Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book การนิเทศภายในสถานศึกษา

e-book การนิเทศภายในสถานศึกษา

Published by ครูชาติ ณ ศรีวิเทศ, 2021-07-03 12:28:47

Description: e-book การนิเทศภายในสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

หน่งึ โรงเรยี น หนงึ่ นวตั กรรม “การศึกษาช้ันเรียน Leasson Study เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ผา่ นกระบวนการนิเทศแบบมสี ่วนร่วม ก รายงานรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษา Lesson Study เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน โดยใช้รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ประจาปี ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านทา่ ข่อย สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

รายงานรูปแบบการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา Lesson Study เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น โดยใชร้ ปู แบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ก คำนำ เอกสารรายงานเล่มน้ี เป็นการรายงานรูปแบบการนิเทศภายในของสถานศึกษา Lesson Study เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ของโรงเรียน บ้านท่าข่อย สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีส่วนร่วมในการนิเทศ กากับ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของโรงเรียน และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ใหส้ ูงข้ึน เอกสารประกอบดว้ ยเนอื้ หา 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ตอนท่ี 2 ผลการ ดาเนนิ งานดา้ นนิเทศภายในของสถานศกึ ษา และตอนที่ 3 ขอ้ มลู อื่น ๆ เพิ่มเติม การเผยแพร่เอกสารฉบับนี้ จะเป็นประโยชนส์ าคญั ต่อการบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรียน และเพ่ือ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุตามพระราชบัญญัติการศึกษา (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2551 ตอ่ ไป โรงเรยี นบา้ นท่าขอ่ ย

รายงานรปู แบบการนิเทศภายในของสถานศึกษา Lesson Study เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น โดยใช้รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ข สำรบัญ หน้ำ ก คานา ข สารบญั ค สารบัญตาราง ง สารบญั ภาพ 1 ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถำนศกึ ษำ 1 1 1.1.ข้อมลู ทั่วไป 3 1.2 ขอ้ มลู ครูและบุคลากรทางการศึกษา 1.3 ขอ้ มูลนักเรยี น 5 5 ตอนที่ 2 ผลกำรดำเนินงำนดำ้ นนเิ ทศภำยในของสถำนศกึ ษำ 5 2.1 ช่อื รูปแบบ 8 2.2 สภาพปจั จุบัน/ปญั หา ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา 11 2.3 รูปแบบ หรือกระบวนการนิเทศภายในของสถานศึกษา 15 2.4 วธิ ีดาเนนิ การ 16 2.5 การกากบั ติดตาม ประเมินและรายงาน 2.6 ผลสาเร็จทไี่ ด้ และนาผลไปใช้ 19 19 ตอนท่ี 3 ข้อมูลอื่น ๆ เพมิ่ เตมิ 19 3.1 ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อความสาเร็จ 19 3.2 ข้อค้นพบ 20 3.3 โมเดล 3.4 ผลงาน/รางวัล/ความภาคภมู ิใจ 23 บรรณานุกรม โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

รายงานรปู แบบการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา Lesson Study เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน โดยใชร้ ูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ค สำรบัญตำรำง หน้า 6 ตำรำงท่ี 7 1 เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ร้อยละผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั ชาติ (O-NET) ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2562 2 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชาติ (O-NET) ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบา้ นทา่ ขอ่ ย สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

รายงานรปู แบบการนิเทศภายในของสถานศึกษา Lesson Study เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น โดยใช้รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ง สำรบญั ภำพ หน้ำ 9 ภำพท่ี 9 1 กรอบความคิด (Lesson Study) 2 กลไกพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรยี นบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 11 3 กระบวนการการศึกษาช้นั เรยี น (Lesson Study) : กรณศี ึกษา โรงเรียนบา้ นท่าขอ่ ย สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 3 โรงเรียนบ้านท่าขอ่ ย สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 1 ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา 1.ข้อมูลท่ัวไป ชอ่ื สถานศึกษา : โรงเรียนบา้ นทา่ ข่อย ท่อี ยู่ : หมู่ท่ี 3 ตาบลปาดงั เบซาร์ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ไปรษณยี ์ 90240 สงั กัด : สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 โทรศัพท์ : 074-557757 โทรสาร :- E-mail : [email protected] Website : - เปดิ สอน : ระดับช้ันอนบุ าลปีท่ี 1 ถงึ ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ประเภท : โรงเรยี นขนาดเลก็ 2. ข้อมลู ครแู ละบุคลากรของสถานศึกษา ชอ่ื ผอู้ านวยการโรงเรียน : นายตณิ ณพศั กล่าจนี โทรศัพท์ : 080-7011712 E-mail : [email protected] วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ : ครุศาสตรมหาบัณฑติ (ค.ม.) สาขาวชิ า หลกั สูตรและการสอน ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชา การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งทโ่ี รงเรียนน้ีต้ังแต่ วันท่ี 1 เดือน มีนาคม พ.ศ.2562 จนถึงปัจจบุ ัน เป็นเวลา 2 ปี 4 เดือน 1) จานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เจา้ หนา้ ท่ี บุคลากร ผบู้ รหิ าร ครูผู้สอน พนกั งานราชการ ครอู ัตราจา้ ง อื่นๆ 1 จานวน 1 5 2 - 2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบคุ ลากร จานวน ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม 2 - 9 บคุ ลากร จานวน - 7

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 2 แผนภมู ิแสดงวุฒกิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร วุฒิการศึกษาสูงสดุ ของบุคลากร 0% 22.22% 0% 77.78% ตำ่ กวำ่ ปริญญำตรี ปรญิ ญำตรี ปรญิ ญำโท ปรญิ ญำเอก 3) สาขาวชิ าทจี่ บการศึกษาและภาระงานสอนตอ่ สัปดาห์ ลาดบั ที่ ชื่อ-นามสกุล สาขาวชิ า ภาระงานสอน เฉล่ียของครู ๑ คน 1. นายติณณพัศ กล่าจีน ค.ม.(หลกั สตู รและการสอน) ศษ.ม.(การบรหิ ารการศึกษา) (ชม./สัปดาห์) 2. นางสาวหทั ยา ฉมิ แกว้ ค.บ.(การศึกษาปฐมวยั ) ผู้อานวยการโรงเรียน 3. นางบุญศรี ฉิ้มล่องดา ค.บ.(การประถมศึกษา) 4. นางสาวจไุ รพร สขุ ปกั ษา บธ.บ. (ระบบสารสนเทศ) 30 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 5. นางสาวนชุ ศรา หล๊ะหมูด วท.บ.(ศึกษาศาสตร์) 30 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ศษ.ม.(การบรหิ ารการศกึ ษา) 30 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ 6. นางสาวศิริพร เตม็ ภมู ิ กศ.บ.(ภาษาอังกฤษ) 30 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 7. นางสาวชลุ กี ร ประสมพงศ์ ศศ.บ.(การจัดการ) 8. นางสาวนูรอยั นยี ์ เจะ๊ ปูเต๊ะ วท.บ.(ศกึ ษาศาสตร์) 30 ชว่ั โมง/สัปดาห์ คณติ ศาสตร์ 30 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 9. นางมณฑาทิพย์ บญุ ชูมณี บธ.บ (การบญั ชี) 30 ชวั่ โมง/สัปดาห์ -

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 3 3. ขอ้ มลู นกั เรยี น 1) จานวนนกั เรียนโรงเรยี นบ้านท่าข่อย ปกี ารศึกษา 2564 รวม 99 คน (ข้อมูล ณ 25 มิถุนายน 2564) 2) จานวนนักเรียนระดบั ชัน้ อนบุ าลปีที่ 1-ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 รวมทัง้ สนิ้ 99 คน (ข้อมูล ณ 25 มถิ นุ ายน 2564) ชน้ั จานวนหอ้ ง นักเรียนชาย นักเรยี นหญงิ รวม เฉลยี่ ตอ่ ห้อง (คน) (คน) 10 อนบุ าลปีที่ 1 14 6 10 6 5 อนุบาลปที ่ี 2 14 26 9 อนุบาลปที ี่ 3 14 15 23 12 รวม 3 12 9 21 12 11 ประถมศึกษาปีที่ 1 16 39 11 ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 1 15 8 23 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 16 6 12 ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 14 8 12 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 14 7 11 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 15 6 11 รวม 9 40 38 78 รวมท้ังสิน้ 9 52 47 99 2) จานวนนกั เรียนโรงเรียนบา้ นทา่ ข่อย เปรียบเทียบปีการศึกษา 2560-2564 ระดบั ชน้ั ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564 อนุบาลปที ี่ 1 8 6 6 6 10 อนุบาลปที ี่ 2 6 15 7 5 6 อนบุ าลปีท่ี 3 10 9 20 8 5 24 30 33 19 21 รวม

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 4 ระดับชน้ั ปกี ารศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564 ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 12 13 11 22 9 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 15 13 14 10 23 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 16 15 17 12 12 ประถมศึกษาปีท่ี 4 2 16 17 11 12 ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 6 2 17 14 11 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 6 7 3 17 11 57 66 79 86 78 รวม แผนภูมแิ สดงจานวนนกั เรยี นระดบั อนุบาลปีท่ี 1-3 โรงเรยี นบ้านทา่ ขอ่ ย เปรียบเทียบปีการศึกษา 2560-2564 25 20 20 15 15 10 10 10 9 5 8 6 756 8 666 5 0 อนบุ าลปีท่ี 2 อนบุ าลปีท่ี 3 อนบุ าลปีท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564 แผนภูมิแสดงจานวนนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 6 โรงเรียนบ้านท่าข่อย เปรียบเทยี บปกี ารศึกษา 2560-2564 25 20 22 23 15 15 13 14 16 15 17 16 17 17 17 9 10 12 12 11 12 14 10 12 13 11 11 11 5 2 62 673 0 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 ปีการศกึ ษา 2564

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 5 ตอนท่ี 2 ผลการดาเนินงานด้านนิเทศภายในของสถานศึกษา 2.1 ชอ่ื รูปแบบ Lesson Study เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น โดยใช้รปู แบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL 2.2 สภาพปัจจุบัน/ปัญหา ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา การดาเนินงานพัฒนารูปแบบของนวัตกรรมของโรงเรียนที่เก่ียวกับการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) จะเห็นได้ว่าโรงเรียนได้ดาเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยการเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมที่ต่างฝา่ ย พยายามที่จะยกระดับคุณภาพของผู้เรยี นให้มีประสิทธิภาพ โดยสภาพปัญหาทเ่ี กิดข้นึ ในชว่ งเวลา 2 ปที ี่ผา่ นมา ในประเด็นสาคัญต่าง ๆ ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมผูเ้ รียน ครู ผู้ท่ีมสี ว่ นเก่ียวข้อง คุณภาพผู้เรียนในด้านทตี่ อ้ งการพัฒนา ความพรอ้ ม และข้อจากดั ของสถานศกึ ษา พบว่า ด้านพฤติกรรมของผู้เรียน ผู้เรียนจะมีพฤติกรรมท่ีไม่ค่อยสนใจเรียนเท่าที่ควร ขาดความ รับผิดชอบความใฝ่รู้ใฝ่เรียน ปัญหาอาจจะเกิดจากความไม่พร้อมของผู้เรียน ทาให้เด็กส่วนใหญ่มีปัญหาด้าน การเรียนจึงส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ต่า ซ่ึงประเด็นดังกล่าวโรงเรียนพยายามท่ีจะแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้น โดยการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม สอนเสริมให้กับนักเรียน จัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถ ดา้ นการอ่าน การเขยี นของนกั เรียนในทุกระดบั ชั้น ด้านพฤติกรรมของครู จากการสังเกตพฤติกรรมของครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอน ทไี่ มค่ อ่ ยมปี ระสิทธิภาพ ขาดทกั ษะและเทคนิค วิธีการสอน การใช้ส่ือการเรียนรูต้ ่าง ๆ ในการจดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ในหอ้ งเรยี น ไมไ่ ด้ฝกึ ให้นักเรียนมีทักษะการคิดวเิ คราะห์ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไม่สอดคล้อง กับตัวชี้วัด การวัดผลและประเมินผลก็ไม่เป็นไปตามหลักการของการประเมินผลหลังจากการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ครูไม่บันทึกผลหลังสอนจึงไม่สามารถนาผลที่ได้จากการสอนมาวิเคราะห์ และออกแบบ การเรียนรู้ในคร้ังต่อไปได้ จากกปัญหาโดยรวมด้านพฤติกรรมของครู ทางโรงเรียนพยายามท่ีจะสร้างความ ตระหนักให้ครูได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดทาแผนกการจัด การเรียนรู้ การผลิตส่ือการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ การส่งครูเข้ารับการอบรมเทคนิควิธีสอนต่าง ๆ ตลอดจนการนิเทศ กากับ ติดตาม การจัดกิจกรรมการสอนของครูผู้สอนอย่างสม่าเสมอ ให้ข้อเสนอแนะ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่ือง ส่วนผู้ที่เก่ียวข้องนั้นทางโรงเรียนพบว่า ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องไม่ได้นิเทศ กากับ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนเท่าท่ีควร จึงส่งผลให้ครูผู้สอนไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียน การสอนไดต้ ามเปา้ หมาย มาตรฐานของหลกั สตู ร คุณภาพผู้เรียนในด้านท่ีต้องการพัฒนา พบว่า ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐานท่ีมีคะแนนเฉล่ียทุกรายวิชาต่ากว่า

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 6 ระดับประเทศ ในภาพรวมคะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรยี นเท่ากับ 37.41 ซ่งึ มคี ่าเฉล่ียร้อยละต่ากว่าทุกระดับ ซง่ึ ประเดน็ ดงั กล่าวโรงเรียนพยายามทจ่ี ะแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดขึ้น ความพร้อม และข้อจากัดของสถานศึกษา โรงเรียนขาดครูผู้สอนที่ตรงตามวิชาเอก โดยเฉพาะวิชา ภาษาไทย และวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งทาให้มีข้อจากัดในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดการเรียน การสอนผ่าน DLTV และการเรียนควบชน้ั ในปกี ารศกึ ษาท่ผี า่ นมา การกากบั ติดตามเพื่อใหเ้ กดิ การพฒั นาท่ตี ่อเน่ืองในการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) และการเปิด ช้ันเรียน (Lesson Study) น้ันการนิเทศกากับติดตามถือเป็นส่วนสาคัญ ซึ่งการนิเทศการสอนมีความจาเป็น อย่างย่ิงในการพัฒนาครูให้มีความรู้เข้าใจในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดประสงค์และเป้าหมายของ หลกั สตู ร เน่อื งจากการนิเทศสามารถพฒั นาคุณภาพของครู เพราะการนิเทศจะมกี ารให้ข้อมลู แก่ครูในด้านการ เรียนการสอน เพื่อครูจะได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเอง ช่วยให้ครูได้พัฒนา ความรู้ ความสามารถในด้านการเรียนการสอน และสามารถพัฒนาคุณภาพของนักเรียน เนื่องจากครูมีการ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอยู่ตลอดเวลา (ปรียาภรณ์ วงศ์อนุตรโรจน์, 2546) จึงถือได้ว่าการนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนมีความสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพของครูและนักเรยี น ในชว่ งระยะเวลาทผ่ี ่านมาต้ังแตป่ กี ารศึกษา 2561-ปจั จบุ ัน เปน็ ต้นมา โรงเรยี นบา้ นท่าขอ่ ย ประสบปัญหาด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 จากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐานที่มีคะแนนเฉล่ียทุกรายวิชาต่ากว่าระดับประเทศ อาจจะมีผลมาจากหลาย ปัจจัยท่ีส่งผลให้คุณภาพของผู้เรียนต่าลง กล่าวคือ ปีการศึกษา 256๒ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ระดับโรงเรียน กลุ่มสาระท่ีมีคะแนนเฉล่ียสูงสุด คือวิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 46.92 ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยร้อยละสูงกว่า ระดับเขตพ้ืนท่ี ต่ากว่าระดับสังกัด และระดับประเทศ รองลงมาคือ วิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 32.50 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ระดับสังกัด และต่ากว่าระดับประเทศ วิชาวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 20.58 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าทุกระดับ และกลุ่มสาระที่มีคะแนนเฉล่ียต่าสุด คือ วิชาคณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 20.00 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าทุกระดับ ในภาพรวมคะแนน เฉลยี่ ร้อยละของโรงเรียนเท่ากับ 30.00 ดงั ตารางที่ 1

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 7 ตารางท่ี 1 เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดบั ชาติ (O-NET) ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านทา่ ข่อย สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ผลจากการดาเนินงานตามแนวทางพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านท่าข่อย ได้ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนโดยการพัฒนาส่งเสริม เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในทุก ระดับช้นั ตั้งแต่ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1-ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ซง่ึ ผลการดาเนินการดงั กลา่ วในช้นั ประถมศึกษา ปีท่ี 6 ท่ีนักเรียนจะต้องดาเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 ระดับโรงเรียน กลุ่มสาระที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือวิชาภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 54.30 ซึ่งมีค่าเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ต่ากว่าระดับสังกัด และระดับประเทศ รองลงมาคือ วิชา วิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 36.58 ซ่งึ มคี า่ เฉล่ียรอ้ ยละสูงกว่าระดบั เขตพื้นท่ี และต่ากวา่ ระดบั ประเทศ วิชาคณติ ศาสตร์ มีคะแนนเฉลย่ี ร้อยละ 20.67 ซง่ึ มีคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละต่ากวา่ ทุกระดับ กลุ่มสาระที่มคี ะแนนเฉลี่ย ต่าสุด คือวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 29.83 ซ่ึงมีค่าเฉลี่ยร้อยละต่ากว่าทุกระดับ ในภาพรวม คะแนนเฉลี่ยร้อยละของโรงเรียนเทา่ กับ 35.345 ซึง่ มีค่าเฉล่ียรอ้ ยละต่ากวา่ ทกุ ระดับ ดังตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 เปรยี บเทยี บคะแนนเฉลย่ี ร้อยละผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ชาติ (O-NET) ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านทา่ ขอ่ ย สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 8 นอกจากน้ี ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการคือ กระบวนการของการนิเทศ กากับติดตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซ่ึงท่ีผ่านมาโรงเรียนได้ดาเนินการนิเทศการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควรขาดการนาผลการนิเทศมาพัฒนาและเ ชื่อมโยงในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างแท้จริง นั่นคือ การนิเทศภายในโรงเรียน เป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาครูผู้สอน ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงจะส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามเป้าหมายของหลักสูตร ตลอดจนการ มีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เขา้ มามีบทบาทในการนเิ ทศ กากับตดิ ตามการจดั กิจกรรม การเรียนการสอนอย่างต่อเน่ืองอาจจะส่งผลให้ครูมีการปรับวิธีสอนเปลี่ยนวิธีคิดในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และนกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนทสี่ ูงข้นึ จากปัญหาดังกล่าวทางโรงเรียนได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ประกอบด้วย การพัฒนาครู การพัฒนานักเรียน และการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการท่ีจะเข้ามา มีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพ โดยเฉพาะการศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) เป็นแนวทางที่โรงเรียนใช้ เพ่ือพัฒนานวัตกรรมในการพัฒนาวชิ าชีพแนวทางหน่ึงที่กระทาโดยครูในโรงเรียนเอง โดยการท่ีครูทากิจกรรม ร่วมกันอย่างน้อย 4 กิจกรรม คือ พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้และสังเกตการจัดการเรียนรู้ สะท้อนผลชนั้ เรียน (LR1/LR2) และช่วยกันสรปุ ผลการเรยี นร้ขู องตนเอง ดงั นัน้ ทางโรงเรยี นจงึ ได้คดิ นวตั กรรม ตามแนวทางของการศึกษาชั้นเรียน Lesson Study โดยใช้รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ของโรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 2.3 รูปแบบ หรือกระบวนการนเิ ทศภายในของสถานศึกษา กรอบความคดิ ทใ่ี ชใ้ นการนเิ ทศ โรงเรยี นบ้านทา่ ขอ่ ยไดด้ าเนนิ การศึกษา วิเคราะห์ และออกแบบนวตั กรรมเพอ่ื การพฒั นากรอบ แนวคดิ ในการพัฒนาที่แสดงใหเ้ หน็ ความเช่อื มโยงสมั พันธ์ระหวา่ งปัญหา แนวคิด หลกั การและทฤษฎที ่ีใช้ วิธีการพัฒนา และผลสาเรจ็ ที่พงึ ประสงค์ ดงั นี้

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 9 แผนภาพท่ี 1 กรอบความคิด (Lesson Study) จากแผนภาพท่ี 1 จะเหน็ ได้ว่าโรงเรยี นได้ตระหนัก และเลง็ เห็นในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนโดยการ บรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม ประกอบดว้ ย ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครผู ู้สอน ผปู้ กครองนกั เรยี น ชุมชน และผู้ท่มี สี ่วน เกย่ี วขอ้ งทางกาศึกษา การบริหารจดั การชัน้ เรียนทีเ่ กย่ี วกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของครผู ูส้ อนและ นักเรียน ผา่ นกระบวนการมีส่วนรว่ ม การพฒั นาทางการบริหารและการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ทสี่ ง่ ผลไปยงั คณุ ภาพผเู้ รยี น แผนภาพที่ 2 กลไกพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นทา่ ขอ่ ย สพป.สงขลา เขต 3

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 10 จากแผนภาพที่ 2 แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนใช้วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ในการนิเทศภายในของ สถานศึกษา เป็นแนวคิดการพัฒนาการทางานเพ่ือควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ซ่ึง ประกอบด้วย การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดาเนินงาน ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดาเนินการ เพือ่ ใหไ้ ดต้ ามแผนที่มีการกาหนดไว้ ตรวจสอบการปฏิบัตติ ามแผน (Check) คอื การประเมินผลการดาเนินงาน ว่าเป็นไปตามแผนงานท่ีกาหนดไว้หรือไม่ และปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนาผลประเมินที่ ไดม้ าทาการวิเคราะห์ เพื่อพฒั นาแผน ในการปรับปรงุ ต่อไป

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 11 2.4 วิธีดาเนินการ โรงเรยี นบ้านท่าข่อย ไดด้ าเนินการตามลาดบั ขั้นตอนของการดาเนินการพัฒนา และหาคุณภาพตัง้ แต่ เริ่มตน้ จนจบกระบวนการพัฒนานาสูผ่ ลสาเร็จตามเป้าหมาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของ สถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพ มวี ิธกี ารและขน้ั ตอนในการดาเนินการ ดงั นี้ กระบวนการการศึกษาช้นั เรียน (Lesson Study) สามารถแสดงไดดงั แผนภูมิ ประชุม/วำงแผนคณะกรรมกำร/ผทู้ ีเกยี วขอ้ ง วเิ ครำะห์หลกั สูตรกลมุ่ สำระกำรเรยี นรู/้ PLC ร่วมกันเขียนแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ตรวจสอบ/ผทู้ รงคณุ วุฒ/ิ ผ้เู ชียวชำญ/ศึกษำนิเทศก์ นำ่ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ไปใช้ นเิ ทศตดิ ตาม และสังเกตชั้นเรียนตำมตำรำงสอนปกติ ผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ ครูผ้สู อน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ สะทอ้ นผลชั้นเรียน (LR1) และ (LR2) สะท้อนผล ปรับปรงุ พฒั นา และให้กาลังใจ แผนภาพท่ี 3 กระบวนการการศกึ ษาชัน้ เรยี น (Lesson Study) : กรณีศึกษา โรงเรียนบ้านท่าข่อย สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 12 จากแผนภมู กิ ระบวนการการศกึ ษาชั้นเรียน (Lesson Study) : กรณศี ึกษา โรงเรยี นบ้านท่าข่อย สรปุ ผลการดาเนินงานตามข้ันตอนได้ดงั น้ี ขัน้ ตอนของการศกึ ษาช้ันเรยี น ข้นั ตอนที่ 1 PLAN ขัน้ การวางแผน เปน็ ขนั้ ตอนของการวางแผนการศึกษาช้นั เรียน โดยการประชมุ / วางแผนคณะกรรมการ/ผู้ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ผู้บรหิ ารและครูผู้สอนรว่ มการศึกษาสภาพปญั หาการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้ันตอนท่ี 2 ขั้นวิเคราะห์ (Analysis) เป็นขั้นตอนของครูผู้สอนทุกคนร่วมกัน วิเคราะห์หลักสูตร สาระการเรยี นรทู้ ่รี บั ผดิ ชอบ ผา่ นกระบวนการมีส่วนรว่ ม/PLC

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 13 ผบู้ รหิ ารและครผู ู้สอนรว่ มกันวิเคราะห์หลกั สูตร ข้ันตอนที่ 3 ขั้นออกแบบ (Design) เป็นข้ันตอนท่ีครูผู้สอนทุกคน ร่วมกันเขียนแผนการจดั การเรียนรู้ และนาแผนการจดั การเรยี นรนู้ าเสนอ โดยใหผ้ ้ทู รงคุณวุฒิ/ผูเ้ ชี่ยวชาญ/ศกึ ษานิเทศก์ ตรวจสอบ ขั้นตอนที่ 4 ขั้นนาไปใช้ (Apply) เป็นขั้นตอนท่ีครูผู้สอนทุกคนนาแผนการจัดการเรียนรูไปใช้และ สังเกตชั้นเรียนตามตารางสอนปกติ ในข้ันน้ีจะมีการนิเทศติดตามโดยผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษา หรือผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ (Learning Reflection) รายบุคคล (LR1) และบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ (Learning Reflection) จากคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม (LR๒)

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบ้านทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 14 ขั้นตอนท่ี 5 ขั้นสะท้อนผล (Reflection) (Learning Reflection) รายบุคคล (LR1) และบนั ทึกสะท้อน การเรียนรู้ (Learning Reflection) จากคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม (LR2) ปรับปรุง พัฒนาและให้กาลังใจ ให้ครูผจู้ ัดการเรยี นรู้ ได้เขา้ รว่ ม เพื่อสะทอ้ นผล ปรับปรงุ พฒั นา และส่งเสรมิ กาลงั ใจจากผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 15 2.5 การกากบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผล การมสี ่วนร่วมของผู้ทมี่ สี ่วนเกย่ี วข้อง เช่น ครวู ิชาการ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และ ผูป้ กครองนักเรียน เขา้ มามีบทบาทในการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอน บทบาทของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ผลสาเรจ็ ทไ่ี ด้ และนาผลไปใช้ การดาเนินงานนิเทศภายในของสถานศกึ ษา Lesson Study โดยใชร้ ูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ของโรงเรียนบา้ นท่าข่อย สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 เปน็ การพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนของสถานศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ผลสาเร็จทไ่ี ด้ และนาผลไปใช้ ดังน้ี จากการดาเนินงานของโรงเรียน Lesson Study เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ รูปแบบ PADAR TO SMART (S T P S) MODEL ของโรงเรยี นบา้ นทา่ ขอ่ ย สังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสงขลา เขต 3 ผลงานนวัตกรรมที่เกิดข้ึนกับผู้ที่เกี่ยวข้องในด้านพฤติกรรม พัฒนาการหรือการ เรยี นรู้ เพ่ือพฒั นากระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนของครใู ห้มีประสทิ ธภิ าพ พบว่า ดา้ นผูเ้ รียน ส่งผลให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรทู้ ่ีมปี ระสิทธิภาพ ผา่ นกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มีคา่ พฒั นาทส่ี งู ขน้ึ จากปีการศึกษา 2562 เทา่ กบั +5.34

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 16 ดา้ นครู ครูผู้สอนเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เนื่องจากการใช้ กระบวนการมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานของโรงเรยี นเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการนิเทศ กากับ ติดตามการจดั การเรยี นการสอนอย่างต่อเน่อื ง

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 17 ดา้ นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มแี นวคดิ ในการพัฒนาการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ซึ่งได้แนวทางจากการวเิ คราะหผ์ ลจากการดาเนนิ งานของสถานศึกษาท่ผี ่านมาใน ประเดน็ ของการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นที่จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ดา้ นชมุ ชน หรอื ผูม้ สี ว่ นเก่ยี วข้อง ชมุ ชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาอยา่ งเพ่ิมขน้ึ เขา้ ใจบทบาทของการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนของสถานศกึ ษา การบริหารจดั การของสถานศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ ตลอดจนการมสี ่วนร่วมในการวางแผน ขบั เคลอื่ นคุณภาพของผเู้ รยี น คุณภาพของสถานศึกษา

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบา้ นท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 18 การนาผลไปใช้ การพฒั นารูปแบบการนิเทศภายในของสถานศึกษา การดาเนนิ งานจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยง่ิ ขน้ึ หากดาเนินการตามแนวทางดงั ต่อไปนี้ 1. การกาหนดจดุ เนน้ (focus) หรอื เปา้ หมายทชี่ ัดเจนในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน หรอื การพฒั นาผู้เรยี น และครูตอ้ งมีความเข้าใจทช่ี ัดเจนในเปา้ หมายดังกลา่ วร่วมกนั เชน่ การส่งเสรมิ ทกั ษะ การคดิ วเิ คราะหข์ องผเู้ รียน การสง่ เสริมความคดิ สร้างสรรค์ เปน็ ตน้ 2. เนน้ การพัฒนาบทเรยี นในเชิงคุณภาพมากกวา่ ปริมาณ เพ่ือมุ่งให้ครูและผทู้ ่เี ก่ยี วข้องไดเ้ กิด การเรียนร้ใู นเชงิ ลึกและได้บทเรยี นดีทใี่ ชไ้ ด้จริง 3. พฒั นาแผนการจัดการเรยี นการรู้ของครู โดยการศกึ ษาชั้นเรียน (Lesson Study) 4. พัฒนาครใู นการสรา้ งนวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อนาไปสู่การเปล่ียนแปลงสภาพการ จัดการเรียนการสอนในชนั้ เรียน เพราะนอกจากจะชว่ ยปรับการเรียนเปล่ียนการสอนแล้ว ยงั ชว่ ยใหค้ รูผสู้ อนมี ประเดน็ สนใจร่วมทีจ่ ะนาไปสู่การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างกว้างขวาง ผา่ นกระบวนการมีสว่ น รว่ ม PLC 5. เสริมสร้างความสามารถในการทางานเป็นทมี และกิจกรรมสง่ เสริมความสมั พนั ธ์ เพ่ือสรา้ ง บรรยากาศของการเปิดใจ การไวว้ างใจ การยอมรบั ซ่งึ กันและกนั และเพ่ือให้ครูสามารถทางานร่วมกันได้อยา่ ง มปี ระสิทธิภาพ 6. ส่งเสรมิ ให้ครูใชเ้ ทคโนโลยีสนับสนุนการทางาน เชน่ ใช้กล้องวิดที ัศนช์ ว่ ยในการบันทึก รอ่ งรอย หลักฐานและทบทวนเหตุการณท์ เี่ กิดขึน้ หรือใช้เครือข่ายสงั คมออนไลนใ์ นการตดิ ตอ่ ส่อื สาร แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหวา่ งกัน

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 19 ตอนที่ 3 ข้อมูลอน่ื ๆ เพิ่มเติม 1.ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อความสาเร็จ 1.1 การมีสว่ นรว่ มของผู้ทม่ี สี ่วนเก่ียวข้อง เช่น ครวู ิชาการ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน และ ผปู้ กครองนักเรยี น เข้ามามบี ทบาทในการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอน 1.2 รูปแบบและการออกแบบของการนิเทศกระบวนการจัดการเรียนการสอน 2.ข้อค้นพบ 2.1 รปู แบบและวธิ ีการสอนของครูท่ีผา่ นกระบวนการนิเทศอย่างเปน็ ระบบ 2.2 บทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานในการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของ โรงเรียน 3.โมเดล: กลไกพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา โรงเรยี นบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 20 4.ผลงาน/รางวัล/ความภาคภมู ใิ จ

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 21

การนเิ ทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรยี นบา้ นทา่ ข่อย สพป.สงขลา เขต 3 22

การนิเทศภายในของสถานศึกษา:โรงเรียนบ้านท่าข่อย สพป.สงขลา เขต 3 23 บรรณานกุ รม นฤมล อนิ ทร์ประสทิ ธ(์ 2552). การศกึ ษาชัน้ เรียน (Lesson Study): นวตั กรรมเพื่อพฒั นาครแู ละ นกั เรียน.วทิ ยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ บัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ปรยี าภรณ์ วงศอ์ นุตรโรจน(์ 2546).การนิเทศการสอน.กรงุ เทพฯ:ศูนย์ส่อื เสรมิ กรงุ เทพ. Lewis, C. (2002). Lesson Study: A handbook of teacher-led Instructional change. Philadelphia: Research for better schools, Inc. Yoshida, M. (2006). An overview of Lesson Study. In Building our understanding of lesson study (pp.1-12). Philadelphia: Research for better schools Inc. Yoshida, M. & Fernandez, C. (2002). Lesson Study: An Introduction. New York: Madison


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook