Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการศึกษาพื้นฐานออนไลน์

คู่มือการจัดการศึกษาพื้นฐานออนไลน์

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2021-01-07 06:04:59

Description: คู่มือการจัดการศึกษาพื้นฐานออนไลน์

Keywords: กศน.,พิ้นฐาน,ออนไลน์

Search

Read the Text Version

คู่มือ แนวทางการจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานออนไลน์ สาํ นกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ระยอง สาํ นกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา ค่มู ือแนวทางการจดั การศึกษาขั้นพื้นฐานออนไลน์ จดั ทาขึ้นเพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการจัด การเรียนการสอนขั้นพืน้ ฐาน ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เนอ้ื หาในคูม่ ือจะประกอบไปด้วย 3 ส่วนดังนี้ บทท่ี 1 หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 บทท่ี 2 การจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ บทท่ี 3 รปู แบบการวัดและประเมินผลแบบออนไลน์ คณะผู้จัดทาหวังเปน็ อย่างยิง่ ว่า คู่มอื แนวทางการจดั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานออนไลน์ของ สานักงาน กศน. จงั หวดั ระยองเลม่ น้ี คงสามารถใช้เป็นแนวทางการจัดการศึกษาออนไลน์ให้กับ ครู กศน. ทกุ ท่าน หากผิดพลาดประการใด คณะผจู้ ัดทาต้องขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา มถิ นุ ายน 2563

สารบัญ หนา้ บทที่ 1 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 1 หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 1 1 1. หลกั การ 2 2. จดุ มุ่งหมาย 2 3. กลุ่มเป้าหมาย 4 4. โครงสร้างหลักสตู ร 4 วธิ ีการจดั การเรียนรู้และการจดั กระบวนการเรียนรู้ 5 1. วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ 6 2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 11 การวัดผลประเมินผลการเรียน 12 เกณฑ์การจบหลกั สตู ร บทบาทของสถานศึกษาและผู้เกยี่ วข้อง 17 17 บทท่ี 2 การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ 17 ความรู้ท่วั ไปเก่ียวกับ Google Classroom 18 18 1. เกย่ี วกบั Google Classroom 19 2. ประโยชนข์ องการใช้งาน Google Classroom 22 3. ทาความเขา้ ใจเกีย่ วกับงาน Google Classroom 24 4. ความโดดเด่นของ Google Classroom 25 การสรา้ งช้นั เรียน 31 การเปลยี่ นช่ือชน้ั เรียน 33 การจดั การชัน้ เรียน การโพสตง์ าน การโพสต์แบบทดสอบ การโพสต์คาถาม

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 38 Google Hangout Meet 38 1. ขั้นตอนการตดิ ตั้งโปรแกรม Google Meet 39 2. ขัน้ ตอนการใช้งาน 51 การสมัครเรยี น(นกั ศึกษาใหม่)/ลงทะเบียน(นกั ศึกษาเกา่ )แบบออนไลน์ 65 66 บทท่ี 3 รูปแบบการวัดและประเมนิ ผลแบบออนไลน์ 71 การสร้างเครอ่ื งมอื วดั ผลประเมินผล โดยใช้ Google Forms 82 สว่ นประกอบและเครื่องมอื Google Forms 85 การสร้างแบบทดสอบด้วย Google Forms 87 การสรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจ 91 93 1. การดแู บบประเมินในมุมมองแสดงผล 95 2. การจากัดจานวนการส่งแบบฟอรม์ 96 3. วิธีการสรา้ งสเปรตชตี ตอบกลบั 98 4. ดูการประมวลผลแบบตอบกลับกรณปี ดิ แบบฟอร์มแล้ว 100 5. การนาคาตอบไปวิเคราะหห์ าค่าสถิติดว้ ยโปรแกรม Microsoft Excel 6. การนา URL ไปใช้งาน 7. กรณีต้องการเพ่ิมเติมผตู้ อบแบบประเมิน 8. วธิ ลี บขอ้ มลู กรณขี อ้ มูลเกินจานวนท่ตี ้องการ บรรณานุกรม คณะผ้จู ัดทา

บรรณานกุ รม [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://edu.google.com/intl/th/products/classroom/ วนั ทีส่ บื ค้นข้อมลู : 30 เมษายน 2563) [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://ict.buu.ac.th/filePdf/Hangout-Meet.pdf วันทีส่ บื ค้นขอ้ มูล : 30 เมษายน 2563)

คณะผู้จัดทา ท่ีปรึกษา ผู้อานวยการ สานกั งาน กศน.จังหวัดระยอง นายเสกสรรค์ รัตนจ์ ินดามุข ศกึ ษานเิ ทศก์ชานาญการพเิ ศษ ผอ. กศน. อาเภอทุกแหง่ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศ นางสาววารที ิพย์ อินบวั นายอนรุ ักษ์ คามุงคุณ นักวิชาการศกึ ษา ครู กศน. ตาบล กศน.อาเภอบ้านฉาง คณะทางาน ครู กศน. ตาบล กศน. อาเภอปลวกแดง ครู กศน. ตาบล กศน. อาเภอนคิ มพฒั นา นางสาวพีรภาว์ นาคเกิด ครู กศน. ตาบล กศน. อาเภอแกลง นายสนั ติธรรม ม่วงม่งั คัง่ ครูศนู ย์การเรียนชุมชน กศน. อาเภอเมืองระยอง นางวัลภา โสมนัสแสง นางสาววภิ าวดี อาจอานวย นักวิชาการศกึ ษา นางสาวดารณั ศิรจิ นั ทร์ ครู กศน. ตาบล กศน. อาเภอแกลง นางสาวสมจนิ ดา อินจา่ ย ครู กศน. ตาบล กศน. อาเภอบ้านฉาง บรรณาธิการ / รปู เล่ม นางสาวพีรภาว์ นาคเกดิ นางสาวดารัณ ศริ จิ นั ทร์ นายสันตธิ รรม มว่ งม่งั คง่ั

1 บทท่ี 1 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 1. หลักการ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนด หลกั การไวด ังน้ี 1. เปนหลักสตู รทมี่ โี ครงสรางยดื หยนุ ดา นสาระการเรียนรู เวลาเรียน และการจดั การเรยี นรู โดยเนนการบรู ณาการเน้อื หาใหส อดคลองกับวิถีชีวติ ความแตกตา งระหวางบคุ คล ชมุ ชน และสังคม 2. สงเสรมิ ใหม ีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. สงเสริมใหผเู รียน ไดพ ฒั นาและเรยี นรูอยางตอ เนื่องตลอดชีวติ โดยตระหนกั วา ผเู รยี นมี ความสาํ คญั สามารถพฒั นาตนเองไดตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ 4. สงเสริมใหภาคเี ครอื ขา ยมีสวนรวมในการจดั การศึกษา 2. จุดมงุ หมาย หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุงพัฒนา ใหผูเรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีสติปญ ญา มีคุณภาพชีวติ ท่ดี ี มีศักยภาพในการประกอบอาชพี และ การเรยี นรูอยางตอ เน่ือง ซ่งึ เปนคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคที่ตองการ จงึ กําหนดจดุ หมายดังตอ ไปนี้ 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา นิยมทด่ี งี ามและสามารถอยูรว มกนั ในสังคมอยางสันตสิ ุข 2. มคี วามรูพ น้ื ฐานสาํ หรับการดํารงชีวิต และการเรยี นรตู อเน่อื ง 3. มคี วามสามารถในการประกอบสมั มาอาชีพใหส อดคลอ งกับความสนใจ ความถนดั และ ตามทนั ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง 4. มีทักษะการดําเนินชีวิตท่ดี ี และสามารถจัดการกับชวี ติ ชุมชน สงั คมไดอยา งมีความสุข ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. มีความเขา ใจประวตั ศิ าสตรชาติไทย ภมู ใิ จในความเปน ไทย โดยเฉพาะภาษา ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภมู ิปญญาไทย ความเปนพลเมอื งดี ปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมของศาสนา ยดึ ม่นั ในวถิ ชี วี ิตและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข 6. มีจิตสํานกึ ในการอนรุ ักษ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม

2 7. เปน บคุ คลแหงการเรียนรู มีทักษะในการแสวงหาความรู สามารถเขาถงึ แหลงเรยี นรู และบรู ณาการความรูมาใชในการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ 3. กลุมเปา หมาย ประชาชนทวั่ ไปท่ีไมอยูในระบบโรงเรียน 4. โครงสรา งหลกั สูตร เพอ่ื ใหการจดั การศึกษาเปนไปตามหลกั การ จดุ มงุ หมาย และมาตรฐานการเรยี นรู ท่ีกําหนด ไวใ หสถานศึกษาและภาคเี ครอื ขา ยมีแนวปฏบิ ตั ใิ นการจัดทําหลักสตู รสถานศกึ ษา จึงไดกําหนด โครงสรางของหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ดังน้ี 4.1 ระดับการศกึ ษา แบงออกเปน 3 ระดบั คือ 4.1.1 ระดบั ประถมศึกษา 4.1.2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน 4.1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 4.2 สาระการเรยี นรู ประกอบดวย 5 สาระ ดงั น้ี 1. สาระทักษะการเรียนรู เปนสาระเกี่ยวกับการเรียนรดู วยตนเอง การใชแ หลง เรียนรู การจัดการความรู การคิดเปน และการวจิ ัยอยา งงาย 2. สาระความรพู ้ืนฐาน เปน สาระเกย่ี วกับภาษาและการส่อื สาร คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี 3. สาระการประกอบอาชพี เปน สาระเก่ยี วกับการมองเห็นชอ งทางและการตัดสินใจ ประกอบอาชีพ ทักษะในอาชีพ การจดั การอาชีพอยางมคี ุณธรรม และการพฒั นาอาชีพใหม น่ั คง 4. สาระทักษะการดําเนินชีวติ เปนสาระเก่ยี วกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สขุ ภาพ อนามัยและความปลอดภยั ในการดาํ เนินชวี ิต ศิลปะและสุนทรยี ภาพ 5. สาระการพัฒนาสงั คม เปนสาระเกย่ี วกับภมู ิศาสตร ประวตั ศิ าสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา ที่พลเมือง และการพฒั นา ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม 4.3 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิตเปนกจิ กรรมที่จดั ข้นึ เพ่ือให ผเู รียนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม 4.4 โครงสรางหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดว ย 4.4.1 วชิ าบังคับ มสี าระการเรียนรู 5 สาระ ทกั ษะการเรยี นรู ความรูพ นื้ ฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดําเนินชีวติ การพฒั นาสงั คม

3 4.4.2 วชิ าเลอื ก เปนวิชาทสี่ ถานศึกษาพฒั นาขึ้นเองโดยใหย ึดหลกั การในการพฒั นา คือ พัฒนาโปรแกรมการเรียน เพ่ือเปนการกําหนดทิศทางและเปา หมายการเรยี นของผเู รียน สถานศกึ ษา จงึ ตอ งวเิ คราะหค วามตอ งการความจาํ เปน และความสนใจของผูเ รียน เพื่อออกแบบโปแกรมการเรียน ภายในโปรแกรมการเรียนจะประกอบไปดว ยรายวชิ าตา ง ๆ ท่ีผเู รียนจะตองเรยี นรู ท้งั นี้ วชิ าเลอื กในแตละระดบั สถานศึกษาตองจดั ใหผ เู รียน เรียนรจู ากการทํา โครงงาน จํานวนอยางนอย 3 หนวยกติ โครงสรา งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรยี นรู ประถมศกึ ษา จํานวนหนว ยกิต มธั ยมศึกษาตอนปลาย วชิ าบังคับ วชิ าเลือก มธั ยมศึกษาตอนตน วิชาบังคบั วชิ าเลอื ก 1.ทักษะการเรียนรู วิชาบังคบั วชิ าเลอื ก 2.ความรูพืน้ ฐาน บงั คบั 5 3. การประกอบอาชพี 5 20 4. ทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต 5 16 8 5.การพัฒนาสังคม 12 8 5 8 5 6 รวม 5 6 44 32 กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 6 40 16 36 12 56 หนวยกิต 76หนว ยกติ 200 ช่วั โมง 48 หนวยกติ 200 ชัว่ โมง 200 ชว่ั โมง ทมี่ า : สงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั , สํานกั งาน, (2552). หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 . เอกสารวชิ าการหมายเลข 14/2552

4 โครงสรางหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบดว ย 1. สาระการเรียนรู มี 5 สาระ คือ สาระทักษะการเรียนรู สาระความรูพื้นฐาน สาระการ ประกอบอาชีพสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิตและสาระการพัฒนาสังคม 2. ระดับการศึกษา มี 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. วิชาบังคับ ระดับประถมศึกษา ตองเรียนวิชาบังคับ 36 หนวยกิต ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน ตองเรียนวิชาบังคับ 40 หนวยกิต และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตองเรียนวิชาบังคับ 44 หนว ยกิต 4. วชิ าเลือก ระดับประถมศึกษา ตองเรียนวิชาเลือก 12 หนวยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ตอ งเรยี นวชิ าเลือก 16 หนว ยกติ และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตองเรยี นวชิ าเลือก 32 หนวยกิต วิธีการจดั การเรยี นรูและการจดั กระบวนการเรยี นรู 1.วธิ กี ารจดั การเรยี นรู การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมีวธิ ีการจดั การเรียนรทู ี่หลากหลาย ไดแ ก 1. การเรยี นรูดว ยตนเอง เปนวิธกี ารจัดการเรียนรูท ่ีผูเรียนกําหนดแผนการเรียนรูของตนเอง ตามรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน โดยมีครูเปนท่ีปรึกษาและใหคําแนะนําในการศึกษาหาความรูดวย ตนเองจากภูมปิ ญ ญา ผรู ู และสอ่ื ตาง ๆ 2. การเรียนรูแบบพบกลุมเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่กําหนดใหผูเรียนมาพบกันโดยมีครูเปน ผูดําเนินการใหเกดิ กระบวนการกลมุ เพ่ือใหม ีการอภปิ รายแลกเปลี่ยนเรียนรูและหาขอ สรปุ รวมกัน 3. การเรียนรูแบบทางไกลเปนวิธีการจัดการเรียนรูจากสื่อตาง ๆ โดยที่ผูเรียนและครูจะ สอ่ื สารกนั ทางสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ ปน สว นใหญ หรอื ถา มีความจาํ เปน อาจพบกันเปนครงั้ คราว 4. การเรียนรูแบบช้ันเรียนเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่สถานศึกษากําหนดรายวิชา เวลาเรียน และสถานท่ี ทีช่ ัดเจน ซึง่ วิธกี ารจัดการเรียนรนู ีเ้ หมาะสาํ หรบั ผเู รียนท่ีมีเวลามาเขาชน้ั เรยี น 5. การเรียนรูตามอัธยาศัยเปนวิธีการจัดการเรียนรูท่ีผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามความ ตอ งการ และความสนใจ จากส่ือเอกสาร ส่ืออิเล็กทรอนิกส หรอื จากการฝก ปฏิบัตติ ามแหลงเรียนรู ตาง ๆ แลวนําความรูและประสบการณมาเทียบโอนเขาสูหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

5 6. การเรียนรูจากการทําโครงงานเปนวิธีการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนกําหนดเรื่องโดยสมัครใจ ตามความสนใจ ความตองการ หรือสภาพปญหา ท่ีจะนําไปสูการศึกษาคนควา ทดลอง ลงมือปฏิบัติ จรงิ และมกี ารสรุปผลการดาํ เนินงานตามโครงงาน โดยมีครูเปนผใู หค ําปรึกษา แนะนาํ อาํ นวยความ สะดวกในการเรยี นรู และกระตนุ เสรมิ แรงใหเ กดิ การเรียนรู 7. การเรียนรูรูปแบบอื่น ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวิธีการจัดการเรียนรูในรูปแบบ อื่น ๆ ไดตามความตอ งการของผเู รียน วิธีการจัดการเรียนรูดังกลาวขางตน สถานศึกษาและผูเรียนรวมกันกําหนดวิธีเรียน โดยเลือกเรียนวิธีใดวิธีหน่ึง หรือหลายวิธีก็ไดขึ้นอยูกับความยากงายของเน้ือหา และสอดคลองกับ วิถีชีวิต และการทํางานของผูเรียน โดยขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจัดใหมีการสอนเสริม ไดท กุ วิธเี รยี น เพอ่ื เติมเต็มความรูใหบรรลุมาตรฐานการเรยี นรู 2. การจัดกระบวนการเรยี นรู การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุงพัฒนาใหผูเรียนมีความสามารถในการเรียนรู ตามปรัชญาพ้ืนฐานการศึกษา นอกโรงเรียน “คิดเปน” โดยเนนพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู ประยุกตใชค วามรู และสรา งองค ความรูสําหรบั ตนเอง ชมุ ชน และสงั คม ซึ่งกาํ หนดรปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู ดังนี้ 1. กําหนดสภาพปญหา ความตองการของผูเรียน ชุมชน สังคม ใหเช่ือมโยงกับ ประสบการณและสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร โดยผูเรียนทําความเขาใจกับ สภาพปญหาความตองการน้ัน ๆ แลวกําหนดเปาหมายการเรียนรู และวางแผนการเรยี นรูของตนเอง เพอ่ื นาํ ไปสกู ารปฏบิ ัติตอ ไป 2. แสวงหาขอมูลและการจัดการเรียนรูท่ีเช่ือมโยงความรูใหมกับความรูเดิม โดยศึกษา คนควาหาความรู รวบรวมขอมูลของตนเอง ชุมชน สังคม และวิชาการ จากสื่อ และแหลง เรียนรูที่หลากหลายมีการสะทอนความคิด ระดมความคิดเห็น อภิปราย วิเคราะห สังเคราะหขอมูล และสรุปเปน ความรู 3. ปฏิบัติ โดยใหนําความรูที่ไดไปประยุกตใชใหสอดคลองกับสถานการณที่ เหมาะสมกับสงั คม และวัฒนธรรม 4. ประเมินผลการเรียนรู โดยใหมีการประเมิน ทบทวนแกไขขอบกพรอ ง และ ตรวจสอบผลการเรยี นรใู หบรรลุตามเปาหมายการเรยี นรูท่ีวางไว

6 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น การวดั และประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มเี ปา หมายสาํ คญั เพ่ือนาํ ผลการประเมนิ ไปพฒั นาผูเรียนใหบ รรลุ มาตรฐานการเรยี นรูของหลกั สูตร โดยนําไปใชเปน ขอ มลู ในการปรบั ปรุงแกไ ข สง เสรมิ การเรียนรู และพฒั นาการผเู รยี น และนําไปปรบั ปรุงแกไขการจัดกระบวนการเรียนรูใหม ปี ระสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ รวมทั้งนําไปใชในการพจิ ารณาตัดสนิ ความสําเรจ็ ทางการศึกษาของผูเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มี 2 ลักษณะ ไดแก 1. การวัดและประเมินผลการเรยี น 1.1 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรายวิชา 1.2 การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ 1.3 การประเมนิ คุณธรรม 2. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ การวดั และประเมินผลการเรียน รายละเอียด ดังน้ี 1. การวดั และประเมินผลรายวิชา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนด สาระการเรยี นรู ประกอบดวย 5 สาระการเรยี นรู คอื ทกั ษะการเรียนรู ความรู พ้ื น ฐ า น การประกอบอาชีพ ทักษะการดําเนินชีวิต และการพัฒนาสังคม โดยแตละสาระการเรียนรู ประกอบดวยรายวิชาตาง ๆ กําหนดใหมีการวัดและประเมินผลเปนรายวิชากอนเรียนระหวาง ภาคเรียน และปลายภาคเรียน เพื่อทราบความกาวหนาทั้งดานความรู ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมจริยธรรม อันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรม การเรียนรูของสถานศกึ ษาในแตล ะรายวชิ าดวย วิ ธี ก าร ที่หลากหลาย เชน การสังเกต การสัมภาษณ ประเมินจากแฟมสะสมงานประเมินการปฏิบัติตาม ม าต รฐ าน ก ารเรีย น รู (Performance Evaluation) ป ระ เมิ น ก ารป ฏิ บั ติ จ ริง (Authentic Assessment) ทดสอบยอย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงานหรือแบบฝกหัด เปนตน โดยเลือก ใหส อดคลอง และเหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องรายวิชาควบคูไปกับกิจกรรม การเรยี นรูข องผเู รยี น การกําหนดคะแนนระหวางภาคเรยี นและปลายภาคเรยี นใหเ ปน ไปตามเกณฑท ่ี สํานกั งาน กศน. กาํ หนด โดยการวัดผลระหวางภาคเรียนสถานศกึ ษาเปนผูดาํ เนินการ สําหรบั การวดั ผลปลายภาคเรียน ใหเปนไปตามทีส่ ํานักงาน กศน. กาํ หนด

7 แผนภมู ิกรอบการวดั ผลและประเมินผลรายวชิ า ก่อนเรียน ขอ้ มลู พ�นื ฐาน ของผเู้ รียน การวดั และ ระหว่างภาคเรียน สอบซ่อม ประเมนิ ผล สถานศึกษาประเมินดว้ ยวธิ ีการที�หลากหลาย ไม่ผา่ น รายวชิ า ผา่ น ปลายภาคเรียน บนั ทึกใน เป็ นไปตามท�ี สาํ นกั งาน กศน. กาํ หนด เอกสารการเรี ยน แนวทางการวดั และประเมนิ ผลรายวชิ า สถานศึกษาควรดาํ เนินการประเมินผล รายวชิ าดังนี้ 1.1 การวดั และประเมนิ ผลกอนเรยี น เปน การตรวจสอบความรู ทักษะ และความพรอ มตา ง ๆ ของผูเรยี น เพอื่ เปน ขอมลู พื้นฐานในการจัดกระบวนการเรยี นรูใหเ หมาะสม กบั สภาพ ความพรอ มและความรูพื้นฐานของผเู รียน 1.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวางภาคเรยี น (60%) ใหส ถานศึกษา ดําเนนิ การประเมินผลระหวางภาคเรยี น เพอ่ื ทราบความกาวหนาท้ังดา นความรู ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมการเรียน การรว มกิจกรรมและผลงาน อนั เปน ผลมาจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู โดยจาํ แนกเปน 2 สว นดังนี้ 1) กําหนดสดั สว นการวัดและประเมินผลใน สาระความรูพื้นฐาน ระหวา งภาคเรยี นเปน ไปตามเกณฑที่สํานักงาน กศน. กําหนด โดยการประเมินระหวางภาคเรยี นใหมี การประเมนิ ผลดว ยวธิ กี ารที่หลากหลายเปน ระยะ ๆ อยา งตอเน่ือง เพื่อทราบพฒั นาการของผเู รียน ท้งั นสี้ ถานศึกษาอาจกําหนดใหมกี ารทดสอบระหวา งภาคเรียนไดตามความเหมาะสม และจัดใหม ี การประเมนิ ดว ยวิธีอ่นื ๆ เชน ทําแบบฝกหดั และรายงาน การนาํ เสนอผลงาน การทําแฟม หรือ โครงงาน ฯลฯ โดยสถานศกึ ษาควรกาํ หนดคะแนนระหวางภาคเรียนวาจะประเมนิ จากกจิ กรรมอะไร

8 ในสดั สว นคะแนนเทาไรตามความเหมาะสม ขอมลู จากการประเมินกจิ กรรมในแตละคร้งั ให สถานศกึ ษานําไปพัฒนาปรบั ปรงุ การเรยี นรขู องผูเรยี น 2) การกําหนดสัดสวนการวัดและประเมินผลในอีก 4 สาระ ไดแก สาระทักษะการเรียนรู สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดําเนินชีวิต และสาระการพัฒนาสังคม การวัดและประเมินผล อาจใชวิธกี ารท่หี ลากหลายใหสอดคลองกับสาระ รายวิชา วถิ ีชีวิต และกระบวนการเรียนรู เชน การประเมินความรูความเขา ใจ การประเมินทักษะ การปฏิบัติ ฯลฯ โดยสถานศึกษาควรกําหนดคะแนนระหวางภาคเรียนวาจะประเมินจากกิจกรรม อะไรในสัดสวนคะแนนเทาไรตามความเหมาะสมขอมูลจากการประเมินกิจกรรมในแตละครั้งให สถานศกึ ษานําไปพฒั นาปรบั ปรงุ การเรียนรขู องผเู รียน 1.3 การวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน (40%) มีวัตถุประสงคเพื่อ ทราบผลการเรียนรโู ดยรวมของผูเรียนท่ีไดเรียนตามสาระและมาตรฐานการเรียนรูของแตละรายวชิ า โดยอาจใชเครื่องมือที่หลากหลายตามลักษณะของรายวิชา เชน แบบทดสอบปรนัย แบบทดสอบ อัตนัย แบบประเมนิ การปฏบิ ัติ เปน ตน 1.4 การตัดสินผลการเรยี นรายวิชา การตัดสนิ ผลการเรยี นรายวชิ า ใหน ํา คะแนนระหวางภาคเรียนมารว มกับคะแนนปลายภาคเรียน และจะตองไดคะแนนไมนอยกวา รอยละ 50 จึงจะถือวาผานการเรียนในรายวิชานั้น แลวนําคะแนนไปเปรียบเทียบกับเกณฑที่สถานศึกษา กําหนดเพ่ือใหค า ระดับผลการเรยี น การใหค า ระดบั ผลการเรยี นใหกาํ หนดเปน 8 ระดบั ดังนี้ ไดค ะแนนรอยละ 80 – 100 ใหร ะดับ 4 หมายถึง ดเี ยี่ยม ไดค ะแนนรอยละ 75 – 79 ใหระดบั 3.5 หมายถงึ ดมี าก ไดคะแนนรอยละ 70 – 74 ใหระดับ 3 หมายถงึ ดี ไดคะแนนรอ ยละ 65 – 69 ใหระดับ 2.5 หมายถงึ คอนขา งดี ไดค ะแนนรอ ยละ 60 – 64 ใหร ะดับ 2 หมายถึง ปานกลาง ไดคะแนนรอยละ 55 – 59 ใหระดบั 1.5 หมายถึง พอใช ไดคะแนนรอ ยละ 50 – 54 ใหระดบั 1 หมายถึง ผานเกณฑขั้นตา่ํ ท่กี ําหนด ไดคะแนนรอ ยละ 0 – 49 ใหร ะดบั 0 หมายถึง ตํา่ กวาเกณฑข ัน้ ต่ําท่ีกําหนด กรณีผูเรียนมีผลการเรียนตํ่ากวาเกณฑขั้นต่ําที่กําหนด ใหดําเนินการ พัฒนาผูเรียนในรายวิชาที่ไดรับคาระดับผลการเรียนไมผานเกณฑดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เชน การสังเกต การสัมภาษณ ประเมินจากแฟมสะสมงาน ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานการเรียนรู (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง (Authentic Assessment) ทดสอบยอย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝกหัด เปนตน โดยเลือกใหสอดคลองและ เหมาะสมกับธรรมชาติของรายวิชา ควบคูไปกับกิจกรรม การเรียนรูของผูเรียน ถาผูเรียนสามารถ

9 ผา นเกณฑการประเมนิ ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวงั แลว ใหระดับ ผลการเรียนใหม โดยใหค าระดบั ผลการ เรียนไมเกิน 1 สําหรับผูเรียนที่ปรับปรุงพัฒนาแลวไมผานเกณฑ ข้ันต่ําใหลงทะเบียนซ้ําในรายวิชา เดิมหรือเปล่ียนรายวิชา ท้ังนี้ใหเปนไปตามโครงสรา งหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และดําเนินการใหเสร็จส้ินกอนปดการลงทะเบียนเรียนในภาคเรยี น ถดั ไป 1.5 การขอเลื่อนสอบ ในกรณีที่ผูเรียนมีเหตุสุดวิสัย หรือมีเหตุจําเปน ฉุกเฉิน ไมสามารถเขาสอบปลายภาคเรียนตามวัน เวลา ตามที่สถานศึกษากําหนด ผูเรียนสามารถ ยื่นคํารองขอเลื่อนสอบตอสถานศึกษา โดยชี้แจงเหตุผลความจําเปนพรอมท้ังแสดงหลักฐาน ทั้งน้ี การพจิ ารณาอนุมตั ิใหเ ลอ่ื นสอบอยใู นดุลพนิ จิ ของผูบริหารสถานศึกษา 1.6 การสอบซอม ผูที่มีสิทธิ์เขารับการสอบซอม คือ ผูเรียนที่เขาสอบ ปลายภาคเรียนแตผ ลการประเมนิ ไมผา นเกณฑการประเมินผลรายวิชาในสาระความรูพื้นฐาน โดยให ผูเรียนเขารับ การสอบซอมตามวันเวลา สถานท่ีและวิธีที่สถานศึกษาหรือตนสังกัดกําหนด สวนสาระอื่น ๆ ใหอยูในดลุ พินจิ ของสถานศกึ ษา วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุงเนนใหสถานศึกษาใชเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายในการวัด และประเมนิ ผลรายวิชา ซึง่ สถานศกึ ษาอาจเลอื กใชเครอ่ื งมือและวิธกี ารตาง ๆ ดงั น้ี 1. การประเมนิ ความรคู วามเขาใจในเนื้อหารายวชิ า อาจดาํ เนนิ การโดยใช แบบทดสอบซึ่งมีทั้งแบบปรนัย และแบบอัตนัย แบบทดสอบปรนัย ไดแก ขอสอบแบบเลือกตอบ แบบเติมคํา แบบถูกผิด แบบจับคู สวนแบบทดสอบอัตนัยจะเปนการทดสอบที่ใหผเู รียนเขียนตอบ จากคําถามท่ีกําหนดให หรือเขียนแสดงความคิดเห็น แสดงการคิดวิเคราะหจากคําถามใน แบบทดสอบ 2. การประเมินทักษะการส่ือสาร อาจดาํ เนนิ การในรูปแบบและวธิ ีการ ตา ง ๆ ไดแก 2.1 การถามตอบระหวา งปฏิบตั ิกิจกรรม 2.2 การสนทนาพบปะพดู คุยกบั ผเู รียน 2.3 การสนทนาพบปะพูดคุยกับผูเกี่ยวของกับผเู รียน 2.4 การสอบปากเปลาเพื่อประเมนิ ความรู ความเขา ใจและ ทศั นคติ 2.5 การอา นบนั ทึกเหตุการณต า ง ๆ ของผูเรยี น 2.6 การตรวจแบบฝก หดั และตรวจรายงาน

10 3. การประเมินทักษะการปฏิบัติ อาจดาํ เนนิ การในรูปแบบและวิธีการ ตา ง ๆ ไดแก 3.1 การสังเกตพฤติกรรมผเู รียนตามรายการทีผ่ เู รยี นสามารถ ปฏบิ ัติได 3.2 การตรวจผลงานการปฏบิ ัตวิ าถูกตองสมบูรณครบถวน มีคณุ ภาพตามเกณฑทก่ี ําหนด 3.3 การใหทําโครงงาน 3.4 การจดั ทําแฟมสะสมงาน 3.5 การประเมนิ จากการปฏิบัตจิ รงิ ในงานอาชพี 3.6 การประเมนิ โดยการยอมรับความรูป ระสบการณ 2. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เปนเงื่อนไขหนึ่งที่ผูเรียนทุกคน จะตองไดรับการประเมินประเมินตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนด โดยผูเรียนจะตองทํากิจกรรม พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ไมน อยกวา 200 ช่ัวโมง จึงจะไดรับการพิจารณาอนมุ ัติใหจบหลกั สตู รในแตละ ระดับการศึกษา โดยใหผลการประเมินเปนผานและไมผาน (รายละเอียดใหศึกษาในคูมือการจัด กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ ) 3. การประเมนิ คุณธรรม การประเมินคุณธรรม เปนเง่ือนไขที่ผูเรียนทุกคนจะตองไดรับการประเมินตามเกณฑ ท่ีหลักสูตรกําหนด จึงจะไดรับการพิจารณาใหจบหลักสูตรในแตละระดับการศึกษา โดยสํานักงาน กศน. ไดกําหนดคุณธรรมเบ้อื งตนไว สําหรับใหผลการประเมินเปน 4 ระดบั คือ ดีมาก ดี พอใช และปรบั ปรงุ การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ 1. หลักการประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ หลักการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียน ในภาคเรียนสุดทายของทุกระดับการศึกษา ไดแก ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขารับการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติในสาระ การเรียนรู ตามที่สํานักงาน กศน. กําหนด การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติไมมี ผลตอการได หรือตกของผูเรียน แตมีวัตถุประสงคเพ่ือนําขอมูลที่ไดจากการประเมินไปใชในการ วางแผนปรับปรุง พัฒนาผูเรียน และการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษา รวมทั้ง เปน ขอมูลในการสงเสริมสถานศึกษาในดา นวชิ าการและดานอืน่ ๆ ใหม ีคุณภาพใกลเคียงกัน

11 สถานศึกษาตองเตรียมผูเรียนใหเขารับการประเมินดวยความเขาใจและตระหนักถึงความสําคัญของ การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ เพ่ือใหความรวมมือในการประเมินเต็ม ความสามารถ โดยปฏิบตั ิตามเกณฑแ ละเง่ือนไขการประเมินอยางเครง ครดั 2. ประโยชนของการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ 1) สามารถเปรียบเทยี บผลการประเมนิ คุณภาพระหวา งกลุมผเู รยี น ระดับ สถานศึกษา จังหวัด และระดับภาค ตลอดจนการประเมินภายนอกไดอ ยางสมเหตุสมผล 2) สามารถใชผลการประเมินใหเปนประโยชนทั้งในระดับผูเรียน ระดบั กลมุ ระดับสถานศกึ ษา ระดับจังหวัด และระดบั ภาค 3) สงเสริมและกระตุนสถานศึกษาใหเกิดความสนใจอยางจริงจังในการ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทส่ี าํ คัญของหลกั สตู ร 4) สรางแรงจูงใจกระตุนและทาทายใหผูเรียนทุกคนตั้งใจใฝสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและดานอ่นื ๆ 5) เปนขอมูลสรางความม่ันใจเก่ียวกับคุณภาพของผูเรียน แกผูเกี่ยวของ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 6) เปนขอมูลในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนของ สถานศกึ ษาใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึ้น เกณฑการจบหลกั สูตร ผูเรยี นทงั้ ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน และระดับมธั ยมศึกษา ตอนปลาย มเี กณฑการจบหลกั สูตรในแตละระดับการศึกษา ดงั นี้ 1. ผานเกณฑการประเมินการเรยี นรูร ายวิชาในแตล ะระดบั การศึกษา ตามโครงสรา ง หลกั สูตร คอื 1.1 ระดับประถมศึกษา ไมนอยกวา 48 หนวยกิต แบง เปน วิชาบังคบั 36 หนวยกติ และวชิ าเลือกไมน อ ยกวา 12 หนว ยกติ 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ไมนอ ยกวา 56 หนวยกติ แบงเปนวิชา บังคับ 40 หนว ยกติ วชิ าเลอื กไมน อยกวา 16 หนว ยกติ 1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ไมน อ ยกวา 76 หนวยกติ แบงเปน วิชาบงั คบั 44 หนว ยกิต วิชาเลือกไมนอยกวา 32 หนว ยกติ 2. ผา นเกณฑก ารประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) ไมน อ ยกวา 200 ช่ัวโมง 3. ผา นการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใชขึน้ ไป 4. เขารบั การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ

12 บทบาทของสถานศกึ ษาและผเู กี่ยวของ บทบาทของสถานศกึ ษา 1. สรางความเขา ใจกับครูและผเู กยี่ วของ ถึงความสําคญั ของการประเมนิ คณุ ธรรม ผเู รียน 2. สรา งความเขาใจในความหมายของคุณธรรมแตล ะเรื่อง ขอดีของการปฏิบตั ิตาม คุณธรรม ทําความเขาใจในพฤติกรรมบงช้ี ในแตละคุณธรรม พจิ ารณาตรวจสอบความเหมาะสม ความเพยี งพอของพฤตกิ รรมบง ชี้ในคณุ ธรรมแตละเรื่อง 3. ดําเนินการใหเ กดิ การพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเต็มศกั ยภาพของผูเ รียน 4. จัดกิจกรรมตา ง ๆ ท่ีหลากหลายทง้ั ภายในสถานศึกษาและชุมชนหรือสงั คม 5. บรู ณาการการพฒั นาคุณธรรม ในการจดั กระบวนการเรยี นรู 6. กระตุนใหผูเรียนไดเขารวมกิจกรรมหรอื สรางสรรคกิจกรรมอยางหลากหลาย 7. เชื่อมโยงกิจกรรมตาง ๆ ขยายใหกวางขวางสูชุมชนและสังคมโดยประสานความ รว มมือกับชุมชนและสังคมในการทํากิจกรรม คุณธรรม และใหขอมูลผูท่ีมีการปฏิบัติตามคุณธรรม เปน แบบอยางทด่ี ี รวมท้ังรว มสง เสริมใหมกี ารปฏิบตั ิอยา งยงั่ ยืน 8. จัดทําแนวทางการประเมินคุณธรรมของผูเรียนในสถานศึกษาและใหผูเกี่ยวของ ปฏบิ ตั ิเปน แนวเดยี วกนั บทบาทของครู 1. สรางความเขาใจ ใหผูเรียนเห็นความสําคัญของคุณธรรม คุณธรรมเบื้องตน 9 ประการและพฤตกิ รรมบงช้ีท่ีผเู รยี นจะตอ งปฏิบัติ 2. ช้แี จงวธิ ีการและเกณฑก ารประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหผ ูเรยี นทราบ 3. แนะนําผูเรียนในการรวบรวมเอกสารหลักฐาน ที่ผูเรียนสามารถนํามาเปน หลักฐานเพอื่ ประกอบการประเมิน 4. บันทึกผลการประเมิน รวบรวมรอ งรอย หลักฐาน ท่ีสะทอ นการปฏิบัติคุณธรรม แตละเรอื่ งของผูเรยี น 5. สรุปผลการประเมินคุณธรรมจริยธรรมทุกภาคเรียน และแจงผลการประเมินให ผูเรียนทราบเพอื่ นาํ ไปพฒั นาตนเอง 6. ครูและผูเรียนรวมวิเคราะหผลการประเมิน และกําหนดรูปแบบ/กิจกรรมในการ พฒั นาคุณธรรม จริยธรรมโดยสอดแทรกในกระบวนการเรยี นรู

13 ภารกจิ ของสถานศึกษาในการวดั และประเมินผลการเรียน สถานศึกษามีภารกิจในการวัดและประเมินผลการเรยี น ดังน้ี 1. การวดั และประเมินผลผูเรยี น สถานศึกษาตอ งดําเนินการวัดและประเมนิ ผล ผูเรยี น ดังนี้ 1.1 การวัดและประเมินผลเปนรายวชิ า ประกอบดวย 1) การวัดและประเมนิ ผลกอนเรยี น 2) การวดั และประเมนิ ผลระหวา งภาคเรยี น 3) การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น 1.2 การประเมินกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) 1.3 การประเมนิ คณุ ธรรมเบ้ืองตน 1.4 การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดบั ชาติ 2. การจัดทําระเบียบและแนวปฏิบตั ใิ นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น สถานศึกษาตองจัดทําระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสาํ หรับ ใหผูเกี่ยวของรับรูและถือปฏิบัติเปนแนวเดียวกัน เพ่ือใหการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษามี ความถูกตอ ง ยุตธิ รรม และมผี ลการดําเนินงานท่ีนา เชอื่ ถอื เปน ทย่ี อมรับของสงั คม 3. การรายงานการประเมนิ ผลการเรยี น สถานศึกษาจะตองจัดทํารายงานการประเมินผลการเรียนของผูเรียนเปนรายบุคคล รายกลุม เพอ่ื ใหผเู รียนทราบความกา วหนา ในการเรยี นรูของตนเอง ครใู ชเปน ขอมูลในการบรหิ ารจัด การศึกษาของสถานศึกษา ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามจุดหมายของ หลักสตู ร 4. การจดั สอบซอ ม สถานศึกษาตองจัดใหมีการพัฒนาผูเรียนท่ีไมผานการประเมินรายวิชา โดยวิธีการท่ี เหมาะสม เชน การสอนเสริม มอบหมายใหทํารายงานเพิ่มเติม การเขารวมกิจกรรม หรืออ่ืน ๆ แลวจดั ใหผ เู รยี นเขารบั การสอบซอ มตามทสี่ ถานศึกษากําหนด 5. การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาจะตองจัดทําระเบียบหรือแนวปฏบิ ัติในการเทียบโอนผลการเรยี น ใหเ ปน สวนหน่ึงของผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามที่สาํ นกั งาน กศน. กําหนด 6. การอนุมตั ิการจบหลักสูตร สถานศึกษาตรวจสอบคุณสมบัติของผูเรียนใหเปนไปตามเกณฑการจบหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และอนุมัติการจบหลกั สตู ร

14 7. การจัดทําเอกสารหลกั ฐานการศึกษา สถานศึกษาจะตองจัดทําเอกสารแสดงขอมูลและสถานภาพทางการศึกษาของผูเรียน เพื่อใชสําหรับตรวจสอบ สื่อสาร สงตอ และรับรองผลการเรียนของผูเรียน หลักฐานการศึกษา ทส่ี ถานศกึ ษาจะตองจดั ทํา แบงเปน 2 ลักษณะ คอื 1. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาควบคุมและบงั คบั แบบ ประกอบดว ย 1) ระเบยี นแสดงผลการเรียน (กศน.1) 2) ประกาศนียบัตร (กศน.2) 3) แบบรายงานผสู าํ เรจ็ การศึกษา (กศน.3) 4) แบบบนั ทึกผลการพัฒนาคุณภาพผูเ รยี น (กศน.4) 2. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่สถานศึกษาดําเนินการเอง เชน แบบอนมุ ตั ิผล การจบหลกั สูตร แบบรายงานแสดงผลการเรยี นเฉลี่ย GPA ของนักศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลายและอื่น ๆ 8. การกํากบั ติดตาม และประเมนิ ผลการเรยี น สถานศึกษาจะตองมีการวางแผน กํากับ ติดตามและตรวจสอบการดําเนินการ ประเมินผลการเรียน เพ่ือใหการดําเนินการเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถปรับปรุงแกไข ขอบกพรองท่ีเกิดข้ึนไดทันเหตุการณ โดยใหมีผูรับผิดชอบดําเนินการกํากับ ติดตามในเรื่องตาง ๆ เชน 1. มกี ารประเมนิ ผลการเรียนใหสอดคลองกับผลการเรยี นรทู คี่ าดหวังในแตละรายวชิ า 2. มกี ารประเมินผลการเรียนรู และบันทึกผลหลงั การเรยี นท่ีจบเน้ือหาในแตละเร่ือง ทุกครงั้ แลวนําผลการประเมินมาปรับปรงุ พฒั นาผเู รียนใหเ ปนปจจบุ นั 3. มกี ารตรวจผลงานผูเรียนพรอ มใหข อเสนอแนะ เพ่อื การปรับปรุงผลงานผเู รียน บทบาทหนา ทขี่ องผูเก่ยี วขอ งในการวัดและประเมนิ ผลการเรียน การวัดและประเมินผลการเรียนของผูเรียน สถานศึกษาจะตองเปดโอกาสใหบุคคลท่ี เก่ียวของในการจัดการศึกษา ทั้งผูเรียน ชุมชนเขามามีสวนรวมกับผูสอนและบุคลากรฝายตาง ๆ ของสถานศึกษา เพ่ือใหการดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาเปนไปตาม ระเบียบหรือแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา จึงควรกําหนดภารกิจการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นใหบ คุ ลากรฝายตาง ๆ ของสถานศกึ ษารบั ผิดชอบ

15 ผปู ฏบิ ัติ บทบาทหนา ท่ีที่เกย่ี วของกับการวดั และประเมินผล 1. คณะกรรมการสถานศกึ ษา 1.1 ใหค วามเหน็ ชอบระเบียบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ของสถานศึกษา 1.2 ใหค วามเหน็ ชอบพฤตกิ รรมบงชี้การประเมนิ คุณธรรม เบื้องตน ทีส่ ถานศึกษากําหนดขน้ึ เพ่ือพัฒนาผูเ รยี น 1.3 ใหความคดิ เห็นและขอเสนอแนะเก่ียวกับการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น 2. คณะกรรมการบริหาร 2.1 กาํ หนดแนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลรายวชิ า หลักสตู รและวชิ าการของ 2.2 กาํ หนดพฤติกรรมบงชแี้ ละแนวปฏบิ ัตกิ ารประเมินคุณธรรม สถานศกึ ษา เบอื้ งตน 3. คณะกรรมการการวดั และ 3.1 จดั ทาํ เครือ่ งมอื ประเมนิ ผลกอ นเรียน ประเมินผลระหวา ง ประเมนิ ผลของสถานศึกษา เรียนและประเมนิ ผลหลงั เรยี น 3.2 ตรวจสอบผลการประเมินและจัดทาํ รายงานการประเมนิ ผล 4. ครูผูส อน การเรียนรูรายวชิ า 3.3 ประเมนิ ผลการดาํ เนินโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 3.4 สรุปผลการประเมนิ คุณธรรม 3.5 รว มกบั ผสู อนและผูเ กยี่ วขอ งจัดทําเคร่ืองมือการประเมนิ ผล กอ นเรยี นและระหวา งภาคเรียน 3.6 สนบั สนนุ สง เสรมิ การดาํ เนนิ งานการวัดและประเมินผลให เปนไปตามแนวทางที่สถานศึกษากําหนด 4.1 วางแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู 4.2 ดาํ เนินการวัดและประเมินผลการเรยี น และตัดสนิ ผลการ เรียนรายวิชา 4.3 เปนท่ีปรกึ ษา ดูแล ควบคมุ และประเมินการดาํ เนินการ โครงการ/กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผเู รยี น 4.4 ดําเนนิ การประเมนิ คุณธรรมเบือ้ งตน ของผูเรยี นรว มกับ ผูเกย่ี วของ

16 ผูปฏิบัติ บทบาทหนาที่ท่ีเกย่ี วของกับการวัดและประเมินผล 5 เจาหนา ที่ทะเบียน 5.1 รวบรวม ตรวจสอบบนั ทกึ และประมวลผลขอมลู การ 6. ผบู ริหารสถานศึกษา ประเมนิ ผลการเรียนของผูเรียนแตละบคุ คล 5.2 จัดทาํ รายงานการประเมินผลการเรียนเสนอผูบรหิ าร สถานศึกษา เพื่อขออนุมตั ิและแจงผูเกี่ยวของทราบ 5.3 ตรวจสอบและสรุปขอมูลผลการเรยี นของผูเรยี น เม่ือยาย สถานศกึ ษาหรือจบหลกั สตู ร และเสนอใหผ บู ริหารสถานศึกษา ลงนามรบั รองหรืออนุมัติการจบหลักสตู ร 5.4 จัดทาํ เอกสารหลักฐานการศกึ ษาตาง ๆ ท่เี กยี่ วขอ ง 6.1 กํากับ ดแู ล นเิ ทศ ตดิ ตามผลการดําเนินงานการวดั และ ประเมินผลการเรยี นของสถานศึกษา 6.2 อนุมตั ิโครงการ/กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และผลการผา น กจิ กรรม 6.3 อนมุ ตั ผิ ลการเรียนรายวิชา 6.4 อนุมตั ผิ ลการประเมนิ คุณธรรมเบ้ืองตน 6.5 อนมุ ตั ิการจบหลักสูตร

17 บทท่ี 2 การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน ความรูทวั่ ไปเกี่ยวกบั Google Classroom 1. เกี่ยวกบั Google Classroom Google Classroom เปดใหบริการสําหรับทุกคนที่ใช Google Apps for Education ปจจุบันเปล่ียนช่ือเปน Google G Suite for Education ซ่ึงเปนชุดเคร่ืองมือเพิ่มประสิทธิภาพการ ทํางานทใ่ี หบ ริการฟรี ประกอบดวย Gmail, เอกสารและไดรฟ ไดรับการออกแบบมาเพ่ือชวยใหผูสอนสามารถสรางและเก็บงานไดโดยไมตองส้ินเปลือง กระดาษ ประหยัดเวลา เชน สามารถทําสําเนาของ Google เอกสารสําหรับผูเรียนแตละคนได โดยอัตโนมัติ ซ่ึงระบบจะสรางโฟลเดอรของไดรฟสําหรับแตละงานและผูเรียนแตละคนเพื่อชวยจัด ระเบียบใหทุกคนผูเรียน สามารถติดตามวามีงานใดครบกําหนดสงบางในหนางาน และเริ่มทํางานได ดวยการคลิกเพียงครั้งเดียว ผูสอนสามารถดูไดอยางรวดเร็ววาผูเรียนคนใดทํางานเสร็จหรือไมเสร็จ บาง ตลอดจนสามารถ แสดงความคดิ เหน็ และใหค ะแนนโดยตรงไดแ บบเรียลไทมใ น Classroom 2. ประโยชนของการใชงาน Google Classroom 1. ต้ังคาไดงายดาย ผูสอนสามารถเพ่ิมผูเรียนไดโดยตรง หรือแชรรหัสเพ่ือใหผูเรียนเขา ชนั้ เรียนได การตงั้ คา ใชเวลาเพียงนดิ เดียว 2. ประหยัดเวลา กระบวนการของงานเรียบงาย ไมส้ินเปลืองกระดาษ ทําใหผูสอนสราง ตรวจ และใหค ะแนนงานไดอยางรวดเรว็ ในที่เดียวกนั 3. ชวยจัดระเบียบ ผูเรียนสามารถดูงานท้ังหมดของตนเองไดในหนางาน และเนื้อหาสําหรับ ชั้นเรียนทัง้ หมดจะถูกจดั เก็บในโฟลเดอรภ ายใน Google drive โดยอัตโนมตั ิ 4. สื่อสารกันไดดียิ่งขึ้น Google Classroom ทําใหผูสอนสามารถสงประกาศและเร่ิมการ พดู คุยใน ชนั้ เรยี นไดทนั ที ผูเรียนสามารถแชรแ หลง ขอมลู กันหรอื ตอบคําถามในสตรีมได 5. ประหยัดและปลอดภัย เชนเดียวกับบริการอ่ืน ๆ ของ Google Apps for Education คือ Google Classroom จะไมแสดงโฆษณา ไมใชเน้ือหาหรือขอมูลของผูเรียนในการโฆษณา และ ใหบ ริการฟรีสาํ หรับ โรงเรียน หรือสถานศกึ ษา

18 3. ทําความเขาใจเกีย่ วกับงาน Google Classroom Classroom ผสานรวม Google เอกสาร, drive และ Gmail ไวดวยกัน เพื่อใหผูสอน สามารถ สรางและรวบรวมงานโดยไมตองส้ินเปลืองกระดาษ ภายใน Classroom ผูสอนสามารถ สรางงาน ใชงานนั้นใน ชั้นเรียนตาง ๆ และเลือกวาจะใหผูเรียนทํางานอยางไร (เชน ผูเรียนแตละคน จะไดรับสําเนาของตนเอง หรือผูเรียนทุกคนจะทํางานในสําเนาเดียวกัน) ผูสอนสามารถติดตามวา ผูเรียนคนใดทํางานเสร็จแลวบาง และใครยังทํางานไมเสร็จ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นกับผูเรียนแต ละคนไดตัวอยา งการรับสง งานระหวางผสู อนกบั ผเู รียน 4. ความโดดเดนของ Google Classroom 1. ผูส อนเลอื กตวั เลือกเพ่ือสรางสาํ เนาของ Google เอกสารสําหรบั ผเู รียนแตละคน และ สงงาน ใหก บั ชน้ั เรยี น 2. หลงั จากสงงานแลว ผูเรียนจะไมมสี ทิ ธ์แิ กไขเอกสาร แตยังคงดูเอกสารได 3. ผสู อนแกไ ขเอกสารเพื่อใหคะแนนงาน แลว จงึ สง งานคนื ใหผ ูเรียน จากน้นั ผเู รยี นจะมีสิทธิ์ ในการแกไขงานอีกคร้ัง ท้ังผสู อนและผูเ รยี นสามารถดูรายการงานของชัน้ เรยี นท่ีกําลงั ทําอยแู ละทาํ เสร็จแลว โดยผสู อน สามารถดูคะแนนทง้ั หมดของงาน สว นผเู รียนสามารถดคู ะแนนของตนเองสําหรับงานทีท่ าํ เสร็จแลว

19 การสรา งช้นั เรียน สําหรับการใชง าน Google Classroom ในบทบาทของผูสอนนัน้ สามารถ 1. สรางชั้นเรียนออนไลนส ําหรบั รายวิชาน้ัน ๆ ได 2. เพ่ิมรายชอ่ื ผูเรียนจากบัญชขี อง Google เขา มาอยใู นชั้นเรียน 3. สามารถกําหนดรหสั ผานใหผ ูเรยี นนําไปใชเพ่ือเขาช้นั เรียนเองได 4. สามารถต้ังโจทย มอบหมายการบานใหผูเรยี นทําโดยสามารถแนบไฟลและกําหนดวันสง 5. ผูเ รียนเขา มาทาํ การบานใน Google Docs และสง เขา Google Drive ของครู โดยจดั เกบ็ ไฟลงานอยางเปนระบบ ภายใต Folder “Classroom” 6. สามารถเขา มาดูจํานวนผูเรยี นท่ีสงการบานภายในกําหนดและยังไมไ ดส ง ได 7. ตรวจการบา นของผูเรียนแตล ะคน พรอมทง้ั ใหคะแนนและคําแนะนํา 8. สามารถคดั ลอกคะแนนจากชน้ั เรียนไปใชง านไดอ ยางสะดวก 9. สามารถเชิญผูส อนทานอื่นเขา รวมในชน้ั เรียนเพ่ือรว มจัดการเรยี นการสอน 10. ปรับแตงรูปแบบของชน้ั เรยี นตามธีม หรอื จากภาพสว นตวั ได 11. สามารถใชงานบนโทรศัพทมือถือ ท้ังระบบปฏบิ ัติการ Android และ IOS สาํ หรบั Google Classroom ครไู มจ าํ เปน ตองรูวิธีการเขยี นโคด หรอื สรางเว็บไซต และไมตอง สบั สนกบั ขัน้ ตอนมากมายทต่ี องใชใ นการสรา งชน้ั เรียน สาํ หรับ Google Classroom เปนเร่ืองงา ย ในการสรา งชั้นเรียนเพยี งแคคลิกท่ปี ุม และการเพิม่ ขอความบางสวนเทานั้น ขั้นตอนการสรา งชน้ั เรยี น 1. เขาสูระบบของ Google Classroom ที่ http://classroom.google.com/

20 2. คลกิ เครอ่ื งหมาย + ท่ีบริเวณดานมมุ บนขวา 3. เลอื ก “สรา งชั้นเรียน” 4. กรอก ขอมลู ในการสรา งชนั้ เรยี น หมายเลข 1 : กรอกชื่อชน้ั เรียน หมายเลข 2 : กรอกรายละเอียดสน้ั ๆ เชน ชอ่ื กลุม หมายเลข 3 : กรอกชื่อวิชา หรอื ชือ่ เร่อื ง 5. เมอ่ื ทําการกรอกขอ มูลเสร็จ ใหทําการคลิกท่ี “สราง”

21 หนา จอการทํางานของ Google หมายเลข 1 : เมนูการใชงานของผูสอนและผูเ รียน (กรณีมุมมองของผูเรียนจะมองไมเ ห็นแท็บ คะแนน) หมายเลข 2 : ระดบั ชน้ั หมายเลข 3 : ชื่อหองเรยี น หมายเลข 4 : รหัสของช้นั เรียน หมายเลข 5 : การจดั การลักษณะหนาตา หรือหัวของช้นั เรียน หมายเลข 6 : การแจงเตือนงานใกลหมดเวลาสง

22 การเปลี่ยนชือ่ ช้นั เรยี น จากหนาแรกในเวบ็ เบราวเซอร สามารถเปลี่ยนชื่อชั้นเรยี นท่ดี า นบนของการดช้นั เรยี นได ดังน้ี 1. ในการด ชนั้ เรยี น ใหคลกิ 2. เลือก “แกไข” 3. กรอกช่อื ใหม 4. คลกิ “บันทกึ ”

23 การคดั ลอกชัน้ เรยี น 1. ในการดช้นั เรียน ใหคลิก 2. เลือก “คัดลอก” 3. จะไดช ัน้ เรียนใหมเพ่ิม

24 4. แกไ ขช่ือชน้ั เรยี นที่คดั ลอกมาใหเ ปน ชน้ั เรยี นใหม ตามข้ันตอนการเปลี่ยนชื่อชนั้ เรยี น หมายเหตุ : การคัดลอกชัน้ เรยี น คดั ลอกไดเ ฉพาะเนอื้ หา กิจกรรมของช้นั เรยี น ไมส ามารถคัดลอก ผูเ รยี นได ครจู ึงตองเชญิ ผูเรียนเขาช้ันเรยี นใหมทุกครัง้ ท่มี กี ารคัดลอกช้นั เรยี น การจัดการช้ันเรียน 1. ลงช่ือเขาใช Classroom ท่ี classroom.google.com 2. ในการด ช้ันเรยี นใหคลกิ 3. เลอื ก “เก็บ”

25 4. คลิก “เก็บ” เพื่อยนื ยนั การโพสตงาน ผูสอนสามารถโพสตง านในแท็บ “งานของชัน้ เรียน” แนบเอกสารประกอบ มอบหมายงาน ใหก ับผเู รียนผานช้นั เรยี น ตลอดจนใหค ะแนนและสงคืนใหก บั ผูเ รยี น หลงั จากท่ีผูสอนสรางงานแลว ผูเรยี นทกุ คนในชัน้ เรยี นจะไดรับการแจง เตือนทางอีเมล (ถาผูเ รียนไมไ ดปด การแจง เตอื นไว) และจะ เหน็ งานในงานของ ชั้นเรียน งานทโี่ พสตข นึ้ ทนี่ ผ่ี สู อนตองเปน ผตู รวจใหค ะแนน ข้นั ตอนการโพสตงาน 1. ลงชือ่ เขา ใช Classroom ท่ี classroom.google.com 2. เลือกชั้นเรยี น 3. เลือกแทบ็ “งานของชน้ั เรยี น”

26 4. คลิก “+ สราง” 5. คลกิ “งาน”

27 6. ปอ นชอื่ ของงาน ในการเริ่มตน ใหเพมิ่ ชื่อสน้ั ๆ พรอมกับคาํ อธบิ ายทจี่ ะระบหุ รือไมก ็ได 7. ปอ นคําอธบิ ายของงานหรือคาํ แนะนําเพิ่มเติมหากจําเปน 8. คลิกเพ่ิมวนั ที่เพ่อื กาํ หนดวันสง งานจากปฏทิ นิ หากไมกาํ หนด งานจะครบกําหนดสง ในวนั ถดั ไป เวลา 23.59 น. (ไมบ งั คับ) 9. ในการแนบไฟล รายการของ Google ไดรฟ วดิ โี อ YouTube หรอื ลิงก ใหค ลิกไอคอน ที่ ตองการ คนหาและเลือกรายการท่เี กย่ี วของ และคลิก “เพ่ิม”

28 10. ถา ผสู อนแนบรายการของไดรฟ สามารถเลือกไดว าจะใหผ เู รยี นทาํ งานกบั รายการดงั กลา ว อยางไร คลิกผเู รียนสามารถดูไฟลท ี่อยถู ัดจากรายการทีแ่ นบไวเ พ่ือต้งั คา ตัวเลอื กท่เี หมาะสม ดังนี้ 10.1 เลือก “นักเรียนสามารถดูไฟล” ถาผสู อนตองการใหผเู รยี นท้ังหมดสามารถอา นไฟล เดยี วกนั แตไ มส ามารถแกไ ขได 10.2 เลอื ก “นักเรียนสามารถแกไขไฟล” ถาผสู อนตอ งการใหผเู รยี นทัง้ หมดแกไขในไฟล เดยี วกนั 10.3 เลือก “ทาํ สําเนาใหนักเรียนแตละคน” ถา ผูส อนตองการใหผเู รียนแตล ะคนมสี าํ เนา ของไฟลทส่ี ามารถแกไขไดตามท่ตี อ งการ

29 11. กาํ หนดคะแนนเต็มใหงานแตล ะชิ้น 12 กาํ หนดวันครบกําหนดวันสงงาน 13. กาํ หนดหัวขอแกงานท่ีตอ งการโพสต 14. ในการมอบหมายงานใหกับชน้ั เรยี นอ่ืนดว ย ใหค ลกิ ชอื่ ชั้นเรียน และเลือกชั้นเรยี นอ่ืน ทาํ อยางใดอยางหนง่ึ ตอไปนี้

30 14.1 ในกรณีถา ผสู อนตองการโพสตง านทนั ที ใหคลกิ “มอบหมาย” 14.2 ในกรณตี องการกําหนดเวลาในการโพสตง าน ใหคลิก “กาํ หนดเวลา” 14.3 ในกรณีตองการบันทึกงานเพื่อโพสตใ นวันอนื่ ใหคลิก “บนั ทกึ ฉบับราง” ขอ ควรทราบ ในระหวางทสี่ รา งงาน ผูส อนสามารถเลือกทจ่ี ะบนั ทึกขอความรา งเพ่ือมอบหมายในภายหลงั Classroom จะบันทกึ ขอ ความรางของผสู อนสอนโดยอตั โนมตั ิ เมอ่ื ผสู อนหยุดพิมพเปน เวลา 2-3 วนิ าที หรอื ผสู อนสามารถบันทึกขอความรางไดด วยตนเอง (ดูทีส่ รา งฉบบั ราง)

31 การโพสตงานแบบทดสอบ งานแบบทดสอบ คือ แบบทดสอบทีส่ รา งขน้ึ จาก Google Forms นัน่ เอง อาจเปน แบบทดสอบ ทผี่ สู อนสรา งไวกอนหนา หรอื สามารถสรา งจากหนา โพสตแบบทดสอบกไ็ ด มวี ธิ ีการ โพสต ดงั น้ี ขั้นตอนการโพสตง านแบบทดสอบ 1. ลงชอ่ื เขา ใช Classroom ท่ี classroom.google.com 2. เลือกชน้ั เรยี น 3. เลือกแท็บ “งานของชน้ั เรยี น” 4. คลิก “+ สรา ง” 5. คลิก “งานแบบทดสอบ” 6. พมิ พช อ่ื เรอ่ื งทจ่ี ะโพสต 7. พิมพค ําอธบิ ายเพ่มิ เติม (พมิ พห รอื ไมพิมพก็ได) 8. พิมพคาคะแนนเตม็ 9. ตัง้ คา กําหนดวันสง วันสดุ ทาย 10. เลอื กหัวขอ ท่ตี องการใหโ พสตปรากฏ (เทมเพลต) 11. ในกรณีสรา งแบบทดสอบหนาโพสตง านแบบทดสอบ ระบบจะแนบไฟลแ บบทดสอบเปลา 12. เลือกแบบทดสอบในกรณีทีส่ รางแบบทดสอบไวแ ลว 13. มอบหมาย กาํ หนดเวลา หรอื บันทกึ ฉบับรา งในการโพสต

32 หมายเหตุ คะแนนของแบบทดสอบท่ีโพสตงานแบบทดสอบจะไมถกู นําเขา อตั โนมตั ิ ผสู อนตอ งกรอก ใหค ะแนนผูเรียนเอง

33 การโพสตค ําถาม การโพสตค ําถามสาํ หรบั งานของชน้ั เรยี นจะโพสตไดท้งั แบบใหน ักศึกษาพมิ พคําตอบและ เลอื กคาํ ตอบ เปนการสราคาํ ถามคลา ยกับ Google Forms แตจ ะโพสตไดทีละ 1 คาํ ถามเทานั้น และ ผโู พสตหรือครผู สู อนจะตองเปนผตู รวจใหค ะแนน วิธโี พสตท ําได ดงั นี้ 1. ลงชอื่ เขาใช Classroom ท่ี classroom.google.com 2. เลือกชัน้ เรียน 3. เลือกแทบ็ “งานของชน้ั เรียน” 4. คลกิ “+ สรา ง” 5. เลือก “คําถาม”

34 6. พมิ พคําถามในชอง “คําถาม” 7. พิมพค ําอธบิ ายเพม่ิ เติม (พมิ พหรอื ไมพ ิมพก็ได) 8. กรอกคะแนนเต็ม ชอง “คะแนน” 9. กําหนดวนั เวลาสง ชอ ง “ครบกําหนด” 10. เลอื กหวั ขอ ทตี่ องการใหค ําถามปรากฏ ชอ ง “หัวขอ ” 11. เลอื กชนดิ ของคําตอบ (คําตอบสั้น ๆ และ ปรนยั ) 12. กําหนดใหนกั เรียนสามารถตอบกลบั ระหวา งกนั ได 13. กาํ หนดใหนกั เรยี นสามารถแกไขคําตอบได 14. เลอื กขอมูลจากแหลงอื่น 15. คลกิ “ถาม” “กาํ หนดเวลา” หรอื “บันทึกฉบับรา ง”

35 การโพสตเ น้อื หาเปน การนาํ เนื้อหาท่จี ะใหผูเรียนศึกษาเพมิ่ เติม หรอื แมกระทง่ั แบบทดสอบ ที่สรางจาก Google Form ไวแลว มาวางใหน กั ศึกษาไดทําแบบทดสอบซึง่ ไมจําเปน ตองนาํ ไปวางใน “งาน” หรือ “งานแบบทดสอบ” เพราะไมตอ งตรวจใหค ะแนนแบบทดสอบ เน่ืองจากแบบทดสอบ ถูกตรวจ ใหค ะแนน ดว ยระบบของแบบทดสอบเองอยูแลว 1. ลงชือ่ เขา ใช Classroom ที่ classroom.google.com 2. เลอื กชั้นเรยี น 3. เลอื กแทบ็ “งานของช้นั เรยี น” 4. คลกิ “+ สรา ง” 5. เลือก “เนอื้ หา” 6. พิมพช อ่ื ของเนือ้ หาในชอง “ช่อื ” 7. พมิ พคําอธิบายเพ่มิ เติม (พมิ พหรอื ไมพ ิมพก็ได) 8. เลือกหัวขอ ชอง “หัวขอ” 9. เลอื กแหลงขอมูล 10. คลกิ “โพสต” “กําหนดเวลา” หรือ “บันทกึ ฉบบั ราง”

36 แท็บคะแนน เม่อื ผูส อนตรวจใหคะแนนเรียบรอยแลว คะแนนจะถูกนาํ เขาในแท็บ “คะแนน” โดยแยกตาม กิจกรรม แบบทดสอบ หรือใบงาน ในแตละชิ้น

37 ผสู อนสามารถกลบั ไปดงู าน แกไ ขคะแนน ทีผ่ ูเ รยี นสงผา นแท็บคะแนนไดด ว ยการคลกิ ท่สี ัญลกั ษณ คลิก “ดกู ารสง” ผสู อนแกไ ขคะแนน หรือ เพ่มิ ความคดิ เหน็ กอนโพสตสง คนื ผูเรยี น

38 Google Hangout Meet Google Hangouts Meet คือ แอปพลิเคชน่ั สําหรับการประชุมทางวิดีโอท่ีใชงายไมม สี ะดุด จาก Google ชว ยใหการทํางานรวมกนั และพฒั นาความสัมพนั ธก ับทมี ไดจากทุกทีบ่ นโลก คณุ สมบตั ทิ ี่สําคัญ • การประชุมทางวิดโี อความละเอยี ดสงู รองรบั ผูเขา รว มไดสงู สุด 100 คน • เขาถงึ ไดงา ย เพียงแคแ ชรลงิ กใ หทุกคนเขารวมไดด วยคลิกเดียว • รองรับการใชง านทีห่ ลากหลายบน Desktop, IOS และ Android • สามารถแชรหนาจอ รูปภาพ ไฟล และขอ ความได หมายเหตุ ดวยสถานการณการระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทาง Google ไดเปนคุณสมบัติพิเศษใหแก สถาบันการศึกษา โดยการประชุมทางวิดีโอสามารถรองรับผูเขารวมไดสูงสุด 250 คน และสามารถ บนั ทึกวิดีโอการสอน/การประชมุ ได ถึงวนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 1. ข้นั ตอนการตดิ ตัง้ โปรแกรม Google Meet 1.1 สําหรับผูใชงานผาน Desktop สามารถใชงานผานเว็บเบราวเซอร Google Chrome โดยไมต องติดตั้งโปรแกรมเพิม่ เติม

39 1.2 สําหรับ Mobile สามารถดาวนโหลดและติดต้ังโปรแกรมจาก Apple store หรือ Google play store 2. ข้ันตอนการใชงาน 2.1 เขา ใชง านทเี่ วบ็ https://meet.google.com/ คลกิ “ลงชือ่ เขา ใช”

40 2.2 โดยใส รหัสผูใช (Username) และรหสั ผา น (Password) 2.3 เมอ่ื เขาสรู ะบบเรียบรอยแลว จะแสดงหนาตา งหลักของ Google Meet

41 2.4 เริม่ การประชมุ หรือการเรยี นการสอน โดยคลกิ ที่ปุม “เขารวมหรือเร่มิ การ ประชมุ ” ระบบจะใหกําหนดรหัสหรอื ช่อื เลนของการประชุม เสรจ็ แลว คลกิ ปมุ “ตอไป” ตง้ั ช่ือการประชมุ ใชภาษาอังกฤษเทานนั้

42 2.5 เมือ่ คลิกเขา มาจะแสดงหนาจอ เพ่ือเขา รว มการประชุมหรือการเรยี นการสอน เมือ่ พรอ มแลวใหคลกิ ท่ี “เขา รวมเลย” 2.6 ระบบจะแสดงหนาตางขอมูลรายละเอียดของการเขารว มการประชุม/การเรียน การสอน หากตองการเชิญผูเขารวมประชุม คลิกท่ีปุม “คัดลอกขอมูลการเขารวม” แลวสงลิงกใหผูที่ ตองการขารวมประชุม หรือกดปุม “เพ่ิมบุคคล” ใสชื่ออีเมล “@go.buu.ac.th” แลวกดสงคําเชิญ ระบบจะสงอเี มลไปยังผูทีต่ องการเขา รวมประชุม/เขา ชน้ั เรยี น หลงั จากทีก่ ดเขารว มการประชมุ จะแสดงหนาตา งใหเ ชิญบุคคลอนื่ เขา รว ม เชญิ ผูเขารวมโดยอเี มล

43 โดยการคลกิ ไปที่เพ่ิมบุคคล แลว ใสอ ีเมลของผูท่เี ราตองการใหเขา รว ม แลว คลกิ ท่ี “เชญิ ” เชิญผูเ ขา รว มโดยลงิ ค หากตอ งการใหหนาจอเห็นภาพทกุ คนท่เี ขา รวมการประชุม จะตองทาํ การโหลด Meet grid View ที่ google App

44 แลวพมิ พ Meet grid View ในชองคน หารา น ภาพตัวอยา งของการใช Meet grid View เสริม 2.7 หากตองการนําเสนองานในท่ีประชุม ใหคลิกท่ี “นําเสนอทันที” โดย หนาตาง เปนการ นําเสนอเฉพาะโปรแกรม เพียงโปรแกรมใดโปรแกรมหน่งึ หนาจอของคณุ ทั้งหนาจอ เปนการนาํ เสนอ ทั้งหนาจอ หากมกี ารนาํ เสนอมากกวา 1 โปรแกรม