Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผอ.จุฑามาศ การบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

ผอ.จุฑามาศ การบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

Published by ldnongjamnong, 2019-12-13 05:28:14

Description: ผอ.จุฑามาศ เรื่องการบริหารจัดการภาคีเครือข่ายพัฒนาโรงเรียน

Search

Read the Text Version

การศกึ ษา - ปริญญาโท (คม.) สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา หลักสูตรที่ผ่านการฝึกอบรม - หลกั สูตร พฒั นาสถานศึกษาเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ (สคบส.) - หลักสูตรธรรมาภิบาลสาหรบั ผู้บริหารสถานศึกษา สพฐ. (โรงเรียนสจุ ริต) สถาบันพระปกเกลา้ - หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง สาหรับผู้บริหารสถานศึกษา จากสถาบนั จิตวิทยาความมั่นคง สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ - หลักสตู รภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร มหาวิทยาลัยเพิร์ท (Perth) ประเทศออสเตรเลยี รอดภัย การทางาน นางจฑุ ามาศ - เป็นครผู ู้สอน ๑๗ ปี ผ้อู านวยการเชีย่ วชาญ - ดารงตาแหนง่ ครูใหญ่ พ.ศ. ๒๕๔๓ โรงเรียนวัดใหญช่ ยั มงคล(ภาวนารงั สี) - ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษา วิทยฐานะ ผู้อานวยการเชีย่ วชาญ พ.ศ. ๒๕๕๖

การศกึ ษาดูงานต่างประเทศ - ศึกษาดูงานประเทศญ่ปี ุ่น - ศึกษาดงู านประเทศฮ่องกง - ศึกษาดงู านประเทศนวิ ซีแลนด์ รางวลั เกียรตยิ ศ - เครือ่ งหมายเชิดชเู กียรตคิ รุสดุดี - ข้าราชการพลเรือนดเี ดน่ ครฑุ ทองคา - พระราชทานเหรียญลกู เสอื สดุดี ช้ันที่ ๑ - สถานศึกษารางวลั พระราชทาน ระดบั ก่อนประถมศึกษา ระดบั ประถมศกึ ษา และระดับมธั ยมศกึ ษา - รางวลั \"ผู้นาโรงเรียน ๔.๐\" นางจุฑามาศ รอดภัย - รางวลั “ผู้นาการเปล่ยี นผ่านการศึกษาสู่ยุคปัญญาประดิษฐ์” ผอู้ านวยการเชี่ยวชาญ โรงเรียนวัดใหญช่ ยั มงคล(ภาวนารังสี)

การบริหารจัดการ ภาคีเครอื ขา่ ยพัฒนาโรงเรยี น นางจุฑามาศ รอดภัย ผูอ้ านวยการเชย่ี วชาญ โรงเรยี นวัดใหญช่ ัยมงคล(ภาวนารังสี) สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรีอยธุ ยา เขต 1

วตั ถปุ ระสงค์ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจการบริหารจดั การภาคเี ครือข่าย การพฒั นาโรงเรยี น 2. สามารถบริหารจดั การภาคีเครอื ขา่ ยการพฒั นาโรงเรยี นได้

คาถาม ถา้ พูดถงึ ...เครอื ข่าย ท่านจะนึกถงึ อะไร

ความหมายของ \"เครอื ขา่ ย” เครอื ขา่ ย (Network) คอื การเช่อื มโยงของกลุ่มของคน หรือกลุ่มองค์กรที่สมัครใจ ที่จะแลกเปลี่ยนข่าวสารร่วมกัน หรอื ทากจิ กรรมร่วมกนั โดยมีการจัดระเบยี บโครงสร้างของคน ในเครือข่ายด้วยความเป็นอิสระ เท่าเทียมกันภายใต้พื้นฐาน ของความเคารพสิทธิ เชอ่ื ถือ เออื้ อาทร ซึ่งกันและกัน

ประเดน็ สาคญั ของ \"เครือขา่ ย”  ความสัมพนั ธต์ อ้ งเป็นไปโดยสมคั รใจ  กิจกรรมที่ทาต้องมีลักษณะเท่าเทียมหรือแลกเปล่ียน ซ่งึ กันและกัน  การเป็นสมาชิก ต้องไม่มีผลกระทบต่อความเป็นอิสระ หรอื ความเปน็ ตัวของตัวเองของคนหรือองคก์ รนั้น ๆ

“เครอื ขา่ ยเทียม (Pseudo network)” การชุมนุมพบปะสังสรรค์ระหว่างสมาชิก โดยทีต่ า่ งคนตา่ งกไ็ มไ่ ด้มเี ปา้ หมายรว่ มกนั และไม่ได้ ตั้ง ใ จท่ีจ ะท ากิจ กร รมร่ วม กัน หรื อรว มกั น ตามกระแสนิยมท่ีไมม่ วี ัตถุประสงคช์ ดั เจน

ทุกวันนี้เราอยู่ในเครอื ขา่ ยแบบไหน เครอื ขา่ ย (แท้) หรอื เทยี ม

องค์ประกอบของเครือขา่ ย (แท้) 1. มีการรบั รมู้ มุ มองทเี่ หมือนกัน 2. การมวี สิ ัยทศั น์ร่วมกนั 3. มีความสนใจหรือผลประโยชน์รว่ มกนั 4. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ทุกคนในเครือข่าย 5. มกี ารเสริมสรา้ งซง่ึ กันและกัน 6. การเกื้อหนนุ พ่งึ พากนั 7. มีปฎิสมั พันธ์ในเชงิ แลกเปลย่ี น

มีการรบั รูม้ มุ มองท่เี หมือนกัน (common perception) ตอ้ งมีความรูส้ ึกนึกคิดและการรับรเู้ หมือนกัน ในการเข้ามารว่ มกัน เป็นเครอื ข่าย เช่น มคี วามเขา้ ใจในตัวปัญหาและมีจติ สานึกในการแก้ไข ปัญหารว่ มกนั ประสบกบั ปญั หาอยา่ งเดยี วกนั หรอื ตอ้ งการความช่วยเหลอื ในลกั ษณะท่คี ล้ายคลึงกัน

การมีวิสัยทัศนร์ ่วมกัน (common vision) การท่สี มาชกิ มองเห็นจุดม่งุ หมายในอนาคตท่เี ปน็ ภาพเดยี วกัน มี การรับรแู้ ละเข้าใจไปในทิศทางเดียวกนั และมเี ปา้ หมายท่จี ะเดนิ ทางไป ดว้ ยกนั หรือถา้ สมาชกิ มีวิสัยทศั นส์ ว่ นตัวอยแู่ ลว้ กต็ ้องปรบั ให้สอดคล้องกบั วสิ ยั ทัศน์ของเครอื ขา่ ยให้มากทีส่ ุดแม้จะไม่ซ้อนทบั กันแนบสนิทจนเปน็ ภาพ เดยี วกนั แต่อยา่ งนอ้ ยกค็ วรสอดรบั ไปในทิศทางเดยี วกนั

มีความสนใจหรอื ผลประโยชนร์ ่วมกัน ( mutual interests/benefits) คาวา่ ผลประโยชน์ในท่นี ค้ี รอบคลมุ ทงั้ ผลประโยชนท์ ่เี ป็นตัวเงนิ และ ผลประโยชนไ์ มใ่ ชต่ ัวเงิน ถา้ การเขา้ รว่ มในเครอื ข่ายสามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของเขาหรือมผี ลประโยชนร์ ่วมกนั กจ็ ะเป็นแรงจูงใจใหเ้ ขา้ มา มีสว่ นร่วมในเครือข่ายมากขึ้น

การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ ทุกคนในเครือข่าย (stakeholders participation) การมีส่วนรว่ มของสมาชิกในเครอื ขา่ ย เปน็ กระบวนการที่สาคัญ มากในการพัฒนาความเขม้ แขง็ ของเครอื ขา่ ย เป็นเงื่อนไขทที่ าใหเ้ กิด การรว่ มรบั รู้ ร่วมคิด รว่ มตัดสินใจ และร่วมลงมือกระทาอยา่ งเข้มแข็ง

มีความสนใจหรอื ผลประโยชนร์ ่วมกัน ( mutual interests/benefits) คาวา่ ผลประโยชน์ในท่นี ค้ี รอบคลมุ ทงั้ ผลประโยชนท์ ่เี ป็นตัวเงนิ และ ผลประโยชนไ์ มใ่ ชต่ ัวเงิน ถา้ การเขา้ รว่ มในเครอื ข่ายสามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของเขาหรือมผี ลประโยชนร์ ่วมกนั กจ็ ะเป็นแรงจูงใจใหเ้ ขา้ มา มีสว่ นร่วมในเครือข่ายมากขึ้น

มีการเสรมิ สร้างซงึ่ กนั และกัน ( complementary relationship) การที่สมาชิกของเครอื ขา่ ยต่างก็สร้างความเข้มแขง็ ใหก้ นั และกัน โดยนาจดุ แข็งของฝ่ายหนง่ึ ไปชว่ ยแก้ไขจดุ ออ่ นของอกี ฝา่ ยหนง่ึ แล้วทาให้ ได้ผลลพั ธ์เพิ่มข้นึ ในลกั ษณะพลังทวีคูณ (1+1 > 2) มากกวา่ ผลลพั ธท์ ่ี เกิดข้ึนเมือ่ ต่างคนต่างอยู่

การเกอ้ื หนุนพ่ึงพากัน ( interdependence ) เปน็ องค์ประกอบทท่ี าใหเ้ ครอื ขา่ ยดาเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เช่นเดียวกัน การทส่ี มาชิกเครือขา่ ยตกอยใู่ นสภาวะจากดั ท้ังด้านทรัพยากร ความรู้ เงนิ ทนุ กาลงั คน ฯลฯ ไม่สามารถทางานให้บรรลเุ ป้าหมาย อยา่ งสมบูรณไ์ ดด้ ว้ ยตนเองโดยปราศจากเครือข่าย จาเปน็ ตอ้ งพึ่งพาซง่ึ กนั และกันระหว่างสมาชิกในเครอื ข่าย

มปี ฎสิ มั พนั ธใ์ นเชิงแลกเปลย่ี น ( interaction ) สมาชิกในเครือขา่ ยต้องทากจิ กรรมร่วมกันเพ่ือก่อให้เกดิ การปฎิสัมพันธร์ ะหว่างกนั ลักษณะของปฎิสมั พันธร์ ะหว่างสมาชิกควรเป็นการแลกเปลี่ยนกัน (reciprocal exchange) มากกว่าทจ่ี ะเปน็ ผใู้ หห้ รือเปน็ ผ้รู บั ฝา่ ยเดียว (unilateral exchange) ยง่ิ สมาชกิ มีปฎิสัมพนั ธ์กันมากเทา่ ใดกจ็ ะเกิดความผูกพันระหวา่ งกนั มากขน้ึ เท่าน้ัน ทาใหก้ ารเช่ือมโยงแน่นแฟ้นมากขน้ึ มกี ารเรียนรูร้ ะหวา่ งกนั มากขน้ึ สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ ับเครือข่าย

การกอ่ เกดิ ของเครือขา่ ย แบง่ ชนิดของเครอื ขา่ ยออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ

1. เครือขา่ ยที่เกดิ โดยธรรมชาติ เครอื ขา่ ยชนิดน้มี ักเกดิ จากการท่ีผคู้ นมีใจตรงกัน ทางานคลา้ ยคลึง กันหรอื ประสบกบั สภาพปัญหาเดยี วกนั มาก่อน เข้ามารวมตัวกัน เพอ่ื แลกเปลี่ยนความคดิ และประสบการณ์ ร่วมกันแสวงหาทางเลือกใหม่ ทดี่ กี ว่า การดารงอยขู่ องกลุ่มสมาชิกในเครือข่ายเปน็ แรงกระตนุ้ ทเี่ กิดข้ึน ภายในตวั สมาชิกเอง (ฉนั ทะ)

2. เครอื ข่ายจัดตงั้ เครอื ขา่ ยจดั ต้งั มกั จะมคี วามเก่ียวพันกับนโยบายหรอื การดาเนินงานของ ภาครัฐเปน็ สว่ นใหญ่ การจัดตงั้ อยู่ในกรอบความคิดเดิมท่ีใชก้ ลไกของรัฐผลักดนั ให้ เกิดงานทีเ่ ป็นรปู ธรรมโดยเรว็ และสว่ นมากภาคีหรือสมาชกิ ท่ีเข้ารว่ มเครือขา่ ยมักจะ ไม่ไดม้ ีพน้ื ฐาน ความตอ้ งการ ความคิด ความเขา้ ใจ หรือมมุ มองในการจดั ตง้ั เครอื ข่ายทต่ี รงกันมากอ่ นทจี่ ะเขา้ มารวมตวั กัน เป็นการทางานเฉพาะกิจชวั่ คราว ที่ไมม่ คี วามต่อเนือ่ ง และมักจะจางหายไปในที่สดุ

3. เครือข่ายวิวฒั นาการ เป็นการถือกาเนดิ โดยไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาตติ งั้ แตแ่ รก และไม่ได้ เกิดจากการจัดตงั้ โดยตรงแตม่ ีกระบวนการพัฒนาผสมผสานอยู่ โดยเริม่ ทก่ี ลุ่ม บคุ คล/องคก์ รมารวมกนั ด้วยวตั ถปุ ระสงค์กว้างๆ ในการสนบั สนุนกนั และ เรยี นรูไ้ ปดว้ ยกัน โดยยังไมไ่ ดส้ ร้างเป้าหมายหรือวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะทช่ี ดั เจนนัก เครือข่ายในลักษณะนพี้ บเหน็ อยมู่ ากมาย เช่น เครือข่ายผู้สูงอายุ เครือข่าย โรงเรยี นสรา้ งเสรมิ สุขภาพ เป็นต้น

รปู แบบการบริหารการจัดการแบบบรู ณาการ มีลกั ษณะเนน้ การระดมทรัพยากรทางการศึกษา (Mobilization of Education Resource) โดยการนากลยุทธข์ องการบริหารจัดการท่ีดี มาประยกุ ต์ใช้ ดังนี้ 1. การสรา้ งความรว่ มมือ 2. การมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา (Participations) 3. การบริหารจดั การท่ีมคี วามเปน็ อิสระ คล่องตัว ในการสร้างความ โดดเดน่ ทางวิชาการของตวั เอง

รปู แบบของระบบการบริหารเครือข่ายการมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา มี 4 องคป์ ระกอบ ดงั น้ี 2. การจดั การเครือข่าย ประกอบดว้ ย - การพัฒนาแผนกลยทุ ธ์ 1. องค์การของเครือข่ายสมาชกิ ประกอบดว้ ย - การออกแบบเครือขา่ ย - วตั ถุประสงค์ - การบูรณาการและการเชอ่ื มโยง - เปา้ หมายของเครอื ขา่ ย - การดาเนินการและการวดั ผล - สมาชกิ เครือขา่ ย - การประยุกต์ใช้ ICT ในการจดั การเครือขา่ ย - บทบาทหน้าท่ขี องสมาชกิ ในเครือข่าย - การพฒั นาความร้แู ละทกั ษะบคุ ลากร - การจดั ระบบติดตอ่ สือ่ สาร

รปู แบบของระบบการบริหารเครือข่ายการมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 3. การใชป้ ระโยชน์จากเครือขา่ ย ประกอบดว้ ย 4. การธารงรักษาเครอื ข่าย ประกอบด้วย - การจัดกจิ กรรมรว่ มกัน - การประสานงานรว่ มกนั - การสรา้ งสัมพันธภาพระหว่างสมาชิก - การแลกเปลย่ี นสารสนเทศและความรู้ - การสรา้ งระบบการจงู ใจ - การแลกเปลีย่ นและระดมทรัพยากร - การจดั หาทรพั ยากรสนับสนนุ - การพัฒนาความรู้และทกั ษะ - การสรา้ งท่ีปรกึ ษา - การสร้างผ้นู ารนุ่ ใหม่

รปู แบบการบริหารเครอื ขา่ ยโรงเรียนแบบมีสว่ นรว่ มที่มีประสทิ ธิผล การบริหารเครอื ขา่ ยโรงเรียนมี 8 องค์ประกอบ ดงั น้ี 1. กิจกรรมท่รี ว่ มกันทา 2. การใช้เทคโนโลยี 3. ทักษะด้านภาวะผนู้ า 4. ผ้นู าเปิดโอกาสให้สมาชิกมีสว่ นรว่ ม 5. การตดิ ตอ่ สอื่ สาร 6. การมสี ่วนร่วมของสมาชิก 7. การมเี ครือข่ายแบบมีส่วนร่วม 8. บรรยากาศการมสี ่วนรว่ ม

ปัจจัยทีเ่ ปน็ องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมภายในสถานศกึ ษา 1. ผูบ้ รหิ ารมกี ารวางแผนและกาหนดนโยบายรว่ มกับคณะกรรม สถานศกึ ษา ปรึกษาหารอื กนั ทกุ ขน้ั ตอน 2. มกี ารจดั การวางตวั บคุ คลให้เหมาะสมกบั งาน 3. ผบู้ รหิ ารมีภาวะผู้นาทางวิชาการสูงจะไดร้ ับการยอมรบั จากชมุ ชน

การรกั ษาเครือขา่ ย หลักการรกั ษาความสาเรจ็ ของเครือขา่ ย มดี งั น้ี 1. มกี ารจัดกิจกรรมรว่ มทดี่ าเนินอย่างต่อเนื่อง 2. มกี ารรักษาสมั พนั ธภาพที่ดรี ะหว่างสมาชิกเครือข่าย 3. กาหนดกลไกสรา้ งระบบจูงใจ 4. จัดหาทรพั ยากรสนับสนุนเพียงพอ 5. ให้ความชว่ ยเหลือและชว่ ยแก้ไขปญั หา 6. มีการสรา้ งผ้นู ารุ่นใหม่อยา่ งต่อเนื่อง

ทาไม ? เครือขา่ ยจงึ สาคัญ และทาไม ? ตอ้ งสรา้ งเสรมิ และพฒั นาเครือขา่ ย

กระบวนการมสี ่วนรว่ ม ท่มี า : สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.)

ปรชั ญาเครือขา่ ย : LINK

การสรา้ งเครือข่าย จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ ทคนิคและวิธีการเชิงกระบวนการ การให้บุคคลหรอื กลมุ่ ต่าง ๆ ได้ส่อื สาร แลกเปลี่ยน และตดั สนิ ใจดว้ ยกลุ่มเอง (ไมใ่ ช่การส่ังการ)

ยุทธวธิ สี ร้างเครือขา่ ย (1P 3C) 1. Participation = การมสี ่วนร่วม 2. Cooperation = การให้ความร่วมมอื ช่วยเหลือ 3. Coordination = การประสานงานใหร้ าบรื่น 4. Collaboration = การประสานความร่วมมือ รว่ มใจ

ข้อควรคานึงเม่ือทางานเครอื ขา่ ย... 1. ตอ้ งคานงึ ถงึ ประโยชนส์ งู สดุ ของสว่ นรวมเป็นหลัก 2. ตอ้ งลดอตั ตาและผลประโยชนส์ ว่ นตน 3. ต้องเข้าใจบรบิ ทของแต่ละฝา่ ย 4. ตอ้ งยดึ หลกั เสมอภาค เชือ่ ถือ และไวใ้ จกัน 5. ต้องมุ่งมัน่ ตอ่ พนั ธะสัญญาท่ีมตี ่อกัน

(สรา้ งเครอื ขา่ ย)

ระบบการพฒั นานวัตกรรมการบรหิ ารแบบซอ้ นกลวธิ ี (Clear Layer Tactic Management : CLTM) ปจั จยั ป้อน (Input) แนวคดิ / ทฤษฎี ปญั หาในการบรหิ ารงาน 1. แนวทางเชงิ ระบบ 1. ขาดครู/ครูมีวุฒิไม่ตรงกับสาระ (The Systems Approach การเรียนรู้ ทีเ่ ปน็ หลักฯ ในการสร้าง 2. การบรหิ ารคณุ ภาพโดยรวม (TQM) ความรู้พื้นฐานความคดิ 3. การบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ (SM) 2. งบประมาณไมเ่ พยี งพอ 4. การบรหิ ารมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (RBM) 3. ขาดสอ่ื วสั ด/ุ อุปกรณ์ 5. การบรหิ ารโดยยดึ วัตถุประสงค์ (RBM) 4. การบรหิ ารจดั การไม่มปี ระสทิ ธิภาพ 6. เทคนิค Benchmarking 7. แนวคดิ ของการกระจายอานาจ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)

ระบบการพัฒนานวัตกรรมการบริหารแบบซอ้ นกลวิธี (Clear Layer Tactic Management : CLTM) กระบวนการ(Process) หลกั การ 1. เนน้ โอกาสในการบรหิ ารงาน 2. บริหารจัดการโดยไมร่ ้งั รอ 3. เน้นความชัดเจนในการทางาน 4. ใชช้ อ่ งทางก้าวกระโดด บริบท (สร้างเครือขา่ ย) หมายถงึ กระบวนการ / กจิ กรรมแตล่ ะระดบั ช้ัน หมายถงึ การกากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบทุกขัน้ ตอน

ระบบการพฒั นานวตั กรรมการบรหิ ารแบบซ้อนกลวิธี (Clear Layer Tactic Management : CLTM) ผลผลิต (Output) ประสทิ ธิภาพในการบริหารจัดการ สถานศกึ ษาท่ีไดร้ บั รางวลั พระราชทาน

PLC (Professional Learning Community) “ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี นางจฑุ ามาศ รอดภยั ผู้อานวยการเช่ยี วชาญ โรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี) สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยธุ ยา เขต 1

40

ทำไม.... PLC ต้อง “PLC” 41

การหาแนวทางพัฒนาผเู้ รยี น โดยเน้นตวั ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ



PLC 2. วตั ถุประสงค์ PLC 1.เพอ่ื เปน็ เคร่ืองมือที่ชว่ ยใหก้ ารแลกเปล่ยี นเรยี นร้มู ปี ระสิทธิภาพ 2.เพอ่ื ใหเ้ กิดการร่วมมือ รวมพลังของทกุ ฝา่ ยในการพฒั นา การเรยี น การสอนสคู่ ุณภาพของผเู้ รียน 3. เพื่อใหเ้ กดิ การพัฒนาวชิ าชพี ครูดว้ ยการพฒั นาผเู้ รยี น PLC ถอื ว่าทกุ คนคอื คนเชยี่ วชาญในงานน้ัน จึงเรยี นรูร้ ว่ มกนั ได้

ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ Professional Learning Community : (PLC) ทมี ตามระดบั ชน้ั เรยี น ทีมกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทีมระหวา่ งหลักสูตร ทมี สถานศึกษา พันธมิตรครู ทีมระหว่าง กลมุ่ เครอื ขา่ ย กลมุ่ เครือข่าย ทีม ผอ.สถานศึกษา ฯลฯ

กระบวนการ PLC 1.รวมกลุ่มบุคคลท่ีมคี วามเกี่ยวขอ้ งกนั และกล่มุ น้ันตอ้ งมลี กั ษณะคล้ายๆกัน เชน่ 1.1จัดกลุ่มครทู ม่ี ลี ักษณะใกลเ้ คียงกัน 1.2 ผบู้ รหิ าร/ศกึ ษานเิ ทศก์ /ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ หมุนเวยี นเขา้ รว่ มทุกกลมุ่ 1.3. ระยะเวลา 2-3 ชม. ตอ่ สปั ดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศกึ ษา กาหนด เป็นชวั่ โมงชัดเจน

กระบวนการ PLC 3.กลมุ่ ร่วมกนั คิด “ปัญหาการเรียนร้ขู องนกั เรยี น”หาปัญหาสาคญั ทสี่ ดุ 5. หาแนวทางแก้ไข “ปญั หาการเรยี นรู้ของนักเรยี น”ท่ีสาคญั นน้ั จะแกไ้ ขอย่างไรดูสาเหตุ ของปัญหา แนวทางแก้ปัญหาอาจใช้ประสบการณ์ของครทู ่ีทาใหเ้ กิด ความสาเรจ็ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ งานวิจยั หรอื แหล่งอนื่ ๆทมี่ กี ารเสนอแนวทางไว้แลว้

กระบวนการ PLC 6. นาแนวทางที่สรุปเพ่อื นาไปแกไ้ ขปัญหา มาช่วยกนั สรา้ งงาน สรา้ งแผนงานทาอยา่ งไร ทาเมื่อไร ใชอ้ ยา่ งไร และตรวจสอบ การทางานอย่างไร

กระบวนการ PLC 7. นาผลมาสรปุ สดุ ทา้ ยว่าผลเปน็ ประการใด ร่วมกนั สะท้อนผล และปรบั ปรุงงานใหด้ ีขน้ึ ถ้าผลการทดลอง เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ กเ็ ผยแพร่ หรือปรับปรุงใหย้ ิง่ ข้นึ ผลไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ก็ปรับปรุงทดลองใหม่ สงิ่ สาเร็จ คือ นวัตกรรม

กระบวนการ PLC ทมี PLC นาผลมาคุย ปรบั นาผลมาคยุ ปรบั สรุปผล วิธกี าร ไม่สาเรจ็ สาเรจ็ นาแผนไปใช้ ปรบั ใช้ใหม่และย้อนไปใช้ใหม่ เผยแพรน่ วตั กรรม