Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฐานการเรียนรู้ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่

คู่มือฐานการเรียนรู้ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่

Published by khotphet.bo, 2022-06-15 05:05:27

Description: ต.บุญทัน

Search

Read the Text Version

คูม่ อื ฐานการเรียนรทู้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ ก คำนำ คู่มือประจำฐานการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศกึ ษา ฐานการเรียนรทู้ ี่ 8 ผลิตภณั ฑ์จากไม้ไผ่ คมู่ ือฐานการเรียนรู้เล่มน้จี ดั ทำขนึ้ เพื่อใช้ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ในฐานการเรียนรู้ ที่ 8 ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ ของกศน.อำเภอสุวรรณคูหา เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และเป็นคู่มือสำหรับผู้เรียนเพือ่ ใช้ประกอบการเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำฐานการเรียนรู้ที่ 8 ผลิตภัณฑ์ จากไม้ไผ่ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เล่มน้ี จกั เป็นประโยชน์ต่อผเู้ รียน ผ้สู อน และผทู้ ีส่ นใจ และสามารถนำไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ กศน.ตำบลบุญทนั

คู่มอื ฐานการเรียนร้ทู ่ี 8 ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ ข สารบัญ หน้า รายการ ก ข คำนำ 1 สารบัญ 3 ศาสตรพ์ ระราชา 5 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 6 รปู แบบการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสฐู่ านการเรยี นรู้ 7 แผนภมู กิ ารขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 8 แผนผัง กศน.อำเภอสวุ รรณคูหา 9 แผนผัง ฐานการเรียนรู้ 10 ขน้ั ตอนการเรยี นรูฐ้ านการเรยี นรู้ 11 ใบลงทะเบยี นประจำฐานการเรียนรู้ 17 แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ กิจกรรม “ผลิตภณั ฑ์จากไม้ไผ่” 22 ใบความรู้ 23 แบบทดสอบก่อนเรียน 24 ใบงาน 25 แบบทดสอบหลังเรยี น 26 เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลงั เรียน 28 แบบสอบถามความถึงพอใจการใชฐ้ านการเรียนรู้ คณะทำงาน

คู่มือฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 1 ศาสตร์พระราชา จากนภา ผา่ นภูผา ส่มู หานที ศาสตร์พระราชา คือ แนวทางการพัฒนาของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่มีความลุ่มลึก รอบด้าน มองการณ์ไกล และเน้นความยั่งยืนยาวนาน ก่อนที่ประชาคมโลกจะตื่นตัวในเรื่องนี้ เป็นแนวทางการพัฒนาที่มุ่งยกระดับ คุณภาพ ชีวิตของคนไทยทุกหมู่เหล่า องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา คือ การศึกษาและสุขภาพการ เพิ่มผลิตภาพการผลิต การค้นคว้าวิจยั การบริหารความเสยี่ ง การอนรุ ักษธ์ รรมชาติ และปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง แต่ละองค์ประกอบล้วน มสี ว่ นช่วยยกระดับคุณภาพชวี ิตของทกุ ผ้ทู กุ คน โดยเฉพาะคนจนผยู้ ากไร้ หลกั การทำงานตามศาสตรพ์ ระราชาเขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นา เปน็ วธิ ีการแหง่ ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพฒั นาที่ ย่ังยนื ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชทรงใช้เป็นวธิ ีการทรงงานมาตลอด รัชสมยั ศาสตร์พระราชา มนี ยั ยะกวา้ งขวางมาก ศาสตรแ์ ปลวา่ ความรูท้ เี่ ป็นระบบ เชอ่ื ถอื ได้ ผา่ นการพสิ จู น์ มาแล้ว ความรู้ของพระเจ้าแผน่ ดินพระองคน์ ี้ มที ้ังดา้ นทเี่ ป็นวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ ทั้งวทิ ยาศาสตรป์ ระยุกต์ ทั้งสังคมศาสตร์ ทั้งมานุษยวิทยา มนุษยศาสตร์ คือ มีทุกมิติ ถ้าเราติดตาม/ดูงาน ที่พระองค์ท่านทรงงานมามากกว่า 70 ปี พระองค์ ทรงปฏบิ ตั ิเป็นตัวอย่างมาให้ดทู ั้งหมด 1,500 กวา่ แหง่ มที กุ ศาสตร์ มีทง้ั จริยธรรมศาสตร์ ศาสนา มที กุ มติ ิ หลกั ในการทรงงานของในหลวง (ศาสตรพ์ ระราชา) 23 ข้อ ข้อที่ 1 จะทำอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ อดีตทำอะไรมาบ้าง ทั้งเอกสาร สอบถามเจ้าหน้าที่และชาวบ้าน เพือ่ นำขอ้ มูลไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริงๆ ขอ้ ท่ี 2 ระเบดิ จากภายใน สรา้ งความเขม้ แข็งจากภายในใหเ้ กิดความเข้าใจ และอยากทำ ข้อที่ 3 แก้ปัญหาจากจดุ เลก็ มองภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาตอ้ งเร่มิ จากจุดเล็ก ๆ ไมเ่ ร่ิมทีเดยี วใหญ่ ๆ ข้อท่ี 4 ทำตามลำดบั ข้ัน เรมิ่ ทำจากความจำเป็นก่อน สิง่ ท่ขี าดคอื ส่ิงท่ีจำเป็น ข้อที่ 5 ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การทำงานทุกอย่าง ต้องคำนึงถึงภูมิศาสตร์ว่า อยู่แถบไหน อากาศเป็น อย่างไร ติดชายแดน ติดทะเล และ สังคมของเราเป็นอย่างไร นับถือศาสนาอะไร คนนิสัยใจคอเป็นอย่างไร รวมไปถงึ พวกเรากันเองด้วย

คมู่ ือฐานการเรียนรูท้ ี่ 8 ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 2 ข้อที่ 6 ทำงานแบบองค์รวม โดยคิดความเชื่อมโยง ทรงมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีแนวโน้มทางแก้ไขอย่าง เชอ่ื มโยง องคร์ วม <-------------> ครบวงจร เชื่อมโยง “เด็ดดอกไมส้ ะเทอื นถงึ ดวงดาว” ขอ้ ท่ี 7 ไมต่ ิดตำรา ความร้ทู ่วมหวั เอาตวั ไมร่ อด บางคร้งั เรายดึ ทฤษฎีจนเกนิ ไปทำอะไรไมไ่ ดเ้ ลย ขอ้ ที่ 8 ประหยดั เรียบง่าย ใชเ้ งินนอ้ ย แตไ่ ด้ประโยชน์สูงสดุ ทำไดเ้ อง หาได้เองในท้องถ่ิน ใชเ้ ทคโนโลยงี า่ ยๆ ขอ้ ที่ 9 ทำใหง้ า่ ย ทำอะไรใหง้ ่ายๆ ทำให้ชีวิตงา่ ย โปรดทำสิ่งยากๆ ให้กลายเปน็ สิ่งทีง่ ่ายๆ ขอ้ ที่ 10 การมีส่วนร่วม เปิดโอกาสใหม้ ีการแสดงความคิดเห็น ข้อที่ 11 ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม จากพระราชดำรัส ใครต่อใครชอบบอกให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม ให้ส่วนรวม คือ การช่วยตัวเองดว้ ย เพราะเมอ่ื ส่วนรวมไดป้ ระโยชน์ เราเองก็ได้ประโยชน์ ข้อท่ี 12 บริการทีจ่ ดุ เดียว วันนเ้ี ราพูด วนั สตอ๊ ปเซอร์วิส แต่ในหลวงตรสั ไวเ้ กนิ 20 ปมี าแลว้ ขอ้ ที่ 13 ใช้ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ มองธรรมชาติให้ออก กกั น้ำตามลำธารช่วยให้ปา่ สมบูรณ์ช่วยใหช้ าวเขามอี าชีพ ขอ้ ท่ี 14 ใช้อธรรมปราบอธรรม เชน่ เอาผักตบชวาท่เี ป็นปัญหาของเราในประเทศ มากำจัดน้ำเสีย ข้อท่ี 15 ปลูกปา่ ในใจคน ต้องปลูกปา่ ท่ีจิตสำนกึ กอ่ น ต้องให้เหน็ คุณค่า ก่อนทีจ่ ะลงมือทำ ข้อที่ 16 ขาดทุนคอื กำไร อย่ามองที่กำไรขาดทุนทเ่ี ปน็ ตัวเงนิ มากจนเกินไป บางครัง้ เราไดก้ ำไรจากการขาดทนุ - ลงทุนมหาศาล ได้ธรรมชาติกลับคนื มา - ลงทุนมหาศาล ได้ลูกคนื มา - ลงทนุ มหาศาล ได้คนดๆี กลับมา - ลงทุนมหาศาล ได้ความรู้ไว้คอยช่วยเหลอื ข้อที่ 17 การพง่ึ ตนเอง ในหลวงทรงสอนใหพ้ วกเราพ่ึงตนเอง เพราสังคมบริโภค จะเปน็ ทาสของผู้ผลิต การพึ่งตนเอง ไดท้ ำใหไ้ มต่ ้อง เปน็ ทาสใคร เม่ือแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าแล้วพยายามพง่ึ ตนเองให้ได้ ข้อท่ี 18 พออยูพ่ อกิน พออยพู่ อกินก่อน แลว้ ค่อยพฒั นา เราขอให้บำบัดให้ได้ก่อน==> ประคบั ประคอง==> เป็นที่ ปรกึ ษา==>เป็น ผู้ชว่ ยเหลอื ผู้อื่นตอ่ ไป ข้อที่ 19 เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการต่อสู้รับมือความเปลี่ยนแปลงของโลก การขจัดความหิวโหย ที่ต้อง คำนงึ ถึงเรอื่ งความพอดีโดย อาศยั หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ข้อที่ 20 ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน คนที่มีความรู้มาก แต่โกง สู้คนที่ไม่เก่ง แต่ดีไม่ได้ วีรบุรุษ วีรสตรีคือ คณุ ธรรม ท่ีทำประโยชนเ์ พอื่ ผู้อ่ืน พวก เราทที่ ำงานยาเสพติด คือ วีรบรุ ุษ วรี สตรผี ้หู น่ึง ข้อที่ 21 ทำงานอย่างมีความสุข “ทำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ ฉันมีแต่ความสุข ที่ร่วมกันในการทำประโยชน์ ใหก้ ับผูอ้ นื่ เทา่ น้นั ” ทำอะไรตอ้ ง มีความสุขดว้ ย ข้อที่ 22 ความเพียร กวา่ 60 ปที ท่ี รงงาน ในหลวงไม่เคยทรงทอ้ ถอย ไมม่ กี ารลาพักรอ้ น หยดุ งานสกั เวลาเดยี ว ข้อที่ 23 รู้ รัก สามัคคี คิดเพื่องาน รู้ = ต้องรู้ปัจจัย รู้ปัญหา รู้ทางออก ของปัญหา รัก = เมื่อรู้แล้ว ต้องเกิดความ อยาก สามัคคี = ร่วมมือ ลงมือปฏบิ ัตเิ พอ่ื เกดิ พลัง ทมี่ า: http://r01.ldd.go.th/spb/News61/ContinuetheworkthatFatherdid/KMRama9.pdf

คมู่ ือฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลิตภณั ฑ์จากไม้ไผ่ 3 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) หมายถึง ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมี พระราชดำรสั ชแ้ี นะแนวทางท่ีควรดำรงอยู่และปฏบิ ัตติ นแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ต้ังแต่ก่อน เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ 2550 ให้ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นวิกฤต และสามารถดำรงอยู่ได้ อย่างมั่นคงและ ยั่งยืนภายใตค้ วามเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ กรอบแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักคิดและหลักปฏิบัติที่ชี้ถึงแนวทาง การดำรงอยู่และปฏิบัติตน ของ ประชาชนในทุกระดับ ตงั้ แต่ ครอบครวั ชมุ ชน จนถงึ หนว่ ยงานภาครัฐ ทงั้ ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศให้ดำเนิน ไปในทางสายกลาง เพื่อให้พอมีพอกินพอใช้ สามารถพึ่งตนเองได้ ให้คนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติสขุ เพื่อให้คนกับธรรมชาติอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล และให้แต่ละคนดำรงตนอย่างมีศักดิ์ศรี บนรากเหง้า ทางวัฒนธรรม สมดลุ และยง่ั ยนื โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อใหก้ ้าวทนั โลกยุคโลกาภิวฒั น์ เป้าหมายของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มุ่งใหเ้ กิดความสมดุลและพร้อมตอ่ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทงั้ ทางวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรม องค์ประกอบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยหลักคิดประกอบการตัดสินใจและปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่ความสมดุลและยั่งยืน พรอ้ มรับต่อการเปล่ยี นแปลง 2 3 4 คือ 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ ดงั น้ี ก่อนลงมือปฏิบัติ ใด ๆ นั้นต้องมีเงือ่ นไขสำคัญที่จะทำใหก้ ารตัดสินใจและการกระทำ เป็นไปอย่างพอเพียง จะต้องอาศัยท้ังคุณธรรมและความรู้ ดังนี้ ความรู้ ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง รอบด้าน มีความ รอบคอบ และความระมดั ระวังทีจ่ ะนำความรูต้ ่าง ๆ เหลา่ น้ันมาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกัน คุณธรรม ที่จะตอ้ งสรา้ งเสริมให้เป็นพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบดว้ ย ดา้ นจติ ใจ คือการ ตระหนักใน คุณธรรม รู้ผิดชอบชัว่ ดี ซื่อสัตยส์ ุจรติ ใชส้ ติปญั ญาอยา่ งถูกต้องและเหมาะสมในการดำเนิน ชวี ิต และด้านการกระทำ คือมคี วามขยันหมั่นเพียร อดทน ไมโ่ ลภ ไมต่ ระหนี้ รจู้ ักแบ่งปัน และรับผดิ ชอบ ในการอยรู่ ว่ มกับผู้อื่นในสงั คม ระหว่างดำเนินการ ใช้ 3 หลักการ เป็นองค์ประกอบในการทำกิจกรรม คือ ความพอประมาณ ความมี เหตผุ ล และมภี ูมิคุ้มกนั ในตวั เองท่ีดี โดยมีความหมายดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจำเป็น และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป และต้องไม่เบียดเบียน 6 ตนเองและ ผอู้ น่ื

คู่มอื ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 8 ผลิตภัณฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 4 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจดำเนินการเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทำนั้น ๆ อยา่ งรอบรแู้ ละรอบคอบ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม เพื่อใหส้ ามารถปรับตัวและ รบั มอื ได้อยา่ งทนั ทว่ งที หลังจากดำเนนิ การ ผู้เรียนนำเงอ่ื นไขมาประกอบการตดั สนิ ใจลงมือปฏิบัติ จงึ ก่อใหเ้ กิดความก้าวหน้าอย่าง สมดุลและม่ันคงนำไปส่คู วามยง่ั ยนื พรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงท้ัง 4 มติ ิ ดงั นี้ เศรษฐกจิ /วัตถุ ใช้วัตถสุ ่ิงของ เงนิ ทรพั ยากรอยา่ งประหยัด รคู้ ุณค่า เกดิ ประโยชนแ์ ละคุม้ ค่า บรหิ ารการเงิน ไดอ้ ย่างเหมาะสม สังคม มีความรู้ในการแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสม มีความรู้ในการปฏิบัติตนที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงาน ร่วมกันภายในกลุ่มจนสำเร็จและมีความสุข มีความรับผิดชอบต่อการทำงานของกลุ่ม ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน มีความเสียสละ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน มีจิตอาสา มีความมุ่งมั่นในการทำงาน มีทักษะในการประกอบอาชีพ ห่างไกลยาเสพติด มีการแบ่งปัน ให้ความ ช่วยเหลอื สิง่ แวดลอ้ ม มีความรใู้ นการดแู ลรกั ษาอย่างถูกต้อง รกั ษาความสะอาดทุกคร้ังหลงั จากทำกิจกรรมเสรจ็ สิ้น มี จติ สำนึกในการรกั ษาความสะอาดเปน็ ระเบยี บ การเลอื กใช้ทรัพยากรท่มี ีอยูอ่ ยา่ งคุ้มค่า มีจติ สำนกึ ร่วมอนุรกั ษ์ นำ้ ดิน ปา่ อากาศ พลังงาน การคัดแยกขยะ และการนำกลับมาใช้ประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ ชุมชนสะอาด นา่ อยนู่ ่าอาศัย วัฒนธรรม เป็นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นและชุมชน สืบสานรากเหง้าของความเป็นไทย การ ยึดถือและปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนา เชื่อมโยงจากอดีตสู่ปัจจุบันส่งผลต่ออนาคต สืบสานเอกลักษณ์เฉพาะ พื้นที่ และความเป็นไทย มีการส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง เคารพกฎระเบียบของโรงเรียนหรือชุมชน เช่น ปฏิบัติตามกฎ จราจร ปฏบิ ัตติ ามกฎลกู เสอื เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรัชญาที่เป็นทง้ั แนวคดิ หลักการ และแนวทางปฏิบตั ิตนของแต่ละบุคคล และองค์กร โดยคำนงึ ถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง และสภาวะแวดลอ้ ม ความมีเหตุมีผล และการมีภมู คิ มุ้ กนั ที่ดีใน ตัวเอง โดยใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการมีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และร่วมมือ ปรองดองกันในสังคม ซึ่งจะช่วยเสริมสร้าง สายใยเชื่อมโยงคนในภาคส่วนต่าง ๆ ของสังคมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์พลังในทางบวก นำไปสู่ความสามัคคี การ พฒั นาทส่ี มดลุ และยง่ั ยนื พรอ้ มรับต่อการ เปล่ียนแปลงภายใต้กระแสโลกาภิวฒั น์ได้

ค่มู อื ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 5 รูปแบบการขับเคล่ือนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสฐู่ านการเรียนรู้ กศน.อำเภอสุวรรณคูหา โดยเริ่มจากการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ต้ัง คณะกรรมการ ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหน้าที่รับผิดชอบในการสร้าง ความเข้าใจ หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น ผสู้ อน และบคุ ลากรทางการศึกษาภายในสถานศึกษา เพ่อื ให้ผเู้ รียนเข้าใจ และครูสามารถนำความรู้มาบูรณาการกับแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนำสู่ห้องเรียนทุกรายวิชา โดยสถานศึกษามี นโยบายให้ครูผู้สอนบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่บทเรียน และผเู้ รยี น สามารถถอดบทเรียนและนำ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้ ทั้งสามารถ แนะนำ ใหค้ วามรูแ้ กภ่ าคีเครือข่าย ประชาขนทัว่ ไปและผู้ทสี่ นใจได้ โดยมงุ่ เน้นให้เกดิ ผลกบั ผู้เรียนอย่างย่ังยืนจนเป็น วถิ ีชวี ติ เงือ่ นไข ความรู้ เง่ือนไข คณุ ธรรม เศรษฐกิจ พอเพยี ง Input รอบรใู้ นงานวชิ าการ (ตระหนกั ในคณุ ธรรมพ้ืนฐาน มคี วามซอ่ื สตั ย์ รอบคอบในการนำความรไู้ ปใช้ สุจรติ ขยัน ประหยดั อดทน 2 เง่ือนไข 3 หลักการ ระมดั ระวังในข้นั ตอนการปฏบิ ัติ มคี วามเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ชวี ติ ) 4 มิติ ทางสายกลาง => พอเพยี ง หลกั คิด พอประมาณ หลกั ปฏบิ ัติ Process เพื่อ ความกา้ วหนา้ มีเหตุผล มีภมู คิ ุ้มกนั อย่างสมดลุ ในตัวทีด่ ี และมน่ั คง Output นำสู่ นำสู่ ความสมดุลและพรอ้ มรับตอ่ การเปล่ียนแปลงในดา้ น ความย่ังยืน วัตถ/ุ เศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม

คู่มอื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 6 แผนภูมกิ ารขบั เคลื่อนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ฐานการเรียนรู้ กศน.อำเภอสวุ รรณคูหา ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คณะกรรมการขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สตู รสถานศกึ ษา รายวิชา ฐานการเรียนรู้ ผูเ้ รยี น คณะกรรมการประเมนิ ผลการจัดกิจกรรม รายงานผลการจัดกิจกรรม

คูม่ อื ฐานการเรยี นร้ทู ี่ 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 7 แผนที่อำเภอสวุ รรณคูหา แผนผงั อาคารสถานท่ี กศน.อำเภอสุวรรณคูหา

คมู่ อื ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 8 ผลติ ภัณฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 8 แผนผงั ฐานการเรียนรู้ ฐานการเรยี นร้ทู ่ี 1 หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอสุวรรณคหู า กศน.อำเภอสุวรรณคหู า ฐานการเรยี นรู้ท่ี 2 การปลูกผักปลอดสารพษิ กศน.ตำบลสวุ รรณคูหา ฐานการเรยี นรทู้ ่ี 3 จติ อาสาปลูกป่า เพื่อพ่อ เพื่อแผ่นดิน กศน.ตำบลกุดผึง้ ฐานการเรียนรทู้ ี่ 4 สวนพฤกษศาสตรแ์ ละอนุรักษ์พันธุกรรมพชื กศน.ตำบลนาดี ฐานการเรียนรู้ท่ี 5 สมนุ ไพรใกลต้ ัว (กัญชงและกัญชา) กศน.ตำบลนาสี ฐานการเรยี นรู้ที่ 6 การทำพานบายศรีจากใบตอง กศน.ตำบลนาดา่ น ฐานการเรยี นรทู้ ่ี 7 ปุย๋ อินทรีย์ กศน.ตำบลบ้านโคก ฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลิตภณั ฑ์จากไม้ไผ่ กศน.ตำบลบุญทนั ฐานการเรียนรู้ท่ี 9 การคัดแยกขยะ กศน.ตำบลดงมะไฟ ฐานการเรยี นร้ทู ่ี 10 สวนเกษตรพอเพียง วดั สุวรรณาราม

คู่มือฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลติ ภัณฑ์จากไม้ไผ่ 9 ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ในฐานการเรียนรู้ ........................................................................................ 1. ผู้เรียนลงช่ือเข้าร่วมกจิ กรรมประจำฐาน 2. ผูเ้ รียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 3. ผเู้ รียนศึกษาเอกสาร ตำรา รปู ภาพ ปา้ ยนเิ ทศเก่ยี วกบั ฐานการเรยี นรู้ และเรยี นรู้จากผู้สอนหรอื วทิ ยากรประจำ ฐานการเรยี นรู้ 4. ผเู้ รียนรบั แบบบนั ทึกผลการศึกษาฐานการเรียนรู้/ใบงาน 5. ผู้เรยี นซกั ถามปัญหา วพิ ากษ์ และสรุปรว่ มกันกบั ผเู้ รียน ผู้สอนหรอื วทิ ยากรประจำฐานการเรียนรู้ 6. ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 7. ผู้เรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจการเรยี นรู้ในฐานการเรยี นรู้ 8. สน้ิ สุดกระบวนการเรยี นรู้ ..................................................................................

คู่มอื ฐานการเรียนรทู้ ี่ 8 ผลิตภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 10 ใบลงทะเบียน ประจำฐานการเรียนรทู้ ่ี ........ ฐาน................................................................... 1. ชอ่ื - สกุล ................................................................................................................................................................ 2. เพศ  ชาย  หญิง  เพศทางเลือก (LGBTQ+) 3. อายุ  ตำ่ กวา่ 15 ปี  15 - 20 ปี  21 - 30 ปี  31 - 40 ปี  41 - 50 ปี  51 - 60 ปี  61 ปีขนึ้ ไป 4. ระดบั การศึกษา  ต่ำกวา่ ป.6  ป.6/ประถมศึกษา  ม.3 หรอื ม.ต้น  ม.6 หรือเทยี บเท่า  ปวส./อนปุ ริญญา  ปริญญาตรีขึน้ ไป 5. อาชพี  นกั เรยี น/นักศกึ ษา  รับจ้าง  เกษตรกร  คา้ ขาย  อื่น ๆ (ระบ)ุ ............................................................................................. 6. กจิ กรรมทเ่ี รียนร้.ู .........................................................................................................................

คมู่ ือฐานการเรียนรทู้ ่ี 8 ผลิตภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ 11 แผนกจิ กรรมฐานการเรียนรู้ที่ 8 ฐานผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ ช่อื กิจกรรม ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ จำนวนเวลา...1…ชั่วโมง 1. กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลติ ภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ 2. วทิ ยากรประจำฐานการเรียนรทู้ ี่ \" อาชพี เพียงพอและพอเพียง \" ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ไผ่ 2.1 นางสาวนรินทรา บุญหนา 2.2 นายจตุพนธ์ ประครองญาติ 3. นักศกึ ษาประจำฐานการเรยี นรู้ที่ \" อาชพี เพยี งพอและพอเพียง \" ผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ 3.1 นายพงษ์สถิต กุลเสนา 3.2 นางปารฉิ ตั ร เอมศิริ 3.3 นางทองอนิ ทร์ แสงโพธิ์ 3.4 นางสาวเพลนิ มะโนสุข 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพอ่ื ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเก้ียวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2 เพือ่ ให้นักศึกษามีความรู้เกีย่ วกับชนิดของไมไ้ ผแ่ ละมคี วามรใู้ นขน้ั ตอนการทำผลติ ภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ 4.3 เพ่อื ให้นักศึกษารจู้ ักวสั ดุอปุ กรณ์ตลอดทั้งรูจ้ ักวธิ กี ารดูแลรักษา 4.4 เพ่อื ใหน้ ักศึกษาใชเ้ วลว่างให้เปน็ ประโยชน์ 4.5 เพือ่ ใหน้ ักศึกษาถอดบทเรียน 2 3 4 จากฐานการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 5. ความคดิ รวบยอด/ขอ้ มลู ความรู้

คมู่ ือฐานการเรยี นรทู้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 12

คมู่ ือฐานการเรยี นรทู้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 13

คมู่ ือฐานการเรยี นรทู้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 14

ค่มู ือฐานการเรยี นรู้ที่ 8 ผลิตภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ 15 6. วธิ กี ารใชฐ้ านการเรียนรู้ 6.1 วัตถุประสงค์ของฐานการเรียนรู้ 6.2 ใบความรู้ 6.3 ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติ / ถอดบทเรยี น 2 3 4 ได้อย่างถูกต้อง 6.4 สรปุ ผลการเรยี นรู้ 7. ตารางการปฏบิ ัตแิ ละเวลาที่ใช้ เวลาทีใ่ ช้ ลำดับ การปฏิบัติ 5 นาที 1. ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน ช้แี จงวัตถุ ปุ ระสงค์การเรยี นรู้และให้นักศึกษาบอกชนิดและข้อแตกต่างของไม้ 40 นาที ไผ่ 2. ข้ันสอน/ปฏิบัติ แบง่ กลมุ่ นักศึกษาท่ีเข้าฐานออกเปน็ 2 กลุ่ม ผลัดเปลีย่ นกันเรยี นรู้ ใบความรู้ เรื่องตา่ ง ๆ เรอ่ื งละ 10 นาที ดงี น้ี 1. ชนิดของไมไ้ ผ่ 2. ขัน้ ตอนและการทำผลิตภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 3. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการทำ

คู่มอื ฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 16 4. วธิ ีการดูแลรักษาอุปกรณ์และผลติ ภณั ฑ์ 15 นาที 3. ขัน้ สรุป ใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มถอดบทเรยี น 2 3 4 การบรู ณาการการทำผลติ ภัณฑ์ จากไม้ไผ่กบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสรปุ ความรู้ท่ีไดร้ ับ ท้ัง 3 เรื่องเป้น My Mapping พร้อมกบั ให้ไปศึกษาเพิม่ เติมจากแหลง่ เรยี นรูจ้ ริง และนำเสนอ 8. ส่ือ/เครือ่ งมือช่วยสร้างการเรยี นรู้ของผเู้ รียน 8.1 วีดที ศั น์ เรอ่ื งชนิดของไม้ไผ่ 8.2 ใบความรู้ ผลิตภัณฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 8.3 ใบงานการถอดบทเรียน 2 3 4 8.4 แบบประเมนิ พฤตกิ รรม/แบบทดสอบประจำฐาน 9. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. อย่อู ย่างพอเพยี ง : นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั 2. มุง่ มั่นในการทำงาน : ปฏิบัติงานที่ได้รบั มอบหมายจนสำเรจ็ ได้เปน็ ชนิ้ งาน 3. มีวินัย : เขา้ ร่วมกจิ กรรมและทำกจิ กรรมแลว้ เสรจ็ ได้ตรงตามเวลา 4. ใฝเ่ รยี นรู้ : ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการศกึ ษาเรยี นร้แู ละเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรขู้ องฐานการเรยี นรู้ 5. มีจติ สาธารณะ : แกนนำนักเรยี นเสียสละเวลาในการถ่ายทอดความรู้ให้กบั ผ้ทู ี่เขา้ รว่ มกจิ กรรมภายในฐาน 10. การวดั และประเมินผล วิธวี ัด เครอ่ื งมอื สิ่งท่ตี ้องการวดั การสงั เกต แบบประเมนิ ฐานการเรียนรู้ การประเมนิ จากใบกจิ กรรม ใบงานฐานการเรียนรู้ 1. สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ การสงั เกต บนั ทกึ หลงั การเรียนรู้ ฐานการเรยี นรู้ 2. ช้นิ งาน/ผลงาน การตอบคำถาม แบบทดสอบก่อน-หลงั การเรียนรู้ 3. คณุ ลกั ษณะพอเพยี ง 4. พฤติกรรมดา้ นทักษะ

คมู่ ือฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลติ ภัณฑจ์ ากไม้ไผ่ 17 ใบความรู้ ชือ่ กจิ กรรมฐานการเรยี นรู้ 8 ผลติ ภัณภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ ไผ่ หรือ ไม้ไผ่ เช่ือเหลือเกนิ วา่ ทกุ คนรูจ้ กั กันเปน็ อยา่ งดี ตั้งแต่เมื่อก่อนเกา่ เนานาน คนไทยนำมาใช้ประโยชนก์ บั ชีวติ ประจำวันกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ตราบจนทกุ วันนี้ เปน็ องคป์ ระกอบของปจั จยั สี่ที่คุ้มคา่ ท่ีสดุ จนถงึ ยคุ ปัจจบุ ันกย็ ังนิยมนำหนอ่ ไผ่ ทเี่ รียกหน่อไม้ มาทำอาหาร ต้มผัดแกงทอด หน่อไม้ดอง หน่อไมป้ ี๊บ นำไม้ไผ่มา ใชท้ ำรว้ั ทำไมส้ อย ทำโครงโรงเรือน นงั่ รา้ น คำ้ ยันก่ิงตน้ ไม้ ทำโต๊ะเก้าอีน้ งั่ เลน่ ทำกระท่อมนั่งเลน่ ทำไมจ้ ้มิ ฟนั ไม้ เสียบลูกช้ิน ไม้เสยี บหมู-ปลา ตะเกียบ ไมก้ ้านธูป เย่อื กระดาษ ใบรากทำปุ๋ย ทำเฟอรน์ เิ จอร์ เครือ่ งประดับ แมแ้ ต่งาน กอ่ สรา้ ง แผงพืน้ เทปูนคอนกรีต ทำฝายแม้วชะลอการไหลของนำ้ ลำหว้ ย ลำธาร แมก้ ระท่ังเชอื้ ไฟ

ค่มู อื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลติ ภัณฑ์จากไม้ไผ่ 18 ไผม่ ีสารพัดชนดิ จะไล่เรยี งให้ดตู ามขนาดต้นหน่อกอลำ และแหล่งท่มี า ไผไ่ ร…่ หรือ ไผ่ไห้ ไม้คาย ไม้ผาก ไม้ไล่ เปน็ ไผ่ดั้งเดิมพน้ื เมอื งของเรา มีข้นึ ในป่าดงดิบแลง้ ปา่ เบญจพรรณ หรอื ป่าโปรง่ เปน็ ไผ่ลำขนาดเลก็ ข้นึ เปน็ กอแนน่ ปลอ้ งมขี นคายคนั ขน้ึ ท่วั เน้อื ไมห้ นา ลำปล้องตนั มรี ูกลางปล้อง เลก็ ๆ หนอ่ นิยมนำมาทำอาหาร ต้มเปรอะ แกงหน่อไม้อร่อยมาก ไมน้ ำมาทำค้างถวั่ ฝักยาว บวบ ไดด้ ีและคงทน มากกวา่ 2 ปี ไผ่รวก…หรอื ไผฮ่ วก เปน็ ไผ่พ้ืนเมอื งไทย ลำตน้ ตรงเปรา ยาว 7-15 เมตร มีจุดสงั เกต คือจะมกี าบหุ้มลำอยู่ นาน นิยมนำหนอ่ มาทำหน่อไม้อัดปีบ๊ ต้นทำไมค้ ้ำยนั ทำหลกั เลยี้ งหอยแมลงภู่ แหลง่ ปลกู มากท่ีจังหวดั น่าน ส่งไป เมืองชายทะเลเล้ียงหอยกนั ปีละหลายลา้ นลำมลู ค่าหลายร้อยลา้ นบาท ไผ่เฮยี ะ…เป็นไผ่พ้ืนเมืองของไทย พบในปา่ ดงดิบหรอื ป่าเบญจพรรณขน้ึ ผสมป่าไมส้ ัก ขึน้ ริมรอ่ งหว้ ย พบมาก ท่ีปา่ ภาคเหนือ เป็นไม้ไผเ่ ปลอื กบาง ผิวไผ่คมมาก ใบใหญ่ ไม้นำมาทำฝาบา้ น หนอ่ มีรสขื่นไมน่ ิยมกนิ คมผิวไมไ้ ผ่เฮยี ะ สมัยกอ่ นใช้แทนใบมีดโกนตดั สายสะดอื เด็ก ไผ่ปา่ …เป็นไผธ่ รรมชาตใิ นปา่ ทัว่ ทุกภาคของไทย ถา้ ขน้ึ ในที่ชุ่มชน้ื ลำโตเป็นกอแน่น มีหนามเลก็ งุ้มงอทุกข้อ นิยมใชท้ ำน่ังรา้ นก่อสรา้ ง ทำเคร่อื งมือการเกษตร หนอ่ นำมาดอง ไม่นยิ มกนิ สด ปล้องทำกระบอกข้าวหลาม เชน่ ข้าว หลามหนองมน ชลบรุ ี ไผ่ข้าวหลาม…เปน็ ไผ่ไทยอีกชนดิ หนึง่ มมี ากทางภาคเหนือและอสี าน เป็นไผ่ขนาดกลาง สงู 8-12 เมตร เปน็ ไผเ่ นอ้ื บาง ปล้องยาว กาบห้มุ ตน้ ร่วงง่าย ใช้ทำขา้ วหลาม ปอกง่าย มีเย่อื บางๆ หลดุ ตดิ หุ้มขา้ วเหนียว หนอ่ มรี สขม ไผ่ซาง…หรือ ไผ่นวล ไผต่ าดำ ไผแ่ พด เป็นไผ่ทอ้ งถนิ่ ไทยท่ีกำลงั มาแรง นยิ มปลกู กนั มากคอื ไผ่ซางหม่น ไผ่ ซางนวล เปน็ ไผไ่ ม่ผลดั ใบ สงู 6-18 เมตร ปล้องยาว 15-50 เซนตเิ มตร ใบและต้นอ่อนเป็นอาหารของชา้ ง ม้า ววั ควาย นยิ มปลูกเป็นพ้ืนท่ีเชิงอนุรกั ษ์ เพิ่มแหลง่ อาหารชา้ ง และขณะนี้นำมาแพร่ขยายเป็นไผเ่ ศรษฐกจิ ท่ีทำรายได้ อย่างมาก หน่อไผ่กนิ อรอ่ ย ไมเ้ นอ้ื ดี ใชป้ ระโยชนท์ างอุตสาหกรรมทำไม้จมิ้ ฟัน ไม้เสยี บลูกช้นิ ไมก้ ้านธปู ไม้ตะเกียบ แมแ้ ต่เย่ือกระดาษ เนื้อไมแ้ น่น น้ำหนักไม้ดีมาก

คูม่ อื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 19 ไผห่ ก…หรือ ไผน่ วลใหญ่ ไมห้ ก ไมโ้ ปเผียว เป็นไผ่พันธุ์พ้ืนเมอื งไทยท่ีใหญ่ทส่ี ุด ชอบขึ้นบนพน้ื ทีส่ ูงแตช่ ้นื พบ มากในป่าดงดบิ ภาคเหนือ เสน้ ผา่ ศูนย์กลางปลอ้ ง 10-20 เซนติเมตร หน่อใชท้ ำอาหาร ลำใช้ทำเสา ทำเคร่ืองมือ เครือ่ งจักสานตา่ งๆ ไผ่ท่นี ำมาจากตา่ งประเทศเข้ามาปลกู ในบา้ นเรา ได้แก่ ไผ่เลยี้ ง…หรอื ไผ่น้อย ไผส่ ร้างไพร ไผ่เปร็ง ไผ่คนั ร่ม นำมาจากจนี และญปี่ ุ่น นิยมปลกู เปน็ แนวรัว้ แนวเขต ทีด่ นิ ปลูกตามหัวไร่ปลายนา เป็นไผ่ขนาดกลาง ลำเปลาสีเขียว มีขอ้ สเี ขียวชดั เจน ไม่มีหนาม หน่ออ่อนมเี ปลือกสี เหลือง หรอื เขียวอมเหลือง ใช้ทำอาหารได้ ลำใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ทำบันได บางแห่งเรยี กไผบ่ งหวาน ไผ่เลี้ยงตาโตก็ เรียก ไผ่ตง…นำมาจากจนี ปลกู ครง้ั แรกทจ่ี ังหวดั ปราจีนบรุ ี นบั ร้อยกว่าปแี ลว้ เปน็ ไผ่ขนาดใหญ่ ลำต้นมีขนสี น้ำตาลละเอียดคลุมโคนลำ รอบข้อมีรากฝอยขนึ้ อย่เู หน็ ได้ชดั มี 5 ชนิด ไดแ้ ก่ ตงหม้อ หรือตงใหญ่ ตงเขียว ตงดำ ตง หนู และตงลาย เป็นไมไ้ ผ่เศรษฐกิจท่ีทำรายไดม้ หาศาล เน้ือไม้เป็นวสั ดโุ รงงานกระดาษ กอ่ สร้าง จักสาน มีไผ่ตงที่ หน่อดก ลำเลก็ รสชาติอร่อยมากช่ือ “ไผต่ งศรีปราจนี ” นิยมปลกู กนั แพร่หลายขณะนี้ ไผ่สีสกุ …ใครๆ ก็คิดว่าเป็นไผ่พนั ธด์ุ ้ังเดมิ ของไทย แต่เปลา่ เปน็ ไผม่ าจากหมู่เกาะอินเดียตะวนั ออก และ แปซฟิ ิกตอนใต้ แถวเกาะชวา สุมาตรา บอรเ์ นียว และโมลุกกะ นำเข้ามาปลกู ในไทยนานแลว้ จุดเด่นคอื ขน้ึ กอแน่น มาก บรเิ วณโคนจะแตกกิง่ ต้ังฉากลำตน้ จำนวนมาก ขอ้ มหี นามโคง้ แตกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 อัน โคนปลอ้ งหนามรี เู ล็ก เปน็ ไผข่ นาดกลางถึงใหญ่ ลำออ่ นสีเขยี วเมอื่ แกจ่ ะสเี หลืองปนเขยี ว จึงเรียก “ไผ่สสี ุก” หนอ่ ใตด้ ินมรี สชาติดี เมื่อโผล่ ดินขึน้ มานยิ มนำมาทำหน่อไม้ดอง อดีตนยิ มปลูกรอบหมบู่ า้ นกันลมและรวั้ กันขโมย

คมู่ ือฐานการเรียนรทู้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 20 ยงั มีไผอ่ ีกหลายชนิดท่ปี ลูกในไทย ท้งั ไผไ่ ทยไผจ่ นี เชน่ ไผ่ยักษ์ ไจแอนท์แบมบู ไผห่ ม่าจู ไผล่ ่ีจู ไผ่กิมซ่งุ ไผ่ หวานจีน ไผเ่ ปาะเมืองนา่ นแพร่ ไผ่มันชลธารชลบุรี ไผ่หวานอ่างขาง (หม่าจ)ู ไผจ่ ดื หรือไผร่ อ้ ยกอ ไผ่ตน้ มีแมแ้ ต่ไผ่ เหลืองหรือไผห่ ลวง ไผส่ ที อง ไผล่ าย ไผ่งาชา้ ง ไผ่บงดำ ไผจ่ ันดำ ทปี่ ลูกไวส้ วยงามตามสวนสาธารณะ ใชล้ ำทำ เฟอร์นิเจอร์ ทำแจกัน ทำเครื่องประดับต่างๆ และไผ่ประดับสวยงาม ที่นยิ มคือ ไผ่น้ำเตา้ ซึ่งเอามาจากจีน ใช้จัดแตง่ สวนหยอ่ ม รปู รา่ งข้อปลอ้ งส้ันป้อมอว้ นสวยงาม เหมือนไม้โบราณ ไผแ่ ต่ละชนดิ ท่ีกลา่ วมา ซง่ึ คงยังไมห่ มดครบถ้วน แตจ่ ะช้ใี หเ้ ห็นวา่ ไผ่เปน็ พืชท่ีมีอย่คู ู่กับป่าเมืองไทย โดยเฉพาะป่าตน้ น้ำได้อย่างแท้จริง ทำประโยชน์ต่อมนุษย์ สัตว์ ธรรมชาติมาอยา่ งช้านาน เป็นไมเ้ ศรษฐกิจที่ปลกู งา่ ย โตเรว็ เห็นผลรวดเร็วทนั ใจผู้ปลกู ประโยชนข์ องไมไ้ ผ่ 1. ด้านการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ - ปอ้ งกนั การพงั ทลายของดินตามริมฝงั่ - ช่วยเป็นแนวป้องกันลมพายุ - ชะลอความเร็วของกระแสนำ้ ป่าเม่อื ฤดูนำ้ หลากกนั ภาวะนำ้ ท่วมฉับพลนั - ใหค้ วามร่มรน่ื - ใช้ประดบั สวน จดั แตง่ เปน็ มุมพักผ่อนหย่อนใจในบา้ นเรือน 2. ประโยชนจ์ ากลักษณะทางฟสิ ิกส์ จากความแข็งแรง ความเหนียว การยดื หด ความโคง้ งอ และการสปรงิ ตัว ซึง่ เป็นคุณลกั ษณะประจำตัวของไมไ้ ผ่ เราสามารถนำมนั มาใชเ้ ปน็ วสั ดุเสรมิ ในงานคอนกรีต และเป็นสว่ นต่างๆ ของการสร้างที่อยอู่ าศยั แบบประหยัด ได้เป็นอย่างดอี ีกดว้ ย 3. ประโยชนจ์ ากลกั ษณะทางเคมีของไม้ไผ่ - เน้ือไผใ่ ชบ้ ดเป็นเยื่อกระดาษ - เสน้ ไยใช้ทำไหมเทยี ม - เน้ือไผ่บางชนิดสามารถสกัดทำยารักษาโรคได้ - ใช้ในงานอตุ สาหกรรมนานาชนดิ 4. การใช้ไมไ้ ผใ่ นผลิตภัณฑ์หตั ถกรรม และอุสาหกรรม แบ่งออกได้ ดังน้ี ผลิตภณั ฑ์เคร่อื งจักสานจากเส้นตอก ได้แก่ กระจาด กระบุง กระดง้ กระเชา้ ผลไม้ ตะกร้าจา่ ยตลาด ชะลอม ตะกร้าใสข่ ยะ กระเป๋าถอื สตรี เข่งใส่ขยะ เครื่องมือจบั สัตว์นำ้ เช่น ข้องใส่ปลา ลอบ ไซ ฯลฯ ผลติ ภัณฑ์จากลำต้น และก่งิ ของไม้ไผ่ ได้แก่ เก้าอี้ โต๊ะ ชั้นวางหนงั สอื ทำด้ามไมก้ วาด ไมเ้ ท้า คันเบด็ ราวตากผ้า โครงสรา้ งบ้านสว่ นต่างๆ ทำแคร่ นัง่ รา้ นก่อสรา้ ง ทอ่ สง่ นำ้ รางนำ้ ผลติ ภณั ฑ์จากเน้ือไม้ไผ่ ได้แก่ ถาดใส่ขนม ทพั พีไม้ ตะเกียบ ไม้เสยี บอาหาร กรอบรูป ไม้ก้านธูป ไม้พาย ไม้เกาหลัง เครอ่ื งดนตรี พื้นบ้าน ไม้บรรทัด ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากไผซ่ ีกได้แก่ โครงโคมกระดาษ โครงพดั โครงร่ม ลูกระนาด

ค่มู ือฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ 21 คันธนู พ้ืนม้าน่ัง แผงตากปลา สุม่ ปลา สุ่มไก่ 5. ประโยชนท์ างด้านการบรโิ ภค เชน่ การนำหนอ่ ไม้ไผ่มาทำเป็นอาหาร ไม่ว่าจะเป็นซุบ แกง ต้ม หรือนำมาดองจิ้มน้ำพริก

คมู่ อื ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ 22 แบบทดสอบก่อนเรียน ฐานการเรยี นรูท้ ่ี 8 กจิ กรรม ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ไผ่ 1. เครื่องจักสาน มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. ของใช้ทำจากเครื่องเงิน ข. ของใชท้ ำจากวสั ดุทเ่ี ปน็ เส้น ค. ของใช้ทำจากวสั ดสุ งั เคราะห์ ง. ของใช้ทำจากไม้ไผแ่ ละหวาย 2.ไม้ไผช่ นิดใดที่นยิ มนำมาทำเครื่องจักสาน ก.ไผเ่ ฮียะ ไผ่ไร่ ไผ่สีสกุ ข.ไผ่นวล ไผ่รวก ไผบ่ ง ค.ไผ่ขา้ วหลาม ไผต่ ง ไผไ่ ร่ ง. ไผ่ขา้ วหลาม ไผ่บง ไผ่สสี ุก 3.การเรียนรกู้ ารจักสานในอดีตส่วนใหญเ่ รยี นด้วยวิธีใด ก.โดยถา่ ยทอดจากบรรพบุรุษ ข. โรงเรียนเปิดสอนการจกั สาน ค. เรียนโดยมวี ิทยากรมาให้ความรู้ ง.ผู้นำชุมชนรับการอบรมและมาถ่ายทอด 4.หลังจากปฏิบัติงานจกั สานเสรจ็ ควรปฏิบัติอย่างไร ก. ออกจากห้องเรียนทนั ที ข. ตกแต่งชน้ิ งานใหเ้ รียบร้อย ค. นำผลงานไปจดั นิทรรศการ ง. เก็บอปุ กรณท์ ำความสะอาดสถานท่ี 8. เครื่องมือชนิดใดใชส้ ำหรับลบความคมของเสน้ ไม้ไผ่ ก. เลยี ด ข. เลอ่ื ย ค. คมี ไม้ ง. เหล็กหมาด

คู่มือฐานการเรียนรูท้ ่ี 8 ผลติ ภณั ฑ์จากไม้ไผ่ 23 ใบงานท่ี 1 ฐานการเรียนรู้ที่ 8 ฐานผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ เรือ่ ง การวิเคราะหห์ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ความร้ทู ต่ี ้องมีก่อน คณุ ธรรมที่จะทำให้การเรียนรู้สำเรจ็ - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... - ........................................................... มีเหตุผล มีภมู ิคุม้ กนั พอประมาณ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ................................................ - ท...ำ..ต..า..ม..ข...้ัน..ต..อ...น..ไ..ด..้อ...ย..า่ ..ง.ถ...ูก..ต..้อ...ง... - ................................................ - ............................................... การใช้ชีวติ ทสี่ มดลุ และพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงในด้านต่าง ๆ มดี ังนี้ วตั ถุ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรม - .............................. - .............................. - .............................. - .............................. ............................. ............................. ............................. ............................. - .............................. - .............................. - .............................. - .............................. ............................. ............................. ............................. ............................. - .............................. - .............................. - .............................. - .............................. ............................. ............................. ............................. ............................. - .............................. - .............................. - .............................. - .............................. ............................. ............................. ............................. .............................

คมู่ อื ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 8 ผลิตภณั ฑ์จากไม้ไผ่ 24 แบบทดสอบหลงั เรยี น ฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 กจิ กรรม ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 1. เครื่องจักสาน มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. ของใช้ทำจากเคร่ืองเงิน ข. ของใชท้ ำจากวสั ดุที่เป็นเส้น ค. ของใช้ทำจากวัสดุสังเคราะห์ ง. ของใชท้ ำจากไม้ไผ่และหวาย 2.ไม้ไผช่ นิดใดที่นยิ มนำมาทำเครอื่ งจักสาน ก.ไผเ่ ฮียะ ไผ่ไร่ ไผ่สสี กุ ข.ไผ่นวล ไผ่รวก ไผบ่ ง ค.ไผ่ขา้ วหลาม ไผต่ ง ไผ่ไร่ ง. ไผ่ขา้ วหลาม ไผ่บง ไผ่สีสกุ 3.การเรียนรกู้ ารจักสานในอดีตสว่ นใหญ่เรยี นด้วยวธิ ีใด ก.โดยถา่ ยทอดจากบรรพบุรษุ ข. โรงเรียนเปดิ สอนการจักสาน ค. เรียนโดยมีวทิ ยากรมาให้ความรู้ ง.ผู้นำชุมชนรบั การอบรมและมาถ่ายทอด 4.หลังจากปฏิบัติงานจักสานเสรจ็ ควรปฏบิ ตั ิอย่างไร ก. ออกจากห้องเรยี นทันที ข. ตกแต่งชน้ิ งานใหเ้ รยี บร้อย ค. นำผลงานไปจัดนิทรรศการ ง. เก็บอปุ กรณ์ทำความสะอาดสถานท่ี 8. เครื่องมือชนิดใดใชส้ ำหรบั ลบความคมของเสน้ ไม้ไผ่ ก. เลยี ด ข. เลอ่ื ย ค. คมี ไม้ ง. เหล็กหมาด

คู่มือฐานการเรยี นร้ทู ่ี 8 ผลติ ภัณฑ์จากไม้ไผ่ 25 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น ฐานการเรยี นรทู้ ี่ 8 กิจกรรม ผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 1. เครอ่ื งจกั สาน มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. ของใช้ทำจากเคร่ืองเงนิ ข. ของใช้ทำจากวัสดุทีเ่ ป็นเส้น ค. ของใช้ทำจากวัสดุสังเคราะห์ ง. ของใชท้ ำจากไม้ไผ่และหวาย 2.ไม้ไผ่ชนิดใดทน่ี ิยมนำมาทำเครอื่ งจักสาน ก.ไผ่เฮียะ ไผไ่ ร่ ไผ่สีสกุ ข.ไผน่ วล ไผร่ วก ไผ่บง ค.ไผ่ขา้ วหลาม ไผ่ตง ไผไ่ ร่ ง. ไผ่ขา้ วหลาม ไผ่บง ไผ่สสี กุ 3.การเรียนรู้การจกั สานในอดีตส่วนใหญ่เรียนด้วยวธิ ีใด ก.โดยถา่ ยทอดจากบรรพบรุ ษุ ข. โรงเรยี นเปิดสอนการจักสาน ค. เรยี นโดยมวี ิทยากรมาให้ความรู้ ง.ผนู้ ำชุมชนรับการอบรมและมาถา่ ยทอด 4.หลงั จากปฏิบัตงิ านจกั สานเสรจ็ ควรปฏิบัตอิ ย่างไร ก. ออกจากห้องเรยี นทนั ที ข. ตกแตง่ ช้นิ งานใหเ้ รียบร้อย ค. นำผลงานไปจดั นิทรรศการ ง. เกบ็ อปุ กรณท์ ำความสะอาดสถานที่ 8. เคร่ืองมือชนิดใดใช้สำหรับลบความคมของเสน้ ไม้ไผ่ ก. เลียด ข. เลอื่ ย ค. คมี ไม้ ง. เหลก็ หมาด

ค่มู อื ฐานการเรียนรู้ที่ 8 ผลติ ภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ 26 แบบสอบถามความพงึ พอใจ ฐานการเรียนรูท้ ี่...........ชือ่ ฐาน .................................................................. กิจกรรม ............................................................................. ****************************** คำช้แี จง แบบสอบถามความพงึ พอใจ มีจำนวน 3 ตอน ให้ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง ท่ตี รงกบั ความคดิ เหน็ ของท่านมากที่สดุ เพียงข้อเดยี ว ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป เพศ  ชาย  หญิง  เพศทางเลือก (LGBTQ+) ระดบั การศึกษา  ตำ่ กวา่ ป.6  ป.6/ประถมศึกษา  ม.3 หรอื ม.ต้น  ม.6 หรือเทียบเทา่  ปวส./อนุปริญญา  ปรญิ ญาตรีขนึ้ ไป อายุ  ต่ำกวา่ 15 ปี  15 - 20 ปี  21 - 30 ปี  31 - 40 ปี  41 - 50 ปี  51 - 60 ปี  61 ปีขึ้นไป อาชีพ  นักเรยี น/นกั ศึกษา  รบั จ้าง  เกษตรกร  ค้าขาย  อน่ื ๆ (ระบุ)............................................................................................. ตอนที่ 2 ความพึงพอใจที่มตี ่อฐานการเรยี นรู้ โดยระดบั ความพงึ พอใจ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มากท่ีสดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด รายละเอยี ด ระดบั ความพึงพอใจ 5 4 321 1. ผูเ้ รยี น/ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมไดร้ ับความรู้และมีความเข้าใจจากการเรียนรู้ ในฐานการเรียนรู้ 2. ผ้เู รยี น/ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะจากการเรียนร้ใู นฐานการเรยี นรู้ 3. วสั ดุ/อปุ กรณ์ในการสาธติ หรอื ใหผ้ เู้ รียน/ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมไดฝ้ ึกปฏิบัติเพียงพอ 4. สื่อทใี่ ช้ในการจดั กจิ กรรมกระบวนการเรียนรู้มคี วามเหมาะสม หลากหลาย เพียงพอ และน่าสนใจ 5. ผสู้ อน/วิทยากร สง่ เสริมให้ผเู้ รียน/ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมทำงานรว่ มกันเปน็ ทีม

คูม่ อื ฐานการเรียนรู้ท่ี 8 ผลติ ภัณฑจ์ ากไม้ไผ่ 27 รายละเอยี ด ระดบั ความพึงพอใจ 5 4 321 6. ผ้สู อน/วิทยากร สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี น/ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ และคดิ เปน็ 7. ผู้สอน/วิทยากร รับฟังความคดิ เห็นที่แตกต่างของผู้เรียน/ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 8. ผ้สู อน/วิทยากร ให้ความสนใจผเู้ รียน/ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม อยา่ งทวั่ ถึง เทา่ เทียม ไม่เลือกปฏบิ ัติ 9. ผู้สอน/วิทยากร เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี น/ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมซักถามปญั หาหรอื ขอ้ สงสยั 10. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ในฐานการเรยี นร้มู คี วามสนุกสนานและนา่ สนใจ ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเหน็ /ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................................................. ................... ขอขอบคุณในความรว่ มมือ

คูม่ ือฐานการเรยี นรู้ท่ี 8 ผลิตภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ 28 คณะผจู้ ัดทำ ทปี่ รกึ ษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมืองหนองบัวลำภู รกั ษาการในตำแหน่งผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสวุ รรณคหู า 1. นายวนิ ัย แสงใส ครผู ชู้ ่วย ครูผชู้ ว่ ย 2. นางสาวพชิ ชาพิมพ์ เพ็ชรเวียง ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวอารยา วชิ าสวสั ดิ์ ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน 4. นายวชรพล เพยี เทพ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นายอภชิ าติ สทุ ธโิ สม 6. นางสวุ รรณา สุทธิโสม ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล คณะทำงาน 1. นางสาวนรินทรา บุญหนา 2. นายจตุพนธ์ ประครองญาติ คณะเรียบเรยี งและจัดพิมพ์ ครู กศน.ตำบล นางสาวนรนิ ทรา บญุ หนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook