟ้าระบบ ทำงาน จำหนา่ ยแรงสูงและระบบ 3.2 มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่ัน จำหนา่ ยแรงต่ำได้ ในการทำงาน 3.3 ทำการปักเสาไฟฟา้ ได้ มจี ติ สาธารณะและอยู่อยา่ ง อย่างถูกต้อง พอเพยี ง หนว่ ยท่ี 4 4.1 บอกสว่ นประกอบของ 4.1 สามารถปฏบิ ตั ิการยดึ 4.1 มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ วชิ า การยดึ โยง วัสดแุ ละอุปกรณส์ ำหรบั การ โยงเสาได้อย่างถูกต้อง การตดิ ต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร ยึดโยงเสาได้

ชอ่ื หน่วย ความรู้ สมรรถนะ จ 4.2 จำแนกรูปแบบของการ ทักษะ ยดึ โยงได้ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 4.3 บอกข้อแนะนำในการ 4.2 จดั ลำดับวธิ ีจบั ยึดสาย และกิจนิสยั ท่ีดีในการ ทำสายยดึ โยงเสาได้ ยดึ โยงได้ ทำงาน 4.3 ศกึ ษาวธิ กี ารยดึ โยงเสา 4.2 มวี ินัย ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ ได้อย่างถูกตอ้ ง ในการทำงาน มจี ิตสาธารณะและอยู่อยา่ ง พอเพียง หน่วยที่ 5 5.1 อธิบายความหมายของ 5.1 แสดงความรู้เก่ยี วกบั 5.1 มีเจตคติทดี่ ีตอ่ วชิ า การพาดสาย วิธีการติดตัง้ คอนสายได้ การตดิ ต้งั แร็กแรงต่ำได้ การตดิ ตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร 5.2 อธิบายและยกตัวอยา่ ง 5.2 สาธิตการและเลือกใช้ และกจิ นิสัยทด่ี ีในการ การติดตัง้ แร็กและพาดสาย อปุ กรณ์ต่อสายโดยใช้ พ.ี จี. ทำงาน คอนเน็กเตอร์ได้อยา่ ง 5.2 มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่น ถูกต้อง ในการทำงาน มจี ติ สาธารณะและอยู่อย่าง พอเพยี ง หนว่ ยท่ี 6 6.1 บอกข้อกำหนดในการ 6.1 สามารถสาธติ การดึง 6.1 มเี จตคติทด่ี ีตอ่ วิชา การดงึ สาย ในการดึงสายได้ 6.2 จำแนกวธิ ีการปกั เสา สายด้วยฮอยส์และคัมอะล การตดิ ตงั้ ไฟฟา้ นอกอาคาร ไฟฟ้าได้ องได้ และกิจนิสัยที่ดีในการ 6.2 สามารถจำแนกการผูก ทำงาน ลูกถว้ ยลกู รอกได้ 6.2 มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ัน 6.3 สามารถปฏิบัตงิ านดึง ในการทำงาน สายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง มีจิตสาธารณะและอยู่อยา่ ง พอเพียง หนว่ ยท่ี 7 7.1 บอกส่วนประกอบและ 7.1 สามารถทำการบา 7.1 มีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ วชิ า การตดิ ตง้ั หมอ้ แปลงไฟฟ้า ชนิดของหม้อแปลงไฟฟา้ ได้ ลานซโ์ หลดหมอ้ แปลงได้ การติดตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร 7.2 อธบิ ายลักษณะของ 7.2 อภิปรายหลกั ปฏบิ ตั ิ และกจิ นิสัยทด่ี ีในการ หมอ้ แปลงระบบจำหน่ายได้ สำหรบั การบำรงุ รกั ษาหม้อ ทำงาน แปลงไฟฟ้าได้ 7.2 มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มั่น ในการทำงาน

ช่อื หน่วย ฉ สมรรถนะ ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 7.3 นำข้อควรปฏบิ ตั ใิ น มจี ติ สาธารณะและอยู่อยา่ ง การตดิ ต้ังหม้อแปลงไฟฟ้า พอเพียง ไปปรบั ใช้ได้อย่างถกู ต้อง หน่วยที่ 8 8.3 บอกความหมายของ 8.1 ฝึกการใช้อปุ กรณ์ 8.1 มเี จตคติทีด่ ีต่อวชิ า ป้องกนั ในระบบจำหน่าย การติดตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร การติดตง้ั อปุ กรณ์ป้องกนั อุปกรณ์ปอ้ งกนั ในระบบ แรงสงู ได้ และกิจนิสยั ทด่ี ีในการ 8.2 จำแนกชนดิ ของ ทำงาน จำหนา่ ยแรงตำ่ ได้ อุปกรณ์ตดั ตอนในระบบ 8.2 มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั จำหนา่ ยแรงสงู ได้ ในการทำงาน 8.3 ศกึ ษาวธิ ีการติดต้ัง มีจิตสาธารณะและอยู่อยา่ ง อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ได้อย่าง พอเพยี ง ถกู ต้องและเหมาะสม หน่วยที่ 9 9.1 บอกข้อพิจารณาในการ 9.1 แสดงความรเู้ ก่ียวกับ 9.1 มีเจตคตทิ ดี่ ีต่อวิชา การติดตงั้ โคมไฟถนน ติดตง้ั โคมไฟถนนได้ การติดตั้งโคมไฟถนนได้ การติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร 9.2 อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง 9.2 สาธติ การและเลือกใช้ และกิจนิสัยทดี่ ีในการ วสั ดทุ ่ใี ช้ในการติดตง้ั โคมไฟ หลอดไฟและโคมไฟทจี่ ะ ทำงาน ถนนได้ ติดตง้ั ได้อยา่ งเหมาะสม 9.2 มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั 9.3 สามารถปฏิบัติการ ในการทำงาน ตดิ ตง้ั โคมไฟถนนได้อยา่ ง มีจติ สาธารณะและอยู่อยา่ ง ถูกวธิ ี พอเพียง หน่วยที่ 10 10.1 บอกความสำคัญใน 10.1 สามารถสาธติ การต่อ 10.1 มเี จตคติที่ดีต่อวชิ า การต่อลงดนิ การต่อลงดนิ ได้ หลกั ดินได้ การตดิ ตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร 11.2 จำแนกประเภทการต่อ 10.2 เลือกใชส้ ายดินได้ และกจิ นิสัยทดี่ ีในการ ลงดนิ ได้ อย่างถูกต้อง ทำงาน 10.3 ศกึ ษาในเรือ่ งของ 10.2 มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ หลกั ดิน เพือ่ การปฏบิ ตั ิท่ี มุ่งมั่นในการทำงาน ถกู ต้อง มีจิตสาธารณะและอยู่อยา่ ง พอเพียง

ช ช่อื หน่วย สมรรถนะ หนว่ ยท่ี 11 ความรู้ ทกั ษะ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ การติดตั้งกิโลวัตต์ฮาวร์ 11.1 บอกบอกวธิ ีการติดตั้ง มเิ ตอร์ กโิ ลวัตตฮ์ าวรม์ เิ ตอรช์ นดิ 1 11.1 สามารถติดตง้ั 11.1 มเี จตคติที่ดตี ่อวชิ า เฟสได้ 11.2 บอกวิธกี ารติดตง้ั กโิ ลวัตตฮ์ าวรม์ ิเตอร์ชนิด 1 การติดต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร กโิ ลวัตต์ฮาวรม์ เิ ตอร์ชนดิ 3 เฟสได้ และ 3 เฟสได้ และกจิ นิสยั ทด่ี ีในการ 11.2 เลอื กใช้วิธีการติดต้ัง ทำงาน กโิ ลวตั ตฮ์ าวรม์ เิ ตอร์ได้ 11.2 มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ ถูกต้อง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 11.3 สามารถติดตงั้ มีจติ สาธารณะและอยู่อย่าง อปุ กรณ์เครื่องวดั พลงั งาน พอเพยี ง ไฟฟา้ ได้อย่างถกู ตอ้ งและ เหมาะสม หน่วยท่ี 12 12.1 อธิบายและยกตวั อยา่ ง 12.1 ทดลองวางสายใตด้ นิ 12.1 มีเจตคติท่ีดตี อ่ วิชา การเดนิ สายไฟฟา้ ใต้ดนิ การติดต้ังและเดินสายไฟฟ้า โดยใช้สายเคเบลิ ได้ การติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร ใตด้ ินได้ 12.2 จำแนกลักษณะของ และกิจนสิ ัยทดี่ ีในการ 12.2 บอกขอ้ ดี – ข้อเสยี ขอ้ ต่อสายแรงสงู ได้ ทำงาน การตดิ ต้งั และเดนิ สายไฟฟา้ 12.3 จำแนกลักษณะของ 12.2 มวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ ใตด้ ินได้ หัวตอ่ สายแรงสงู ได้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 12.4 ศกึ ษารปู แบบในการ มีจิตสาธารณะและอยู่อย่าง เดนิ สายไฟฟ้าใต้ดิน เพ่ือ พอเพยี ง การปฏิบัติงานท่ีถูกต้อง

1 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1 มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วชิ า การตดิ ตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร สปั ดาหท์ ี่ 1 รหัสวชิ า 20104-2106 ช่อื หน่วย เครื่องมือในการตดิ ตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร ช่วั โมงรวม 7 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมง 7 ชั่วโมง 1. สาระสำคัญ การปฏิบัติงานติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร เช่น การปักเสา การาดสายไฟฟ้า การยึดโยง เป็น ต้น จะต้องใช้เครื่องมือหลายประเภทในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้ เครื่องมือ และเลือกใช้เคร่ืองมือให้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับการปฏิบัติงานนัน้ ๆ จึงสามารถ ปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ความปลอดภัย 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย 2.1 แสดงความรู้และแยกประเภทเกี่ยวกบั เคร่ืองมือในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 2.2 ใชเ้ คร่ืองมือในการตดิ ต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ 3.1.1 อธิบายวธิ กี ารใชง้ านของเคร่อื งมือตดิ ต้ังไฟฟา้ นอกอาคารได้ 3.1.2 บอกช่ือเครอื่ งมือในงานตดิ ตงั้ ไฟฟา้ นอกอาคารได้ 3.1.3 แยกประเภทเครื่องมือในงานติดตั้งไฟฟา้ นอกอาคารได้ 3.1.3 แยกประเภทเครื่องมือในงานติดต้ังไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.2 ดา้ นทักษะ 3.2.1 ชแ้ี จงลักษณะของเครื่องมือในการติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 3.2.2 ปฏิบตั ิการโดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบัตไิ ดถ้ ูกวิธี 3.3 ด้านคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3.3.1 มีวินัย 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3.3 มุ่งม่ันในการทำงาน 3.3.4 มจี ิตสาธารณะ 3.3.5 มีหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เนือ้ หาสาระการเรยี นรู้ 4.1 เครือ่ งมือพ้นื ฐานสำหรับชา่ งไฟฟ้า 4.2 เครอ่ื งมือสำหรับปนี เสา 4.3 เคร่ืองมือสำหรับการปกั เสาไฟฟ้า

2 4.4 เคร่ืองมือสำหรับงานพาดเสา 4.5 เคร่ืองมอื วดั และทดสอบ เครือ่ งมอื ในงานติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร เครื่องมือที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร มีอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะนําไปใช้ในงานท่ี แตกต่างกัน เครื่องมือสำหรับงานติดตั้งไฟฟ้านอกอาคารโดยทั่วไปใช้สำหรับอำนวยความสะดวก ช่วยให้ ปฏิบัติงานได้อยา่ งรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ ไปจนถึงป้องกันอันตรายในขณะปฏิบัติงาน ซึ่งจะแบ่งออกเปน็ 5 ชนิด ดงั นี้ 1. เคร่ืองมอื พื้นฐานสำหรบั ชา่ งไฟฟา้ ในงานตดิ ต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร จำเป็นต้องใชเ้ คร่ืองมือสำหรับชา่ งไฟฟ้า โดยเฉพาะส่วนใหญ่เคร่ืองมือ ที่มีด้ามจับเป็นฉนวน ซึ่งฉนวนนั้นมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายซึ่งจะเป็นอันตรายต่อ ผู้ปฏบิ ัติงาน เคร่อื งมอื สำหรบั ชา่ งไฟฟา้ มีดังนี้ 1.1 คีม (Pliers) คมี ชา่ งไฟฟา้ มีอย่หู ลายแบบ เชน่ คมี รวม คมี ปากแหลม คมี ตัด คีมย้ำหางปลา คมี ปอก สายไฟ เป็นตน้ ซงึ่ คีมแต่ละแบบก็มหี น้าที่การใชง้ านที่แตกตา่ งกันออกไป 1.1.1 คีมรวม (Combination Plier) เป็นคีมที่ใช้งานได้หลายอย่าง เช่น จับสาย ตัดสายไฟ มี ขนาดใหญ่กวา่ คีมตดั สามารถใชง้ านไดอ้ เนกประสงค์ รูปที่ 1.1 คมี รวม 1.1.2 คีมปากแหลม (Long Nose Pliers) เป็นคีมที่ใช้จับอุปกรณ์เล็กๆ ที่ไม่สามารถจับด้วยมือ ในขณะทำงาน เชน่ สายไฟ น็อตสกรแู ละตะปูตอกเขม็ ขัดรัดสายไฟ รปู ท่ี 1.2 คมี ปากแหลม 1.1.3 คีมตัด (Cutting Pliers) ใช้สำหรบั ตัดสายไฟโดยเฉพาะมีอยู่ 3 ขนาดขนาดเลก็ ตัดสายไฟได้ไม่ เกิน 4 ตารางมิลลิเมตร ขนาดกลางตัดได้ตั้งแต่ 6 – 240 ตารางมิลลิเมตร ขนาดใหญ่สามารถตัดสายไฟได้ จนถึง 500 ตารางมลิ ลเิ มตร

3 รูปที่ 1.3 คมี ตดั 1.1.4 คีมปอกสายไฟ (Cable Stripper) ใช้สำหรับปอกสายไฟ โดยที่ปากจะทำเป็นร่องไว้ทั้งปาก บนและปากลา่ ง มีขนาดร่องใกลเ้ คียงกับสายไฟ รูปที่ 1.4 คีมปอกสายไฟ 1.1.5 คมี ย้ำหางปลา (Crimper) ใช้สำหรบั ย้ำข้ัวต่อสายไฟท่ีเรียกวา่ หางปลา 3 ขนาด คอื ขนาดเลก็ ใช้ย้ำหางปลาขนาดเล็กสุดจนถึงขนาด 10 ตารางมิลลิเมตร ขนาดกลาง ใช้ย้ำหางปลาตั้งแต่ 6 - 80 ตาราง มลิ ลเิ มตร ขนาดใหญ่ ใช้ยำ้ หางปลาขนาด ตั้งแต่ 70 - 500 ตารางมิลลเิ มตร รูปท่ี 1.5 คมี ย้ำหางปลา 1.2 ไขควง (Screw Driver) ไขควงมอี ยู่ 2 แบบ ตามลักษณะตวั สกรูได้แกแ่ บบปากสี่แฉกและแบบปาก แบน ซึ่งแต่ละแบบจะมีความยาวของเหล็ก (ไม่รวมด้าม ) ได้แก่ 3”, 4”, 6”, 8” และอาจจะมีใหญ่กว่านี้ ตามความจาํ เป็นของงาน รปู ท่ี 1.6 ไขควง 1.3 คอ้ น (Hammer) ค้อนทใี่ ช้งานมอี ยู่ 3 แบบ 1.3.1 ค้อนช่างไฟฟ้า (Electrician Hammer) มีขนาด 150, 200, 250, และ 300 กรัม ส่วนใหญ่ นยิ มใชข้ นาด 200 - 250 กรมั ดา้ มทำดว้ ยไม้

4 รูปท่ี 1.7 คอ้ น 1.3.2 ค้อนหงอน (Claw Hammer) ดา้ มทำดว้ ยไมห้ รอื เหลก็ หมุ้ ฉนวน ใชต้ ีตะปูทั่วไป รูปที่ 1.8 ค้อนหงอน 1.3.3 ค้อนปอนด์ หรือค้อนพะเนิน (Heavy Hammer) มีขนาด 1 – 8 ปอนด์ ใช้สำหรับทุบ คอนกรีตตา่ ง ๆ รูปที่ 1.9 ค้อนปอนด์ 1.4 มีดปอกสาย (Wire Stripping Knife) มีดปอกสายไฟมีความสำคัญต่อช่างไฟฟ้ามาก ถ้ามีดคม และแข็งแรง ก็จะทำให้การปฏิบัติงานเร็วขึ้น ตัวมีดจะต้องเป็นเหล็กอย่างดี เพราะเวลาปอกสายไฟ คมของ มีดจะถูกทองแดงตลอดเวลาและดา้ มมดี ควรจะมียางหมุ้ เพ่ือป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าได้ รปู ท่ี 1.10 มดี ปอกสาย 2. เคร่อื งมือสำหรบั ปีนเสาไฟฟ้า เป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการปีนเสาไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ านบนเสาไฟฟ้า 2.1 หมวกนิรภัย (Safety Helmet) ทำจากพลาสติกแข็งทนทานต่อการใช้งาน ใช้สวมเพื่อป้องกัน เครื่องมือหรืออุปกรณ์ตกหล่นใส่ศีรษะ หมวกที่ใช้มีด้วยกันหลายสี เช่น เหลือง แดง ขาว ส้ม ซึ่งแต่ละสี จะ แสดงถงึ ตำแหน่งหน้าทใี่ นการปฏบิ ตั ิงาน

5 รปู ที่ 1.11 หมวกนริ ภัย 2.2 ถุงมือยาง (Rubber Gloves) ทำจากยาง มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือสำหรับไฟฟ้าแรงต่ำ และ สำหรับไฟฟ้าแรงสงู มีคุณสมบตั ิเป็นฉนวนปอ้ งกันไฟฟา้ ก่อนใชง้ านควรตรวจสอบสภาพของถุงมอื ว่ามีการฉีก ขาดหรอื ไม่ ถุงมอื ยางจะใช้งานรว่ มกับถุงมือหนัง โดยสวมถุงมือหนงั ทับถงุ มือยางอีกชัน้ หนงึ่ เพอื่ ป้องกันการ ฉกี ขาดของถุงมือยาง รูปท่ี 1.12 ถุงมือยาง 2.3 ถุงมือหนงั (Leather Gloves) ทำจากหนงั เทยี มหรือหนังสตั ว์ สามารถใช้งานได้ 2 ลกั ษณะ คอื ใช้ สวมกบั ถงุ มอื ยาง หรือใช้สวมโดยตรง เพอ่ื ปอ้ งกันความคมของเหล่ยี มเสาไฟฟ้า รูปท่ี 1.13 ถุงมือหนัง 2.4 เข็มขัดนิรภัย (Safety Belt) ทำมาจากไนลอน ถักสานกันเป็นเส้น คุณสมบัติ คือ มีความเหนียว ทนทาน รบั น้ำหนกั ตัวได้ดี ใชค้ าดเอวเพือ่ ปฏิบตั งิ านในการปีนเสาไฟฟ้า รปู ที่ 1.14 เข็มขดั นริ ภยั

6 2.4.1 ตัวเข็มขัด ซึ่งจะเป็นส่วนที่ใช้สำหรับคาดเอว สามารถปรับระดับให้เหมาะสมกับเอวของ ผูป้ ฏิบตั ิงาน เพื่อใหท้ รงตัวได้ดขี ณะปฏบิ ตั ิงาน รูปท่ี 1.15 ตัวเขม็ ขัด 2.4.2 สายกันตก ใช้คล้องกับเสาไฟฟ้า เป็นส่วนที่ใช้รับน้ำหนักตัวขณะปฏิบัติงานบนเสาไฟฟ้า เพ่อื ความปลอดภัยในการใชง้ านเข็มขัดนิรภัย กอ่ นการใช้งานทุกครั้ง ควรตรวจสอบช่องใสเ่ ครื่องมือในตัวเข็ม ขดั ห่วงกลมสำหรบั ห้อยเคร่ืองมือ และสายกันตกด้านที่เสยี ดสกี ับเสาไฟฟ้า ว่ามีการสึกหรอ มีรอยร้าว และอยู่ ในสภาพท่ีใชง้ านไดห้ รอื ไม่ รูปที่ 1.16 สายกันตก 2.5 รองเท้านิรภยั (Safety Shoes) ใชส้ ำหรับสวมขณะปฏบิ ตั งิ านบนเสาไฟฟา้ หรอื งานไฟฟา้ ท่วั ไป รปู ที่ 1.17 รองเท้านิรภัย 2.6 เหล็กปนี เสา (Pole Step) ใช้งานคู่กบั รองเท้านิรภัย กอ่ นทำการใชง้ านควรตรวจสอบสภาพก่อน รปู ที่ 1.18 เหลก็ ปีนเสา

7 2.7 ไมช้ ักฟิวส์ (Hot Stick) สามารถปรับเล่ือนได้ตามต้องการ มขี อเกาะใชส้ ำหรบั ปลดฟวิ ส์ ผิวดา้ นนอก มคี ุณสมบตั ิเปน็ ฉนวนไฟฟา้ สามารถทนแรงดนั ไฟฟ้าได้ถึง 33 kV ถกู ออกแบบใหม้ ีนำ้ หนกั เบา รูปท่ี 1.19 ไมช้ กั ฟวิ ส์ 3. เคร่ืองมือสำหรบั งานปักเสาไฟฟ้า การปักเสาในปจั จุบันมอี ยูด่ ้วยกนั 2 วิธี คอื การปักเสาจากการใช้แรงงาน การปักเสาโดยการใช้เคร่ือง ผ่อนแรง ซึ่งเครื่องมือสำหรับการขุดหลุมและปักเสาแบ่งออก เป็น 2 ชนิด คือ เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้ แรงงานคน และเคร่อื งมือขดุ หลุมและปกั เสาโดยใชเ้ ครอ่ื งผ่อนแรง 3.1 เครื่องมือขุดหลุมโดยใช้แรงงานคน เป็นการขุดโดยอาศยั แรงงานคนโดยตรง ซ่งึ จะมเี ครื่องมือท่ีใช้ใน การขดุ หลุมดงั ต่อไปนี้ 3.1.1 จอบ ใชส้ ำหรับขุดดินทุกชนดิ รปู ท่ี 1.20 จอบ 3.1.2 ชะแลง ใชส้ ำหรบั กระทุ้งดนิ แข็งหรอื หนิ ลูกรงั รูปท่ี 1.21 ชะแลง 3.1.3 พล่ัว ใช้สำหรบั ตักดนิ รูปท่ี 1.22 พลั่ว

8 3.1.4 พล่ัวหนบี ดนิ ใชส้ ำหรบั หนีบดินจากกน้ หลมุ ทลี่ ึก รูปที่ 1.23 พล่ัวหนบี ดนิ 3.2 เครื่องมือขุดหลมุ และปักเสาโดยใชเ้ ครื่องผ่อนแรง จะใช้เครือ่ งผ่อนแรงเข้ามาช่วยเพือ่ ให้เกิดความ รวดเรว็ ในการขดุ หลมุ และปักเสา เคร่ืองมอื ขุดหลมุ และปักเสาโดยใชเ้ คร่อื งผอ่ นแรงมีดังน้ี 3.2.1 สว่านมือขุดหลุม มีลักษณะคล้ายสวา่ นเจาะไม้ ใช้แรงงานคนหมนุ ดา้ มสว่าน สว่ นหัวสวา่ น กจ็ ะเจาะลกึ ลงไปในดิน เมอ่ื ไดร้ ะยะความลึกทตี่ ้องการหยดุ การหมนุ ดา้ มสวา่ น แล้วใชร้ ถดึงสว่านขึน้ รปู ที่ 1.24 สวา่ นมอื ขุดหลุม 3.2.2 รถขุดหลุม เป็นรถบรรทุกติดตั้งสว่านขนาดใหญ่ที่ตัวรถ ใช้ระบบ ไฮดรอลิกส์และ เครื่องจกั รกลในการขุดหลุม รปู ท่ี 1.25 รถขดุ หลุม

9 3.2.3 รถยนต์ไฮดรอลิกส์ เนื่องจากเสาไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบันเป็นเสาคอนกรีตอัดแรง มีน้ำหนัก มาก ดังนนั้ วิธีการเคล่อื นย้ายจงึ ตอ้ งใช้รถยกและลากดว้ ยลวดสลิง รปู ท่ี 1.26 รถยนต์ไฮดรอลกิ ส์ 3.2.4 เครื่องมือกระทุ้งดนิ ได้แก่ จอบ เสียม และเคร่ืองกระทงุ้ ดนิ แบบเคร่ืองยนต์ 4. เครื่องมอื สำหรบั งานพาดสายและดงึ สาย วัตถุประสงค์ของเครื่องมือในการดึงสายไฟฟ้า คือ จะช่วยให้ดึงสายได้ระยะพอดี ไม่ตึง หรือหย่อน เกนิ ไป เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 4.1 แม่แรงดึงสาย (Coffing Hoist) หรือ ฮอยส์ (Hoist) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับดึงสายไฟฟ้าให้ตึง ลักษณะโดยทั่วไปประกอบด้วยตะขอเกี่ยว 2 ข้าง โดยข้างหนึ่งใช้เกี่ยวเสาไฟฟ้า อีกข้างหนึ่งสำหรับ เกีย่ วกับคมั อะลองเพ่ือจับยดึ สายไฟฟา้ รูปท่ี 1.27 แม่แรงดึงสาย 4.2 แคลมป์ดึงสาย (Wire Grip) หรือ คัมอะลอง (Comalong) มีหน้าที่จับยึดสายไฟฟ้าใช้งาน ร่วมกับฮอยส์ มสี ว่ นประกอบดว้ ยกนั 2 ส่วน คอื ปากจบั สายไฟฟ้า และหว่ งสำหรับยึดกับแมแ่ รงดึงสาย รปู ท่ี 1.28 แคลมปด์ ึงสาย

10 4.3 รอก (Pulley) เป็นเครื่องมือช่วยในการผ่อนแรง มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ แบบแรกใช้ในการส่งของ ท่มี ีน้ำหนกั มากข้นึ สู่ข้างบน และจากข้างบนลงสู่ขา้ งล่าง สว่ นอกี แบบจะเป็นรอกที่ใชส้ ำหรับการพาดสาย เพ่ือ รองรับน้ำหนักของสายไฟฟ้าระหว่างการพาดสายเป็นชว่ งๆ รูปท่ี 1.29 รอก 4.4 เชอื ก ใชใ้ นการดงึ วัสดุอปุ กรณ์ เครื่องมือขึน้ ลงในแนวดงิ่ ใช้งานรว่ มกับรอก รปู ท่ี 1.30 เชอื ก 4.5 รถยนตไ์ ฮดรอลกิ ส์ ใช้สำหรับยกวัสดอุ ปุ กรณ์ที่มนี ำ้ หนกั มาก รปู ท่ี 1.31 รถยนต์ไฮดรอลกิ ส์

11 5. เคร่ืองมือวัดและทดสอบ ใช้ในการตรวจสอบความชำรุดเสียหายของอุปกรณ์ไฟฟา้ ไปจนถึงการตรวจสอบระบบไฟฟา้ หลงั จาก ทำการติดตัง้ เสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ซ่ึงเครือ่ งมือวัดและทดสอบ มดี ังน้ี 5.1 แคลมป์มิเตอร์ ใช้สําหรบั วัดกระแสไฟฟา้ คา่ สงู ๆ รูปท่ี 1.32 แคลมป์มเิ ตอร์ 5.2 มลั ติมเิ ตอร์ ใช้วดั แรงดนั ไฟฟา้ ความตา้ นทานและกระแสค่าตำ่ รูปที่ 1.33 มัลตมิ ิเตอร์ 5.3 เมกเกอร์ หรือ Insulation Tester ใชส้ ําหรับทดสอบความเป็นฉนวน รปู ที่ 1.34 เมกเกอร์

12 5.4 Earth Resistance Tester ใชส้ าํ หรับทดสอบความตา้ นทานของดนิ รปู ที่ 1.35 Earth Resistance Tester 5. กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ 5.1 การนำเขา้ สู่บทเรยี น 5.1.1 แจง้ ให้ผเู้ รยี นทราบถึงเน้อื หาสาระวชิ า จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้และกิจกรรมที่ใช้ในการจัดการ เรยี นการสอน 5.1.2 ครูผู้สอนอธิบายวิธีการใช้ เครื่องมือในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร พร้อมใช้คำถามกระตุ้น ซักถามกับผเู้ รยี นเพอ่ื กระต้นุ ความสนใจให้กับผู้เรียน 5.2 การเรียนรู้ 5.2.1 ผู้เรียนและครูผู้สอนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมการเรียนรู้ เครื่องมือในการติดตั้งไฟฟ้านอก อาคาร โดยใหบ้ ันทกึ ผลตามรูปแบบ 5.2.2 ครูผสู้ อนอธบิ ายหลักการใช้เคร่อื งมอื ในการตดิ ต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร 5.2.3 ตั้งคำถามให้ผู้เรียนเสนอข้อมูลจากประสบการณ์ของตนในการใช้เครื่องมือในการติดต้ัง ไฟฟา้ นอกอาคาร 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเครื่องมือในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร ที่รวบรวมได้จาก การศึกษาค้นคว้า โดยแบ่งกลุ่ม(4-5คน/กลุ่ม) เพื่อระดมความคิดของสมาชิกในกลุ่มตามหัวข้อที่กำหนด โดยมี ครูเป็นผูใ้ หค้ ำแนะนำ 5.2.5 ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มออกแบบหรอื หาวิธีนำเสนอใหผ้ อู้ ่ืนรับรู้และสือ่ สารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบทีถ่ กู ต้อง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หวั ขอ้ ท่ีศกึ ษา จากนนั้ บันทึกผลข้อสรุปเป็นความเขา้ ใจของกลมุ่ และรายบุคคล 5.3 การสรุป 5.3.1 ครูผ้สู อนซักถามและสรปุ เนอื้ หาบทเรียนเกย่ี วกับเครอ่ื งมือในการตดิ ต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 5.3.2 ครผู สู้ อนได้สอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมและจรรยาวิชาชพี ในเรอ่ื ง ความมวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ มุง่ ม่นั การทำงาน มีจิตสาธารณะและอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

13 5.4 การวดั และประเมนิ ผล 5.4.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานรายบุคคล 5.4.2 การสังเกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝกึ หดั และแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ 6. ส่ือการเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ 6.1 สื่อสิ่งพิมพ์ อนุสรณ์ โคกกลาง. การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร. กรุงเทพฯ. ศนู ยส์ ่งเสริมอาชวี ะ ศสอ. 2562. ธวัชชัย จารุจิตร์. การติดตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร. กรุงเทพฯ. สำนกั พิมพ์ วังอักษร. 2553. 6.2 ส่ือโสตทัศน์ (ถ้าม)ี 6.2.1 Power Point เรอ่ื ง เครอ่ื งมือในการติดต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร 6.2.2 YouTube เรอ่ื ง เคร่อื งมือในการติดตงั้ ไฟฟา้ นอกอาคาร 6.3 หนุ่ จำลองหรือของจรงิ (ถา้ ม)ี 6.4 อื่น ๆ (ถ้ามี) 7. เอกสารประกอบการจัดการเรยี นรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบ หลงั เรียน แบบถาม-ตอบ (ระหว่างเรยี น) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เรอ่ื ง เคร่อื งมือในการตดิ ตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร 7.2 ใบงาน เร่อื ง เครอื่ งมือในการติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร 7.3 แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง เคร่อื งมอื ในการติดตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร 7.4 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอ่ื ง เครอื่ งมือในการติดตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร 8. การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกดา้ นความสนใจใฝร่ ู้ การตรงต่อเวลา ความซ่ือสัตย์ สจุ รติ ความมีนำ้ ใจและแบง่ ปัน ความรว่ มมือ/ยอมรับความคิดเห็นสว่ นใหญ่

14 9. การสอดแทรกแนวคดิ /กจิ กรรมตอ่ ตา้ นการทจุ รติ (กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมมาภิบาล) 9.1 การอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอยา่ งมีความสุข การแบง่ กลุ่ม ชว่ ยเหลอื กนั และร่วมงานกับผู้อื่นได้ 9.2 สนทนากับนกั เรียน ด้านคุณธรรมจริยธรรม ก่อนและหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 9.3 ความรกู้ ารใชภ้ าษาไทย การสรปุ อภปิ รายโดยใชภ้ าษาสื่อสารท่ีถกู ตอ้ ง 9.4 ความรเู้ กีย่ วกับการใช้อินเตอรเ์ น็ต (Internet) ในการศึกษาค้นควา้ 9.5 สอดแทรกความร้แู ละโทษของยาเสพติด 10. การบรู ณาการ / ความสัมพันธ์กบั วิชาอืน่ 10.1 มีเน้อื หาบูรณาการสอดคล้องกับวิชา การติดต้ังไฟฟา้ ในอาคาร 10.2 มีเนื้อหาบรู ณาการสอดคล้องกับวชิ า การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มีเนอื้ หาบรู ณาการสอดคล้องกับวชิ า การเขียนแบบไฟฟา้ เบ้ืองต้น 11. การวดั และประเมินผล 11.1 กอ่ นเรียน วธิ ีการวดั ผล ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เคร่อื งมอื วัด แบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 10 ขอ้ 11.2 ขณะเรียน วธิ กี ารวัดผล ถาม-ตอบและทักษะการทดลอง เครื่องมือวัด คำถามจากบทเรียนและการรายงานผลการทดลอง 11.3 หลงั เรียน วธิ ีการวดั ผล ทำแบบทดสอบหลังเรยี น เครอ่ื งมือวัด แบบทดสอบหลงั เรียน จำนวน 10 ข้อ แบบฝกึ หัด หนว่ ยที่ 1 เครอ่ื งมือในการติดตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร 1. คีมตัดขนาดกลางตดั ไดก้ ่ตี ารางมลิ ิเมตร ก. 5 – 230 มม. ข. 4 – 220 มม. ค. 6 – 240 มม. ง. 500 มม. 2. คมี ยำ้ หางปลา มกี ข่ี นาด ก. 5 ขนาด ข. 4 ขนาด ค. 3 ขนาด ง. 3 ขนาด 3. ไขควง มีอยกู่ ีแ่ บบ ก. 5 แบบ ข. 4 แบบ ค. 3 แบบ ง. 2 แบบ

15 4. ค้อนชนดิ ใดทใี่ ชท้ ุบคอนกรีตต่างๆ ก.คอ้ นปอนด์ ข. คอ้ นหงอน ค. คอ้ นชา่ งไฟฟ้า ง. ถูกทกุ ข้อ 5. ค้อนชนดิ ใดท่ใี ชท้ บุ ตะปทู ั่วไป ก.ค้อนปอนด์ ข. คอ้ นหงอน ค. คอ้ นช่างไฟฟา้ ง. ถกู ทุกข้อ 6. ถงุ มอื ยางมีกชี่ นิด ก.1 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนิด 7. เขม็ ขดั นริ ภยั ทําจากวัสดุชนิดใด ก. ไนลอน ข. กระดาษ ค. พลาสตกิ ง. โลหะ 8. ไม่ชักฟวิ ส์ มีความยาวเท่าใด ก. 5 – 10 ฟุต ข. 10 -15 ฟุต ค. 8 – 24 ฟุต ง. 8 – 26 ฟตุ 9. อุปกรณใ์ ด ใช้ขุดดินทุกชนิด ก.จอบ ข. ชะแลง ค. พล่วั ง. พล่ัวหนีบดนิ 10. อุปกรณ์ชนดิ ใด ใชส้ าํ หรับกระทุ้งดนิ แข็งหรือหนิ ลูกรัง ก.จอบ ข. ชะแลง ค. พลัว่ ง. พลัว่ หนีบดิน เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 งกขขกงขคกง แบบทดสอบออนไลน์ หนว่ ยที่ 1 เครอ่ื งมือในการติดต้งั ไฟฟ้านอกอาคาร http://gg.gg/uognh

16 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้

17 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2 ม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชพี บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วิชา การตดิ ตงั้ ไฟฟ้านอกอาคาร สัปดาหท์ ่ี 2 รหัสวิชา 20104-2106 ชือ่ หน่วย วัสดอุ ุปกรณ์ในการติดตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร ช่วั โมงรวม 14 ช่ัวโมง จำนวนช่วั โมง 7 ช่ัวโมง 1. สาระสำคัญ การเลอื กใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ในงานการตดิ ต้ังไฟฟ้านอกอาคาร จะต้องมคี วามถูกตอ้ งเหมาะสมกับงาน น้ัน ๆ ผู้ปฏบิ ตั งิ านจึงต้องมีความรใู้ นการเลือกใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์ให้ถกู ตอ้ งตามกฎมาตรฐานเพราะการปฏิบัตงิ าน ส่วนใหญเ่ ป็นงานในพน้ื ที่สูง ดังนน้ั การจดั เตรียมอุปกรณ์ควรถูกต้อง แม่นยำเพื่อไม่ใหเ้ สยี เวลาในการปฏบิ ตั งิ าน 2. สมรรถนะประจำหน่วย 2.1 แสดงความรแู้ ละแยกประเภทเกีย่ วกบั วสั ดุอปุ กรณ์ในการตดิ ต้งั ไฟฟ้านอกอาคาร 2.2 ใช้วสั ดุอปุ กรณ์ในการติดต้งั ไฟฟ้านอกอาคาร 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 อธบิ ายวธิ กี ารใช้งานของวัสดุอปุ กรณ์ในการติดตงั้ ไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.1.2 บอกช่อื วัสดุอุปกรณ์ในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.1.3 แยกประเภทวัสดุอุปกรณใ์ นการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคารได้ 3.2 ดา้ นทักษะ 3.2.1 ช้แี จงลกั ษณะของเครื่องมือในการตดิ ตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 3.2.2 ปฏบิ ัตกิ ารโดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติไดถ้ ูกวธิ ี 3.3 ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ 3.3.1 มวี ินัย 3.3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3.3 มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 3.3.4 มีจิตสาธารณะ 3.3.5 มีหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. เนื้อหาสาระการเรียนรู้ 4.1 อุปกรณส์ ำหรับพาดสายลดั งึ สาย 4.2 อุปกรณ์สำหรบั ยึดโยงเสาไฟฟ้า 4.3 อปุ กรณส์ ำหรับตอ่ สายและยึดสาย 4.4 อปุ กรณส์ ำหรับประกอบเคร่ืองวัดพลงั งานไฟฟ้า

18 อุปกรณส์ ำหรับพาดสายและดึงสาย ซ่งึ ประกอบดว้ ยอุปกรณด์ งั น้ี 1. สายไฟฟ้า (Wire) สายไฟฟ้าที่ใช้กับระบบส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า นิยมใช้สายอะลูมิเนียมซึ่งมีข้อดี กว่าสายทองแดงหลายประการคือ ราคาถูก นํ้าหนักเบา โดยทั่วไปนิยมใช้อยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ สาย ไฟฟ้าแรงสงู และ สายไฟฟา้ แรงตํา่ 1.1 สายไฟฟ้าแรงสูง เป็นสายที่มีขนาดใหญ่ลักษณะเป็นสายตีเกลียว สายไฟฟ้าแรงสูงแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ สายเปลือย และสายหุม้ ฉนวน รูปที่ 2.1 สายไฟฟา้ แรงสงู 1) สายอะลูมิเนียมล้วน (AAC – All Aluminum Conductor) ทำจากอะลูมิเนียม บริสุทธิ์ 99.5%พันเกลียว ใช้กับระยะห่างของเสาไฟฟ้าไม่มากนัก เพราะสายไฟฟ้าชนิดนี้รับแรงดึงได้น้อย สายไฟฟ้าชนดิ นี้จัดเป็นสายไฟฟา้ แรงสงู ประเภทสายเปลอื ย รูปท่ี 2.2 สายอะลูมเิ นียมลว้ น 2) สายอะลูมิเนียมผสม (AAAC – All Aluminum Alloy Conductor) เป็นสายอะลูมี เนียมผสมจงึ แขง็ แรงทนตอ่ การกัดกร่อน ขอ้ ดีของสายไฟฟา้ ชนิดน้คี ือมนี ํ้าหนักเบากว่าสาย (AAC) และสามารถ รบั แรงดงึ ไดม้ ากกวา่ สาย (AAC) สายชนดิ นจี้ ดั เป็นสายไฟฟ้าแรงสูง ประเภทสายเปลอื ย รปู ที่ 2.3 สายอะลมู ิเนยี มผสม

19 3) สายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก (ACSR - Aluminium Conductor Steel Reinforced) มคี ุณลักษณะพเิ ศษคือ ตวั นำดา้ นในจะเปน็ เหล็กกลั ปว์ าไนซ์ ส่วนตัวนำดา้ นนอกจะเปน็ สายอะลมู เิ นียมตีเกลียว เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันเนื่องจากสามารถรับแรงดึงได้มากกว่าสาย ACC และ AAACจึงสามารถปักเสาให้ห่าง กันมากขึ้นได้ถึงระยะห่างช่วงเสาประมาณ 100 เมตร สายไฟฟ้าชนิดนี้จัดเป็นสายไฟฟ้าแรงสูง ประเภทสาย เปลือย รปู ท่ี 2.4 สายอะลมู ิเนยี มแกนเหลก็ 4) สายเคเบิลอากาศแรงสูง (SAC - Space Aerial Cable) เป็นสายอะลูมิเนียมตีเกลียว หุ้มด้วยฉนวนหนา จัดเป็นสายไฟฟ้าแรงสูงประเภทสายหุ้มฉนวน จะใช้งานควบคู่กับฉนวนรับรองสายท่ี เรียกวา่ สเปซเซอร์ (Spacer) และเกาะยึดสายกับสายรบั นํา้ หนัก คอื สายเมสเซนเจอร์ (Messenger) รปู ที่ 2.5 สายเคเบิลอากาศแรงสูง 5) สาย Preassembly Aerial Cable เป็นแบบหุ้มฉนวนเต็มพิกัด มี โครงสร้างคล้ายกับ สาย XLPE สามารถวางใกลก้ ันได้ จึงนยิ มใชส้ ายชนดิ นใ้ี นบรเิ วณทีม่ รี ะยะหา่ งจำกดั หรอื ผา่ นชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศยั รูปที่ 2.6 สาย Preassembly Aerial Cable 6) สาย Cross – Linked Polyethylene (XLPE) เป็นแบบหุ้มฉนวนเต็มพิกัด โดยฉนวน ของสายชนิดนี้จะทำหน้าที่จำกัดสนามแม่เหล็ก เพื่อป้องกันการรบกวนระบบการสื่อสาร คุณสมบัติของสาย ชนดิ น้ีคือ ทนตอ่ สภาพดนิ ฟ้าอากาศทำใหส้ ายชนิดนีส้ ามารถเดนิ ลอยในอากาศหรือฝงั ดินก็ได้

20 รูปท่ี 2.7 สาย Cross – Linked Polyethylene (XLPE) 1.2 สายไฟฟ้าแรงต่ำ (Low Voltage Wire) เป็นสายที่หุ้มฉนวน ตัวนำทำจากทองแดงหรือ อะลมู ิเนยี ม ใชก้ บั ขนาดแรงดันไฟฟา้ ไมเ่ กนิ 750 โวลต์ มีอย่กู ัน 3 ชนิด คอื 1) สายอะลมู ิเนียมหุ้มฉนวน PVC ทำดว้ ยอะลูมเิ นียมหมุ้ ฉนวนด้วย PVC ทนแรงดนั ได้ 750 โวลต์ใช้งานเป็นสายเมน (Main) สำหรับเดินสายเมนแรงตํ่าจากหม้อแปลงจำหน่าย พาดบนลูกถ้วยตามเสา ไฟฟ้าไปยังบ้านเรือน ตกึ แถว เพ่ือจำหนา่ ยให้แกผ่ ใู้ ชไ้ ฟฟ้าท่วั ไป รปู ที่ 2.8 สายอะลมู ิเนยี มห้มุ ฉนวน PVC 2) สายทองแดงหุ้ม ฉนวน PVC ทำดว้ ยทองแดงหมุ้ ฉนวนดว้ ย PVC ทนแรงดันได้750 โวลต์ การตัดต่อง่ายกว่าสายอะลูมเิ นียม ใชง้ านในลกั ษณะเดียวกับสายอะลูมเิ นียมหุ้มฉนวน PVC รปู ท่ี 2.9 สายทองแดงหมุ้ ฉนวน PVC 2. เสาไฟฟ้า (Pole) เสาไฟฟ้าเป็นที่รองรับอุปกรณ์ในงานติดตั้งไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น ลูกถ้วยคอนสาย ล่อฟ้า หม้อแปลง โคมไฟถนน ในการเลือกใช้เสาไฟฟ้าต้องมีขนาดและความสูงตามมาตรฐานของการไฟฟ้า โดยท่วั ไปมอี ยู่ 3 ชนดิ ดังนี้

21 2.1 เสาไม้ (Wood Pole) ปัจจุบันการไฟฟ้าได้เลิกการใช้เสาไม้ เพราะราคาแพง หายาก อายุในการใช้งานสน้ั ไมท่ นตอ่ การกัดกร่อนของแมลงและสภาพอากาศการรบั แรงดึงและรองรบั อุปกรณ์ในทาง ไฟฟ้าไดไ้ มด่ ีนกั รปู ท่ี 2.10 เสาไม้ 2.2 เสาคอนกรตี เสรมิ เหลก็ (Concrete Pole) ทำจากคอนกรีตเสริมเหล็ก แข็งแรง ทนทานสูง มีอายุการ ใช้งานนาน ทนต่อการกดั กรอ่ น รับแรงดงึ และรองรับอปุ กรณ์ไฟฟ้าได้เปน็ อยา่ งดี สำหรบั เสาคอนกรีตแรงต่ําจะมีขนาดต้ังแต่ 6, 8, 9, 10 เมตร ใชพ้ าดสายในระบบแรงต่าํ 1 เฟส และ 3 เฟส แรงดัน 380/220 โวลต์ เสาคอนกรตี แรงปานกลางมีขนาดต้ังแต่ 12, 14, 16 เมตร ใช้พาดสายในระบบแรงดนั 22 kV, 24 kV, 33 kV และติดตง้ั หม้อแปลงระบบจาหน่ายนํา้ หนกั ไมเ่ กนิ 4.5 ตนั สว่ นเสาคอนกรีตแรงสูงมีขนาดตงั้ แต่ 20, 22 เมตร ใชก้ ับระบบ 69 kV, 115 kV นอกจากน้ยี ังสามารถใชพ้ าดสาย ในระบบจาหนา่ ยแรงดัน 12, 22, 24 และ 34 kV เคเบิลระบบส่ือสารและไฟถนน รูปที่ 2.11 เสาคอนกรีตเสริมเหลก็ 2.3 เสาโครงเหล็ก (Steel Tower) ใช้กับระบบส่งจ่ายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทย (กฟผ.) ทำจากเหลก็ กันสนิมเช่ือมต่อข้ึนรูป จะใชก้ บั สายไฟฟ้าทม่ี ีขนาดใหญ่ ดงั นั้นจึงต้องมีความแข็งแรง มาก รบั แรงดึงไดม้ าก โดยเสาโครงเหลก็ จะใชก้ ับระบบสายส่งทม่ี ีขนาดแรงดันคอื 115 kV , 230 kV , 500 kV

22 รปู ที่ 2.12 เสาโครงเหลก็ 3. คอนสาย (Cross arm) ใช้ประกอบกับเสาไฟฟ้า เพื่อทำหน้าที่รองรับลูกถ้วยและสายไฟฟ้าหรือ รองรับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ล่อฟ้า ฟิวส์แรงตํ่า ฟิวส์แรงสูง คอนสายที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ทำจากคอนกรีตอัดแรง ส่วนคอนไมใ้ นปจั จบุ ันไมน่ ยิ มใชเ้ น่ืองจากไม้หายาก มรี าคาแพง รองรับแรงดึงและอุปกรณไ์ ด้ไม่ดี ความทนทาน นอ้ ยกว่าคอนสายแบบคอนกรีตอัดแรงค่อนขา้ งมาก คอนสายทใ่ี ช้มีทงั้ คอนเด่ยี วและคอนคู่มีขนาดดังตอ่ ไปน้ี 3.1 ขนาด 100 × 100 × 1,500 มิลลิเมตร ใช้ตดิ ต้ังฟวิ สแ์ รงตา่ํ หรอื สายเคเบิลอากาศ 3.2 ขนาด 100 × 100 × 2,500 มิลลิเมตร ใช้เป็นคอนพาดสายระบบแรงสูง ขนาด11 – 12 kV 3.3 ขนาด 120 × 120 × 2,000 มิลลิเมตร ใช้ประกอบคอนคู่สำหรับติดถ้วยแขวนระบบแรง สูง 11, 22 และ 33 กิโลโวลต์ 3.4 ขนาด 120 × 120 × 2,500 มิลลิเมตร ใช้สำหรับประกอบคอนคู่เพื่อติดตั้งลูกถ้วยแขวน บรเิ วณ ทางโค้ง 3.5 ขนาด 120 × 120 × 3,000 มลิ ลิเมตร ใช้พาดสายระบบแรงสงู 11, 12 และ 33 kV 4. ลูกถ้วยไฟฟ้า (Insulator) มีหน้าที่เป็นฉนวนป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว ลงตามเสาไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ ที่อยุ่เคียงข้าง ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายกับสิ่งมีชีวิต ที่อยู่ในบริเวณนั้น ๆ ซึ่งวัสดุที่ใช้ในการทำลูกถ้วย ได้แก่ กระเบื้องเคลือบ หรือพอรซ์ เลน ไฟเบอร์กลาสพลาสตกิ และอีพอ๊ กซี เป็นตน้ 4.1 ลกู ถ้วยกระเบ้อื งเคลือบ (Porcelain Insulator) ส่วนผสมท่ีสำคญั คอื ดนิ เหนียว ลักษณะสำคัญ คือ ไม่มีรูพรุนแม้แต่นดิ เดียว มีผิวเรียบเป็นมัน แทบจะไม่มีโอกาสการเกิดกระแสไฟฟ้า รว่ั ไดเ้ ลย

23 รปู ที่ 2.13 ลกู ถ้วยกระเบื้องเคลอื บ 4.2 ลกู ถว้ ยแก้ว (Glass Insulator) ทำจากแก้วหลอมละลาย ข้นั ตอนตอ่ มาก็จะนำมาขึ้นรูปเป็น ลกู ถ้วยและนำไปอบในอณุ หภมู ิที่เหมาะสม รปู ที่ 2.14 ลกู ถ้วยแกว้ ลกู ถ้วยท่ีการไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาค ใชง้ านในปจั จุบนั มดี ้วยกัน 7 ชนดิ ดังน้ี - ลูกถว้ ยกา้ นตรง (Pin Type Insulator) - ลูกถ้วยแขวน (Suspension Insulator) - ลกู ถว้ ยพนิ โพสต์ (Pin Post Insulator) - ลกู ถ้วยไลนโ์ พสต์ (Line Post Insulator) - ลูกถ้วยรองรับอุปกรณ์ (Apparatus Post Type Insulator) - ลกู ถ้วยยึดโยง (Guy Strain Insulator) - ลกู ถ้วยลูกรอก (Spool Insulator) รปู ท่ี 2.15

24 4.3 ลูกถ้วยกา้ นตรง ( Pin Type Insulator) ลักษณะของลูกถ้วยจะเปน็ แบบชั้นเดยี วหรือหลาย ชน้ั ขึ้นอยกู่ บั การใชง้ าน หากนำไปใช้งานกับระบบสายสง่ แรงดันสูง ๆ ก็จะเป็นหลายช้ันสว่ นดา้ นบนของลูกถ้วย ออกแบบ เป็นร่องเพื่อใช้จับยืดสายตัวนำให้แน่น ลวดที่ใช้ผูกสายยึดกับส่วนด้านบนของลูกถ้วย เรียกว่า ไทน์ ไวร์ (Tie Wire) ข้อเสียของลูกถ้วยชนิดนี้ คือ การรองรับสายของลูกถ้วย ถ้าหากขนาดสายใหญ่กว่า 240 ตร.มม จะต้องใช้ลกู ถ้วยชนิดอื่นแทน รปู ที่ 2.16 ลูกถ้วยกา้ นตรง 4.4 ลูกถ้วยแขวน (Suspension Insulator) ใช้กับสายขนาดใหญ่ตั้งแต่ 240 ตร.มม ขึ้นไป สำหรับระบบไฟฟ้าแรงดันสูงวิธีการใชจ้ ะนำลกู ถ้วยแขวนหลาย ๆ ลูกตอ่ พว่ งเขา้ ด้วยกนั โดยสายตวั นำจะถกู ต่อ กับลูกถ้วยอันลา่ งสุด และใชแ้ คลมปเ์ ปน็ ตัวจบั ยึดสายเข้ากบั ลูกถว้ ยอนั ล่างสุด รูปที่ 2.17 ลูกถว้ ยแขวน 4.5 ลกู ถ้วยโพสทไ์ ทพ์ (Post Type Insulator)ใช้สำหรับการเดินสายไฟฟ้าผา่ นเข้าไปยังสถานท่ี หรอื บริเวณแคบ ๆ รูปท่ี 2.18 ลูกถ้วยโพสท์ไทพ์

25 4.6 ลูกถ้วยลูกรอก (Spool Type Insulator) ใช้เดินสายไฟฟ้าแรงตํ่า สำหรับอาคาร ชุมชน บา้ นเรอื น และโรงงานอุตสาหกรรม มคี ณุ สมบตั ิเป็นฉนวนป้องกันไฟฟ้าร่วั เข้าไปยังผนงั อาคาร หรือส่ิงก่อสร้าง ทร่ี องรบั ลูกถ้วยลกู รอก รูปที่ 2.19 ลูกถ้วยลกู รอก 5. เคเบิลสเปเซอร์ (Cable Spacer) เป็นฉนวนรองรับสายเคเบิลอากาศแรงสูง เพื่อจำกัดระยะห่าง ระหว่างสาย โดยตอ้ งใชง้ านร่วมกบั สายเมสเซนเจอร์ (Messenger Wire) ซงึ่ จะทำหน้าทเี่ ปน็ ตวั รับนํ้าหนักและ ช่วยดงึ สาย สว่ นมากจะติดตัง้ ในพื้นที่แคบ ๆ ในชมุ ชน โดยท่ไี ม่ต้องใชค้ อนสายมีอยู่ดว้ ยกนั หลายขนาด เชน่ ใน ระบบ 22 กิโลโวลต์ ขนาด 50 - 95 , 120 - 185 ตารางมิลลิเมตรและระบบ 33 กโิ ลโวลต์ ขนาด 50, 95-120, 150 - 185 ตารางมลิ ลิเมตร รปู ท่ี 2.20 เคเบิลสเปเซอร์ 6. เหลก็ คอนเคเบลิ อากาศทางตรง (Tangent Support Bracket) ใช้สำหรบั ยดึ เคเบิลสเปเซอร์ รูปท่ี 2.21 เหล็กคอนเคเบิลอากาศทางตรง

26 7. เหล็กคอนเคเบิลอากาศทางโคง้ (Corner Support Bracket) ใช้ติดตั้งลูกถ้วยก้านตรงลูกถ้วยไลน์ โพสต์ เพือ่ รองรับสายเคเบิลอากาศ ในระบบจำหน่ายแรงสูง รปู ท่ี 2.22 เหล็กคอนเคเบลิ อากาศทางโคง้ 8. เหล็กฉากรับสายล่อฟ้า (Overhead Ground Wire Bayonet) ใช้สำหรับรองรับการติดตั้ง สายลอ่ ฟ้าในระบบ 22, 33 กิโลโวลตโ์ ดยติดตั้งเขา้ กับปลายเสา รูปท่ี 2.23 เหล็กฉากรับสายล่อฟา้ 9. สลกั เกลียวหัวสี่เหล่ียม (Machine Bolt) ทำจากเหล็กชบุ กัลวาไนซ์ ใชส้ ำหรับยดึ อุปกรณต์ า่ ง ๆ เข้า กบั เสาไฟฟ้า เช่น คอนสาย เหลก็ ประกบั คอนสาย เหลก็ ประกับเท้าแขนล่อฟา้ โคมไฟถนน และแรก็ แรงต่าํ 10. สลักเกลียวหกเหล่ียม (Machine Bolt) ทำจากเหล็กซุบกัลป์วาไนซ์ ใช้สำหรบั ยึดประกอบน่งั ร้าน เพือ่ รองรบั หม้อแปลง 11. สลักเกลยี วตลอด (Double Arming Bolt) ใช้สำหรับประกอบคอนสายคู่ รูปที่ 2.24 สลักเกลียวตลอด 12. เหลก็ ประกับคอนสาย (Flat Crossarm Brace) ใช้ประกอบคอนสายให้สมดุลกับเสาไฟฟา้ รูปที่ 2.25 เหล็กประกบั คอนสาย

27 13. เหล็กประกับคอนแบบเท้าแขน (Alley Arm Brace) ใช้สำหรับช่วยประกอบคอนสายให้คอนสาย ตง้ั ฉากกบั เสา รูปท่ี 2.26 เหลก็ ประกับคอนแบบเทา้ แขน 14. แร็ก (Rack) ใชส้ ำหรบั จับยดึ ลูกถว้ ยลูกรอก ในการพาดสายระบบแรงตํ่า โดยยดึ แร็กเข้ากับปลาย เสา ซ่ึงแร็กท่ีใช้กนั มี ดังน้ี แร็ก 1 ชอ่ ง, แร็ก 3 ชอ่ ง, แร็ก 5 ช่อง, แร็ก 7 ชอ่ ง รูปที่ 2.27 แร็ก อุปกรณส์ ำหรับยึดโยงเสาไฟฟา้ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จับยึดเสาไฟฟ้า เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และช่วยรองรับแรงที่มากระทำต่อเสาไฟฟ้า เช่น นาํ้ หนักสายไฟฟ้า แรงลม การกระแทกจากวสั ดุอื่น ๆ อปุ กรณใ์ นการยึดโยงมีดงั น้ี 1. สมอบก (Anchor) ทำจากคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ใช้ฝงั ในพนื้ ดนิ เพอ่ื รองรับแรงดงึ จากสายยึดโยง เป็น แท่งส่เี หล่ียม รูปที่ 2.28 สมอบก

28 2. กา้ นสมอบก (Rod Anchor) ทำมาจากเหลก็ ชบุ กัลป์วาไนซ์ มีขนาด 2 เมตร และ 2.5 เมตรมีหน้าที่ ยึดสมอบกกับสายยึดโยง ตัวก้านจะฝังอยู่ในดินและสว่ นอีกปลายด้านหนึง่ โผลข่ ึน้ มาเหนือพื้นดิน เพื่อใช้ยดึ กับ สายยดึ โยง รปู ที่ 2.29 กา้ นสมอบก 3. สายยึดโยง (Steel Wire) ใช้สำหรับรับแรงดึงของสายไฟฟ้า เพื่อป้องกันไม่ให้เสาล้มหรือเอียง โดย ทำการยึดจากสว่ นบนของเสาไฟฟ้า ไปยงั กา้ นสมอบกท่เี ชื่อมติดกับสมอบกท่ฝี งั อยใู่ ตด้ ้ินโดยจะใชล้ ูกถ้วยยึดโยง ยึดคน่ั ไว้ตรงสว่ นกลางของสายยึดโยง เพ่ือป้องกันกระแสไฟฟ้ารวั่ ลงมาสู่พ้นื ดิน หรืออปุ กรณ์อืน่ ๆ ที่อยู่บริเวณ ใกล้เคยี ง สำหรบั เสาไฟฟ้าแรงต่ํา จะใช้สายยึดโยงขนาด 50 ตารางมลิ ลิเมตร สำหรบั เสาไฟฟ้า แรงสูงจะใชส้ าย ยึดโยงขนาด 95 ตารางมลิ ลเิ มตร รปู ที่ 2.30 สายยดึ โยง 4. ลูกถ้วยยึดโยง (Strain Type Insulator) ทำหน้าที่เป็นฉนวนยึดโยงระหว่างสายด้านบนและสาย ดา้ นลา่ งของสายยดึ โยง (guy) เพื่อป้องกนั กระแสไฟฟ้ารัว่ ไหลซึ่งเปน็ อันตรายต่อผูท้ สี่ ัมผัสกับสายยึดโยง รปู ท่ี 2.31 ลูกถว้ ยยดึ โยง 5. ยูแคลมป์ (U - Clamp)ใช้จับสายยึดโยง มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบคือ ยูแคลมป์สลักเดี่ยว และยูแคลมป์ สลกั คู่ รูปท่ี 2.32 ยูแคลมป์

29 6. ห่วงโค้งสาย (Guy Thimble) ทำจากเหลก็ ชบุ กัลป์วาไนซ์ ใชร้ องรับการโคง้ ของสายยึดโยง โดยการ สอดเขา้ กับสมอบก ลักษณะห่วงโคง้ สายและการใช้งาน รูปที่ 2.33 ห่วงโค้งสาย 7. แหวนสเ่ี หล่ียมแบน (Square Washer) ใช้สำหรบั รองรบั หวั นอตของสลักเกลยี วแบบต่าง ๆ รูปที่ 2.34 แหวนสเ่ี หลยี่ มแบน 8. แผ่นห่วงยึดโยง (Guy Attachment) ใช้ในการดึงสายยึดโยง มีลักษณะ คือ ด้านหนึ่งจะมีรูไว้ สำหรับยึดกับสลักเกลียว ใช้ยึดติดที่หวั เสาไฟฟ้า ส่วนอีกด้านหนึ่งจะเป็นห่วงสำหรับผูกสายยึดโยง มีขนาดมุม 30 องศา รปู ที่ 2.35 แผน่ ห่วงยดึ โยง อุปกรณ์สำหรับการต่อสายและยึดสาย เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการการตอ่ สาย แยกสาย และจับยึดสาย มีทั้งระบบไฟฟ้าทั้งแรงสูงและแรงตํ่า ซึ่ง การต่อสายจะต้องมีความแข็งแรง ที่สำคัญการสัมผัสของตัวนำไฟฟ้าต้องแน่น ไม่หลวมเพราะเป็นจุดต่อผ่าน ของกระแสไฟฟา้ ทีม่ จี ำนวนมาก ซ่งึ อุปกรณ์ต่าง ๆ มดี งั น้ี 1. หางปลาอะลูมิเนียม (Aluminun Compression Lugs) ทำจากอะลูมิเนียม มีแบบ 1 รู 2 รู และ 4 รู ใช้สำหรับตอ่ สาย เข้าปลายสายของอุปกรณไ์ ฟฟา้ รปู ที่ 2.36หางปลาอะลมู เิ นียม

30 2. หลอดต่อสาย (Full Tension Compression Splicing) ส่วนใหญ่ใช้ต่อสายอะลูมิเนียมเปลือย (AAC) มีทัง้ แบบรบั แรงดึงและไม่รับแรงดงึ รูปที่ 2.37 หลอดต่อสาย 3. แคลมป์ลกู ตาล (Connector Dead End) ใช้ในการเขา้ ปลายสาย ในระบบแรงตํ่าทีพ่ าดกับลูกถ้วย ลูกรอก รูปที่ 2.38 แคลมปล์ ูกตาล 4. พี.จี แคลมป์ (Connector P.G. Clamp) ใช้จับยึดสาย และต่อสายเมน นิยมใช้ในระบบแรงต่ำ 380/220 V ทำจากอะลูมิเนียม มี 3 แบบ คือแบบสลักเด่ียว แบบสลักคู่และแบบ 3 สลัก มีขนาด 16 - 7 , 25 - 95 , 70 - 85 , และ 5 - 240 ตารางมลิ ลเิ มตร รปู ท่ี 2.39 พ.ี จี แคลมป์ 5. พี.จี. แคลมป์แบบมือเสือ (Connector Parallel Groove Clamps) ลักษณะการใช้งานเหมือนกับ พ.ี จ.ี แคลมป์ แต่มขี นาดใหญ่ ทำมาจากอะลมู เิ นยี ม รูปที่ 2.40 พ.ี จ.ี แคลมปแ์ บบมอื เสือ

31 6. แคลมป์ทองเหลือง 2 สกรู (Mechanical Connector 2 Bolt) ใช้สำหรับจับยึดสายหรือต่อสาย เช่นเดียวกับ พ.ี จ.ี แคลมป์ แต่มขี นาดใหญ่ ทำมาจากทองเหลอื ง รปู ท่ี 2.41 แคลมป์ทองเหลือง 2 สกรู 7. สปลติ โบลต์ (Split Bolt Connector) ลักษณะการใชง้ านเหมือนกับแคลมปท์ อง เหลือง 2 สกรู รูปที่ 2.42 สปลติ โบลต์ (Split Bolt Connector) 8. ปรีฟอร์ม (Preformed) ใช้ผูกยึดปลายสายเข้ากับลูกถ้วยและผูกยึดสายโยง สามารถใช้ซ่อมแซม สายไฟฟ้าแรงสงู ไดอ้ กี ด้วย ทำมาจากลวดอะลูมเิ นียมอัลลอย รูปท่ี 2.43 ปรีฟอรม์ (Preformed) 9. ไวเบรชั่นแดมเปอร์ แบบสไปแรล (Spial Vibration Damper) ใช้ในการลดการสั่นไหวของ สายไฟฟ้า ในชว่ งสายท่ีมรี ะยะห่างมากวา่ 120 เมตรข้นึ ไป รูปที่ 2.44 ไวเบรช่ันแดมเปอร์ แบบสไปแรล 10. ลวดอะลูมิเนียมกลม (Tie Wire) ใช้สำหรับผูกสายไฟฟ้ากับลูกถ้วยลูกรอก ลูกถ้วยก้านตรงหรือ เขา้ ปลายสายระบบแรงตํา่ ตวั อยา่ งลวดอะลมู เิ นยี มกลม รปู ที่ 2.45 ลวดอะลูมิเนียมกลม

32 11. ลวดอะลูมเิ นียมแบน (Armour Tape) ใชย้ ึดสายเมนแรงต่ําติดกลับเสา ในการตอ่ วัตต์ฮาวรม์ เิ ตอร์ และใช้ห่อหุ้มสายผูกลกู ถ้วยลกู รอก ตัวอย่างลวดอะลมู เิ นียมแบน รูปท่ี 2.46 ลวดอะลูมิเนยี มแบน 12. แคลมป์อะลูมิเนียมตัวตรง (Strain Clamp) ใช้จับยดึ สายแรงสงู กับลูกถว้ ยแขวนใช้ในการต่อ เพ่ือ รองรบั แรงดงึ ตามโคง้ หรือแยกตา่ ง ๆ รปู ที่ 2.47 แคลมป์อะลูมิเนียมตัวตรง 13. แคลมป์อะลูมิเนียมแบบด้ามปืน (Strain with Clamping Keeper) ลักษณะการใช้งาน เชน่ เดยี วกบั แคลมปอ์ ะลูมิเนียมตัวตรง แต่มีขนาดใหญ่กว่า รูปท่ี 2.48 แคลมป์อะลูมิเนียมแบบด้ามปนื 14. ฮอตไลน์แคลมป์ (Hot Line Clamp) ใช้สำหรับการต่อแยกสายในระบบแรงสูง ต่อแยกวงจรของ ระบบ และต่อแยกเขา้ ชุดลอ่ ฟา้ ใช้งานร่วมกบั เบลแคลมป์ รูปที่ 2.49 ฮอตไลน์แคลมป์

33 15. เบลแคลมป์ (Bail Clamp) ใช้ในการจับยึดสายเมนแรงสูง เพื่อต่อแยกสาย ใช้ร่วมกับฮอตไลน์แค ลมป์ รูปที่ 2.50 เบลแคลมป์ อปุ กรณส์ ำหรับประกอบเคร่ืองวัดพลงั งานไฟฟา้ เนื่องจากในระบบจำหน่ายมกี ระแสและแรงดันที่สูง ไม่สามารถต่อเข้ากับเครื่องวดั พลังงานไฟฟ้า เชน่ วัตต์ฮาวร์มิเตอร์ ได้โดยตรง ดังนั้น จึงต้องทำการต่อผ่านอุปกรณ์สำหรับประกอบเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า เชน่ หม้อแปลงกระแส หมอ้ แปลงแรงดัน เพอ่ื ลดกระแสและแรงดัน เป็นการปรับลดกระแสและแรงดันให้เหมาะสม กับ วตั ต์ฮาวร์มิเตอร์ ซึ่งมดี งั นี้ 1. หม้อแปลงกระแส (Current Transformer : CT) มีหนา้ ทีล่ ดกระแสไฟฟ้า โดยทำการต่อรว่ มกับขด กระแสของวัตตฮ์ าวรม์ เิ ตอร์ หากตอ่ ตรง กระแสจะไหลผา่ นวตั ตฮ์ าวร์มเิ ตอรจ์ ำนวนมาก ทำใหข้ ดลวดไหม้ได้ รูปท่ี 2.51หมอ้ แปลงกระแส 2. หม้อแปลงแรงดัน (Potential Transformer : PT) ใช้ปรับลดแรงดันใหต้ ่าํ ลง เพื่อตอ่ เข้ากบั ขดลวด แรงดันภายในวัตต์ฮาวร์มเิ ตอร์ รปู ที่ 2.52 หม้อแปลงแรงดัน

34 3. กโิ ลวตั ต์ฮาวร์มเิ ตอร์ มที ั้งใชก้ บั ระบบแรงสูงและแรงต่ํา มชี นิด 1 เฟส และชนดิ 3 เฟส ใชว้ ัด พลังงานไฟฟ้าท่ใี ชใ้ นแตล่ ะชัว่ โมง จะตอ้ งต่อ CT และ PT ร่วมด้วย หากตอ่ ใชง้ านกบั กระแสไฟฟา้ และแรงดนั ท่ี สูงกว่า ตวั อย่างกิโลวตั ต์ฮาวร์มิเตอร์ รปู ที่ 2.53 กิโลวัตต์ฮาวรม์ ิเตอร์ 5. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ 5.1 การนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น 5.1.1 แจง้ ใหผ้ ู้เรยี นทราบถงึ เน้ือหาสาระวิชา จุดประสงคก์ ารเรียนรูแ้ ละกจิ กรรมที่ใชใ้ นการจัดการ เรียนการสอน 5.1.2 ครผู ูส้ อนอธิบายวิธีการใช้ วัสดุอุปกรณ์ในการตดิ ต้ังไฟฟ้านอกอาคาร พรอ้ มใชค้ ำถามกระตุ้น ซักถามกบั ผเู้ รียนเพ่ือกระตุ้นความสนใจให้กบั ผู้เรยี น 5.2 การเรยี นรู้ 5.2.1 ผูเ้ รียนและครูผสู้ อนร่วมกนั อภิปรายกิจกรรมการเรยี นรู้ วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการติดตั้งไฟฟ้านอก อาคารโดยใหบ้ ันทึกผลตามรูปแบบ 5.2.2 ครผู ้สู อนอธิบายหลักการใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการตดิ ตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร 5.2.3 ตั้งคำถามให้ผู้เรียนเสนอข้อมูลจากประสบการณ์ของตนในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการติดต้ัง ไฟฟ้านอกอาคาร 5.2.4 ผู้เรียนร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกับวสั ดุอุปกรณ์ในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคารที่รวบรวมได้จาก การศึกษาค้นคว้า โดยแบ่งกลุ่ม(4-5คน/กลุ่ม) เพื่อระดมความคิดของสมาชิกในกลุ่มตามหวั ขอ้ ที่กำหนด โดยมี ครเู ปน็ ผ้ใู หค้ ำแนะนำ 5.2.5 ผู้เรยี นแตล่ ะกลุ่มออกแบบหรือหาวธิ นี ำเสนอใหผ้ อู้ ืน่ รับรู้และสื่อสารได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5.2.6 ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดคำถามท้ายบท และแบบประเมินผลการเรียนรู้ พร้อมกับร่วมกัน อภิปรายคำตอบท่ีถูกต้อง 5.2.7 เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่นำมาอภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตาม หวั ขอ้ ทศี่ กึ ษา จากนัน้ บนั ทึกผลข้อสรปุ เปน็ ความเขา้ ใจของกลุม่ และรายบคุ คล 5.3 การสรปุ 5.3.1 ครผู ู้สอนซกั ถามและสรุปเนื้อหาบทเรยี นเกย่ี วกบั วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการติดตง้ั ไฟฟ้านอกอาคาร

35 5.3.2 ครูผู้สอนไดส้ อดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาวชิ าชีพในเรือ่ ง ความมีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มนั่ การทำงาน มีจิตสาธารณะและอยู่อยา่ งพอเพยี ง 5.4 การวดั และประเมนิ ผล 5.4.1 สงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานรายบคุ คล 5.4.2 การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.4.3 ตรวจแบบฝึกหดั และแบบประเมินผลการเรยี นรู้ 6. ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือสิง่ พิมพ์ อนุสรณ์ โคกกลาง. การตดิ ตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร. กรุงเทพฯ. ศูนย์ส่งเสรมิ อาชีวะ ศสอ. 2562. ธวัชชยั จารจุ ิตร์. การตดิ ตั้งไฟฟา้ นอกอาคาร. กรงุ เทพฯ. สำนกั พิมพ์ วงั อักษร. 2553. 6.2 ส่ือโสตทศั น์ (ถ้าม)ี 6.2.1 Power Point เรื่อง เคร่อื งมอื ในการติดต้ังไฟฟา้ นอกอาคาร 6.2.2 YouTube เรื่อง เครอ่ื งมือในการตดิ ตง้ั ไฟฟา้ นอกอาคาร 6.3 ห่นุ จำลองหรือของจริง (ถา้ ม)ี 6.4 อน่ื ๆ (ถา้ มี) 7. เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ (ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบ หลงั เรยี น แบบถาม-ตอบ (ระหวา่ งเรยี น) แบบตรวจสอบทกั ษะ ฯลฯ) 7.1 ใบความรู้ เร่อื ง วัสดุอุปกรณ์ในการติดตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 7.2 ใบงาน เร่ือง วัสดุอุปกรณ์ในการติดต้ังไฟฟ้านอกอาคาร 7.3 แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง วัสดอุ ุปกรณ์ในการติดตัง้ ไฟฟ้านอกอาคาร 7.4 แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง วัสดุอุปกรณ์ในการตดิ ต้งั ไฟฟ้านอกอาคาร 8. การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซอื่ สัตย์ สจุ ริต ความมีนำ้ ใจและแบ่งปัน ความร่วมมอื /ยอมรบั ความคิดเห็นสว่ นใหญ่

36 9. การสอดแทรกแนวคิด/กิจกรรมต่อต้านการทุจรติ (กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และ ธรรมมาภบิ าล) 9.1 การอยู่รว่ มกับผู้อืน่ อยา่ งมคี วามสุข การแบ่งกลุ่ม ชว่ ยเหลือกันและรว่ มงานกบั ผู้อืน่ ได้ 9.2 สนทนากบั นักเรยี น ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม กอ่ นและหลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 9.3 ความร้กู ารใชภ้ าษาไทย การสรปุ อภิปรายโดยใช้ภาษาสอ่ื สารทถี่ กู ตอ้ ง 9.4 ความรเู้ ก่ียวกับการใชอ้ ินเตอร์เน็ต (Internet) ในการศึกษาคน้ คว้า 9.5 สอดแทรกความรูแ้ ละโทษของยาเสพตดิ 10. การบรู ณาการ / ความสมั พันธ์กบั วิชาอน่ื 10.1 มีเนื้อหาบรู ณาการสอดคล้องกับวชิ า การติดตัง้ ไฟฟ้าในอาคาร 10.2 มีเนอ้ื หาบูรณาการสอดคล้องกับวชิ า การออกแบบและประมาณราคา 10.2 มีเน้อื หาบูรณาการสอดคล้องกับวชิ า การเขียนแบบไฟฟา้ เบ้ืองต้น 11. การวัดและประเมินผล 11.1 กอ่ นเรียน วธิ ีการวัดผล ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เครื่องมอื วัด แบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ขอ้ 11.2 ขณะเรยี น วิธกี ารวัดผล ถาม-ตอบและทกั ษะการทดลอง เครื่องมือวัด คำถามจากบทเรียนและการรายงานผลการทดลอง 11.3 หลงั เรียน วธิ ีการวัดผล ทำแบบทดสอบหลังเรยี น เครอื่ งมอื วดั แบบทดสอบหลงั เรยี น จำนวน 10 ขอ้ แบบฝึกหน่วยการเรียน ท่ี 2 วสั ดุอุปกรณใ์ นการตดิ ตั้งไฟฟ้านอกอาคาร 1. วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นงำนติดต้ังไฟฟำ้ นอกอำคำรมีด้วยกันก่ีชนิด ก. 1ชนิด ข. 2 ชนดิ ค. 3 ชนิด ง. 4 ชนดิ 2. สำยไฟฟำ้ สว่ นใหญ่ทํำจำกอะไรบ้ำง ก. ทองแดง เงิน ข. อะลูมีเนยี ม ค. แกนเหล็ก ทองแดง ง. ดบี กุ สังกะสี 3. สำยไฟฟ้ำชนดิ ใดนยิ มใช้ในระบบสง่ จำ่ ยไฟฟ้ำแรงสงู ก. สำบยอลมู ิเนียมเปลอื ย ข. สำยหมุ้ ฉนวน ค. สำยทองแดงหมุ้ ฉนวน PVC ง. สำยอลมู เิ นียมห้มุ ฉนวน

37 4. ข้อใดคือเสำไฟฟำ้ ทน่ี ยิ มใช้กันในปัจจุบัน และพบเหน็ ได้ทั่วไป ก. เสำคอนรีตเสรมิ เหลก็ ข. เสำไม้ ค. เสำโครงเหล็ก ง. เสำโคมไฟถนน 5. ข้อใดคือหนำ้ ท่ีสำํ คญั ของคอนสำย ก. เพิ่มควำมสมดุลของเสำไฟฟำ้ ข.เพอื่ ป้องกนั กำรชํำรดุ ของสำยไฟฟำ้ ค. เพือ่ ปอ้ งกันกำรชํำรุดของอปุ กรณ์ไฟฟำ้ ง. เพือ่ รองรับลกู ถว้ ย สำยไฟฟ้ำหรืออุปกรณ์อื่นๆ 6. ขอ้ ใดคือหน้ำท่ีสำํ คญั ของลูกถว้ ยไฟฟ้ำ ก. เพอ่ื รองรับสำยไฟฟำ้ และเปน็ ฉนวนป้องกันกำรรั่วไหลของกระแสไฟฟ้ำ ข. เพ่ือปอ้ งกันกำรชำํ รุดของกระแสไฟฟ้ำในระบบสง่ จ่ำยแรงสงู ค. เพอ่ื ปอ้ งกันกำรชำํ รุดของอปุ กรณ์ไฟฟ้ำและระบบสง่ จำ่ ยแรงต่ำํ ง. เพอ่ื ให้เกิดควำมเปน็ ระเบียบเรียบร้อยในงำนพำดสำย 7. ลกู ถว้ ยยึดโยงเรียกอีกอย่ำงวำ่ อะไร ก. ลกู ถว้ ยลูกรอก ข. ลูกถ้วยก้ำนตรง ค. ลกู ถ้วยมะเฟอื ง ง. ลูกถว้ ยแบบแขวน 8. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ อปุ กรณส์ ํำหรับกำรยืดโยง ก. สมอบก ข. แคลมป์ลูกตำล ค. ยูแคลมปล์ กู ตำล ง. หว้ งโค้งสำย 9. กิโลวตั ต์ฮำวร์มเิ ตอร์มีก่ชี นิด ก.1 ชนดิ แบบ 1 เฟส ข. 1 ชนิด 3 เฟส ค. 2 ชนิด แบบ 1 เฟส,แบบ3 เฟส ง. ถูกทุกข้อ 10. ลกู ถ้วยท่กี ำรไฟฟำ้ ส่วนภมู ภิ ำค ใชง้ ำนในปัจจุบนั ก่ีชนิด ก. 5 ชนดิ ข. 6 ชนดิ ค. 7 ชนิด ง. 8 ชนิด เฉลย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 งขกกงกคขขข แบบทดสอบออนไลน์ หน่วยการเรียน ที่ 2 วัสดอุ ุปกรณใ์ นการตดิ ต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร http://gg.gg/uogo9

38 12. บันทกึ หลงั สอน (เขยี นแนบไวด้ า้ นหลงั แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแบบฟอรม์ ของวิทยาลยั ) 12.1 ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ 12.2 ผลการเรยี นรู้ของนกั เรียน – นกั ศึกษา 11.3 แนวทางการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้

39 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 3 มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วชิ า การติดต้งั ไฟฟา้ นอกอาคาร สปั ดาหท์ ี่ 3-4 รหสั วชิ า 20104-2106 ช่ือหน่วย การปักเสา ชั่วโมงรวม 28 ช่ัวโมง จำนวนชว่ั โมง14 ช่ัวโมง 1. สาระสำคญั ในระบบจำหน่ายไม่ว่าจะเป็นแรงตํ่าหรือแรงสูง โดยส่วนใหญ่จะเป็นการพาดสายไว้บนเสาไฟฟ้าเหนือ ศีรษะเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งในการปักเสาไฟฟ้าก็มีความสำคัญมากส่วนหนึ่งเป็นขั้นตอน ก่อนทำการพาดสาย การปฏิบัติการปักเสานั้น ต้องถูกต้องตามมาตรฐานให้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ โดย คำนึงถงึ ความมน่ั คงแข็งแรง และปลอดภัยและงานซอ่ มบำรุงในอนาคต 2. สมรรถนะประจำหนว่ ย 2.1 แสดงความรู้เก่ียวกบั การปกั เสาไฟฟา้ 2.2 ใช้วัสดุ เครื่องมือ อปุ กรณ์ในการปักเสาไฟฟา้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ 3.1.1 อธิบายและบอกข้อกำหนดในการปักเสาไฟฟ้า ได้ 3.1.2 อธบิ ายการจำแนกวธิ ปี กั เสาไฟฟ้า ได้ 3.1.3 อธบิ ายตรวจวดั ระยะระหวา่ งเสาไฟฟา้ ระบบจำหนา่ ยแรงสูง และระบบจำหน่ายแรงต่ำ 3.2 ดา้ นทักษะ 3.2.1 ปฏิบัติการทำฐานเสาไฟฟ้าให้ม่ันคงแข็งแรงได้ 3.2.2 ปฏิบตั ิการปักเสาได้อย่างถูกต้อง ได้ถูกวิธี 3.2.3 สามารถตรวจวัดระยะระหวา่ งเสาไฟฟา้ ระบบจำหน่ายแรงสูง และระบบจำหนา่ ยแรงตำ่ ได้ 3.3 ดา้ นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.3.1 มวี ินยั 3.3.2 ใฝ่เรยี นรู้ 3.3.3 มุ่งมั่นในการทำงาน 3.3.4 มจี ิตสาธารณะ 3.3.5 มหี ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. เนอื้ หาสาระการเรียนรู้ 4.1 อุปกรณส์ ำหรบั พาดสายลัดงึ สาย 4.2 อปุ กรณส์ ำหรบั ยดึ โยงเสาไฟฟา้ 4.3 อุปกรณ์สำหรบั ตอ่ สายและยึดสาย

40 4.4 อุปกรณส์ ำหรับประกอบเคร่ืองวดั พลงั งานไฟฟ้า ขอ้ กำหนดในการปกั เสา ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสำรวจพื้นที่ต้นทางจนถึงปลายทาง ก่อนที่จะทำการปักเสา เพื่อใช้ในการกำหนด ระยะแนวปักเสา จัดเตรียมจำนวนวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดที่ต้องใช้งาน จนถึงการตัดสินใจวางแผนกำลังคนและ เคร่อื งจักรในการทำงาน การปกั เสามีขั้นตอนการขุดหลุมและการปกั เสา ดงั น้ี 1. การขุดหลมุ การขุดหลุมเสา การดำเนินการขุดหลุมปักเสาไฟฟ้า จะต้องมีการสำรวจพื้นที่และ สภาพแวดล้อม เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแบบการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่จริง โดย จะต้อง อนุรักษ์ธรรมชาติให้มากที่สุด ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานควรมีความรู้ในการตัดแต่งต้นไม้ไม่ทำให้ต้นไม้ โทรมตาย ภายหลังการตดั รวมถึงการปกั เสาตอ้ งไม่เปน็ อันตรายต่อสงิ่ ปลูกสร้าง ขา้ งเคียง วิธีการขดุ หลุมปกั เสาไฟฟ้า รปู ที่ 3.1 การขดุ หลมุ เสา รปู ท่ี 3.2 ขนาดของหลมุ ตามมาตรฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook