Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนรู้ โคก หนอง นา

เอกสารประกอบการเรียนรู้ โคก หนอง นา

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2021-07-10 13:27:42

Description: เอกสารประกอบการเรียนรู้ โคก หนอง นา

Keywords: โคก หนอง นา , กศน.,หนองแขม

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนรู้ หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหัวตะพาน | หนา้ 1 หลักเกษตรทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา” ชว่ ยประชาชนมีความสุข สร้างรายได้ที่ย่ังยืน จากสภาพเศรษฐกิจสังคมที่ GDP ดิ่งติดลบ กระแสทุนนิยมเสรี (Capitalism) ที่ถั่งโถม และรัฐไทยจะต้อง ปรับนโยบายใดบ้าง เพื่อให้โครงการตามพระราชดำรินี้ดำรงคงอยู่ท่ามกลางความพอดีพอเพียง (Sufficiency) ในทุน นิยมโลก ที่ค่อนข้างจะย้อนแย้งในตัวเองในหลายประการ ไม่ว่าจะมองในมิติใด เพราะกระแสสังคมโลกโซเชียล (Social Network) ที่สังคม และผู้คนต้องปรับตัวและตามมันให้ทัน และปัญหาเศรษฐกจิ เอื้อทุนใหญ่ สังคมปลาใหญ่ กินปลาเล็ก รัฐสวัสดิการยังห่างไกล ความเหลื่อมล้ำทางสังคมมีทุกมิติ สังคมเป็นสังคมผู้สูงวัยสมบูรณ์แล้ว รัฐใช้ \"ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี\" นำทางการพัฒนาทีน่ า่ จะไม่สอดคล้องกับ \"โลกาภิวัตน์\" (Globalization) และ \"ระเบียบการ จัดโลกใหม่\" (New World Orders) โดยเฉพาะกระแสความเปลี่ยนแปลงโซเชียลทผี่ ันผวน (Disruptive) มาก ท่ีต้องมี การปรบั ตัวเปล่ยี นแปลงสูงมาก และจากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 ส่งผลกระทบต่อการดำเนิน ชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้แก่ภาคประชาชน เกษตรกร และ ผู้ประกอบการ ซ่งึ ได้รบั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 และเพือ่ ฟ้นื ฟเู ศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบ อีกทั้งฟื้นฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชน โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตาม หลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เปน็ การพัฒนาพืน้ ท่เี รียนรูช้ ุมชนต้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและฟน้ื ฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชน เป็นการสรา้ งงาน สรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครัวเรือน และชุมชน เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก ฟื้นฟูและพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง การต่อยอดโครงการตามแนว พระราชดำริ \"เศรษฐกิจพอเพียง\" เดินตามศาสตร์ของพระราชา เพื่อการทำเกษตรแนวใหม่ ที่ยึดหลักของเศรษฐกิจ พอเพียงเปน็ หลัก

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหวั ตะพาน | หนา้ 2 ทฤษฎใี หม่ \"... หลักมีว่า แบ่งที่ดินเป็นสามส่วน ส่วนหนึ่งเป็นที่สำหรับปลูกข้าว อีกส่วนหนึ่งสำหรับปลูกพืชไร่ พืชสวน และก็มีที่สำหรับขุดสระน้ำ... ทฤษฎีใหม่นี่จะขยายขึ้นไปได้ อาจจะทั่วประเทศ แต่ต้องช้า ๆ เพราะว่าต้องสิ้นเปลือง สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย ๆ แต่ว่าค่อย ๆ ทำ และเมื่อทำแล้ว ก็นึกว่าเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะทำให้ประชาชน มกี นิ แบบตามอัตภาพ คืออาจไมร่ วยมาก แตก่ พ็ อกนิ ไม่อดอยาก...\" “หลักทฤษฎใี หม\"่ ปรับสตู รพระราชทานใหมเ่ ปน็ 30 30 30 และ 10 % คอื สัดส่วนการใชป้ ระโยชน์ ทดี่ นิ 4 ส่วน เพอ่ื การเพาะปลูก เปน็ แหลง่ น้ำ เป็นที่นา และ เปน็ ท่ีอยอู่ าศัย โคก หนอง นา โมเดล คือ อะไร โคก หนอง นา โมเดล คือ การจัดการพ้นื ที่ซึ่งเหมาะกับพื้นทีก่ ารเกษตร ซงึ่ เปน็ ผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ เขา้ กับภมู ปิ ัญญาพ้ืนบ้านท่ีอยู่อยา่ งสอดคล้องกบั ธรรมชาติในพ้นื ทนี่ น้ั ๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เป็นการท่ใี หธ้ รรมชาติ จดั การตัวมันเองโดยมี มนุษยเ์ ปน็ สว่ นส่งเสริมใหม้ ันสำเร็จเร็วขึ้น อยา่ งเป็นระบบ

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ หลักเกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหัวตะพาน | หนา้ 3 โคก-หนอง-นา ซ่งึ เป็นแนวทางทำเกษตรอนิ ทรียแ์ ละการสร้างชวี ิตทยี่ ่งั ยืน โดยมีองค์ประกอบดงั นี้ 1. โคก : พื้นที่สูง – ดินที่ขุดทำหนองน้ำนั้นให้นำมาทำโคก เป็นพื้นที่สำหรับที่อยู่อาศัย และบนโคกปลูก “ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทางพระราชดำริ – ปลูกพืช ผัก สวนครัว เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ทำให้พออยู่ พอกิน พอใช้ พอร่มเย็น เป็นเศรษฐกิจ พอเพียงขั้นพื้นฐาน ก่อนเข้าสู่ขั้นก้าวหน้า คือ ทำบุญ ทำทาน เก็บรักษา ค้าขาย และเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย – ปลกู ท่ีอยู่อาศยั ใหส้ อดคล้องกบั สภาพภมู ิประเทศ และภมู อิ ากาศ 2. หนอง : หนองน้ำหรือแหลง่ น้ำ – ขดุ หนองเพ่ือกกั เก็บน้ำไว้ใชย้ ามหนา้ แล้งหรอื จำเป็น และเปน็ ท่รี บั นำ้ ยามน้ำทว่ ม (หลุมขนมครก) – ขุด “คลองไส้ไก่” หรอื คลองระบายนำ้ รอบพืน้ ท่ตี ามภูมปิ ัญญาชาวบา้ น โดยขุดให้คดเคย้ี วไปตามพน้ื ที่ เพอ่ื ใหน้ ้ำกระจายเต็มพ้ืนทเี่ พม่ิ ความชมุ่ ชืน้ ลดพลงั งานในการรดน้ำต้นไม้ – ทำ ฝายทดน้ำ เพื่อเก็บน้ำเข้าไว้ในพื้นที่ให้มากที่สุด โดยเฉพาะเมื่อพื้นที่โดยรอบไม่มีการกักเก็บน้ำ น ้ ำ จ ะ ห ล า ก ล ง ม า ย ั ง ห น อ ง น ้ ำ แ ล ะ ค ล อ ง ไ ส ้ ไ ก ่ ใ ห ้ ท ำ ฝ า ย ท ด น ้ ำ เ ก ็ บ ไ ว ้ ใ ช ้ ย า ม ห น ้ า แ ล้ ง – พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ ทั้งการขุดลอก หนอง คู คลอง เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้ง และเพิ่มการ ระบายนำ้ ยามนำ้ หลาก 3. นา : นาขา้ ว – พน้ื ทีน่ านนั้ ให้ปลกู ขา้ วอินทรีย์พนื้ บา้ น โดยเร่ิมจากการฟ้ืนฟดู ิน ด้วยการทำเกษตรอนิ ทรยี ย์ ง่ั ยนื คนื ชวี ติ เล็กๆ หรือจลุ นิ ทรียก์ ลับคืนแผ่นดินใช้การควบคมุ ปรมิ าณนำ้ ในนาเพือ่ คมุ หญ้า ทำใหป้ ลอดสารเคมีได้ ปลอดภัย ทงั้ คนปลูก คนกนิ – ยกคนั นาใหม้ ีความกว้างและสงู อย่างนอ้ ย 1 เมตร เพื่อใช้เปน็ ทร่ี ับนำ้ ยามนำ้ ทว่ ม ปลกู พชื อาหารตาม คันนา เพื่อให้มีรากยึดเหนยี่ วคันนา และเพ่ิมพื้นท่ีทำกิน

เอกสารประกอบการเรียนรู้ หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหวั ตะพาน | หนา้ 4 หลักการปลกู ปา่ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง พระราชดำริการพัฒนาป่าไม้ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการผสมผสานการอนุรักษ์ ดิน น้ำ และการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู่กับความต้องการ ดา้ นเศรษฐกิจ ปลูกปา่ 3 อยา่ ง ไดแ้ ก่ 1. ป่าไมใ้ ช้สอย คือ ไมโ้ ตเร็ว เช่น สะเดา ไม้ไผ่ 2. ปา่ ไมเ้ ศรษฐกิจ คือ เช่น ไมส้ ัก ประดู่ พะยูง 3. ปา่ ไม้กนิ ได้ คือ ไม้ผล เชน่ กลว้ ย มะมว่ ง และผักกนิ ใบต่าง ๆ ไดป้ ระโยชน์ 4 อยา่ ง ได้แก่ 1. ไม้ใช้สอย สำหรับใช้ในครัวเรือน เช่น นำมาสร้างบ้าน ทำเล้าเป็ด เล้าไก่ ด้ามจอบเสียม ทำหัตถกรรม หรือกระทงั่ ใช้เปน็ เชือ้ เพลงิ (ฟืน) ในการหงุ ต้ม 2. เป็นแหล่งรายได้ของครัวเรือน เป็นพืชที่สามารถนำมาจำหน่ายได้ ซึ่งควรปลูกพืชหลากหลาย ชนดิ เพอื่ ลดความเสย่ี งเร่อื งราคาตกต่ำและไมแ่ นน่ อน 3. นำมาเปน็ อาหาร นำมาเปน็ อาหาร ทัง้ พืชกินใบ กนิ ผล กินหวั และเปน็ ยาสมนุ ไพร 4. ประโยชน์ในการช่วยอนุรักษ์ดินและน้ำ การปลูกพืชที่หลากหลายอย่างเป็นระบบ จะช่วยสร้างสมดุล ของระบบนเิ วศ ชว่ ยปกป้องผิวดนิ ให้ชมุ่ ช้นื ดดู ซับน้ำฝน เทคนคิ การปลกู ปา่ แบ่งป่าออกเปน็ 5 ระดับ ตามช้ันความสงู ของต้นไม้และระบบนเิ วศของป่าดังนี้ 1. ไม้ระดับสูง อาทิ ตะเคียน ยางนา มะค่าโมง สะตอ มะพร้าว ฯลฯ 2. ไมร้ ะดับกลาง อาทิ ผกั หวานปา่ ติ้ว พลู กำลงั เสอื โคร่ง กล้วย ฯลฯ 3. ไมพ้ ุม่ เต้ยี อาทิ ผักหวานบา้ น มะนาว พริกไทย, ย่านาง, เสาวรส ฯลฯ 4. ไม้เร่ยี ดิน อาทิ หน้าวัว ผักเสีย้ น มะเขอื เทศ สะระแหนง่ ฯลฯ 5. ไมห้ ัวใต้ดนิ อาทิ ข่า ตะไคร้ ขมนิ้ ไพล เผือก มัน บกุ กลอย ฯลฯ ข้อคำนงึ ในการปลูกป่า 3 อย่าง 1. การปลูกช่วงแรกควรเลือกปลูกไม้เบิกนำ เช่น แค มะรุม สะเดา กล้วย อ้อย ไผ่ ข้าวและพืชผัก ทง้ั นี้ เพราะเป็นพืชอาหารและไม้ใช้ สอยเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ท่ีโตและให้ผลผลติ เร็ว สามารถคลุมดินและดดู ซับ ความช่มุ ช้ืน โดยควรเน้นปลูกพชื กนิ ได้ ทโ่ี ตไวเพื่อเปน็ แหล่งอาหาร และไมใ้ ช้สอย 2. ไมป้ ลูกเพื่ออยอู่ าศัย หรือไมเ้ ศรษฐกิจขนาดใหญ่ หรอื ไม้ระดบั สงู ควรปลกู ในปีที่ 2 3. ไม้สมนุ ไพร สว่ นใหญ่จะเปน็ ไม้พมุ่ เตี้ย ไม้เรี่ยดนิ และไมห้ ัวใต้ดนิ มกั จะเจรญิ เตบิ โตได้ดี ในท่รี ม่ และร่มรำไร

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ หลกั เกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหวั ตะพาน | หนา้ 5 4. นาข้าวควรเลือกทำในพ้ืนท่ีให้เหมาะสม สามารถใหผ้ ลผลิตเพยี งพอ ตลอดท้งั ปี 5. ควรขุดร่องน้ำขนาดเล็กเพื่อเก็บน้ำและความชุ่มชื้นแก่ต้นไม้ อีกทั้ง สามารถใช้เลี้ยงปลาเพื่อเป็นอาหาร และหมนุ เวยี นนำ้ ไปส่บู อ่ ขนาดใหญ่ หลกั 7 พอ(เพยี ง) 1. พออยู่ สามารถพ่งึ ตนเองด้านท่อี ย่อู าศยั ได้ 2. พอกิน สามารถพงึ่ ตนเองเรื่องอาหารและยารักษาโรคได้ 3. พอใช้ สามารถพึ่งตนเองเรื่องรายจา่ ยท่ีตอ้ งใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 4. พอรม่ เย็นเปน็ สขุ สามารถมคี วามสขุ อมิ่ เอบิ ใจ กับส่งิ ทมี่ ีทที่ ำได้ 5. พอพลังงานทดแทน ด้วยการปลกู ออ้ ยอนิ ทรีย์ หรอื พืชพลงั งานอนื่ ๆ ร่วมกับปา่ 3 อย่าง ร้อยละ 70 6. พอพัฒนาคน 7. มขี ้อมลู และส่ือสารส่สู าธารณะท่พี อเพียง ทำไมต้อง โคกหนองนา ? ทำไมต้อง โคกหนองนา – WHY KHOK NHONG NHA MODEL ? ตามหลักแนวคิด “ Think Globally Act Locally “ หรือ “ Localization “ ผ่านการทำงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หากเราศึกษาให้เข้าใจ ถึงปรัชญาจนนำไปสู่การปฏิบัติแล้ว เราจะพบว่า โคก หนองนาโมเดล เป็นกลไกการขับเคลื่อนในการจัดการองค์ ความรู้ ที่แปลง ไปสู่การปฏิบัติแบบบูรณาการณ์ที่สามารถใช้แก้ไขปัญหาได้ตั้งแต่ในระดับ ท้องที่หรือท้องถ่ิน (Local) จนถึงระดับโลก (Global) อยา่ งเปน็ ระบบและ เป็นขัน้ เป็นตอน ตามทฤษฎบี นั ได 9 ขั้น โคกหนองนา ช่วยเราแก้ปญั หาอะไรบ้าง – BENIFITIAL KHOK NHONG NHA MODEL ? การบริหารจดั การปัญหาระดับพื้นท่ี (local) • ดิน – การปรับฟื้นฟูสภาพดินเสื่อมสภาพจากสารเคมี, ลดการชะล้างความอุดมสมบูรณ์ ของหนา้ ดิน และการดนิ โคลนสะสมในแหล่งน้ำ • น้ำ - การบริหารจดั การน้ำในพนื้ ที่ เพอื่ จัดการปัญหา น้ำแลง้ , นำ้ ทว่ มและน้ำเสีย √ การจัดเก็บน้ำในพืน้ ท่ี โคก หนอง และในนา √ การชะลอน้ำทา่ หรอื นำ้ หลาก (แกม้ ลงิ ) เพอ่ื ลดปัญหาน้ำท่วมพื้นท่ปี ลายน้ำ √ การบำบัดนำ้ เสียด้วยวิธีธรรมชาติ เชน่ ทฤษฎี อธรรมปราบอธรรม, นำ้ ดไี ล่น้ำเสยี , สายลม แสงแดด, นำ้ หมกั สมนุ ไพรรสจืด, ลกู บอลจุลนิ ทรีย์ • ป่าไม้ – การฟื้นฟูและการสร้างป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เพื่อการการแก้ปัญหา เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละความสมดลุ ทางธรรมชาติ • คน – การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้รู้จักตั้งตนอยู่บนความพอเพียง และการรู้จักให้หรือ แบ่งปัน รวมถึงความสามัคคผี า่ นการทำงานแบบคนจน (เอามอ้ื -ถอื แรง-แบง่ ปัน หรือลงแขก)

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ หลักเกษตรทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหัวตะพาน | หนา้ 6 โคกหนองนา ช่วยเราแก้ปัญหาอะไรบา้ ง – BENIFITIAL KHOK NHONG NHA MODEL ? การวเิ คราะหด์ า้ นเศรษฐศาสตร์โคกหนองนาระดับทอ้ งทหี่ รือเศรษฐกิจฐานราก : ขอ้ มูลพืน้ ฐาน พื้นที่ 10 ไร่ สำหรบั โคก 3 ไร่ หนอง 3 ไร่ และนา 3 ไร่ พืน้ ทอี่ ่ืน ๆ 1 ไร่ • ด้านการจัดการ เร่อื ง ดนิ – เพมิ่ รายได้ 96,000 บาทต่อปี ลดค่าใชจ้ า่ ย 25,000 บาทต่อปี √ ลดผลกระทบการทำลายหนา้ ดิน 500,000 บาทต่อปี √ ลดการชะลา้ งหน้าดนิ 200 ตนั มลู คา่ 500,000 บาทต่อปี √ ลดต้นทุนการผลติ จากปุ๋ยเคมแี ละสารเคมี 25,000 บาทต่อปี √ ผลผลติ ทางกสกิ รรม ทีไ่ ดจ้ ากการเพาะปลกู ในนาข้าว 3 ไร่, 96,000 บาทต่อปี • ด้านการจดั การน้ำ – เพ่มิ รายได้ 48,000 บาทต่อปี ประหยดั งบประมาณภาครัฐในการสรา้ ง แหล่งน้ำ 300,000 บาท √ เพ่มิ พ้นื ทเี่ กบ็ น้ำ ประมาณ 20,000 ลบ.ม √ สรา้ งแหลง่ อาหารโปรตนี จากสัตว์น้ำ พืชน้ำ 48,000 บาทต่อปี √ ลดคา่ ใชจ้ ่ายในกรณนี ้ำทว่ ม น้ำแล้ง ดว้ ยการพึ่งตนเองและชว่ ยเหลอื เพ่ือนบา้ น รวมถงึ การ แก้ปญั หาน้ำเสยี • ป่าไม้ – ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เพิ่มรายได้ 260,000 บาท/ปี ลดค่าใช้จ่าย 150,000 บาท/ปี ประหยัดงบประมาณ 450,000 บาท/ปี √ ลดค่าใชจ้ า่ ยเรอ่ื ง อาหาร, ของใชใ้ นบ้าน, ยารกั ษาโรค อย่างนอ้ ย เดอื นละ 5,000 บาท √ อาหารทเ่ี กดิ จาก ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 5 ระดับ 240,000 บาทตอ่ ปี √ สร้างอากาศบริสุทธ์ิ ด้วยการดงึ เอา CO2 มาสงั เคราะหแ์ สงแล้วเปลย่ี นเปน็ O2 ปลี ะ 24 ตัน มลู ค่าทางเศรษฐศาสตร์20,000 บาทต่อปี √ ผลผลิตจากป่า เช่น ปุย๋ , สมนุ ไพร มลู ค่า 20,000 บาทตอ่ ปี √ ลดปญั หาหมอกควัน และ PM 2.5 มูลคา่ ผลกระทบ 125,000 บาทตอ่ ปี √ ลดความเสียหายจากการเผา มูลคา่ 450,000 บาทต่อปี • การสร้างคน – การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้รู้จักตั้งตนอยู่บนความพอเพียง และการรู้จักให้หรือ แบง่ ปัน รวมถงึ ความสามัคคผี า่ นการทำงานแบบคนจน (เอาม้ือ-ถือแรง-แบง่ ปนั หรอื ลงแขก) ลดความเหลื่อมล้ำ ทางสงั คม √ ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ผา่ นการทีร่ ้จู กั พอและการให้ (ขาดทนุ คือกำไร ยิ่งให้ไปย่งิ ได้มา) √ สร้างความเข้มแข็งระบบเศรษฐกิจฐานราก และความความย่ังยืนทางรากฐานสังคม (บวร) √ มูลค่าความเสียหายจากความขัดแย้งในประเทศ 5,000 – 30,000 ล้านบาท

เอกสารประกอบการเรยี นรู้ หลักเกษตรทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล | กศน.อำเภอหัวตะพาน | หน้า 7 สรุป โครงการโคก หนอง นา เป็นการสร้าง ความมั่นคง ในแหล่งทำกินด้านการเกษตร เลี้ยงสัตว์ สู้กับ ภัยแล้ง ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ให้หันกลับมา อุดมสมบูรณ์ โดยปรับปรุงพื้นที่รองรับ ฝนธรรมชาติ และ การเช่ือมโยงวงจรชวี ติ พืช สตั ว์ ใหเ้ ดนิ ทางร่วมกันได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook