Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผอ.จุฑามาศ การบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

ผอ.จุฑามาศ การบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

Published by ldnongjamnong, 2019-12-13 05:28:14

Description: ผอ.จุฑามาศ เรื่องการบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

Search

Read the Text Version

กระบวนการ PLC ท่สี าคัญ คอื การทางานตง้ั แตข่ ้ันแรกถงึ ข้ันสุดท้าย ต้องมีการบนั ทกึ (Logbook)

แบบบนั ทกึ PLC







SLC (School as Learning Community) โรงเรียนในฐานะชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ นางจฑุ ามาศ รอดภัย ผู้อานวยการเชยี่ วชาญ โรงเรยี นวดั ใหญช่ ัยมงคล(ภาวนารงั สี) สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1



โรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (SLC) คื อ แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ รู ป การศึกษาท่ีแตกต่างจากแนวทาง อื่น ๆ ไม่ได้มีสูตรสาเร็จตายตัว เป็นสิ่งท่ีตกผลึกจากความร่วมมือ ทั้งจาก บุคลากรในโ รงเรียน ผ้ปู กครอง และรวมถึงชมุ ชน

โรงเรยี นในฐานะชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (SLC) มีองคป์ ระกอบสาคญั 3 องคป์ ระกอบ คือ องคป์ ระกอบที่ 1 ดา้ นวสิ ยั ทศั น์ สนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้ เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีสิทธิในการ เรียนรู้ และเข้าถึงคุณภาพการเรียนรู้ท่ี สูงข้ึน ตามแนวทางของการปกครองใน ระบอบสังคมประชาธิปไตย (Social Democracy)

โรงเรยี นในฐานะชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC) มอี งค์ประกอบสาคญั 3 องค์ประกอบ (ตอ่ ) องค์ประกอบท่ี 2 ดา้ นปรัชญาการศกึ ษา มีปรชั ญาการศึกษาทเ่ี กย่ี วเนื่อง 3 ปรชั ญา คอื 1) Public Philosophy ปรัชญาว่าด้วยสว่ นรวมและความเป็นสาธารณะ ซึ่งหมายถึงว่า ห้องเรียนและโรงเรียนคือพ้ืนท่ีในการเรียนรู้ของทุกคน ไม่ได้มีใครเป็น เจา้ ของแต่เพยี งฝา่ ยเดยี ว

โรงเรียนในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) มีองคป์ ระกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 2 ด้านปรัชญาการศกึ ษา มปี รชั ญาการศึกษาทเ่ี ก่ยี วเน่ือง 3 ปรชั ญา (ตอ่ ) 2) Democracy Philosophy ปรัชญาว่าด้วยประชาธิปไตย หมายถึง การสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องของโรงเรียน ใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่าง เคารพ รบั ฟังเสยี งของทกุ คน และไม่ทอดทงิ้ กนั

โรงเรยี นในฐานะชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC) มอี งค์ประกอบสาคัญ 3 องคป์ ระกอบ (ต่อ) องคป์ ระกอบท่ี 2 ดา้ นปรัชญาการศึกษา มีปรัชญาการศกึ ษาทเ่ี กี่ยวเนอ่ื ง 3 ปรัชญา (ต่อ) 3) Excellence Philosophy ปรัชญาว่าด้วยความเป็นเลิศ โดยมีความหมาย ว่า เด็กทุกคนน้ันมีความแตกต่างกัน ดังนั้น พวกเขาจึงมีสิทธิท่ีจะพัฒนาตัวเองตาม ศักยภาพเพ่ือก้าวไปส่คู วามเป็นเลศิ ตามแนวทางของตน

โรงเรยี นในฐานะชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC) มอี งคป์ ระกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ (ต่อ) องค์ประกอบที่ 3 ด้านระบบกจิ กรรม ระบบกิจกรรม (Activity System) เป็นขัน้ ตอนในการเอาทฤษฎไี ปส่ขู ้นั ปฏิบตั จิ ริง มีโครงสร้างท้งั หมด 3 สว่ น คอื 1. การเรยี นรู้แบบร่วมมือร่วมพลังในห้องเรียน (Collaborative Learning) คือการเรียนรู้ท่ีเน้นให้มีการส่ือสารปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งจะช่วยกระตุ้นและบังคับให้เด็กเกิด การเรียนรู้ได้มากกวา่ การเรยี นรปู แบบอืน่ ๆ

โรงเรียนในฐานะชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC) มีองค์ประกอบสาคัญ 3 องค์ประกอบ (ต่อ) องค์ประกอบท่ี 3 ดา้ นระบบกิจกรรม ระบบกจิ กรรม (Activity System) เป็นขัน้ ตอนในการเอาทฤษฎไี ปสขู่ ัน้ ปฏบิ ัติจรงิ มโี ครงสรา้ งทง้ั หมด 3 ส่วน (ตอ่ ) 2. การสรา้ งความเปน็ เพ่อื นร่วมงาน (Collegiality)และชุมชนแห่งการเรียนรู้ เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community) คือการสร้างโรงเรียนที่ครูทุกคนมี ความชานาญและเช่ียวชาญ โดยครูจะต้องเรียนรู้ และปรับปรุงวิธีการสอน ผ่าน กระบวนการเรียนรจู้ ากการสอน (lesson study) โดยมขี ้นั ตอนหลัก 3 ขนั้ ตอนคอื

โรงเรยี นในฐานะชุมชนแห่งการเรียนรู้ (SLC) มอี งคป์ ระกอบสาคัญ 3 องคป์ ระกอบ (ตอ่ ) องค์ประกอบที่ 3 ด้านระบบกจิ กรรม ระบบกิจกรรม (Activity System) เป็นขน้ั ตอนในการเอาทฤษฎีไปสขู่ ้นั ปฏิบตั จิ ริง มโี ครงสร้างทั้งหมด 3 สว่ น (ตอ่ ) ขั้นตอนท่ี 1 ออกแบบหลักสตู ร และการศกึ ษาวิจยั ขั้นตอนที่ 2 ฝึกปฏิบัติ ขนั้ ตอนท่ี 3 รว่ มสงั เกตการณ์ และการสะทอ้ นมมุ มอง โดยครู ผปู้ กครอง และ คนในชมุ ชนครู รว่ มนิเทศการสอนหรือจดั สอนแบบเปดิ (open class)

โรงเรยี นในฐานะชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (SLC) มีองคป์ ระกอบสาคญั 3 องคป์ ระกอบ (ตอ่ ) องคป์ ระกอบที่ 3 ด้านระบบกิจกรรม ระบบกิจกรรม (Activity System) เป็นข้ันตอนในการเอาทฤษฎไี ปสู่ข้นั ปฏิบัตจิ ริง มีโครงสร้างทัง้ หมด 3 ส่วน (ต่อ) 3. การเข้าร่วมเรียนรู้เพ่ือการปฏิรูปของผู้ปกครองและคนในชุมชนท้องถ่ิน เป็นการเข้าไปเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในการเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน นอกจากครูแล้ว ผ้ปู กครอง และคนในชมุ ชน ต้องเขา้ มาเรยี นรู้ และสังเกตการณ์ เพ่อื ให้ทราบถึงการทางาน ดว้ ยเช่นเดียวกัน

ความทา้ ทายระหวา่ งครูกับนักเรียน ส่วนใหญ่คุณครูจะไม่ยอมให้ใคร เข้ามาก้าวก่ายในเร่ืองของการเรียนการสอนโดยไม่จาเป็น การที่จะประสบ ความสาเร็จตามแนวทางของ SLC นี้ คณุ ครจู ะตอ้ งเปดิ ใจและเปิดโอกาส เปลี่ยนทศั นคติ ใหบ้ คุ คลอ่ืน ท้ังเพ่ือนครู ผู้ปกครอง สมาชิกในชุมชน หรือ บุคคลที่เก่ียวข้องในโรงเรียนเข้ามาสังเกตการณ์และแลกเปล่ียนความรู้ซ่ึงกัน และกัน

3 สิ่งท่ีไมท่ าแล้วจะต้องเสยี ใจ 1. พบ ครดู ี แล้วไม่เรยี น 2. คบ เพ่ือน ดแี ล้วไมค่ บ 3. พบ โอกาส แต่ไมค่ ว้าไว้

ขอ้ มลู การตดิ ต่อ โรงเรียนวดั ใหญช่ ัยมงคล(ภาวนารงั สี) 90 หมู่ 2 ต.ไผ่ลิง อ.พระนครศรอี ยธุ ยา จ.พระนครศรอี ยุธยา 13000 Tel : 035-243027 Fax : 035-243027 E-mail : [email protected] Website : www.watyaiay.com Watyaichaimongkol Ayutthaya