Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สำหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สำหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-11-14 23:45:33

Description: หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สำหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ

Keywords: ปวช.,กศน.

Search

Read the Text Version

หลักเกณฑ์การดาเนินงานจดั การศึกษา หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 สาหรับกลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา การจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาให้กลุ่มเป้าหมายท่ีประกอบอาชีพอยู่ในสถานประกอบการ หรือประกอบอาชีพอิสระ มีพ้ืนความรู้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจัดทาขึ้น เพื่อเป็นการยกระดับการศึกษาและพัฒนางานอาชีพ ของผู้มีอาชีพอยู่แล้ว ให้ได้สมรรถนะตามหลักสูตร โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติและ การปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ ณ แหล่งเรียนรู้ อันจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตลอดจน ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ หน่วยงานต่าง ๆ การจัดการศึกษาดังกล่าวดาเนินการโดยความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการ หน่วยงาน และสถานศึกษา ร่วมกันวางแผนการเรียนรู้ กาหนดทิศทางของหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพการทางาน อนั จะส่งผลต่อความเจรญิ ก้าวหน้าและการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตและสงั คมใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ สานักงาน กศน. ได้จัดทาหลักเกณฑ์การดาเนินงานจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติแก่สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 โดยได้รับความร่วมมือจากผู้แทนสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิ สานักงาน กศน. ขอขอบคุณ ผู้มีส่วนร่วม ในการจัดทาหลักเกณฑ์การดาเนินงานจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ ไว้ ณ ท่ีน้ี สานักงาน กศน. 31 สิงหาคม 2563

สารบัญ หนา้ คานา 1-4 ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง หลกั เกณฑก์ ารดาเนนิ งาน 5 - 15 จดั การศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช 2562 16 - 19 สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ 20 - 26 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง ให้ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2562 27 - 37 คาสั่ง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ 650/2562 38 เรอ่ื ง อนุมัตหิ ลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562 หนงั สอื สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ที่ 0606/802 วันที่ 27 ตลุ าคม 2562 39 - 44 เร่ือง การอนญุ าตใช้หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 45 - 50 ตอนท่ี 1 บทนา 51 - 56 ตอนที่ 2 หลกั เกณฑ์การจดั การศกึ ษาและรปู แบบการจัดการศึกษา 57 - 62 ตอนที่ 3 การจดั ทาโครงการ 63 - 64 ตอนท่ี 4 การจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 65 ตอนที่ 5 การบริหารหลกั สูตร 66 - 72 ภาคผนวก ตวั อยา่ งแผนการเรียน 6 ภาคเรยี น 73 - 77 78 1. ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรกรรม สาขางานการเกษตร 79 2. ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาช่างยนต์ 80 - 94 3. ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ 4. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาการตลาด 95 - 97 ตวั อยา่ งแผนการเรียนรายสปั ดาห์ 98 - 103 ตวั อยา่ งแผนการเรยี นรรู้ ายวชิ า ตวั อย่างโครงการขออนุมัตจิ ัดการศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) 104 - 120 สาหรบั กลุม่ เป้าหมายนอกระบบ ตัวอยา่ ง MOU 121 - 123 ตัวอยา่ งขออนุญาตจดั ต้งั กล่มุ 124 - 125 ตัวอย่างปฏทิ ินการจัดการเรยี นร้รู ายสัปดาห์ 126 - 130 ตัวอยา่ ง สมุดฝกึ งาน/ฝกึ อาชีพ 131 - 134 ประกาศและระเบียบ 1. ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง กรอบคุณวฒุ อิ าชีวศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 2. ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานคณุ วุฒิอาชวี ศึกษา ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 3. ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ด้วยการจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการเรียน ตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2562 ตวั อย่างระเบยี นแสดงผลการเรียนตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศักราช... ตวั อย่างแบบรายงานผลการเรยี นของผู้สาเร็จการศกึ ษา ตัวอย่างประกาศนียบัตรและใบรบั รองผลการเรยี นระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี รายชอื่ ผู้เขา้ ประชมุ และคณะผู้จดั ทา



















1 ตอนท่ี 1 บทนำ ควำมเป็นมำ การพัฒนาการศกึ ษาของประเทศไทยปจั จบุ นั มุ่งยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกปัจจุบัน และเวทีการแข่งขันทางเศรษฐกิจ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคน ระดบั ฝมี อื ใหม้ ีสมรรถนะ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี สามารถประกอบอาชีพให้ตรงตาม ความต้องการของสถานประกอบการ และการประกอบอาชีพอิสระ เป็นการสร้างโอกาสและความก้าวหน้า ให้แก่ประชากรทจี่ ะเขา้ ส่ตู ลาดแรงงานไดอ้ ยา่ งกว้างขวางมากยง่ิ ขน้ึ สภาพปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีประชากรจานวนมากท่ีมีความรู้ ความสามารถ มีงานทา ทางาน ในสถานประกอบการ หรือมีธุรกิจของตนเอง แต่ประชากรเหล่าน้ีไม่มีเวลามากพอท่ีจะเข้าเรียนในระบบ การศึกษาที่มีอยู่ปัจจุบัน ประกอบกับ กฎหมายการศึกษาเปิดช่องทางให้การเรียนรู้ท่ีเกิดจากการทางาน การประกอบอาชีพ เปน็ การศกึ ษารูปแบบหนึ่งทีเ่ รียกวา่ การศึกษาตามอัธยาศัย หน่วยงานหรือสถานศึกษา จึงต้องพัฒนาวิธีการ รูปแบบ ให้สามารถเช่ือมโยงการเรียนรู้จากการทางานเข้าสู่ระบบการศึกษา เพ่ือให้ ได้รบั วฒุ ิการศึกษา สานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย จึงพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาให้มีความหลากหลายนอกจากการจัดการศึกษาสายสามัญ แล้ว การศึกษาสายอาชีพ เป็นอีกช่องทางหน่ึงท่ีพัฒนาขึ้น เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชน ที่มีอาชีพแล้วใหไ้ ด้รับวฒุ กิ ารศึกษาสายอาชพี การพัฒนาศักยภาพของแรงงานท่ีมีงานทาให้มีระดับการศึกษาท่ีสูงข้ึน ถึงระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ ซึ่งกาลังแรงงานสามารถใช้ความรู้และประสบการณ์ ที่ได้ จากการทางานใหเ้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบ ท่ีสามารถพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพของกลุ่มเป้าหมายท่ีใช้แรงงาน และเป็นไปตามความต้องการ ของประเทศ หลกั กำรของหลกั สตู ร การจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมาย นอกระบบ มีหลักการสาคัญ ดงั นี้ 1. เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า ด้านวิชาชีพ ท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคน ระดับฝีมอื ใหม้ ีสมรรถนะ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตาม ความต้องการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอสิ ระ 2. เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างกว้างขวาง เน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการ ปฏิบัติจริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพ และโอกาสของนักศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ เทียบโอนผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการและสถานประกอบการอาชีพอสิ ระ 3. เป็นหลักสูตรท่ีสนับสนุนการประสานความร่วมมือ ในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่าง หน่วยงานและองค์กรท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เป็นหลักสูตรที่เปิดโอกาสให้สถานศึกษา

2 สถานประกอบการ ชุมชน และท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการ โดยยึด โยงกับมาตรฐานอาชีพ และสอดคล้องกับสภาพยุทธศาสตร์ของภูมิภาค เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการ แข่งขนั ของประเทศ จดุ ม่งุ หมำย การจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมาย นอกระบบ มจี ดุ มุง่ หมายทจ่ี ะยกระดบั การศึกษาของผู้มีงานทา ให้มรี ะดบั การศกึ ษาทสี่ งู ขึ้น ดงั นี้ 1. เพ่ือใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ในงานอาชีพ สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกวิถีการดารงชีวิต และการประกอบ อาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับตน สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ตอ่ ชุมชน ทอ้ งถ่นิ และประเทศชาติ 2. เพ่ือให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและ การประกอบอาชีพ มที ักษะการสอื่ สารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิด วิเคราะห์และการแก้ปัญหา ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัย ตลอดจนทักษะการจัดการ สามารถ สร้างอาชีพและพัฒนาอาชีพใหก้ า้ วหนา้ อยูเ่ สมอ 3. เพ่ือให้เจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความม่ันใจ และภาคภูมิใจในวิชาชีพท่ีเรียน รักงาน รักหน่วยงาน สามารถทางานเปน็ หมคู่ ณะได้ดี โดยมคี วามเคารพในสิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องตนเองและผู้อื่น 4. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทางาน การอยู่ร่วมกัน การต่อต้าน ความรุนแรงและสารเสพตดิ มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงาน ท้องถิ่น และประเทศชาติ ดารงตน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจและเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ของศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีจิตสาธารณะ มจี ิตสานึกในการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และสร้างสง่ิ แวดลอ้ มทด่ี ี 5. เพื่อให้มีบุคลิกที่ดี มีมนุษย์สัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพ อนามัยท่ีสมบูรณท์ ัง้ รา่ งกายและจติ ใจ เหมาะสมกับงานอาชพี 6. เพ่ือให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศ และโลก มีความรักชาติ สานึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซ่ึงความมั่นคงของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข คุณวุฒอิ ำชวี ศึกษำระดบั ประกำศนยี บตั รวชิ ำชีพ กาหนดให้ผู้สาเรจ็ การศึกษามีคณุ ภาพครอบคลุมอยา่ งน้อย 4 ดา้ น คือ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ได้แก่ มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่นมีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจติ สาธารณะ และมีจิตสานกึ รักษ์สิง่ แวดล้อม 2. ด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้ในหลักการทั่วไปของงานอาชีพเฉพาะและวิเคราะห์เบื้องต้น รวมท้ังมีความรู้ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทส่ี ามารถใชใ้ นการสอื่ สารเบอื้ งต้นได้ 3. ด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะการเลือกและประยุกต์ใช้ วิธีการเคร่ืองมือและวัสดุข้ันพ้ืนฐาน ในการปฏิบัติงาน ทักษะการส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิด วิเคราะหแ์ ละการแก้ไขปญั หา และทักษะดา้ นสขุ ภาวะและความปลอดภัย

3 4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ สามารถปฏิบัติงานตาม แบบแผน ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ซับซ้อน ให้คาแนะนาพ้ืนฐานท่ีต้องใช้การตัดสินใจวางแผนและ แก้ไขปัญหาโดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมในบางเร่ือง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทางวิชาชีพ เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกไ้ ขปัญหาและการปฏิบัติงานในบริบทใหม่ รวมทั้งรับผิดชอบต่อตนเอง และผอู้ ่ืน กำรเรียนกำรสอน 1. การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ เป็นความรว่ มมือระหว่างสถานศกึ ษากบั สถานประกอบการ/หนว่ ยงาน 2. สถานศกึ ษา สถานประกอบการ/หน่วยงาน ร่วมมือกันกาหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา โดยมีการกาหนดหลักสูตร จัดแผนการเรียน กาหนดวิธีการเรียนรู้ และวัดผลประเมินผล ให้สอดคล้องกับ ลกั ษณะการทางาน และการดาเนนิ ชวี ติ ของผู้เรยี น 3. เน้นนักศึกษาเป็นสาคัญ โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้ และวางแผน การเรยี นรู้ โดยมีครปู ระจากลุ่ม ปวช. เจ้าหน้าที่ และวทิ ยากร ให้ความชว่ ยเหลอื แนะนาการจดั การเรียนรู้ 4. ใชว้ ธิ กี ารเรียนรู้แบบ กศน. ได้แก่ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนรู้ผ่านห้องเรียน ออนไลน์ การแลกเปลย่ี นเรยี นรูซ้ ่ึงกนั และกัน และการสอนเสรมิ 5. ใช้วิธีการเรียนรู้ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่ือให้เข้าถึงความรู้ที่หลากหลาย และศกึ ษาคน้ คว้าไดด้ ว้ ยตนเอง 6. การเรียนรู้ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมาย นอกระบบ นั้น จะต้องฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา และสถานประกอบการ กลุ่มเป้ำหมำย กลุ่มเปา้ หมายที่มีงานทาในสถานประกอบการ ท้ังหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชน หรือผู้ประกอบ อาชพี อสิ ระ และสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า นิยำมศพั ท์ “หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ “ประกาศนียบัตรวิชาชีพ” หมายความว่า การศึกษาตามประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังจาก จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทยี บเท่า ใชอ้ กั ษรยอ่ ว่า “ปวช.” “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อานวยการสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 สาหรบั กลุ่มเปา้ หมายนอกระบบ “หน่วยงานต้นสงั กัด” หมายความวา่ หนว่ ยงานทีส่ ถานศึกษาสงั กดั อยู่ “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ท่ีได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ

4 “ภาคเรียน” หมายความว่า ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทาการสอน โดยกาหนดให้ 1 ปีการศึกษา แบง่ ออกเปน็ 2 ภาคเรยี น และใน 1 ภาคเรียน มรี ะยะเวลาจดั การศึกษารวมทัง้ การวดั ผล 18 สปั ดาห์ “สถานประกอบการ” หมายความว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วน ร้าน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ และเอกชน ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศที่ร่วมมอื กบั สถานศึกษาเพื่อจัดการศึกษา “การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนด จุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผล ที่เป็นเงื่อนไขของการสาเร็จ การศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความตอ้ งการของบคุ คลแต่ละกลมุ่ “วิทยากร” หมายความว่า ผู้ที่สถานศึกษาแต่งตั้งทาหน้าที่สอน ฝึก อบรมนักศึกษา ในสถาน ประกอบการตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 สาหรับกล่มุ เปา้ หมายนอกระบบ “ครูประจากลุ่ม ปวช.” หมายความว่า ครูที่ทาหน้าที่จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ “ครูที่ปรึกษา” หมายความว่า ครูที่สถานศึกษามอบหมายให้ทาหน้าที่จัดการเรียนรู้ ให้คาแนะนาให้คาปรกึ ษา ตดิ ตามผลการเรยี น และตกั เตอื นดแู ลความประพฤติของนกั ศึกษา “แหล่งเรียนรู้” หมายความว่า สถานท่ี หรือแหล่งข้อมูลทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ที่นักศึกษาสามารถเข้าไปศึกษา แสวงหาความรู้ ประสบการณ์ เพื่อช่วยพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้ อย่างกวา้ งขวาง “มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า ข้อกาหนดด้านสมรรถนะวิชาชีพ เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ ในการกากับดแู ล ตรวจสอบ และประกนั คณุ ภาพผู้สาเรจ็ การศกึ ษา “การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า การทดสอบความรู้ ความสามารถ ตลอดจน ลักษณะนิสัยในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมซึ่งกาหนดเกณฑ์ การตัดสินไว้ชดั เจน พรอ้ มทงั้ จัดดาเนินการประเมินภายใต้เง่อื นไขทเ่ี ป็นมาตรฐาน “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ทาหน้าที่ รับผิดชอบในการอานวยการ ติดตามและกากับดูแลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของนักศึกษา ในสถานศกึ ษา

5 ตอนที่ 2 หลกั เกณฑ์กำรจัดกำรศึกษำและรปู แบบกำรจัดกำรศกึ ษำ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมาย นอกระบบ ดาเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 โดยสานักงาน กศน. ได้กาหนด หลักเกณฑก์ ารดาเนินงาน ดังน้ี กำรเตรยี มควำมพรอ้ มกอ่ นเปดิ เรยี น การเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดเรียน สถานศึกษาที่จะเปิดสอนการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ หรือสถานศึกษาเดิมที่เปิดสอนอยู่แล้ว และต้องการเปิดสาขาใหม่ ใหด้ าเนินการเตรียมความพร้อม ดังน้ี 1. ให้สถานศึกษาดาเนินการแต่งต้ังคณะทางานรับผิดชอบ การจัดการศึกษาหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 สาหรบั กล่มุ เป้าหมายนอกระบบ 2. การสรรหาครูประจากลุ่ม ปวช. ต้องมีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรี หรือมีการเรียน ในสาขาวิชาท่ีเปิดสอนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยมีหลักฐานอ้างอิง เช่น ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร หนงั สือรับรอง เปน็ ตน้ 3. ให้สถานศึกษาและสถานประกอบการ ร่วมกันเตรียมสถานที่เรียนและสถานที่ฝึกปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับนกั ศกึ ษาในสาขาวชิ าทจ่ี ะเปดิ สอน ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ หรือประสานกับเครือข่าย หน่วยงาน หรือสถานประกอบการ เพื่อส่งนักศึกษาเข้าไปฝึกปฏิบัติตามความพร้อมแต่ละรูปแบบ การจดั การศกึ ษา 4. วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติสถานศึกษาจะต้องสารวจ และจัดเตรียมวัสดุในการฝึก ปฏิบัติในสาขาวิชาที่เปิดสอนให้พร้อม หรือประสานงานกับเครือข่าย หรือสถานป ระกอบการ เพื่อส่งนักศึกษาไปฝึกปฏิบัติ 5. หน่วยงานเครือข่ายที่ร่วมจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาต้องประสานงานกับเครือข่าย หน่วยงาน สถานประกอบการ หรือแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา ที่เก่ียวกับสาขาวิชาท่ีเปิดสอน เพ่ือจัดทาบนั ทึกขอ้ ตกลง ความร่วมมือ (MOU) ในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ 6. การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ สถานศึกษาต้องประสานงาน และบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสถานศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในการดาเนินการประเมินมาตรฐาน วชิ าชีพ 7. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-Net) สถานศึกษาที่มีความพร้อม สามารถส่งนักศึกษาเข้ารับการทดสอบ โดยประสานงานกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ในการส่งนักศกึ ษาเข้าสอบ กำรขออนุญำตจดั กำรศกึ ษำ การขออนุญาตจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลุม่ เป้าหมายนอกระบบ

6 1. สถานศึกษาที่มีความพร้อมจัดทาโครงการการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เสนอสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. สาหรับ สถานศึกษาขึ้นตรง ให้สง่ โครงการเสนอมาท่ีสานักงาน กศน. โดยมีเอกสารแนบ ดงั นี้ 1.1 โครงการการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลุ่มเป้าหมายนอกระบบ ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดาเนินการ ระยะเวลาดาเนินงาน นิเทศติดตาม การวัดและประเมินผล เครือข่ายและความร่วมมือ มาตรฐานวิชาชีพ ผ้รู ับผิดชอบ ครูประจากล่มุ ปวช. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1.2 รายชื่อครูประจากลุ่ม ปวช. พรอ้ มวฒุ ิการศกึ ษา 1.3 รายช่อื นกั ศึกษา สถานท่ที างาน สถานที่ตดิ ต่อ แบบสอบถามความประสงค์ 1.4 หนังสือบันทึกข้อตกลงความร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสถานศึกษาสัง กัด คณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ผี ู้เรยี นไปทดสอบมาตรฐานวิชาชพี ได้ 1.5 หนงั สือทาข้อตกลงกับสถานประกอบการ หรือแหล่งเรยี นร้ใู นการจัดการเรยี นการสอน 1.6 เอกสารรบั รองการประกอบอาชีพของนักศึกษา 2. สานักงาน กศน.กทม./จังหวัด แต่งตั้งกรรมการพิจารณาโครงการ เอกสารแนบ และประเมินความพร้อมของสถานศึกษาตามเกณฑ์ท่ีสานักงาน กศน. กาหนด 3. สานักงาน กศน. แต่ละจังหวัด ให้ความเห็นชอบและเสนอโครงการของสถานศึกษาที่ผ่าน การประเมินความพร้อมต่อสานักงาน กศน. 4. สานกั งาน กศน. พิจารณาอนุมัติให้ดาเนินโครงการจัดการเรียนการสอน โดยแจ้งกลุ่มแผนงาน และสานักงาน กศน.กทม./จงั หวดั หรือสถานศกึ ษาขึน้ ตรง 5. กรณีทีส่ ถานศกึ ษาเดิมจะเปดิ สอนสาขาใหม่ต้องขออนุมัติต่อสานักงาน กศน. ใหม่ ตามขั้นตอน 1.1 ถึง 1.6 ท้ังนห้ี ากสถานศึกษาดาเนนิ การจัดการศกึ ษาอยู่แลว้ ไม่ต้องขออนมุ ตั ใิ หม่ รูปแบบกำรจัดกำรศึกษำ การจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมาย นอกระบบ เป็นการดาเนินการจัดการศึกษาโดยการประสานความร่วมมือของ 3 หน่วยงานหลัก คือ สถานศึกษา สถานประกอบการ และสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สามารถแบง่ รปู แบบการจัดการศึกษาได้ 4 รูปแบบ ได้แก่ สถานประกอบการแห่งเดียว สถานประกอบการ หลายแห่ง แต่มีสถานประกอบการหลัก 1 แห่ง สถานประกอบการหลายแห่ง ส่งนักศึกษาให้สถานศึกษา เป็นผู้ดาเนนิ การจดั การศกึ ษา และกล่มุ เป้าหมายประกอบอาชพี อสิ ระ โดยมีวธิ กี ารดาเนินการดงั นี้ รูปแบบท่ี 1 สถำนประกอบกำรแห่งเดยี ว 1. สถานประกอบการแห่งเดียวร่วมกับสถานศึกษาในการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เก่ียวกับการวางแผนการจัดทาหลักสูตร สถานศกึ ษา กลมุ่ เปา้ หมาย วธิ กี ารเรยี น ครู สถานท่ี ส่อื และการวดั และประเมินผล 2. สถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาร่วมกันพิจารณาสาขาวิชาท่ีจะเปิดสอน ให้สอดคล้อง กับบริบทของสถานประกอบการ และกล่มุ เปา้ หมาย 3. สถานประกอบการร่วมกบั สถานศึกษาจดั เตรยี มสถานทเ่ี รยี น และหรือสถานท่ีฝึกปฏิบัติ 4. สถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาจัดเตรียมครูผู้สอนในหมวดวิชาสมรรถนะ วิชาชีพ ให้สถานประกอบการเป็นผู้จัดหาครูผู้สอน

7 รปู แบบท่ี 2 สถำนประกอบกำรหลำยแห่ง แต่มสี ถำนประกอบกำรหลัก 1 แหง่ 1. สถานประกอบการหลายแห่งร่วมกับสถานศึกษาในการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เก่ียวกับการวางแผนการจัดทาหลักสูตร สถานศกึ ษา กลมุ่ เปา้ หมาย วธิ ีการเรียน ครู สถานท่ี สอ่ื การวดั และประเมินผล 2. สถานประกอบการหลายแห่งร่วมกับสถานศึกษาพิจารณาเลือกสถานประกอบการหลัก 1 แห่ง ทมี่ คี วามพร้อมดา้ นสถานท่ี เพื่อใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 3. สถานประกอบการหลายแห่งร่วมกับสถานศึกษา พิจารณาสาขาวิชาท่ีจะเปิดสอนให้สอดคล้อง กับบรบิ ทของสถานประกอบการและกลุ่มเปา้ หมาย 4. สถานประกอบการรว่ มกับสถานศกึ ษาจดั เตรยี มสถานทเี่ รียน และหรอื สถานทฝี่ กึ ปฏิบัติ 5. สถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาจัดเตรียมครูผู้สอน ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ให้สถานประกอบการเป็นผู้จัดหาครูผู้สอน

8 รูปแบบท่ี 3 สถำนประกอบกำรหลำยแห่ง ส่งนกั ศึกษำให้สถำนศึกษำเปน็ ผู้ดำเนนิ กำรจัดกำรศกึ ษำ 1. สถานประกอบการหลายแห่ง ร่วมกับสถานศึกษาในการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ เก่ียวกับการวางแผนการจัดทาหลักสูตร สถานศกึ ษา กลมุ่ เป้าหมาย วธิ กี ารเรยี น ครู สถานที่ ส่อื และการวัดและประเมินผล 2. สถานประกอบการหลายแห่งร่วมกับสถานศึกษา พิจารณาสาขาวิชาท่ีจะเปิดสอนให้สอดคล้อง กับบริบทของสถานประกอบการและกลุ่มเปา้ หมาย 3. สถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาจดั เตรียมสถานทีเ่ รียน และหรอื สถานทีฝ่ ึกปฏิบัติ 4. สถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาจัดเตรียมครูผู้สอน ในหมวดวิชาสมรรถนะ วิชาชีพ ให้สถานประกอบการเป็นผู้จัดหาครูผู้สอน 5. สถานประกอบการส่งนักศกึ ษามาใหส้ ถานศึกษาเปน็ ผูด้ าเนินการจดั การศึกษา รูปแบบท่ี 4 กลมุ่ เป้ำหมำยประกอบอำชีพอิสระ 1. สถานศึกษารวมกลุ่มนักศึกษา และดาเนินการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ ท้ังหลักสูตร โดยวางแผนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา วิธีการเรียน ครู สถานท่ี สื่อ และการวัดและประเมินผล 2. สถานศึกษาต้องจัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสถานประกอบการ หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน หรือแหล่งเรียนรู้ ท่ีตรงกับสาขาวิชาที่เรียน เพื่อรับนักศึกษาเข้าฝึกประสบการณ์ สมรรถนะวิชาชีพ

9 ขัน้ ตอนกำรดำเนินงำน 1. สารวจข้อมูลสถานประกอบการ หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระ ที่มีความต้องการรับการศึกษา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 สาหรบั กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ 2. วิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือจัดทาโครงการจัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรบั กล่มุ เป้าหมายนอกระบบ และรบั สมัครนักศกึ ษา 3. จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา พร้อมท้ังกาหนดโครงสร้างหลักสูตร วิธีเรียน แผนการเรียน ตลอดจน สื่อ อปุ กรณ์ และการวัดและประเมินผล 4. ดาเนินการจัดการเรียนการสอนตามรปู แบบทกี่ าหนด 5. สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษา หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 สาหรบั กลมุ่ เป้าหมายนอกระบบ 6. สรุปผลการดาเนินงานการจัดการศึกษา และทาข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรค รายงาน ต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา และหน่วยงานต้นสงั กัด กำรรับสมคั รนักศกึ ษำ 1. สถานศึกษา หน่วยงาน และสถานประกอบการ กาหนดวัน เวลา และสถานที่รับสมัคร โดยประชาสัมพันธ์ให้กว้างขวาง พรอ้ มกบั ใหเ้ ตรยี มเอกสารหลกั ฐานต่าง ๆ 2. คณุ สมบัติของผู้สมคั ร 2.1 มอี ายุ 15 ปี ขึ้นไป 2.2 สาเรจ็ การศกึ ษาไม่ตา่ กว่าระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หรือเทยี บเท่า 2.3 มีงานทา และต้องมีหนังสือรับรองการทางานจากสถานประกอบการ กรณีที่ทางาน อิสระให้ส่วนราชการ หน่วยงาน หรือบุคคลที่เชื่อถือได้ในชุมชนเป็นผู้รับรอง กำรจัดกล่มุ นักศึกษำ การจดั กลุ่มนกั ศึกษาใหเ้ ป็นไปตามแนวปฏบิ ัติ และหลักเกณฑ์ทสี่ านกั งาน กศน. กาหนด

10 กำรกำหนดเวลำเรยี น สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้มีการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ กำรจดั ทำแผนกำรเรยี นตลอดหลกั สูตร 1. สถานศึกษา ครู และนักศึกษา ร่วมกันจัดทาแผนการเรียนตลอดหลักสูตร ตามโครงสร้าง หลกั สตู รครบ 6 ภาคเรยี น 2. สถานศึกษาตอ้ งจัดทาแผนการเรยี นการสอนรายภาคเรียน และแจง้ ให้นกั ศึกษาทุกคนทราบ กำรจดั กำรเรยี นรู้ 1. สถานศึกษาต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถ คุณลักษณะ บรรลุตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ที่ครอบคลุมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะแกนกลาง และสมรรถนะวชิ าชพี ตามที่สาขาวชิ ากาหนด 2. สถานศึกษาต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้นักศึกษามีความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตามจุดประสงค์และสมรรถนะรายวิชา 3. จัดกระบวนการเรียนรู้ ให้นกั ศึกษาได้ฝึกทักษะการปฏิบัติทั้งในห้องปฏิบัติการและสถานการณ์ จริง 4. ให้ความสาคัญกับความรู้ ความสามารถ ที่นักศึกษามีอยู่ก่อน และเปิดโอกาสให้นักศึกษา นาความรู้ ความสามารถมาเทียบโอนได้ 5. จัดให้นักศึกษาได้เรียนกับ ครูประจากลุ่ม ปวช. หรือวิทยากร ในสถานประกอบการตามวัน เวลาที่กาหนด เพื่อเรยี นทฤษฎี ปฏิบตั ิ หรอื ทบทวนความรู้ รายงานความก้าวหน้าจากการเรยี นรู้ด้วยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความรู้และประสบการณ์ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน เพื่อเป็นการส่งเสริมเติมเต็ม ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเปิดโอกาสให้มีการคิดวิเคราะห์ การนาเสนอ การบันทึก พร้อมท้ังมอบหมายงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติระหว่างสัปดาห์ รวมทั้งค้นคว้าสาระท่ีนักศึกษาต้องเรียนรู้ด้วยตนเองจากส่ือ แหลง่ ความรตู้ า่ ง ๆ และบนั ทึกการเรียนรู้ 6. สถานศึกษาจะต้องจัดให้มีวิทยากรสอนเสริมในสาระของรายวิชาต่าง ๆ ท่ีนักศึกษาไม่สามารถ ศกึ ษาด้วยตนเองได้ ตามทไ่ี ด้มีการวิเคราะห์ไวใ้ นแผนการเรียน 7. สถานศกึ ษาจะต้องจัดให้นกั ศึกษาไดร้ บั ประสบการณ์ตรงในสาขาวิชาท่ีศกึ ษา กำรวดั และประเมนิ ผล สถานศึกษา หน่วยงาน และสถานประกอบการ ดาเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเปา้ หมายนอกระบบ กำรเทยี บโอนผลกำรเรยี นรู้ 1. การโอนผลการเรยี น สถานศึกษาจัดให้มีการโอนผลการเรียน ในกรณีท่ีนักศึกษามีคุณสมบัติตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพ พุทธศักราช 2562 สว่ นท่ี 4 ข้อ 59 – 65 (ภาคผนวก)

11 2. การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์รายวชิ า นักศึกษาท่ีมีความรู้และประสบการณ์ในงานอาชีพ หรือทางานในอาชีพน้ันอยู่แล้ว จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่รายวิชา โดยเทียบโอนได้ไม่เกิน 2 ใน 3 ของจานวน หน่วยกิต ตามหลักสูตรของแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา การเทียบโอนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธกี ารทีส่ านกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด กำรฝกึ ประสบกำรณส์ มรรถนะวชิ ำชพี การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษากับสถานประกอบการ หลังจากที่นักศึกษาได้เรียนรู้ภาคทฤษฎี เป็นการเปิดโอกาส ให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้สัมผัสกับการปฏิบัติงานอาชีพ เครื่องมือเครื่องจักรและ บรรยากาศของการทางานรว่ มกัน ส่งเสริมการฝกึ ทกั ษะ กระบวนการคดิ การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาทาได้ คิดเป็น ทาเป็น และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเกิดความมั่นใจ และเจตคติที่ดีในการทางานและการประกอบอาชีพอิสระ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ กาหนดเรื่องการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพว่า สถานศึกษา ต้องจัดให้นักศึกษาได้รับการฝึกงานในสถานประกอบการ แหล่งวิทยากร รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ไมน่ ้อยกวา่ 320 ชวั่ โมง เท่ากบั 4 หนว่ ยกติ ภายในสองภาคเรยี นสุดทา้ ย ในส่วนของการศึกษานอกระบบ ซึ่งนักศึกษามีการประกอบอาชีพอยู่แล้ว จึงเป็นประสบการณ์ ตรงที่นักศึกษาปฏิบัติจริงในการประกอบอาชีพ นักศึกษาสามารถนาประสบการณ์ท่ีผู้เรียนปฏิบัติจริงนั้น มาประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการสมรรถนะวชิ าชีพได้ ดังน้ี 1. นักศึกษาที่ทางานในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 3 ปี สามารถนาประสบการณ์การทางาน มาเทียบการฝึกประสบการสมรรถนะวิชาชีพได้ โดยให้สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการแต่งตั้ง คณะกรรมการประเมินผลงาน ในสาขาวชิ าทน่ี กั ศกึ ษาเรยี นอยา่ งน้อย 3 คน แลว้ ให้เป็นระดบั ผลการเรยี น 2. นักศึกษาประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เรียนไม่น้อยกว่า 3 ปี สามารถนาประสบการณ์ประกอบ อาชีพในสาขานั้นมาเทียบโอนประสบการสมรรถนะวิชาชีพได้ ทั้งนี้ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญ ผู้มคี วามรู้ ความสามารถ ในสาขาวชิ าที่นักศึกษาเรียนอย่างน้อย 3 คน ประเมินผลการฝึกงาน และใหเ้ ปน็ ระดบั ผลการเรียน 3. นักศึกษาท่ีประกอบอาชีพท่ีไม่ตรงสาขาที่เรียน สถานศึกษาจะต้องส่งนักศึกษาเข้าฝึก ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน หรือแหล่งเรียนรู้ จานวนไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง เท่ากับ 4 หน่วยกิต โดยจัดทาแบบบันทึกการฝึกงานดังตัวอย่าง ในภาคผนวก การเทียบโอนประสบการณ์ทักษะวิชาชีพนี้ จะดาเนินการเม่ือนักศึกษาเรียนอยู่ในสถานศึกษา มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 2 ภาคเรียน โครงงำนพัฒนำสมรรถนะวชิ ำชีพ เป็นรายวิชาท่ีเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้า บูรณาการความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์ จากส่ิงที่ได้เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความถนัดและความสนใจ ตั้งแต่การเลือกหัวข้อหรือเรื่อง ท่ีศึกษาค้นคว้า การวางแผน การกาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน การประเมินผลและการ จัดทารายงาน ซ่ึงอาจทาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มก็ได้ ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะของโครงงานน้ัน ๆ สาหรับ กศน. นักศึกษา

12 จะเป็นผู้ท่ีประกอบอาชีพอยู่ในสถานประกอบการหรือประกอบอาชีพอิสระ ซึ่งได้ปฏิบัติงานในอาชีพ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับประเภทวชิ า สาขาวชิ าที่เรียนอยู่แล้ว ดังนั้น ใน 2 ภาคเรียนสุดท้าย รวมจานวน 4 หน่วยกิต ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 216 ช่ัวโมง ท้ังนี้สถานศึกษา หน่วยงาน หรือสถานประกอบการ ดาเนินการได้ 2 วิธี ดงั นี้ 1. วิธีที่ 1 ลงโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 1 ภาคเรียน ต้องจัดให้มีช่ัวโมงเรียน 12 ช่ัวโมง ต่อสปั ดาห์ 2. วิธีที่ 2 ลงโครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพ 2 ภาคเรียน ภาคเรียนละ 2 หน่วยกิต ต้องจัดให้มี ชว่ั โมงเรียน 6 ชัว่ โมง ต่อสัปดาห์ นักศึกษาต้องจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพท่ีมีความสัมพันธ์หรือสอดคล้องกับสาขาวิชา โดยการบูรณาการความรู้จากการเรียนภาคทฤษฎีและการปฏิบัติงานของตนเองมาพัฒนาให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ ๆ และนาไปใชไ้ นในการพฒั นางานให้เกดิ ประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน้ กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร กิจกรรมเสริมหลักสูตร หมายถึง กิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา โดยเป็นส่วนสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะความรู้ ความสามารถ พัฒนาวิชาการ และอาชีพ ปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย ต่อต้านความรุนแรง สารเสพติด ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์การทางาน ปลูกฝังจิตสานึก และเสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลกท่ีดี โดยใช้ กระบวนการกลุ่มในการทาประโยชน์ต่อชุมชน และท้องถ่ิน รวมทั้งการทะนุบารุงขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงาม สนบั สนุนงานกจิ กรรมของ กศน. ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสถานศึกษาและนักศึกษาต้องร่วมกันจัดทาโครงการและกิจกรรม ที่เหมาะสมและเป็นไปตามความพร้อมท้ังของนักศึกษาและสถานศึกษา โดยผู้เรียนต้องทากิจกรรม เสริมหลักสูตรสปั ดาหล์ ะไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ชั่วโมง โครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ กาหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ ลูกเสือวิสามัญ 1 และลูกเสือวิสามัญ 2 และเลือกเรียนรายวิชากิจกรรมเสริมหลักสูตรอื่นให้ครบ ทุกภาคเรียนสาหรับนักศึกษาที่อยู่ในสถานประกอบการให้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานประกอบการจัดข้ึน ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสตู รสถานศกึ ษามแี นวทางในการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. กจิ กรรมสาหรับนกั ศึกษา กศน. นักศึกษา กศน. ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ต้องทากิจกรรมเสริม หลักสูตรโดยสถานศึกษา และนักศึกษาร่วมกันจัดทาโครงการ กิจกรรมเสริมหลักสูตรให้เป็นไปตาม จุดประสงค์ของหลักสูตรทุกสัปดาห์อย่างน้อย สัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง หรือ นักศึกษาท่ีอยู่ในสถาน ประกอบการ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมกับสถานประกอบการได้ ท้ังน้ีต้องมีหลักฐานและได้รับการรับรอง จากสถานประกอบการหรือผเู้ ก่ียวข้อง 2. แผนการทากิจกรรม สถานศึกษาและนักศึกษาร่วมกันวางแผนและจัดทาแผนในการจัดทากิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาและต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โดยจัดทาเป็นแผน ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือแผนการที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของสถานประกอบการนามาเป็น กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร

13 3. การบนั ทกึ ผลการจัดกจิ กรรม สถานศึกษาจัดให้มีแบบฟอร์มในการบันทึกการทากิจกรรมไว้เป็นหลักฐานโดยให้มีการ ลงทะเบียนเพื่อทากิจกรรมเสริมหลักสูตรในทุกภาคเรียน และบันทึกผลการจัดทากิจกรรมไว้เป็นหลักฐาน ทีส่ ถานศึกษา และให้นักศกึ ษาเก็บบนั ทึกข้อมลู ของตนเองไวเ้ ปน็ หลกั ฐานยน่ื ให้ตรงกัน 4. การประเมนิ ผลการจดั ทากิจกรรม การประเมินผลการจัดทากิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การจัดการศกึ ษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี พ.ศ. 2562 กำรจ่ำยคำ่ ตอบแทน การจ่ายค่าตอบแทนครูประจากลุ่ม ปวช. เป็นการจ่ายค่าตอบแทนครูผู้รับผิดชอบ ในการดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมให้กับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 แลว้ เปน็ ไปตามประกาศแนวปฏบิ ตั แิ ละหลกั เกณฑท์ ส่ี านักงาน กศน. กาหนด บทบำทหนำ้ ท่ขี องหน่วยงำนและบุคคลทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง การนาหลักสูตรไปใช้ให้เกิดประสิทธิผล เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร จาเป็นต้องกาหนด บทบาทหน้าท่ีของหน่วยงานที่รับผิดชอบทุกระดับตั้งแต่หน่วยงานในส่วนกลางและภูมิภาค รวมทั้ง บุคลากรท่ีเก่ียวข้องซึ่งประกอบไปด้วย ผู้บริหาร ผู้ดาเนินการ ผู้ปฏิบัติ และนักศึกษาซ่ึงแต่ละฝ่ายจะต้อง ดาเนินงานทั้งด้านส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรม ตลอดจนการให้บริการทางการศึกษา ให้เป็นไปตาม บทบาทหน้าท่ีอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงสู่การจัดการศึกษาให้แก่กลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี บทบาทหน้าที่ แตล่ ะหน่วยงานและบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง ดงั น้ี 1. สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั 1.1 กาหนดนโยบาย เป็นกรอบความคิดแนวทางในการยกระดับการศึกษาและการพัฒนา งานอาชีพ และการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางการ ดาเนินการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้ตามเป้าประสงค์และสอดคล้องกบั หลักสูตร 1.2 สนับสนนุ งบประมาณ และดา้ นวชิ าการ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบ บ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับกลุ่มเป้าหมายนอกระบบ ร่วมกับสถาน ประกอบการ และหนว่ ยงานภาครฐั /เอกชน 1.4 นิเทศ ติดตามผล เป็นการกากับ ติดตามผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักสูตร เพ่ือใหข้ อ้ เสนอแนะและส่งเสรมิ การดาเนนิ งานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยิง่ ข้ึน 1.5 อนุมตั โิ ครงการการจดั การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้แก่สถานศึกษาท่ีประสงค์ จะจัดการศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 สาหรับกลุ่มเปา้ หมายนอกระบบ 2. กลุ่มพฒั นำกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั 2.1 ดาเนนิ งานตามนโยบายสานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2.2 ศึกษาวิเคราะห์วิจัย พัฒนาหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล การเทียบโอน ตลอดจนพัฒนาระเบียบ กฎเกณฑ์คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบ ตามหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 2.3 ชีแ้ จงทาความเข้าใจวิธีการจดั การศกึ ษาใหแ้ ก่สถานศึกษาและหนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ ง

14 2.4 พฒั นาบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้อง ประชมุ /อบรมให้ความรกู้ ารพฒั นาโปรแกรมทะเบยี นนกั ศึกษา 2.5 ตรวจสอบโครงการจัดการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ท่ีสานักงาน กศน.กทม./ จังหวัด ให้เปิดสอนในแต่ละประเภท และสาขาวิชาที่ขอเปิดใหม่ให้เป็นไปตามข้อกาหนดเสนอสานักงาน กศน.เหน็ ชอบให้เปดิ สอนและแจ้งกลมุ่ แผนงานเพอื่ จดั สรรงบประมาณ 2.6 ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือทาความเข้าใจ กาหนดทิศทาง การใช้ หลกั สตู ร และวางแผนการจดั การเรียนการสอน 3. สำนักงำนส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั จังหวดั /กทม. 3.1 สรรหาบุคลากร และแตง่ ตง้ั ตาแหน่งครูประจากลุ่ม ปวช. 3.2 พิจารณาโครงการการจัดการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ให้แก่ สถานศึกษา ในจังหวัดที่ประสงค์จะจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สาหรับ กลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ เสนอสานกั งาน กศน. 3.3 ส่งเสริม สนับสนุน และให้คาแนะนาทางด้านวิชาการในการดาเนินงานจัดการศึกษา แกส่ ถานศึกษา 3.4 ส่ังซ้ือแบบพิมพ์ เอกสารบังคับแบบให้แก่สถานศึกษา และทาหน้าท่ีจัดเก็บแบบรายงาน ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร 3.5 หนา้ ทอ่ี ืน่ ๆ ทสี่ านกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมอบหมาย 4. สถำนศึกษำ 4.1 ประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษานอกระบบตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 4.2 รับสมัครนกั ศกึ ษา 4.3 จัดต้ังกลุ่มนกั ศกึ ษา 4.4 ร่วมมือกับสถานประกอบการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาจัดหา และจัดเตรียมสถานท่ี พบกลุ่ม สอื่ วสั ดุอปุ กรณ์ รวมทงั้ แหลง่ การเรียนรู้ 4.5 แต่งต้ังบุคลากร เจ้าหน้าที่ วิทยากร ครูที่ปรึกษาเพ่ือทาหน้าที่ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ตลอดหลักสตู ร 4.6 ตดิ ตอ่ สารวจ ประสานงาน และร่วมมอื กับสถานประกอบการและหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง 4.7 ร่วมกับสถานประกอบการ/หน่วยงานจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบ ตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2562 สาหรับกลมุ่ เปา้ หมายนอกระบบ 4.8 จัดทา และจัดหาสื่อ วัสดอุ ุปกรณ์ สาหรบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4.9 จัดทา และจดั หาแบบพิมพ์ และหลักฐานการศึกษาตา่ ง ๆ ตามแบบที่กระทรวงศกึ ษาธิการ กาหนด สาหรับหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 4.10 พฒั นาบุคลากรท่รี บั ผดิ ชอบ 4.11 จดั ทาเคร่อื งมือวดั ผลประเมินผลกอ่ นเรยี น ระหว่างภาคเรียน และปลายภาคเรยี น 4.12 พจิ ารณาอนมุ ตั ิการจบหลักสตู รและออกหลักฐานการศึกษา 4.13 บริหารการใช้จ่ายเงินงบประมาณสนบั สนุนจากรฐั 4.14 นิเทศ ตดิ ตาม กากับ ดแู ลการจดั การเรียนการสอนใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

15 5. สถำนประกอบกำร/หน่วยงำน 5.1 สนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรในหน่วยงานได้รับการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 5.2 ร่วมกับสถานศึกษาประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 5.3 รว่ มกับสถานศึกษาจดั หาสถานทพี่ บกลุ่ม 5.4 จัดหาส่ือและอปุ กรณ์ เพ่อื อานวยความสะดวกตอ่ นักศึกษา 5.5 ร่วมกบั สถานศกึ ษาและนกั ศึกษาจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา 5.6 ร่วมกับสถานศึกษาจดั ทาแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 5.7 จดั การเรยี นการสอนวิชาชพี และประเมินผลนกั ศึกษา 5.8 กาหนดระเบียบข้อบงั คบั เกยี่ วกับการเรยี นรู้ตามหลกั สูตร 6. ครูประจำกลมุ่ ปวช. 6.1 ประชาสัมพันธ์การเรียนให้กับกลุ่มเป้าหมายท่ีอยู่ในสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน หรือผปู้ ระกอบอาชพี อสิ ระ 6.2 ศึกษาหลักสตู ร จัดทาแผนการเรยี นรู้ วางแผนการเรียนร่วมกับนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน พร้อมตดิ ตามและทบทวนช่วยแก้ไขปญั หา วางแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6.3 ติดต่อประสานงานสถานประกอบการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสถานศึกษา เพื่อดาเนนิ การจัดการเรียนการสอน 6.4 ประสานงานกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอื่น ๆ ในกรณีที่มีนักศึกษา มาเรียนสมทบจากหลายหน่วยงาน เพ่อื ร่วมกนั วางแผนการจัดการเรยี นการสอน 6.5 ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือด้านการเรียนการสอน และแนะแนวแก่นักศึกษาท้ังก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน และหลังเรียน 6.6 ประสานงานและจดั หาวิทยากรหรือภูมิปญั ญาท้องถิ่น สอนเสรมิ เพิ่มพนู ความรู้ 6.7 อานวยความสะดวกเกย่ี วกับการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.8 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การพบกลมุ่ ใหก้ ับนกั ศกึ ษาทกุ คนครบทุกรายวิชาตลอดหลกั สูตร 6.9 ทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผู้สอนในสาขาวิชา/สาขางานท่ีตนรับผิดชอบ 6.10 สรา้ งเคร่อื งมอื วดั ผลประเมินผลระหว่างภาคและปลายภาค 6.11 ดาเนินการวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นรูข้ องนักศึกษาตามระเบยี บที่กาหนด 6.12 ตดิ ตาม กากับ ดแู ลนกั ศึกษาจนกว่าจะจบตามหลกั สตู ร 6.13 รวบรวมข้อมูล สรปุ รายงานพร้อมสง่ หลกั ฐานทเี่ ก่ยี วข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 6.14 ควบคมุ ดูแลการจดั กจิ กรรมของนกั ศกึ ษาให้เป็นไปตามทก่ี าหนดไวใ้ นหลกั สตู ร 6.15 ทาหนา้ ทีอ่ ่ืนๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับการจดั การเรยี นการสอนตามที่สถานศกึ ษามอบหมาย

16 ตอนท่ี 3 กำรจดั ทำโครงงำนเพ่ือพัฒนำสมรรถนะวชิ ำชีพ โครงงาน เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 เป็นวิชาหนึ่ง ท่ีอยู่ในหมวดสมรรถนะวิชาชีพ มีค่าเท่ากับ 4 หน่วยกิต กาหนดให้นักศึกษาจัดทาโครงงานใน 2 ภาคเรียน สุดท้าย เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสในการศึกษารายวิชาต่าง ๆ ให้ได้มากที่สุด และเพียงพอท่ีจะสรุปความคิดเพื่อ นามาใช้จัดทาโครงงาน ตัวอย่ำง รายวิชาโครงงานจากหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ให้เลือกเรียนรายวิชา 20101-8501 จานวน 4 หน่วยกิต หรือ รายวิชา 20101-8502 และ 20101-8503 รวม 4 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า ท-ป-น 20101-8501 โครงงาน *- *-4 20101-8502 โครงงาน 1 *- *-2 20101-8503 โครงงาน 2 *- *-2 จุดประสงค์รำยวชิ ำ เพอื่ ให้ 1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการวางแผนจัดทาโครงงานสรา้ งและหรือพัฒนางาน 2. สามารถประมวลความรู้ และทักษะในการสร้างหรือพัฒนางานในสาขาวิชาชีพตามกระบวนการ วางแผน ดาเนนิ งาน แก้ไขปัญหา ประเมนิ ผล ทารายงาน และนาเสนอผลงาน 3. มีเจตคติและกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และความคิด รเิ ริ่มสร้างสรรค์ ขยัน อดทน และสามารถทางานร่วมกบั ผู้อื่น สมรรถนะรำยวิชำ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการวางแผน จัดทาโครงงาน ดาเนินงาน แก้ไขปัญหา ประเมินผลจดั ทารายงาน และนาเสนอผลงาน 2. เขยี นโครงงาน สร้าง หรือพัฒนางานตามหลักการ 3. ดาเนนิ งานตามแผนงานโครงงานตามหลกั การและกระบวนการ 4. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานโครงงานตามหลักการ 5. รายงานผลการปฏิบัตงิ าน คำอธบิ ำยรำยวิชำ ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับหลักการจัดทาโครงงานการวางแผน การดาเนินงาน การแก้ไขปัญหา การประเมินผล การจัดทารายงานและการนาเสนอผลงาน โดยปฏิบัติจัดทาโครงงานและหรือพัฒนางานท่ีใช้ ความรู้และทักษะในระดับฝีมือสอดคล้องกับสาขาวิชาชีพที่ศึกษา ดาเนินการเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มตาม ลักษณะของงานให้แล้วเสรจ็ ในระยะเวลาท่ีกาหนด

17 หมำยเหตุ 4 (*) ในคาอธิบายรายวิชา หมายถึง การทาโครงงาน มีค่าเท่ากับ 4 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 216 ชว่ั โมง โดยไมม่ ีการกาหนดชวั่ โมงในแต่ละสัปดาห์ใหท้ าโครงงาน 1 โครงงานใน 2 ภาคเรียนสุดท้าย โครงงำน เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่งท่ีมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสในการค้นหา ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเองในด้านต่าง ๆ เพ่ือใหก้ ารทางานมปี ระสทิ ธิภาพดยี ิง่ ขึน้ ลักษณะของโครงงำน 1. ลักษณะของโครงงานต้องสอดคล้องและสัมพันธ์กับหลักสูตรสาขาวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนและ สามารถนาไปใชพ้ ฒั นาอาชพี ท่ปี ระกอบอยไู่ ด้อย่างมคี ุณภาพ 2. นกั ศึกษาจะต้องเลอื กเร่ืองทสี่ นใจ โดยครูทีป่ รึกษาต้องเป็นผู้กระตุ้นหรือจัดกิจกรรมเร้าให้นักศึกษา คิดเรื่องที่จะทาด้วยความพอใจ หัวข้อของโครงงานอาจได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้ อยากเห็น ในเรื่องต่าง ๆ ของนักศึกษาซึ่งเป็นผลได้มาจากการได้อ่านหนังสือ การฟังการบรรยาย การทัศนศึกษา การได้พบเห็นสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน หัวข้อโครงงาน ควรเป็นเร่ืองที่เฉพาะเจาะจงและชัดเจนว่าทาอะไร ควรเนน้ เร่ืองท่อี ยู่ใกล้ตัวและเกิดประโยชน์ 3. เตรียมไปหาแหล่งเรียนรู้ในขั้นน้ีครูที่ปรึกษาจะต้องจัดเตรียมหรือช้ีแนะแหล่งความรู้ต่าง ๆ ทน่ี กั ศกึ ษาจะตอ้ งใช้ค้นคว้าหาคาตอบเรื่องท่เี ขาสนใจ อาจเป็นประเภทเอกสาร ผู้รู้หรือผู้เช่ียวชาญ สื่อประเภท โสตทัศน์ วสั ดุอปุ กรณ์ ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย นักศกึ ษาจะตอ้ งได้รับรู้ว่ามีแหล่งความรู้ใดบ้าง ได้มองเห็นช่องทาง ท่ีจะใช้แหล่งความรู้น้ัน ๆ อย่างไรบ้าง และสามารถกาหนดแนวทางกว้าง ๆ ได้ว่าจะทาอะไร ทาอย่างไร ใชท้ รพั ยากรอะไร เพื่อจดั ทาโครงงาน 4. การวางแผนก่อน เมื่อนักศึกษาได้กาหนดแนวทางกว้าง ๆ แล้วจะต้องนาแนวทางนั้นมาวางแผน ในการทางานว่าจะทาอะไรก่อนหลัง โดยการสร้างแผนที่ความคิด แล้วนามาจัดทาเค้าโครงของโครงงาน กาหนดเป็นหัวข้อต่าง ๆ ได้แก่ ชื่อโครงงาน ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ระยะเวลาดาเนิน งาน เหตุผลท่ีจัดทาโครงงานวัตถุประสงค์ของการจัดทา ข้ันตอนการดาเนินงาน ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ และ แหลง่ ความร้ทู ่ใี ชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า 5. การนาเสนองานได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทาโครงงาน เป็นการนาผล การดาเนินงานท้ังหมดมาเสนอให้ผู้อ่ืนได้ทราบ โดยเน้นความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ อาจมี ลักษณะเป็นเอกสาร รายงานชิน้ งาน แบบจาลอง ฯลฯ ซึง่ สามารถนาเสนอในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การจัด นิทรรศการ การแสดง การสาธิตการบรรยาย การจดั ทาส่ือสิ่งพิมพ์ การจดั ทาสอ่ื มัลติมีเดีย ฯลฯ

18 ตวั อย่ำงข้นั ตอนกำรเขียนโครงกำร/โครงงำนเพ่ือพฒั นำสมรรถนะวชิ ำชีพ 1. ช่ือโครงงำน ต้องเป็นช่อื ทเี่ หมาะสม ชดั เจน ดึงดดู ความสนใจ และเฉพาะเจาะจงวา่ จะทาอะไร 2. ชื่อผู้ร่วมงำน ผู้ร่วมงานอาจเป็นแบบมีผู้ร่วมงานหลายคนหรือเป็นแบบคนเดียวก็ได้ขึ้น อยู่กับความเหมาะสมของตัวโครงการโดยให้อาจารท่ีปรึกษาหรือบุคคลท่ีมีความรู้ความชานาญเป็นผู้ดูความ เหมาะสม 3. ช่ือทป่ี รกึ ษำโครงงำน ควรเปน็ ผ้มู ีความรู้ความชานาญในด้านน้ันๆหรอื อาจารย์ท่ปี รกึ ษา 4. หลักกำรและเหตุผล เป็นการแสดงถึงปัญหาความจาเป็น ผู้เขียนโครงการต้องพยายามหา เหตุผลต่าง ๆ เพ่ือแสดงให้ผู้พิจารณาโครงการเห็นถึงความจาเป็น และความสาคัญของโครงการเพ่ือที่จะ สนบั สนุนต่อไป 5. วัตถุประสงค์ เป็นการแสดงถึงความต้องการท่ีจะกระทาสิ่งใดส่ิงหน่ึงการเขียนวัตถุประสงค์ ต้องเขียนให้ตรงกับปัญหา ระบุไว้เพ่ือแสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายที่จะแก้ปัญหาน้ัน ๆ และต้องกาหนด วตั ถปุ ระสงค์ ในสิ่งทเี่ ปน็ ไปได้ สามารถวัดได้ 6. เปำ้ หมำย ต้องเขียนให้ชัดเจน เพื่อแสดงให้เห็นผลงาน หรือผลลัพธ์ท่ีเป็นเชิงคุณภาพ หรือปริมาณ ท่ีคาดว่าจะทาให้เกิดขึ้น ในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งอาจกาหนดเป็นร้อยละ จานวนหน่วยท่ีแสดงปริมาณหรือ คุณภาพให้ชัดเจน 7. ข้ันตอนดำเนินงำน แสดงข้ันตอนภารกิจที่จะต้องดาเนินการตามโครงการและระยะเวลา ในการปฏบิ ตั แิ ต่ละขนั้ ตอน เพ่อื เป็นแนวทางในการพจิ ารณาความเปน็ ไปได้ของโครงการ 8. ระยะเวลำและสถำนที่ดำเนินงำน เป็นการระบุเวลาที่เร่ิมต้นและส้ินสุดโครงการและสถานท่ี ท่จี ะทาโครงการเพ่อื สะดวกในการพจิ ารณาและติดตามผลของโครงการ 9. สถำนทปี่ ฏิบัติงำน เป็นการระบสุ ถานท่ปี ฏิบัตงิ านใหช้ ดั เจนเพ่ือใหง้ ่ายตอ่ การนเิ ทศตดิ ตามผล 10. งบประมำณ แสดงยอดรวมงบประมาณทั้งหมดที่ใช้ในการดาเนินโครงการ แหล่งที่มาและ แยกรายละเอยี ดคา่ ใช้จ่ายที่ชัดเจนวา่ เปน็ คา่ ใช้จา่ ยอะไรบ้าง 11. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ เป็นการระบุประโยชน์ท่ีคิดว่าจะได้จากความสาเร็จเมื่อสิ้นสุดโครงการ เป็นการระบุว่าใครจะได้รับผลประโยชน์และผลกระทบหรือมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องอะไรท้ังเชิงคุณภ าพและ ปรมิ าณและตอ้ งสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ หมำยเหตุ* โครงการ หมายถึง กรณีที่นักศึกษาศึกษาค้นคว้าจัดทาโครงการที่เป็นกระบวนการในการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพนั้น โครงงาน หมายถึง กรณีที่นักศึกษาค้นคว้าและมีการลงมือปฏิบัติจนทาให้เกิดสิ่งท่ีแสดงถึงสมรรถนะ ในวชิ าชีพนัน้ ๆ

19 นอกจากรายงานแลว้ อาจจะมีชิ้นงานแนบด้วย แบบฟอร์มแตล่ ะส่วน มดี งั นี้ คอื สว่ นที่ 1 ปก แฟ้มสะสมงาน โครงงาน........................................................ หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2562 รายชอ่ื ผจู้ ัดทา แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ช่อื ผู้จัดทาโครงงาน.......................................................................... สถานศึกษา .................................................................. ........................................ ประเภทวิชา ................................................................. สาขาวิชา........................ ภาคเรียนท.่ี ........................................................................................................... สว่ นที่ 2 และสว่ นที่ 3 สว่ นเน้ือหาของรายงานและภาคผนวก คานา สารบญั ตอนที่ 1 บทนา ตอนท่ี 2 วิธีดาเนินงาน ตอนที่ 3 ผลการดาเนนิ งาน ตอนที่ 4 สรุปผลการดาเนนิ งานเพือ่ นาไปประยกุ ต์ใช้ ภาคผนวก เอกสาร/แบบบนั ทึก/แบบฟอรม์ /หนงั สอื ท่ีเก่ียวข้อง/ภาพประกอบ

20 ตอนท่ี 4 กำรจัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นเง่ือนไขการจบหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ซ่ึงผู้เรียนต้องทากิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ต่อภาคเรียน เพื่อส่งเสริม สมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย การต่อต้านความรุนแรง สารเสพติดและการทุจริต เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้าน การรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เปน็ ประมขุ ทะนบุ ารุงศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทย ปลูกฝังจิตสานึกและจติ อาสาในการอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อม และทาประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถ่ิน ท้ังนี้ ให้จัดกิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 และกิจกรรม ลูกเสือวิสามัญ 2 และเลือกเรียนกิจกรรมองค์การวิชาชีพหรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ที่สถานศึกษา/สถาน ประกอบการจัดให้ครบทุกภาคเรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล และปรับปรุงการทางาน วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี 2. เพ่อื ให้นักศึกษาใช้กระบวนการกลุ่มในการแลกเปล่ยี นเรียนรูป้ ระสบการณซ์ ึง่ กันและกนั 3. เพื่อปลูกฝังให้นกั ศึกษามีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม โดยการปฏิบตั ิในสถานการณ์จริง 4. เพ่อื สง่ เสริมให้นักศกึ ษามกี ารพฒั นาตนเอง 5. มจี ิตสาธารณะและใหบ้ รกิ าร 6. ปลูกฝงั ให้นกั ศกึ ษามีคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ 7. เพม่ิ พูนประสบการณ์ในการดาเนินชีวิต ลกั ษณะของกจิ กรรม 1. กิจกรรมลกู เสือวิสามัญ เป็นกิจกรรมทมี่ ลี กั ษณะ ดงั นี้ 1.1 เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมประสบการณ์การอยู่ร่วมกันในสังคม การเสียสละประโยชน์ส่วนตน เพอื่ ประโยชนส์ ่วนรวม 1.2 เป็นกิจกรรมทเ่ี ปน็ การแกป้ ัญหาหรอื บาเพญ็ สาธารณประโยชน์ 1.3 เปน็ กจิ กรรมที่เนน้ การทางานเป็นกลมุ่ 2. กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ เปน็ กิจกรรมท่ีมีลักษณะ ดงั นี้ 2.1 กจิ กรรมเกีย่ วกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2.2 กจิ กรรมที่เกยี่ วกับการหารายได้ การออมทรัพย์ 2.3 การปฏบิ ตั ิตนในการชว่ ยเหลอื สงั คม 2.4 กิจกรรมสง่ เสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณดี ีงามของชาติ 3. กจิ กรรมอ่นื ๆ ทส่ี ถานประกอบการ/หน่วยงาน/สถานศึกษาจัดเปน็ กจิ กรรมท่ีมีลกั ษณะ ดงั นี้ 3.1 กจิ กรรมสง่ เสริมคุณภาพชวี ติ ของผ้เู รยี น 3.2 กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์

21 3.3 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาองค์การวิชาชีพ/สถานศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมเสริม หลกั สูตร เชน่ 3.3.1 กจิ กรรมคา่ ยพัฒนา 3.3.2 เชญิ วิทยากรมาใหค้ วามรู้ 3.3.3 รวมกลุ่มกนั บาเพญ็ ประโยชน์เพือ่ พฒั นาชุมชนและสงั คม 3.3.4 รวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน พร้อมทั้งมีการตัดสินใจ นาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ให้จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรรายวิชา 20000-2001 และ 20000-2002 และเลือกเรียนรายวิชากิจกรรม เสรมิ หลักสูตรอน่ื ให้ครบทกุ ภาคเรยี น 20000-2001 กจิ กรรมลูกเสือวิสามญั 1 0-2-0 20000-2002 กจิ กรรมลูกเสือวิสามัญ 2 0-2-0 20000-2003 กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 1 0-2-0 20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชพี 2 0-2-0 20000-2005 กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 3 0-2-0 20000-2006 กจิ กรรมองค์การวิชาชพี 4 0-2-0 20000*2001 ถงึ 20000*20xx (กจิ กรรมอืน่ ๆ ท่สี ถานศึกษา/สถานประกอบการจดั ) 0-2-0 รำยวิชำในกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร 20000 – 2001 กิจกรรมลูกเสอื วสิ ามญั 1 0-2-0 จดุ ประสงค์รำยวิชำ เพอ่ื ให้ 1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการของกิจกรรมลูกเสอื วิสามัญ 2. สามารถปฏิบัติตนตามระเบียบข้อบังคับ คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือวิสามัญ มีทักษะ ทางลกู เสอื และมีส่วนรว่ มในกิจกรรมของลกู เสือวิสามญั 3. มีเจตคติและกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคมมีวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม ความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรคแ์ ละสามารถทางานรว่ มกบั ผ้อู น่ื สมรรถนะรำยวิชำ 1. ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บวินัย คาปฏิญาณ กฎและระเบยี บขอ้ บังคบั ของลูกเสอื วสิ ามัญ 2. วางแผนและปฏบิ ตั ิกิจกรรมทักษะทางลูกเสอื 3. บาเพ็ญประโยชนต์ ่อชุมชนและทอ้ งถน่ิ ในสถานการณ์ต่าง ๆ 4. ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการปฏิบัติกจิ กรรมลูกเสอื วิสามญั คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมของลูกเสือวิสามัญ ขบวนการและพิธีการต่าง ๆ ของลูกเสือวิสามัญ การปฏิบัติตนตามคาปฏิญาณ กฎ ระเบียบวินัยของลูกเสือวิสามัญ กิจกรรมทักษะทางลูกเสือ การใช้ กระบวนการกลุ่มในการปฏิบัตกิ ิจกรรมและทาประโยชน์ต่อชมุ ชนและท้องถิ่น

22 20000-2002 กิจกรรมลูกเสอื วสิ ามัญ 2 0-2-0 จุดประสงคร์ ายวิชา เพ่ือให้ 1. เขา้ ใจหลักการและกระบวนการของกจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามัญ 2. สามารถปฏิบัติตนตามระเบียบข้อบังคับ คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือวิสามัญ มีทักษะ ทางลูกเสอื และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของลกู เสือวิสามัญ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและสังคม มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์และสามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื สมรรถนะรำยวิชำ 1. ปฏบิ ตั ิตามระเบียบวินยั คาปฏิญาณ กฎและระเบียบข้อบงั คับของลูกเสือวสิ ามญั 2. วางแผนและปฏบิ ตั ิกิจกรรมทกั ษะทางลูกเสือ 3. บาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและทอ้ งถิน่ ในสถานการณต์ ่าง ๆ 4. ใช้กระบวนการกลุ่มในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมลูกเสือวิสามญั คำอธบิ ำยรำยวิชำ ปฏิบัติเกี่ยวกับกิจกรรมของลูกเสือวิสามัญ ขบวนการและพิธีการต่าง ๆ ของลูกเสือวิสามัญ การปฏิบัติตนตามคาปฏิญาณ กฎ ระเบียบวินัยของลูกเสือวิสามัญ กิจกรรมทักษะทางลูกเสือ การใช้ กระบวนการกลุ่ม ในการปฏิบัติกจิ กรรมและทาประโยชนต์ ่อชุมชนและทอ้ งถิ่น กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรอนื่ ๆ ดังต่อไปนี้ 20000-2003 กิจกรรมองค์การวชิ าชพี 1 0-2-0 20000-2004 กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 2 0-2-0 20000-2005 กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ 3 0-2-0 20000-2006 กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ 4 0-2-0 จุดประสงค์รำยวิชำ เพอื่ ให้ 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการเสริมสร้างทักษะประสบการณ์วิชาการและวิชาชีพการพัฒนา คุณภาพชวี ิต การพัฒนาองค์กร ชุมชนและสังคม 2. วางแผน ลงมือปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ การทางานในการร่วมกิจกรรมองค์การวชิ าชีพ 3. มีเจตคติและกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคิด รเิ ริ่มสร้างสรรค์และสามารถร่วมทางานร่วมกบั ผ้อู ืน่ สมรรถนะรำยวิชำ 1. ปฏิบตั ติ นตามระเบยี บข้อบังคบั ขององคก์ ารวชิ าชีพ 2. วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมองค์การวิชาชีพตามหลักการ กระบวนการ ลักษณะและ วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม 3. ใช้กระบวนการกล่มุ และการเปน็ ผู้นาผู้ตามในการร่วมกิจกรรมองค์การวชิ าชีพ 4. ประเมินผลและปรบั ปรงุ การทากจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชพี

23 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ปฏิบตั เิ ก่ียวกับกจิ กรรมองค์การวชิ าชพี กิจกรรมเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ วิชาการและ วิชาชพี กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวิต กิจกรรมพัฒนาองค์กร ชุมชนและสังคม การใช้ กระบวนการกลุ่มและ การเป็นผู้นาผู้ตามระบอบประชาธิปไตยในกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และกิจกรรม อื่น ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่น โดยการวางแผน ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล และปรับปรุง การทางาน 20000*20xx (กิจกรรมอ่นื ๆ ทสี่ ถานศกึ ษา/สถานประกอบการจัด) 0-2-0 ตัวอยา่ ง จุดประสงคร์ ำยวชิ ำ เพ่ือให้ 1. เกิดความรบั ผิดชอบ ตรงต่อเวลา 2. เกิดความจงรักภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 3. เกดิ บุคลกิ ภาพท่ดี ี มคี ุณธรรม จริยธรรม ทง้ั ในการประกอบอาชีพและการดารงชีวติ ประจาวัน สมรรถนะรำยวชิ ำ 1. เปน็ ผู้มรี ะเบียบวนิ ัยความรับผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา 2. เปน็ ผ้มู คี วามจงรักภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 3. เปน็ ผ้มู คี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการประกอบอาชีพและดารงชีวิตประจาวัน 4. เปน็ ผู้มีความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ใ ห้ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร / ส ถ า น ศึ ก ษ า จั ด กิ จ ก ร ร ม ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ส ภ า พ แ ล ะ เ งื่ อ น ไ ข ของตนเอง เพ่ือให้พัฒนากิจนิสัยผู้เรียนให้มีเจตคติและกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถร่วมทางานร่วมกับผู้อ่ืนให้บรรลุจุดประสงค์ รายวิชา (พรอ้ มท้ังชอ่ื กจิ กรรมเอง) หมำยเหตุ นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมในสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ต่อภาคเรียน โดยมี เวลาเข้ารว่ มปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาทจ่ี ดั กิจกรรมในแต่ละภาคเรียน หากนักศึกษามี เวลาเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่ากว่าร้อยละ 60 ของเวลาท่ีจัดกิจกรรมในภาคเรียนใด โดยสุดวิสัย ใหส้ ถานศึกษาพจิ ารณาจัดกจิ กรรมทดแทนจนครบ เม่อื นกั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ รว่ มปฏิบตั ิกจิ กรรมครบถ้วนในภาคเรียนใด ให้บันทึกชื่อกิจกรรม และตัวอักษร “ผ” ในระเบียนแสดงผลการเรยี นของภาคเรียนนั้น ซ่ึงหมายถึง “ผ่าน” หากผู้เรียนเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรม ไม่ครบถ้วนหรือไม่ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเลยให้สถานศึกษาพิจารณามอบงานหรือกิจกรรมในส่วนท่ี นกั ศกึ ษาไม่ไดเ้ ข้ารว่ มปฏบิ ัติ ให้ปฏิบตั ใิ ห้ครบถว้ นภายในเวลาทส่ี ถานศกึ ษาพิจารณาเหน็ สมควร

24 แนวปฏบิ ตั ิ 1. เลือกลงทะเบียนกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามที่สถานศึกษากาหนดไม่น้อยกว่า 2 ช่ัวโมง ต่อสัปดาห์ต่อภาคเรียน โดยมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาที่จัดกิจกรรม ในแตล่ ะภาคเรยี น 2. วางแผนการทากิจกรรมเสริมหลักสูตรทุกภาคเรียนระหว่างสถานประกอบการ หน่วยงาน สถานศกึ ษา และนักศกึ ษาโดยบนั ทกึ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน 3. บันทึกผลการดาเนินงาน ให้บันทึกผลการดาเนินงานตามกิจกรรมที่ปฏิบัติเพ่ือเป็นหลักฐาน ของสถานศึกษา 4. นักศึกษาต้องทารายงานเสนอต่อครูประจาวิชา เพ่ือบันทึกเป็นหลักฐานการจัดกิจกรรมเสริม หลกั สูตร

25 ตัวอยำ่ ง แผนการจดั ทากิจกรรมเสริมหลกั สูตร สถานศึกษา.......................................................... ........................................................................................ ประเภทวิชา....................................................................สาขาวชิ า.............................................................. รหสั รายวชิ า....................................................................รายวชิ า................................................................ วัตถุประสงค์................................................... ............................................................................................... ภำคเรียนท่ี กิจกรรม รปู แบบ ระยะเวลำ ผลทคี่ ำดว่ำจะ เสริมหลกั สูตร กำรจัดกจิ กรรม ดำเนนิ กำร ได้รับ/ สมำชกิ กลุ่ม นำไปใช้ ลงชื่อสถานศึกษา................................................................................................

26 แบบบนั ทกึ ผลกำรดำเนนิ งำนกำรทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการ...................................................................................................................... ................................ สถานศกึ ษา................................................................................................................................................. ประเภทวิชา....................................................................สาขาวชิ า........................................................... รหสั รายวชิ า....................................................................รายวิชา............................................................. ภาคเรียนท่ี ...................................................................... ........................................................................... 1. ทีป่ รกึ ษา 1 ................................................... 2 ......................................................... 3 ..................................................... 2. ผ้เู รียน 1 ..................................................... 2 ........................................................ 3....................................................... 3. ผลการดาเนินงาน วนั /เดอื น/ปี กจิ กรรมทป่ี ฏบิ ัติงำน ผลกำรปฏบิ ตั ิงำน ปญั หำ/อุปสรรค 4. สรปุ ความคิดเหน็ ของกลุม่ (การนาไปใช)้ .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... ........ .................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ............................................................. ครูประจาวชิ า ลงชื่อ ..............................................................ผู้บรหิ าร

27 ตอนที่ 5 กำรบริหำรจดั กำรหลักสูตร การนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2562 ไปใช้ การบริหารหลักสูตรเป็นหน้าที่ โดยตรงของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง โดยสถานศึกษาสามารถดาเนินการ ตามเกณฑ์การใช้หลักสูตร และเงื่อนไขการจัดการเรียนรู้ และสถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ข้ึนเองตามบริบทของสถานศึกษาท่ีมีความแตกต่างกัน โดยเปิดโอกาสให้สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ของภูมิภาค แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคน ระดบั ฝีมอื ให้มีสมรรถนะมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ตรงกับ ความตอ้ งการของสถานประกอบการ และการประกอบอาชพี อสิ ระ ซึง่ จะเป็นการช่วยเพ่ิมขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กำรพฒั นำหลักสูตรสถำนศึกษำ 1. ศึกษาและทาความเข้าใจในรายละเอยี ดของหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 เกยี่ วกับแนวคิด หลักการ จดุ มุ่งหมาย โครงสร้างหลักสูตร และองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของหลักสตู ร 2. ศึกษาและทาความเข้าใจแผนการเรียนแต่ละสาขาวิชา ซ่ึงกาหนดจานวนหน่วยกิตในหมวดวิชา กลมุ่ วชิ าและจานวนหน่วยกิตในการจบหลักสตู รไว้รวมทั้งกาหนดหลักเกณฑ์การเลือกรายวิชาในแต่ละกลุ่ม วชิ า ตัวอย่ำง จำกโครงสรำ้ งหลกั สตู รในกรอบข้ำงล่ำง - หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ต้องเรียน 22 หน่วยกิต ภายในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ต้องเรียนกลุ่ม วิชาท้ังหมด 6 กลุ่มวิชา เช่น ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ เป็นต้น และในแต่ละกลุ่มวิชา ยังกาหนดว่า ต้องเรียนรายวิชาแรกของกลุ่มวิชา และเลือกเรียนรายวิชาอ่ืนในกลุ่มให้ครบตามหน่วยกิต ท่ีกลุ่มวชิ ากาหนด น่ันคือ ในกลุ่มวิชาภาษาไทย ต้องเรียนรายวิชาแรกของกลุ่มวิชาภาษาไทย เช่น ในสาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาไทยวิชาแรก คือ ภาษาไทยพื้นฐาน 2 หน่วยกิต สถานศึกษาต้องเลือกมาใส่ใน แผนการเรียน ส่วนอีก 1 หน่วยกิต สถานศึกษาเลือกรายวิชาอ่ืนๆ ที่มีรายชื่อปรากฏอยู่ภายใน กลุ่มวิชา เช่น ภาษาไทยเพือ่ อาชพี ภาษาไทยธุรกจิ การพูดภาษาไทยในงานอาชีพ ภาษาไทยเชงิ สรา้ งสรรค์ เป็นต้น - หมวดสมรรถนะวิชาชีพ ต้องเรียน 71 หน่วยกิต ภายใต้หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพต้องเรียน กลุ่มวิชาทั้งหมด 5 กลุ่มวิชา คือ กลุ่มสมรรถนะวิชาพื้นฐาน กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มสมรรถนะ วิชาชีพเลือก ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ และ โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ในแต่ละกลุ่มวิชา มีขอ้ กาหนดต่าง ๆ สถานศกึ ษาตอ้ งศึกษาและทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ เพ่ือเลือกรายวิชามาจัดทาหลักสูตร สถานศกึ ษาใหถ้ ูกต้องตามที่หลักสูตรแกนกลางกาหนด - หมวดวิชาเลือกเสรี เป็นรายวิชาที่สถานศึกษาเลือกให้สอดคล้องลับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร สถานศึกษา อาจเลือกจากรายวชิ าท่ีหลักสตู รแกนกลางจัดทาไว้ หรอื สถานศึกษาพัฒนารายวิชาข้ึนมาใหมก่ ็ได้

28 - กิจกรรมเสริมหลักสูตร สถานศึกษาต้องกาหนดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในแต่ละภาคเรียนไว้ให้ ชดั เจนและให้ครบทุกภาคเรยี น ควำมหมำยและควำมสำคญั ในกำรนำหลักสูตรไปใช้ การศึกษานอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รปู แบบ วิธีการศกึ ษา ระยะเวลา การวัดและการประเมนิ ผลที่มเี งื่อนไขของการสาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหา และหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทสภาพปัญหาและความต้องการของ ชุมชน บุคคล แตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมาย การนาหลักสูตรไปใช้ หมายถึง การดาเนนิ งานและกิจกรรมต่าง ๆ ในอันที่จะทาให้หลักสูตรที่สร้าง ขึ้นดาเนนิ ไปส่กู ารปฏบิ ัตเิ พอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ได้แก่ การเตรียมบุคลากร อาคารสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สภาพแวดลอ้ ม และการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในสถานศึกษา ดังน้ัน บุคคลผู้เกี่ยวข้องที่นาหลักสูตร ไปใช้ตอ้ งทาความเขา้ ใจเกีย่ วกบั วิธกี าร ขั้นตอนต่าง ๆ เพอ่ื ใหส้ ามารถนาหลกั สตู รไปใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

29 โครงสร้ำงหลกั สูตร โครงสรา้ งหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2562 แบง่ เป็น 3 หมวดวิชา และกิจกรรม เสริมหลกั สูตร ดังนี้ โครงสร้ำงหลกั สูตรประกำศนียบตั รวชิ ำชีพ พุทธศกั รำช 2562 1. หมวดวชิ ำสมรรถนะแกนกลำง 22 หนว่ ยกติ 1.1 กลมุ่ วชิ าภาษาไทย ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 หน่วยกิต 1.2 กลมุ่ วชิ าภาษาต่างประเทศ ไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต 1.3 กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 4 หน่วยกิต 1.4 กลุ่มวิชาคณติ ศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า 4 หนว่ ยกติ 1.5 กล่มุ วิชาสงั คมศึกษา ไมน่ ้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ 1.6 กล่มุ วิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษา ไมน่ อ้ ยกว่า 2 หนว่ ยกติ 2. หมวดวชิ ำสมรรถนะวชิ ำชีพ 71 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน ไมน่ ้อยกว่า 21 หน่วยกติ 2.2 กล่มุ สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 24 หน่วยกิต 2.3 กลมุ่ สมรรถนะวิชาชพี เลือก ไมน่ ้อยกวา่ 18 หนว่ ยกติ 2.4 ฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวิชาชีพ 4 หน่วยกิต 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4 หน่วยกิต 3. หมวดวชิ ำเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกว่ำ 10 หน่วยกิต 4. กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รตลอดหลกั สตู ร 2 ชว่ั โมงต่อสัปดำห์ต่อภำคเรยี น รวมระหว่ำง 103 – 110 หน่วยกิต - สถานศกึ ษาต้องกาหนดรายวิชาให้สอดคล้องกับหมวดวิชา กลุ่มวิชา และหลักเกณฑ์ในการเลือก รายวิชา - จัดทาแผนการลงทะเบียนเรยี นตลอดหลักสูตรให้ครบทุกสาขาวชิ าท่ีขอเปิดสอน

30 กำรพัฒนำรำยวิชำเพ่มิ เตมิ การพฒั นารายวิชาเพมิ่ เติม ให้คานึงถึงความต้องการของผูเ้ รียน ชมุ ชน ทอ้ งถิ่น สถานประกอบการ หรือสภาพยุทธศาสตร์ของภูมิภาคเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หรือเพื่อการศึกษา ต่อ ทัง้ น้ี การกาหนดรหสั วิชาจานวนหน่วยกิตและจานวนช่ัวโมงเรียนให้เป็นไปตามที่หลักสูตรกาหนด เม่ือ พัฒนาแลว้ ต้องรายงานให้สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาทราบ กำรเตรียมควำมพร้อมของสถำนศกึ ษำ การเปิดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 และการ นา หลกั สตู รไปใช้เพอื่ ให้เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและบรรลเุ ปา้ หมายของหลกั สูตร ดาเนินการดังนี้ 1. การวางแผนการเปิดสอนหลกั สูตรและเตรียมการในการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและเตรียมการ ในการประชาสัมพันธ์ การแสวงหาความร่วมมือในการจัดการศึกษา สถานศึกษาต้องจัดทาบันทึกความ ร่วมมือในการจัดการศึกษากับสถานประกอบการและสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา ทาความเข้าใจแก่บุคคลท่ีเกี่ยวข้อง โดยจัดประชุมครูในสถานศึกษา/และสถานประกอบการ และภาคีเครือข่าย เพ่ือชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับหลักสูตร รูปแบบการจัดการศึกษาและระเบียบต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งตลอดจนวางแผนเกีย่ วกับจัดการศึกษาจากภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง 2. กาหนดขั้นตอนกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีระบบ นับแต่การอบรมครู การจัดครูเข้า สอนตามหลักสูตร การจัดแผนการเรียน ตารางสอน ตารางเรียน และวิธีการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล 3. การเตรียมสภาพแวดล้อมและสิ่งอานวยความสะดวกภายในสถานศึกษาให้เหมาะสมกับ ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานท่ีเปิดสอน ได้แก่ งบประมาณ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ สื่อ การเรยี นการสอน รวมทง้ั อาคารสถานท่ี หอ้ งสมุด และแหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ 4. การพัฒนาครูผู้สอนทั้งด้านเทคนิควิธีการสอน การจัดทาแผน การจัดการเรียนรู้ การผลิต และ ใชส้ อื่ การเรยี นการสอน การวดั ผลประเมินผล ตลอดจนการส่งเสรมิ สนับสนุนให้ครูได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์จากการศึกษา อบรม ทัศนศกึ ษา ฯลฯ เพ่อื ใหท้ นั ตอ่ วิทยากรและเทคโนโลยีใหม่ ๆ 5. แนวทางการประชาสัมพันธ์การเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ดาเนนิ การ ดังนี้ 5.1 มอบหมาย/แต่งตั้งกรรมการ/คณะทางาน 5.2 กาหนดปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงาน 5.3 จัดทาประกาศการรบั ขนึ้ ทะเบยี น – ลงทะเบยี นผเู้ รียน 5.4 จัดทาส่ือประชาสัมพันธ์ ออกข่าววิทยุ/โทรทัศน์/หนังสือพิมพ์/ปิดประกาศ ฯลฯ การประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดการศึกษาแก่ครู บุคลากร นักศึกษา และผู้ปกครอง สถานศึกษา สามารถประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการจัดการศึกษาให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา และบุคคลทั่วไป ได้หลากหลายช่องทาง เช่น ศูนย์ควบคุมเสียงตามสาย สถานีวิทยุ การส่ือสารด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดประชุมสัมมนา เป็นต้น หรือดาเนินการจัดแนะแนวตามสถานท่ีต่าง ๆ โดยประสานงานกับชุมชน ทอ้ งถิน่ สว่ นราชการ สถานศกึ ษา สือ่ มวลชน และประชาชน เพื่อให้คาปรึกษาในการศึกษาต่อการแนะแนว อาชีพ และส่งเสริมอาชีพในการประกอบอาชีพอิสระ ทั้งนี้ สถานศึกษาควรจัดการศึกษาให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม ชุมชน ท้องถ่ิน และตามความพร้อม ศักยภาพ ของสถานศกึ ษา

31 กำรกำหนดข้นั ตอนกระบวนกำรนำหลกั สูตรไปใชอ้ ย่ำงมีระบบ ให้สถานศกึ ษากาหนดขนั้ ตอนกระบวนการนาหลักสูตรไปใช้อย่างมีระบบ นับแต่การอบรมครู การ จัดแผนการเรียน ตารางสอน ตารางเรียน ตารางการใช้ห้องเรียน-ห้องปฏิบัติการ วิธีการจัดการเรียนการ สอนและการวัดผลประเมนิ ผล 1. การอบรมครู กาหนดให้สถานศึกษาท่ีจะจัดการศึกษาหลักสูตร ปวช. ทั้งผู้บริหาร ครู และ ผู้รับผดิ ชอบตอ้ งผ่านการอบรมจากสานักงาน กศน. และครคู วรได้รับการอบรมพัฒนาอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั 2. การจดั แผนการเรยี น/ตารางสอน/ตารางเรยี น/ตารางการใช้ห้องเรยี น-ห้องปฏบิ ตั ิการ 2.1 การจัดทาแผนการเรียนรู้รายวิชา ครูต้องวิเคราะห์และจัดทาแผนการเรียนรู้รายวิชา ประกอบด้วย จุดประสงค์รายวิชา คาอธิบายรายวิชา สมรรถนะรายวิชา หน่วยการสอน/การเรียนรู้ ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ชื่อเรื่องและงาน สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแผนการสอน หน่วยการสอน เน้ือหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ งานท่ีมอบหมายหรือกิจกรรม ส่ือการเรียนการสอน แหล่งการเรยี นรู้ การประเมินผล และบนั ทกึ หลังการสอน ดงั ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ในภาคผนวก 2.2 การจัดทาแผนการเรียน (ตารางสอน) รายสัปดาห์ สถานศึกษาต้องจัดทาแผนการ เรียนในหน่ึงสปั ดาห์ เพอื่ ให้นักศกึ ษาได้ทราบวา่ ตนเองต้องเรียน อะไรบ้างในแต่ละสัปดาห์ เวลาเรียนแต่ละ รายวิชา กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ต้องทาแต่ละสัปดาห์ รวมทั้งการวัดผลระหว่างภาคเรียน ดังตัวอย่าง ใน ภาคผนวก 3. การรับสมัครและข้ึนทะเบียนเรียน สถานศึกษาจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงาน โดยดาเนินการ ตามแนวปฏิบัตทิ สี่ านักงาน กศน. กาหนดในแตล่ ะปีการศึกษา 4. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถนาความรู้ทักษะและประสบการณ์ท่ีได้ จากการศึกษาการเรียนรู้และหรือจากการทางาน จากประสบการณ์ชีวิต หรือจากการประกอบอาชีพ มาเทียบโอน สาหรับนักเรียนจากสถานศึกษาซ่ึงใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราชเดียวกัน ให้สถานศึกษาท่ีรับนักศึกษาเข้าเรียน รับโอนผลการเรียนทุกรายวิชา นอกจากรายวิชาท่ีได้ระดับผลการ เรียนต่ากว่า 2.00 สถานศึกษาจะรับโอนหรือจะทาการประเมินใหม่จะเห็นว่าได้ผลการเรียนถึงเกณฑ์ มาตรฐานของสถานศึกษาแลว้ จึงรับโอนผลการเรียนวิชานั้นก็ได้ สถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนรายวิชา จากหลักสูตรอื่นซ่ึงไม่ต่ากว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาท่ีมีจุดประสงค์และ เน้ือหาใกล้เคียงกันไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 และมีจานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาท่ีระบุไว้ ในหลักสูตร การเทียบโอนผลการเรยี นรู้ ให้เทยี บโอนได้ไมเ่ กิน 2 ใน 3 ของหน่วยกติ ตามโครงสร้างหลักสูตร แต่ละประเภทวิชาเปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ่ีคณะกรรมการการเทียบโอนของสถานศึกษา 5. การแนะแนวการเรียน ครูแนะแนวโครงสร้างและการวางแผนการจัดการศึกษาท่ีสอดคล้อง กับกลมุ่ เป้าหมายของนักศกึ ษา 6. การบริหารงานทะเบียน เป็นหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ซง่ึ มขี อบข่ายงานที่เก่ยี วข้องดงั นี้ 6.1 การรับสมัครนักศึกษาให้สถานศึกษาและสถานประกอบการ/หน่วยงานกาหนดวัน เวลา และสถานท่ีรับสมัครโดยประชาสัมพนั ธใ์ ห้กวา้ งขวาง พร้อมกับให้นักศึกษาจัดเตรียมเอกสารหลักฐาน ตา่ ง ๆ มาให้พรอ้ ม 6.2 การขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา สาหรับกลุ่มเป้าหมายที่อยู่นอกระบบผู้เรียนต้องขึ้น ทะเบียนเป็นนักศึกษาของสถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร

32 วิชาชพี พ.ศ. 2562 6.3 การปฐมนเิ ทศ เมื่อรบั สมัครนักศึกษาแลว้ สถานศกึ ษาตอ้ งจัดปฐมนเิ ทศนักศึกษาช้ีแจง ให้นกั ศึกษาทราบในเร่อื งต่าง ๆ 6.4 การช้แี จงเกี่ยวกบั หลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ สื่อ การวดั ผลประเมินผล และการจบ หลักสูตรรวมท้ังเง่ือนไขต่าง ๆ ท่ีสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการศึกษานอกระบบตามหลักสูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2562 ให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี 1) ชี้แจงบทบาทหน้าทแ่ี ละระเบียบปฏบิ ตั สิ าคญั ทีผ่ เู้ รยี นตอ้ งทราบ 2) แนะนาเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงาน ครูประจากลุ่ม และบทบาทหน้าท่ี ของเจา้ หน้าที่ ผู้ประสานงาน ครูประจากลุ่ม และผ้เู กีย่ วขอ้ งทจ่ี ะตอ้ งดแู ลรับผิดชอบตอ่ ผู้เรียนกลุ่มน้ี 3) แนะนาผู้เกย่ี วขอ้ งกบั การจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร 4) แนะนาสถานท่ีพบกลุ่มและการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ของนักศึกษา สถานศึกษา ควรจัดทารายละเอียดการปฐมนิเทศ โดยกาหนดวัน เวลา และสถานที่ ตลอดจนกาหนด เน้อื หาและวทิ ยากร หรือเจ้าหน้าท่ที ี่ชีแ้ จงในแตล่ ะเรอื่ งดงั กลา่ ว 6.5 การลงทะเบยี น สถานศึกษากาหนดวัน เวลา สถานท่ี และจานวนรายวิชาท่ีนักศึกษา จะลงทะเบียนเรียนแจ้งให้นักศึกษาทราบ โดยให้สถานศึกษาดาเนินการเกี่ยวกับการลงทะเบียนให้เป็นไป ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการ ศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. 2562 7. การจดั การเรียนการสอน 7.1 วิธีการจัดการเรียนรู้ ในแต่ละรายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ใช้วิธีการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้จากการพบกลุ่ม การเรียนรู้ด้วยการสอนเสริม การเรียนรู้ด้วยโครงงาน และการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ โดยใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นต้น กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง นักศึกษาสามารถศึกษาจากส่ือ หรือแหล่งเรียนรู้ และวางแผนการ เรียนด้วยตนเองจากเวลา ที่เหลือจากการทางาน อาจจะในรูปแบบของการเข้ารับฟังการสอนเสริม หรือ จากการพบกลมุ่ โดยหลากหลายวธิ ี เช่น 1. ศกึ ษาจากสือ่ เอกสาร เช่น หนังสอื ตารา วารสารตา่ ง ๆ 2. ศกึ ษาจากสื่ออเิ ล็กทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ การเรยี นรูผ้ ่านระบบออนไลน์ บทเรยี นสาเร็จรูป 3. การเรียนรู้ควบคู่กับการทางาน เรียนโดยการปฏิบัติจริงจากงานที่ทาอยู่และศึกษา คน้ ควา้ เพิ่มเตมิ ใหค้ รอบคลุมตามทีห่ ลักสตู รกาหนด กำรเรยี นรจู้ ำกกำรพบกลุม่ นักศึกษาจะต้องพบกลมุ่ เพ่ือทากจิ กรรมต่าง ๆ เช่น 1. วางแผนการเรียนและจัดตารางพบกล่มุ 2. ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรซู้ ึง่ กนั และกัน 3. รบั คาแนะนา รบั ฟงั บรรยาย หรอื ทบทวนบทเรียน 4. รับมอบหมายงาน 5. รบั การวัดผลประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี น กำรเรียนรู้ด้วยกำรสอนเสริม ให้มีการสอนเสริมในเนื้อหาวิชาที่ยาก จากวิทยากร ผู้รู้ ผู้ชานาญในเนอ้ื หาน้นั ๆ เป็นอย่างดี เพ่ือให้นักศึกษาได้รับความรู้จากผู้ชานาญการที่แท้จริง การสอนเสริม เปน็ การจดั การเรยี นเพิ่มเตมิ จากการเรียนปกติ อาจจดั การเรยี นการสอนด้วยวธิ อี อนไลน์ ก็ได้

33 กำรเรยี นรจู้ ำกโครงงำน เป็นการเรยี นรทู้ ่ีนักศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง หรือรวมกลุ่มกัน ค้นคว้าความรู้ในเรื่องใดเรื่องหน่ึงท่ีสนใจ แล้วนาความรู้ไปปฏิบัติกิจกรรม ผ่านการทาโครงงาน โดยมีครู เป็นที่ปรึกษา และมีการรายงานความก้าวหน้าของการทาโครงงาน หรือ โครงการเป็นระยะ ๆ เพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด การทางานร่วมกับผู้อื่น การับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การแก้ปัญหา การคิดอย่าง เป็นระบบการบูรณาการความรู้มาใช้ในการจัดกิจกรรมโครงงานของตน เพ่ือนาไปพัฒนากระบวนการวิจัย อย่างง่าย ตามกรอบโครงสร้างหลักสูตร และเมื่อส้ินสุดโครงงาน นักศึกษาต้องจัดทารายงานโครงงาน เพอ่ื เสนอตอ่ ผู้บริหารสถานศกึ ษา กำรเรียนรู้จำกกำรปฏิบัติงำน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่สถานศึกษาต้องจัดให้นักศึกษาเข้าไป เรยี นในสถานประกอบการ หรือสถานที่ทางาน เพ่ือเรียนและฝกึ ฝนใหม้ สี มรรถนะวชิ าชพี ตามมาตรฐานและ สมรรถนะวิชาชพี ในสาขาน้ัน ๆ กำรเรยี นร้โู ดยใช้ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ (ICT) เป็นการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ นอกเหนือจากวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อสร้างทักษะให้ ผู้เรียนและครูสามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยแก้ปัญหาการ เรียนการสอนของครูและนักศึกษาที่มีการเรียนรู้ หลากหลายรายวิชา และนักศึกษาแต่ละคนเรียนรู้ ไม่เท่ากัน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จะช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้สาระเนื้อหา และ ติดตอ่ สอื่ สารได้อย่างหลากหลายตลอดเวลา ช่วยให้เกิดความคล่องแคล่วในการจัดการเรียนการสอนทาให้ นักศกึ ษาสามารถเขา้ ถึงเนือ้ หาสาระ และเข้าถงึ การเรยี นไดอ้ ยา่ งกว้างขวาง ทัว่ ถึง โดยไม่ท้ิงใครไวเ้ บอ้ื งหลัง 7.2 วธิ กี ารจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ า รายวชิ าในหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 มี 3 แบบ คอื 1) รายวิชาทเ่ี รียนทฤษฎีอยา่ งเดียว 2) การจดั การเรียนรู้รายวิชา (Lab) 3) การจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าทฤษฎีปฏบิ ัติ (Shop) โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ 1) รายวชิ าทเ่ี รียนทฤษฎีอย่างเดียว ดังตวั อยา่ ง รหสั รายวชิ า ท ป น ชม. หมายเหตุ 20000-1101 ภาษาไทยพืน้ ฐาน 2 0 2 2 ท = ทฤษฎี 20001-1001 ความรเู้ กี่ยวกับงานอาชีพ 2 0 2 2 ป = ปฏบิ ัติ 21000-1002 วสั ดุงานชา่ งอุตสาหกรรม 2 0 2 2 น = หนว่ ยกิต ชม. = ชวั่ โมง รายวชิ าข้างต้น เป็นวิชาทฤษฎี เรียนสปั ดาห์ละ 2 ช่วั โมง ลักษณะของรายวิชาที่เรียนทฤษฎีอย่างเดียวมี 2 แบบ คือ รายวิชาทฤษฎีสามัญ เช่น วิชาภาษาไทยพ้ืนฐาน และรายวิชาทฤษฎีวิชาเฉพาะสาขา เช่น ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ วัสดุงานช่าง อุตสาหกรรม เปน็ ต้น มแี นวทางการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี 1. รายวิชาทฤษฎีสามัญ ครู ปวช. เป็นผ้จู ัดการเรยี นรู้ ตามวิธีการเรยี นรขู้ อง กศน. 2. รายวิชาทฤษฎวี ิชาเฉพาะสาขา การจดั การเรียนรู้ สถานศึกษาตอ้ งพิจารณา คอื

34 2.1 ถ้าเป็นวิชาภาคทฤษฎีเฉพาะสาขาที่ครู ปวช. จบการศึกษา ในสาขาน้ัน ๆ หรือมีประสบการณ์สอนในสาขาน้ัน ๆ ให้ครู ปวช. เป็นผู้สอน ซ่ึงอาจเรียนโดยการพบกลุ่ม หรือเรียน ในชั้นเรยี น นักศกึ ษาอาจเรียนเพม่ิ เตมิ ด้วยตนเองจากสือ่ แหลง่ การเรียนรู้จากอนิ เทอร์เน็ต 2.2 ถา้ เปน็ วชิ าภาคทฤษฎเี ฉพาะสาขา สถานศกึ ษาอาจจัดให้มีการสอนเสรมิ 2.3 ถ้าเป็นวิชาภาคทฤษฎีเฉพาะสาขา ท่ีนักศึกษามีทักษะหรือประกอบอาชีพน้ัน ๆ อยู่หรือมีประสบการณ์ในวิชาชีพนั้น สถานศึกษาอาจจัดให้มีการประเมินความรู้และประสบการณ์ โดยดาเนินการ ตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบัติที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนด 2) การจัดการเรียนรรู้ ายวิชาทฤษฎแี ละปฏิบัติ (Lab) ดังตัวอยา่ ง รหสั รายวิชา ท ป น ชม. หมายเหตุ 20001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ 1 2 2 3 ท = ทฤษฎี 20000-1302 วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาอาชีพช่างอุตสาหกรรม 1 2 2 3 ป ป= =ปฏปิบฏตั บิ ิ ัติ อตุ สาหรกรรม น = หน่วยกิต 22000-1002 การบัญชีเบ้อื งตน้ 1 1 2 2 3 ชม. = ชว่ั โมง วชิ ำกำรบัญชเี บอ้ื งต้น 1 (1-2-2) ตัวเลข 1-2-2 หมายความว่า วิชาการบัญชีเบ้ืองต้น 1 ต้องเรียนภาคทฤษฎี 1ชั่วโมง/สัปดาห์ และเรียนปฏิบัติ (Lab) 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ เรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ (Lab) มีค่าเท่าลับ 2 หน่วยกิต ในหนงึ่ สปั ดาห์ สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ให้มกี ารเรยี นรทู้ ้ังทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ ดังนี้ - สอนทฤษฎีโดยการบรรยาย อภิปราย ด้วยวิธีเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การพบกลุ่ม การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นจากสอ่ื ต่าง ๆ ไมน่ อ้ ยกวา่ 18 ชัว่ โมง เทา่ กับ 1 หนว่ ยกติ - สอนปฏิบตั ิ (Lab) โดยการเขา้ หอ้ งปฏิบัติเพื่อเรียนรู้เทคนิควิธี ศึกษาส่วนประกอบ อุปกรณ์ ศกึ ษารปู แบบต่าง ๆ ไมน่ อ้ ยกว่า 36 ชัว่ โมง เทา่ กบั 1 หน่วยกติ ในกรณีสอนภาคทฤษฎีเฉพาะสาขา ดาเนินการเช่นเดียวกับรายวิชาทฤษฎีวิชาเฉพาะสาขา การสอนภาคปฏบิ ัติ ให้พิจารณาวา่ สามารถประเมินความรูแ้ ละประสบการณไ์ ดห้ รอื ไม่ - ถ้าได้ให้ประเมินความรู้และประสบการณ์แล้วบันทึกผลคะแนนการประเมินไว้เพ่ือรวมกับ ผลการทดสอบภาคทฤษฎี - ถ้าไมไ่ ด้ ให้ดาเนนิ การเชน่ เดยี วกับรายวิชาทฤษฎวี ิชาเฉพาะสาขา

35 3) การจัดการเรียนรู้รายวชิ าทฤษฎีและปฏิบัติ (Shop) ดังตัวอยา่ งรายวิชา รหัส รายวิชา ทป น ชม. หมายเหตุ 21001-2008 งานเคร่ืองมอื กลเบื้องตน้ 2 4 ท=ทฤษฎี 21001-2001 งานเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน 13 3 5 ป = ปฏบิ ัติ 21000-1003 งานฝกึ ฝมี ือ 1 23 2 6 น = หนว่ ยทิต 00กก 6 ชม. = ชว่ั โมง กก วชิ ำงำนเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ (1-3-2) ตัวเลข 1-3-2 หมายความว่า วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ต้องเรียนภาคทฤษฎี 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ และเรียนปฏิบัติ (Shop) 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เรียนท้ังทฤษฎีและปฏิบัติ (Shop) มีค่าเท่ากับ 2 หน่วยกิต ในหนง่ึ สัปดาห์ สถานศึกษาตอ้ งจดั ใหม้ ีการเรยี นรู้ท้งั ทฤษฎีและปฏิบัติ ดังน้ี - สอนทฤษฎีโดยการบรรยาย อภิปราย ด้วยวิธีเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การพบกลุ่ม การ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนจากสื่อต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 18 ชวั่ โมง เทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต - สอนปฏิบัติ (Shop) โดยการปฏิบัติในสภาพจริง เพ่ือเรียนรู้และปฏิบัติงานในสถานการณ์ จริง ไม่น้อยกวา่ 54 ชว่ั โมง เทา่ กบั 1 หน่วยกติ ในกรณีสอนภาคทฤษฎีเฉพาะสาขา ดาเนินการเช่นเดียวกับรายวิชาทฤษฎีวิชาเฉพาะสาขา การสอนภาคปฏิบัติ ให้พิจารณาว่าสามารถประเมินความรูแ้ ละประสบการณ์ไดห้ รือไม่ - ถ้าได้ให้ประเมินความรู้และประสบการณ์แล้วบันทึกผลคะแนนการประเมินไว้ เพ่ือรวม กับผลการทดสอบภาคทฤษฎี - ถา้ ไม่ได้ให้ดาเนินการเช่นเดยี วกับรายวชิ าทฤษฎีวชิ าเฉพาะสาขา 8. การจัดฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ สถานศึกษาสามารถกาหนดแผนการฝึก กระบวนการฝกึ ระยะเวลาที่ใช้ฝึก ผรู้ บั ผิดชอบในการประสานความรว่ มมอื ใน การดาเนินการร่วมกับสถาน ประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานของรัฐ แหล่งวิทยากรต่าง ๆ ท่ีนอกเหนือจากเอกสารหรือสื่ออื่น ๆ โดยเป็นบุคคลภายในสถานศึกษา เช่น ครู ครูนิเทศก์ หรือบุคคลภายนอกสถานศึกษา ครูฝึก ครูพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นต้น รวมทั้งการนิเทศและการวัดผลประเมินผล ท้ังน้ี สามารถนารายวิชาในหมวดวิชาชีพท่ีตรงหรือสัมพันธ์กับลักษณะงานที่ไปเรียน หรือฝึกร่วมในภาคเรียน นั้นได้ 9. การจัดโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ สถานศึกษาสามารถกาหนดรูปแบบการจัดรายวิชา การกาหนดชว่ั โมงเรียน กระบวนการข้ันตอนในการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบ เป็นต้น ท้ังนี้ สถานศึกษาหรือ สถาบนั ตอ้ งจดั ให้ผู้เรียนทาโครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี สมั พันธห์ รือสอดคลอ้ งกบั สาขาที่เรียน นาสู่การ ปฏบิ ัตใิ นอาชพี ตามทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตร 10. การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร สถานศึกษาสามารถกาหนดวันในสัปดาห์ เช่น วันจันทร์ วันอังคาร เป็นต้น ที่จะจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกิจกรรมพิเศษต่อสัปดาห์ของแต่ละภาคเรียน เพื่อพัฒนาวิชาการ วิชาชีพ และคุณภาพชีวิต ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย ปลูกฝัง จิตสานึก และเสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ทานุบารุงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และสง่ เสรมิ การทางาน โดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการทาประโยชนต์ ่อชุมชน

36 กำรวดั ผลประเมนิ ผล 1. สถานศึกษาจัดให้มีการวัดผลประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชา โดยดาเนินการต่อเน่ืองตลอด ภาคเรียน ด้านความรู้ ความสามารถและเจตคติ จากกิจกรรมการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน ที่มอบหมาย ท้ังน้ีให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การเรียนตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562 2. จัดให้มีการประเมินเพ่ือพัฒนาและสรุปผลการเรียนปลายภาคเรียน โดยพิจารณาจากการ ประเมนิ แต่ละกิจกรรมและงานท่มี อบหมาย และจดั ใหม้ กี ารวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เม่ือสิ้นสุดภาคเรียน ทั้งนี้ ให้เป็นไปเป็นตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลัก สูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. 2562 3. การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ผู้เรียนต้องรับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมื่อนักศึกษาได้ ลงทะเรียนเรียนครบทุกรายวิชาตามหลักสูตรแต่ละประเภทวิชา และสาขาวิชา หรือตามระยะเวลา ทคี่ ณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชพี เห็นสมควร ทง้ั นี้ ระดบั ผลการประเมินจะเปน็ ผา่ น หรือ ไม่ผา่ น 4. การจบหลกั สตู ร นักศึกษาจะจบหลกั สูตรได้ตอ้ งผา่ นเกณฑ์ ดังนี้ 4.1 ประเมินผ่านรายวิชา ในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชาตามทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสตู ร 4.2 ไดค้ ่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ไมต่ า่ กว่า 2.00 4.3 ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 4.4 ต้องผ่านกระบวนการประเมินกิจกรรมเสริมหลักสูตรตลอดหลักสูตรตามเกณฑ์ ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด และ “ผา่ น” ทุกภาคเรียน 5. การออกหลักฐานการศึกษา สถานศึกษาจะต้องออกหลักฐานการศึกษาให้กับผู้สาเร็จ การศึกษา ซึ่งมเี อกสารดงั ต่อไปนี้ 5.1 เอกสารหลกั ฐานการศึกษาควบคุมและบงั คับแบบ ไดแ้ ก่ - ระเบยี นแสดงผลการเรยี น - แบบรายงานผลการเรยี นผสู้ าเรจ็ การศึกษา - ประกาศนียบตั รใชต้ ามแบบท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด 5.2 เอกสารหลักฐานท่ีสถานศึกษาดาเนินการเอง เพื่อใช้บันทึก ตรวจสอบรายงาน และรับรองข้อมูลผลการเรียนในการประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาในลักษณะต่าง ๆ เช่น แบบประเมินผลการเรียนวิชาทักษะชีวิตและวิชาทักษะวิชาชีพ ท้ังนี้ ให้สถานศึกษาดาเนินการเก่ียวกับ ห ลั ก ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ร ะ เ บี ย บ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ การประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พ.ศ. 2562 กำรจดั สภำพแวดลอ้ มและส่งิ อำนวยควำมสะดวก ส ถ า น ศึ ก ษ า ด า เ นิ น ก า ร จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ส่ิ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ให้เหมาะสมกับประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางานท่ีเปิดสอน ได้แก่ งบประมาณ เคร่ืองมือ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภณั ฑ์ สื่อการเรียนการสอน รวมท้ังอาคารสถานท่ี หอ้ งสมุด และแหล่งเรยี นร้ตู ่าง ๆ

37 1. งบประมาณ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จะได้รับเงิน อดุ หนุนรายหัวตามทีไ่ ดร้ บั แจ้งการจัดสรร 2. ส่ือการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน หมายถึง หนังสือเรียน ส่ือเอกสารและสื่ออุปกรณ์ ท้ังออฟไลน์และออนไลน์ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร ปวช. สถานศึกษาสามารถจัดหา และ/หรือจัดซ้ือ เก็บรวบรวมไว้เพื่อให้ผู้เรียนใช้ไปศึกษาด้วยตนเอง โดยจัดระบบการใช้งานให้ชัดเจน และแจ้งกฎกตกิ าใหผ้ ูเ้ รียนเข้าใจ พัฒนำครูผู้สอนทัง้ ดำ้ นเทคนิควิธีกำรสอน พัฒนาครูผู้สอนท้ังด้านเทคนิควิธีการสอนการจัดการทาแผนการจัดการเรียนรู้ การผลิตและ ใช้ส่อื การเรียนการสอน การวัดผลประเมนิ ผล ตลอดจนการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากการศึกษา อบรม ทัศนศึกษา ฯลฯ เพื่อให้ทันต่อวิท ยาการ และเทคโนโลยใี หม่ ๆ นเิ ทศติดตำมประเมนิ ผลกำรใชห้ ลักสูตร นิเทศติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร ต้ังแต่ระดับรายวิชา และระดับสาขาวิชา โดยครูผู้สอน หัวหน้าแผนก หัวหน้างานท่ีเกี่ยวข้อง และผู้บริหาร เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับแก้ไขปัญหา และพัฒนาการ นาหลักสตู รไปใช้ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยง่ิ ขน้ึ 1. การนิเทศ ติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร สถานศึกษาสามารถวางแผนดาเนินการติดตาม ประเมินผล กาหนดตัวช้ีวัดที่จะต้องรวบรวม และวิเคราะห์หาข้อสรุป ตามกระบวนการ การนิเทศ การศึกษา ได้แก่ การสารวจปัญหาและความต้องการในการนิเทศภายในสถานศึกษา การกาหนดทางเลือก และวางแผนการนิเทศ ดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการนิเทศ และรายงานผลการนิเทศและ นาไปใช้ 2. การประกันคุณภาพหลักสูตร สถานศึกษาสามารถวางแผนการสารวจรวบรวมข้อมูลกาหนดตัว บ่งชี้ และกาหนดเกณฑ์การประเมิน ภายใต้ขอบเขตการประเมินตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 กาหนด ซึ่งทุกหลักสูตรจะต้องกาหนดระบบประกันคุณภาพไว้ให้ ชัดเจนอย่างน้อยประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ หลักสูตรที่ยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ ครู ทรัพยากรและการ สนับสนุน วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล ผสู้ าเร็จการศกึ ษา กำรพฒั นำปรบั ปรุงหรือเพิ่มเตมิ หลักสูตร สถานศึกษาสามารถดาเนินการพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ของแต่ละระดับตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการกาหนด โดยสามารถพัฒนาสาขาวิชา หรือเพ่ิมสาขางาน หรือเพิ่มรายวิชาได้ตามความต้องการของสถานประกอบการชุมชน ท้องถิ่น หรือสภาพยุทธศาสตร์ของ ภมู ิภาค ตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด