Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอนเด็กให้เป็นคนดี

สอนเด็กให้เป็นคนดี

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-09-22 01:22:29

Description: สอนเด็กให้เป็นคนดี

Keywords: เด็ก,กา่รเรียน,การศึกษา

Search

Read the Text Version

๑๓. เข้าใจความรู้สกึ ของคนอ่ืน : เบ้ืองลกึ ของการสอื่ สาร สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๓. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอ่นื : เบ้ืองลึกของการสื่อสาร 99

“การสอ่ื สารทด่ี เี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการเปน็ คนดี มคี วาม เคารพเหน็ อกเหน็ ใจคนอนื่  การสอื่ สารทด่ี ที ส่ี ดุ นนั้ เปน็ การสมั ผสั กนั ระหวา่ งมนษุ ยต์ อ่ มนษุ ย์ สมั ผสั เขา้ ไปถงึ เบอื้ งลกึ ของจติ ใจ พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหม้ ที กั ษะน”ี้ 100 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๓. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอืน่ : เบ้ืองลึกของการสือ่ สาร

ในตอนที่ ๓ ของบทท่ี 6 กล่าวถึง  เบื้องลึกของการสื่อสาร   ผ้เู ขียนบอกว่าในถ้อยคำท่ีคนส่ือสารออกมา มีส่วนท่ีอยู่เบื้องลึกหรือ เบอื้ งหลงั (Meta-Message) ด้วยเสมอ  แม้แต่คนกับสุนัขเล้ียงกม็ ี การสอ่ื สารเบอ้ื งลกึ (Meta-Conversation) ตอ่ กนั โดยทต่ี า่ งกไ็ มร่ ู้ภาษา ของกันและกนั     ผู้เขยี นอ้างถึงคำคมของปราชญ์ท่านหนึ่งว่า “คนจะลืมสิง่ ท่ี คณุ พดู คนจะลืมสิ่งที่คุณทำ  แต่คนจะไม่ลืมสิ่งที่คุณทำให้เขารู้สกึ ”  ดังนั้น การส่ือสารที่ได้ผลคือ ต้องกระทบใจผู้ที่เราสื่อสารด้วย น่ีคอื ข้อเตอื นใจเรือ่ งวิธสี อนลกู /ศษิ ย์ ใหเ้ ป็นคนด ี   เด็กท่ีจะเติบโตเป็นคนดีต้องได้รับการฝึกฝนทักษะในการ ดำรงความสมั พันธร์ ะยะยาวกับคนอนื่ คำถามของเดก็ อายุ ๑๑ ขวบ  “ผมจะทำอย่างไรด ี ผมถกู เพ่ือนแกลง้ แต่ก็ไมอ่ ยากทำให้เพ่อื นเสยี ใจ” คำตอบของผู้เขียน  “เธอโดนเพ่ือนแกล้ง  และรู้สึกเดือดร้อน   แตก่ ็ไมอ่ ยากลกุ ขึ้นมาแสดงวา่ ไมช่ อบถกู กลัน่ แกล้ง  เปน็ การส่งสัญญาณ ทผ่ี ดิ ไปยงั เพอ่ื นวา่ ทเ่ี พอื่ นทำนนั้ เธอชอบ  และใหเ้ พอ่ื นทำตอ่ ไป  คำแนะนำ คอื เธอต้องเป็นเพ่ือนท่ีดีท่ีสุดของตัวเธอเอง  ดังนั้นเธอต้องส่งสัญญาณไปยังเพ่ือนว่า  ‘ฉนั เปน็ คนทคี่ วรไดร้ บั ความเคารพหรอื เกรงใจ’ สัญญาณน้ีอาจได้ผล หรืออาจไม่ได้ผล แตม่ นั ก็ชว่ ยบอกวา่ เม่ือเขาทำไม่ดตี ่อเธอ เธอไมพ่ อใจ   สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๓. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอื่น : เบื้องลึกของการสอ่ื สาร 101

เธอบอกว่าเธอรู้สึกเดือดร้อน แต่ก็ไม่อยากทำให้เพ่ือนเดือด ร้อนโดยการบอกให้เขาหยุดกลั่นแกล้ง  ฉันเข้าใจ  เพราะเขาอาจหาว่า เธอเป็นเหตใุ ห้ความเป็นเพื่อนส่ันคลอน  หรือการบอกอาจได้ผลก็ได้  แต่ถ้าเฉยก็แนน่ อนว่าเขาจะแกล้งอีกต่อไปเรื่อยๆ  เพราะฉะนน้ั หากเรา กลา้ ทจ่ี ะลกุ ขน้ึ มา บอก ทงั้ เร่อื งท่ีตวั เราเองไม่พอใจ  หรือชว่ ยบอกแทน เพ่อื น เรากำลังหาทางใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลง”  ผมคิดว่า เร่ืองแบบน้ี หากพ่อแม่/ครู เป็นที่ปรึกษาให้เด็กได้   และมโี อกาสพดู คยุ กนั โดยตรง  การสอื่ สารสองทางจะชว่ ยให้ คร/ู พอ่ แม่ ทำหนา้ ทโี่ คช้ ฝกึ การสอ่ื สารทม่ี คี วามหมายเบอื้ งลกึ (Meta-Message) ถกู ต้องไปยงั เพอ่ื นได ้ ในตอนที่ ๔  สือ่ สารอยา่ งตงั้ ใจ ๑๐๐% แนะนำพอ่ แมใ่ หห้ า เวลาพดู คยุ กบั ลกู อยา่ งตงั้ ใจจรงิ ๆ อยา่ งสมำ่ เสมอ มกี ารสบตา ปดิ เครอ่ื งมือ สื่อสารทงั้ หลาย เพราะจะเปน็ การฝกึ ลกู ใหม้ ที กั ษะ “ฟงั อยา่ งลกึ ” (Deep Listening) และทกั ษะการสอื่ สารอยา่ งแสดงความเคารพ หรอื ใหค้ วามสำคญั อกี ฝา่ ยหนง่ึ เปน็ เครื่องมือสำคัญของการสร้างความสัมพันธ์ที่แนน่ แฟ้น กบั คนอ่นื    ผู้เขียนแนะนำให้ในครอบครัว ชวนกันประเมนิ คณุ ภาพของการส่อื สาร พูดคุยกันภายในครอบครวั  และแนะนำวา่ ไม่ว่าพ่อแม่จะมีงานยุ่งเพียงใดก็ตาม  ต้องจัดเวลาสำหรับการพูดคุยอย่างม ี คุณภาพกับลูก เพราะนี่คือการเรียนรู ้ ปลกู ฝงั ความเปน็ คนดีของลูก 102 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๓. เข้าใจความรูส้ ึกของคนอืน่ : เบอ้ื งลึกของการส่อื สาร

คำถามของสาว ๑๖ “เพอ่ื นชายของหนบู อกเลกิ มาทางอนิ เทอรเ์ นต็    หนปู วดใจมาก ทเี่ ขาไมแ่ ครค์ วามรสู้ กึ ของหนเู ลย  เขาบอกวา่ เราไมม่ เี วลาอยู่ ดว้ ยกนั อยา่ งเพยี งพอ และไมเ่ คยเชอ่ื มใจกนั อยา่ งจรงิ จงั   เรามกี จิ กรรมยงุ่ ทง้ั สองคน  เขาไมย่ อมตอ่ รองเลย  หนพู ยายามเจรจา แตเ่ ขาไมค่ ยุ ดว้ ยและหนั ไป เลน่ เกมกบั เพอ่ื น  สว่ นทยี่ ากทส่ี ดุ คอื หนยู งั อยากเปน็ แฟนของเขา  หนคู วรทำ อยา่ งไร การทห่ี นพู ยายามงอ้ เขาเปน็ สงิ่ ทมี่ คี า่ ควรทำหรอื ไม”่ คำตอบของผเู้ ขยี น “ฉนั เขา้ ใจความยากลำบากในการส่ือสาร ของเธอ คนเราเมื่อมเี รื่องสำคัญ เราจะคุยกนั แบบพบหน้า  มจี กั ษสุ มั ผัส สังเกตน้ำเสียง ภาษาท่าทาง และอา่ นสหี น้าซึง่ กันและกัน ในการสอื่ สาร ผา่ นระบบไซเบอร์ เราไม่มีการส่ือสารแบบ Non-Verbal เลย การที่ เพ่ือนชายบอกเร่ืองนี้ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ไมห่ าทางคยุ กนั สองคน แสดงความ ไมเ่ คารพให้เกียรติและเห็นอกเห็นใจเธอ การมีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ต้องเลือกคนที่มีค่านิยมตรงกัน เน่ืองจากการส่ือสารกันอย่างเคารพ เห็นอกเห็นใจและให้เกียรติกันเป็นเรื่องสำคัญสำหรับเธอ  ต่อไปเม่ือ เธอมีเพ่ือนชายคนใหม่ (เช่ือขนมกนิ ไดเ้ ลยวา่ เธอตอ้ งมแี นๆ่ )  จงเลือก คนที่คิดแบบเดียวกนั สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๓. เข้าใจความรู้สึกของคนอ่ืน : เบ้ืองลึกของการสื่อสาร 103

          เพอ่ื นคนนี้ไม่เหมาะกบั เธอ  จงลมื เขาเสยี  ทำใจให้ได้ เดินต่อไป ในอนาคตทีด่ ีกวา่ น้”ี               ผม AAR กับตนเองว่า การส่ือสารท่ีดีเป็นส่วนหนึ่งของการ เปน็ คนดี มีความเคารพเห็นอกเห็นใจคนอ่ืน  การสือ่ สารท่ดี ีที่สุดนนั้ เป็นการสัมผัสกันระหว่างมนุษย์ต่อมนุษย์  สัมผัสเข้าไปถึงเบื้องลึก ของจติ ใจ พอ่ แม/่ ครู ต้องฝึกลูก/ศษิ ย์ ให้มที ักษะนี ้ วจิ ารณ์ พานชิ ๘ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/554600 104 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๑๓. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอน่ื : เบ้อื งลึกของการส่อื สาร

๑๔. การยอมรบั : จากตวั กูของกู สู่โลกกว้าง สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๔. การยอมรบั : จากตัวกูของกู สู่โลกกว้าง 105

“การมีนิสัยลงมือทำโดยไมบ่ น่ ทำใหส้ งิ่ ตา่ งๆ รอบตวั ดขี นึ้ เปน็ คณุ สมบตั สิ ำคญั ของการเปน็ คนดี คนมี ประโยชนต์ อ่ สงั คม” 106 สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๔. การยอมรับ : จากตัวกูของกู สู่โลกกวา้ ง

ตอนที่ ๑๔ น้ี ตีความจากบทท่ี ๗ How About Me?! Seeing Beyond Likes and Dislikes to the Bigger Picture โดยท่ีในบท ท่ี ๗ มี ๔ ตอน  ในบันทกึ ที่ ๑๔ จะตีความตอนที่ ๑ และ ๒  และใน บนั ทึกท่ี ๑๕ จะเปน็ การตคี วามตอนท่ี ๓ และ ๔             บทที่ ๗ ทง้ั บท ของหนังสอื เปน็ เรอื่ งการสอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี โดยขยายความสนใจจากตวั เองและเรอ่ื งใกลต้ วั ไปสโู่ ลกกวา้ ง ใหเ้ ขา้ ใจว่า ในโลกน้ยี ังมีคนอน่ื สิ่งอ่นื อกี มากมาย ที่เด็กจะต้องทำความร้จู ักและมี ความสัมพนั ธ์ท่ดี ี ผู้คนเหล่าน้ีต่างก็มีชีวิตเลือดเน้ือและความต้องการ ของเขา  การเรยี นรทู้ จี่ ะอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งเออื้ เฟอื้ เกอ้ื กลู กนั เปน็ การปพู นื้ ฐาน ไปเป็นผ้ใู หญท่ ม่ี ชี ีวิตท่ีด ี หรอื เป็นคนดี           ตอนแรก อย่าบ่น จงทำใหด้ ีขึ้น เป็นการฝึกเดก็ ให้เปน็ คนมอง โลกแง่บวกนนั่ เอง  การบ่นเปน็ การอยกู่ ับท่าทเี ชงิ ลบ แตเ่ มื่อเราพบส่ิงท่ี ยงั ไม่พอใจ เราเขา้ ไปลงมือทำให้ดีข้ึน เท่ากับเป็นการใช้ท่าทีเชิงบวก   หากพ่อแม่/ครู ปฏิบัติเป็นตัวอย่าง เด็กก็จะได้เรียนรู้ และได้นิสยั ดี ติดตวั ไป  การมนี ิสัยลงมือทำโดยไม่บ่น ทำให้สิ่งต่างๆ รอบตัวดีข้นึ เปน็ คณุ สมบัติสำคญั ของการเป็นคนดี คนมปี ระโยชนต์ ่อสงั คม             นั่นคอื เม่อื ไมพ่ อใจพฤติกรรมใดๆ ของเดก็  จงอยา่ บ่นว่า แต่ให้ ชวนทำสงิ่ ที่จะแก้ไขพฤติกรรมไมด่ ีน้นั   และเม่ือการลงมือทำนั้นกอ่ ผลดี จงชม ชมโดยอธบิ ายว่าส่ิงนน้ั ดอี ยา่ งไร  จะเป็นคุณต่อชีวิตในอนาคต ของเดก็ อยา่ งไร   หากรเู้ ปา้ หมายในชวี ติ หรอื ความใฝฝ่ นั ของเดก็ จงเชอื่ มโยง วา่ การทำสง่ิ ดนี น้ั จะนำไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายทเ่ี ดก็ ใฝฝ่ นั อยา่ งไร           ผมมองวา่ การดดุ า่ วา่ กลา่ วเดก็ เปน็ การสง่ สญั ญาณความเหน็ แกต่ วั ของผใู้ หญ ่ แตแ่ ทนทจี่ ะดดุ า่ วา่ กลา่ ว เราใชว้ ธิ ชี วนเดก็ ลงมอื ทำ (เดก็ ชอบทำ อยแู่ ลว้ โดยธรรมชาต)ิ และบรรลคุ วามสำเร็จทเี่ ด็กภูมใิ จ แล้วผใู้ หญ่ชวน สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๔. การยอมรับ : จากตัวกูของกู สู่โลกกวา้ ง 107

เด็กไตรต่ รองทบทวนวา่ การฝกึ ทำสง่ิ นน้ั มคี ณุ คา่ ตอ่ เดก็ ในปจั จบุ นั และใน อนาคตอยา่ งไร กจิ กรรมทง้ั หมดนนั้ เปน็ การสง่ สญั ญาณวา่ ผใู้ หญม่ คี วามรกั และใหค้ วามสำคญั ตอ่ ตวั เดก็   ในกระบวนการน้ี ผใู้ หญส่ ามารถชชี้ วนใหเ้ ดก็ ลองเปรยี บเทยี บระหวา่ งพฤตกิ รรมเดมิ (ทไี่ มด่ ี แตผ่ ใู้ หญไ่ มบ่ น่ วา่ หรอื ดดุ า่ วา่ กลา่ ว) กบั กจิ กรรมใหม่ วา่ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร อนั ไหนมคี ณุ ตอ่ ตวั เดก็ มากกวา่ ผ้ใู หญย่ กตัวอย่างวธิ ีฝกึ เด็กด้วยการลงมอื ทำ ไม่บน่ วา่   ว่าเมอื่ ลกู วัยรนุ่ มาขอเบกิ เงนิ คา่ โทรศัพทม์ อื ถือราคา ๑,๐๐๐ เหรยี ญ (ซ่งึ เป็น ของแพงที่เด็กที่ยังไม่มีรายได้เป็นของตนเองไม่ควรซื้อใช้) พ่อแมบ่ อก วา่ การซอื้ ของราคาแพงเชน่ นพี้ อ่ แมร่ บั ไมไ่ ด้ ลกู ตอ้ งจา่ ยเอง จบ ไมม่ กี าร ดุดา่ ว่ากลา่ ว มีแตก่ ารกระทำ คือไม่จา่ ย เด็กตอ้ งจา่ ยเอง ข้อความในบทนี้ทำให้ผมนึกถึง Transformative Learning ซ่งึ หมายถึง (๑) การเรยี นรู้แบบเปล่ยี นแปลงจากภายในตน (๒) การ เรยี นรฝู้ กึ ฝนเปน็ คนทมี่ ภี าวะผนู้ ำ คอื เปน็ ผนู้ ำการเปลยี่ นแปลง (Change Agent) ซงึ่ กค็ อื ผลู้ งมอื ทำเพอื่ สรา้ งการเปลยี่ นแปลง  ไมใ่ ชผ่ เู้ ฝา้ แตพ่ รำ่ บน่ ในคติยิว เขาสอนว่า คนทุกคนต้องออกไปทำส่ิงที่ไม่ใช่งานประจำ “เพอ่ื ซ่อมแซมโลกใหด้ ีขึน้ ” คนดีคอื คนท่ีลงมอื ทำ เพ่อื ชว่ ยใหโ้ ลกดีข้ึน ผู้เขียนแนะนำให้พ่อแม่คุยกับลูก และร่วมกัน ประเมนิ บรรยากาศภายในบา้ น (อยา่ ระบวุ า่ ใครทำ) มกี ารบน่ วา่ กบั การลงมอื ทำใหด้ ขี น้ึ มากน้อยแค่ไหน สถานการณ์ดีข้ึน หรือเลวลงอย่างไร บอกลกู ให้ “เปดิ เทป” เสยี งบน่ ของพอ่ แม ่ และชว่ ยกนั หาวธิ ที ำใหเ้ สยี งบน่ ลดลง และตดิ ตามผลเปน็ รายสปั ดาห์  แทนท่ีด้วยการช่วยกันลงมือทำเพื่อแก้ไขส่ิงที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งผม คิดว่าวิธีนี้นา่ จะใชใ้ นโรงเรียนได้ด้วย        108 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๔. การยอมรบั : จากตวั กูของกู สูโ่ ลกกวา้ ง

คำถามจากครขู องลูกผเู้ ขียน “ลูกชายอายุ ๑๒ ไปอยกู่ บั ยาย และตาสองสามวันพร้อมกับลูกพี่ลูกน้องหลายคน ลกู ชายครำ่ ครวญวา่ ยายรกั หลานคนอน่ื มากกวา่   ยายบอกวา่ ลกู พลี่ กู นอ้ งขออา่ นหนงั สอื ของ ลกู ชาย  และยายบอกใหล้ กู ชายใหพ้ ๆี่ นอ้ งๆ อา่ น วา่ ไมใ่ ชเ่ รอื่ งใหญโ่ ต อะไร  ลกู ชายขอใหไ้ ปรบั กลบั กอ่ นกำหนด  แตต่ นคดิ วา่ ควรใหโ้ อกาสลกู ไดแ้ กป้ ญั หา และเปน็ โอกาสของการเรยี นรเู้ พอื่ การพฒั นาความเปน็ ผใู้ หญ่ ตนเปน็ หว่ งวา่ ลกู ชายมกั คดิ วา่ ตวั เองตกเปน็ เหยอื่ ” คำตอบของผู้เขียน “ท่ีจริงเรื่องแบบน้ ี เปน็ ของธรรมดาสำหรบั เดก็ แตท่ สี่ ะกดิ ใจคอื คณุ บอกว่า ลูกชายชอบคิดว่าตนตกเปน็ เหยื่อ คำถามคือ ทบี่ ้านและ ที่โรงเรยี น ลูกชายทำตัวเปน็ เหยอ่ื หรือเปลา่ ” คำถามรอบสองจากแม ่ “เห็นพฤติกรรมเป็นเหย่ือทั้งท่ีบ้าน และทโ่ี รงเรยี น ทบ่ี า้ นเขาโทษแม่ วา่ ทำใหต้ นไมม่ กี างเกงขาสน้ั ทซี่ กั แลว้ ใช ้ ทง้ั ๆ ทเ่ี ขารบั ผดิ ชอบการซกั ผา้ ของตนเองทง้ั หมด ทโ่ี รงเรยี นเขาโทษครู ว่าทำใหก้ ารบ้านของเขาหาย  ฉันได้พยายามอธิบายให้เขารับผิดชอบ กิจกรรม/พฤตกิ รรมของตัวเอง” คำตอบของผเู้ ขยี น “เดก็ มกั เลยี นแบบผใู้ หญท่ มี่ อี ทิ ธิพลที่บ้าน   หากเหน็ วา่ พฤตกิ รรมของผใู้ หญช่ ว่ ยขจดั อปุ สรรคในชีวิตไปได้  ถ้าพ่อแม่ โทษกันไปโทษกันมา  นน่ั คือที่มาของพฤตกิ รรมของลูก” สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๑๔. การยอมรบั : จากตัวกูของกู สู่โลกกวา้ ง 109

รอบสามจากแม ่ “สามที ห่ี ยา่ กนั ไปแลว้ ชอบโทษ วา่ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ติ วา่ เกดิ จากปจั จยั ภายนอก แทนทจ่ี ะสำรวจและปรบั ปรงุ ตนเอง  ตอน ลกู ชายยงั เลก็ ครง้ั หนงึ่ ลกู หวั ไปโขกประต ู พอ่ ของเขาปลอบลกู และกลา่ ววา่ ประตเู ลวมาก เรว็ ๆ นลี้ กู ทะเลาะกบั เพอ่ื นผหู้ ญงิ และพอ่ ของเขาเขา้ ไปวา่ เดก็ ผหู้ ญงิ วา่ พอ่ แมไ่ มส่ ง่ั สอน แตเ่ มอื่ ตนเองคยุ กบั ลกู ชาย เขากย็ อมรบั วา่ เขามี สว่ นผดิ ในการววิ าทนนั้  ไมท่ ราบวา่ ลกู ยงั เชอ่ื พอ่ แคไ่ หน ลกู เขาเทดิ ทนู พอ่ มาก” คำตอบของผู้เขยี น  “สว่ นหน่งึ ของการบรรลวุ ฒุ ภิ าวะ คอื การ ร้จู ักรบั ผิดชอบตอ่ การกระทำของตนเอง  และรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลของการ กระทำน้นั  ลูกชายยงั อายเุ พยี ง ๑๒ ยงั ตอ้ งเรยี นรู้อกี มาก และเขาโชคดี ทไี่ ดค้ ำแนะนำปอ้ นกลบั ดว้ ยความรกั ความเอาใจใสจ่ ากแมแ่ ละจากคนอน่ื ทร่ี กั และหว่ งใยเขา การทคี่ นทมี่ คี วามสำคญั ทสี่ ดุ ตอ่ เขาสองคนเหน็ ไมต่ รงกนั ในเรอื่ งนี้ ยอ่ มเปน็ ความทา้ ทาย แตเ่ มอื่ ลกู ชายเตบิ โตขน้ึ ไปเรยี นชน้ั มธั ยมตน้ และมัธยมปลาย เขากจ็ ะมีผใู้ หค้ ำแนะนำเพม่ิ ขนึ้   และนสิ ยั โทษผอู้ นื่ กจ็ ะ ไดร้ บั คำแนะนำปอ้ นกลบั หวังวา่ เขาจะไดเ้ รียนรแู้ ละปรับตวั จนสามารถ สรา้ งความสัมพันธท์ ี่ดีกับผ้อู ่นื ได้”           ตอนที่ ๒ การให ้ เปน็ เรอ่ื งพฒั นาการของชวี ติ คนเราทกุ คน ทต่ี อ้ ง เปลยี่ นจาก “ชวี ติ ผรู้ บั ” ในตอนเปน็ ทารกและเดก็ เลก็  แลว้ คอ่ ยๆ เปลยี่ น โลกทศั นแ์ ละทกั ษะ สกู่ ารเปน็ “ผใู้ ห”้ มากขนึ้ เรอื่ ยๆ เมอื่ โตขนึ้ พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งชว่ ยเหลอื หรอื ฝกึ เดก็ ใหม้ พี ฒั นาการนอี้ ยา่ งเหมาะสม เดก็ ทยี่ งั ยดึ ตดิ ใน “ชวี ติ ผรู้ บั ” อยา่ งเหนยี วแนน่ แมอ้ ายเุ ขา้ ๕ ขวบแลว้ เปน็ เดก็ โชครา้ ย ที่ พอ่ แม/่ ครู เลย้ี งผดิ  กลายเปน็ เดก็ ทมี่ พี ฒั นาการบกพรอ่ งทางจติ ใจ ทง้ั หมด ในยอ่ หนา้ นผี้ มตคี วามและตอ่ เตมิ เอง  ไมไ่ ดเ้ ขียนจากสาระในหนงั สอื ตรง ตามตัวอกั ษร    110 สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๔. การยอมรบั : จากตัวกูของกู สู่โลกกว้าง

          ความอย่รู อดในชีวิตของทารกและเด็กเล็กอยู่ทก่ี ารเรยี กร้องเอา จากพ่อแม่/คนเลี้ยง  แต่สภาพนี้จะค่อยๆ เปลย่ี น จนกลับตรงกนั ขา้ ม เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ คือความอยู่รอด/อยู่ดี อยู่ท่ีการเอื้อเฟ้ือหรือการให้ ท่จี ะนำไปสกู่ ารเป็นท่ียอมรบั นับถือในสังคม และสามารถทำงานใหญไ่ ด้ พฒั นาการในชีวิตคนเราเร่มิ จากเห็นแกต่ วั   ไปสเู่ หน็ แกผ่ ูอ้ นื่ เหน็ แกส่ ว่ นรวม ใครทก่ี ระบวนการพฒั นาการนบ้ี กพรอ่ ง ชวี ติ กบ็ กพรอ่ ง           ชวี ติ คือการเดินทาง จากโลกแคบ (ตัวตนคนเดียว)  สู่โลกกวา้ ง และสังคม คนเราตอ้ งเรียนรเู้ พือ่ การเดินทางน ้ี   คำถามของสาว ๑๓ “แมช่ อบดหุ นู และเอาใจแตน่ อ้ งสาว หนู พยายามจะไมโ่ วยวาย แตแ่ มก่ ท็ ำใหห้ นพู ลงุ่ ขน้ึ มาทกุ ท ี หนหู นเี ขา้ ไปรอ้ งไห้ ในหอ้ ง แมก่ ว็ า่ หนแู กลง้ ทำ หนรู วู้ า่ แมร่ กั หนู แตแ่ มร่ กั นอ้ งมากกวา่ และแมม่ ี วธิ แี สดงความรกั หนแู บบแปลกๆ หนรู สู้ กึ ดกี บั พอ่ เพราะพอ่ รกั ลกู เทา่ กนั  แต่ กบั แมห่ นรู สู้ กึ คลา้ ยเปน็ การแยง่ ความรกั จากแม่ และนอ้ งชนะทกุ ท ี แมห้ นจู ะ เขา้ วยั ทนี แลว้ กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ หนไู ม่ต้องการให้แมก่ อดยามรู้สึกไมด่ ี  ไมใ่ ชแ่ ค่บอกว่าดีแล้ว” คำตอบของผู้เขยี น (Annie Fox) “ฉันเขา้ ใจว่า เธอต้องการให้แมเ่ ขา้ ใจเธอ สนใจเอาใจใส่เธอในฐานะ คนพิเศษ เธอรู้สึกว่านอ้ งสาวไดร้ ับความเอาใจใสแ่ บบน้นั   แตเ่ ธอไมไ่ ดร้ บั จากแม ่ ไมว่ า่ จะทำดอี ยา่ งไรกไ็ มไ่ ดร้ บั คำชม จากแม ่ กรณนี เี้ ปน็ สถานการณท์ ยี่ าก  ไมท่ ราบวา่ แมข่ องเธอตระหนกั ใน ความรสู้ กึ นขี้ องเธอหรอื ไม ่ หากหาทางใหแ้ มต่ ระหนกั ไดก้ จ็ ะเปน็ การดี สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๔. การยอมรับ : จากตัวกูของกู สู่โลกกวา้ ง 111

น่าดีใจทเ่ี ธอเข้ากับพ่อได้ดี เป็นไปได้ไหมที่จะอาศยั พอ่ ช่วยพดู กบั แม่  ให้แม่ได้รับรู้ความรู้สึกของเธอ  ซึ่งจะช่วยให้แม่ได้ปรับตัวใน การแสดงออกกบั เธอ” สาว ๑๓ รอบสอง “ขอบคุณมาก  คำแนะนำช่วยได้มาก   แตไ่ มส่ ะดวกใจทีจ่ ะพดู เรือ่ งน้ีกับพอ่  จะพยายามด้วยตัวเอง” คำตอบของผู้เขยี นรอบสอง  “วิธีไหนก็ได้ ฉันเดาว่าแม่ไม่รวู้ า่ เธอรู้สึกอย่างไร  ฉันสังเกตว่าเธอเขียนหนังสือเก่ง ทำไมไมล่ องเขยี น จดหมายถึงแม่และนำไปยื่นให้ด้วยตนเอง  เขียนแบบเดียวกับที่เขียนถึง ฉันน่ีแหละ”       วจิ ารณ์ พานชิ ๙ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/555218 112 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๔. การยอมรบั : จากตวั กูของกู สู่โลกกวา้ ง

๑๕. การยอมรบั : เรยี นรู้การเปลยี่ นแปลง และภาพใหญข่ องชวี ติ สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรยี นรู้การเปล่ียนแปลง และภาพใหญ่ของชวี ติ 113

“ผู้ใหญ่ต้องพร้อมท่ีจะเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ จากเป็นผู้กำกับพฤติกรรม มาทำหน้าท่ีโค้ชของการพัฒนา ชีวิตอสิ ระของลกู /ศษิ ย”์ “พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งชว่ ยกนั โคช้ เดก็ ใหเ้ รยี นรกู้ ารพฒั นา ตนเองไปใหถ้ กู ทาง ในชว่ งของการพฒั นาชวี ติ อสิ ระน ้ี ทกั ษะนี้ ของพอ่ แม/่ ครู มคี วามสำคญั อยา่ งยงิ่ ...” 114 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรียนรู้การเปลย่ี นแปลง และภาพใหญ่ของชีวติ

ตอนที่ ๓ ของบทท่ี ๗ ในหนงั สอื กลา่ ว... ถงึ เวลาเปลย่ี น เปน็ การ ทำความเข้าใจว่าชีวิตคือการเปล่ียนแปลง  พ่อแม่/ครู ต้องเข้าใจการ เปลย่ี นแปลงทเ่ี กิดขึ้นกบั ลูก/ศิษย์ เปน็ ช่วงๆ  จากชีวิตที่มศี ูนยก์ ลางอยทู่ ่ี ตวั เอง  ไปสู่ชวี ติ ที่มหี ลายศูนยก์ ลาง และมีปฏิสัมพันธ์ทซี่ บั ซ้อน เพอื่ ให้ เดก็ คอ่ ยๆ เรยี นรู้ “ภาพใหญ”่ ของชวี ติ   ปญั หาทเ่ี ดก็ เผชญิ ในชว่ งตา่ งๆ ของชวี ติ เปน็ “เรอื่ งเดก็ ๆ” หรอื เรอ่ื งเลก็ สำหรบั ผใู้ หญ่ แตเ่ ปน็ เรอื่ งใหญแ่ ละจรงิ จงั สำหรบั เดก็   ขอ้ เตอื นใจ สำหรบั พอ่ แม/่ ครู กค็ อื ผูใ้ หญ่ตอ้ งเข้าใจการเปล่ยี นแปลง โดยเฉพาะ ชว่ งวยั รนุ่   ผใู้ หญต่ อ้ งพรอ้ มทจี่ ะเปลย่ี นแปลงความสมั พนั ธ์ จากเปน็ ผกู้ ำกบั พฤตกิ รรม มาทำหนา้ ทโ่ี คช้ ของการพฒั นาชวี ติ อสิ ระของลกู /ศษิ ย ์   ในชว่ งทเ่ี ปน็ ทารกและเดก็ เลก็ ชวี ติ เกอื บทง้ั หมดอยกู่ บั พอ่ แม่ เมอื่ โตขนึ้ แวดวงของเดก็ กก็ วา้ งขน้ึ และกลายเปน็ โลกของปฏสิ มั พนั ธก์ บั เพอ่ื นใน ชว่ งวยั รนุ่  พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งชว่ ยกนั โคช้ เดก็ ใหเ้ รยี นรกู้ ารพฒั นาตนเองไปให้ ถกู ทาง ในชว่ งของการพฒั นาชวี ติ อิสระน ้ี ทกั ษะนีข้ องพอ่ แม/่ ครู มี ความสำคญั อยา่ งยง่ิ  และเปน็ ประเดน็ สำคญั ของบทน ี้ ผใู้ หญพ่ งึ ตระหนกั วา่ ในชว่ งวยั รนุ่ คนเราตอ้ งการอสิ ระ  แตอ่ สิ ระ แบบไรข้ อบเขตเปน็ อนั ตรายตอ่ เดก็ มากกวา่ เปน็ ผลดี การดแู ลเดก็ วยั รนุ่ อยา่ ง พอเหมาะพอดรี ะหวา่ งการใหค้ วามเปน็ อสิ ระ และการมกี รอบกตกิ า จงึ เปน็ ความทา้ ทายยงิ่   และเปน็ การเรยี นรทู้ ไี่ มม่ วี นั จบ รวมทง้ั เปน็ โจทยว์ จิ ยั ทท่ี า้ ทาย เพราะบรบิ ทสงั คมเปลยี่ น อยตู่ ลอดเวลา    สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรยี นรูก้ ารเปล่ียนแปลง และภาพใหญข่ องชวี ติ 115

คำถามของครขู องลกู   “ลกู สาว (สมมตวิ า่ ชอื่ แอนน)์ เรยี น ป. ๖ เรมิ่ แตง่ หนา้ ทาปาก และแตง่ ตวั เปน็ สาวเรดิ ในขณะทเี่ ดก็ ผหู้ ญงิ ในชน้ั เกอื บ ทงั้ หมดไมแ่ ตง่ หนา้  พอ่ แมข่ องเพอ่ื นลกู บอกวา่ เขามองแอนนเ์ ปน็ ตวั อยา่ งไม่ ดขี องลกู เขา  ฉนั อยากใหเ้ ขาแตง่ ตวั เรยี บรอ้ ย และไมแ่ ตง่ หนา้ ทาปาก  พอ่ แม่ คนอนื่ ๆ บอกวา่ เปน็ สงครามทไ่ี มม่ ที างชนะ สามแี ละลกู ชายวยั ๑๘ บอกวา่ แมก่ งั วลเกนิ ไป  ฉนั วติ กเกนิ ไปหรอื เปลา่ ” คำตอบของผเู้ ขยี น “ฟงั ดแู ลว้ คลา้ ยกับว่าคุณคิดวา่ คณุ ไมม่ ที าง กำกบั พฤตกิ รรมของลกู อายุ ๑๒ จรงิ ๆ แลว้ คณุ มอี ยา่ งเหลอื เฟอื  ฟงั ดคู ลา้ ยๆ มอี ะไรขาดไป เด็กเอาเงินทีไ่ หนไปซ้อื เสอื้ ผา้ และเครอื่ งสำอาง คณุ ไปกบั ลกู หรอื เปลา่ ตอนเธอซอ้ื เสอื้ ผา้ และเครอื่ งสำอาง หากคณุ ยอมตามทลี่ กู ซอื้ กเ็ ทา่ กบั คณุ สง่ สญั ญาณวา่ คณุ เหน็ ดว้ ยกบั ทล่ี กู จะ แตง่ หนา้ และแตง่ ตวั อยา่ งนนั้  ถา้ คณุ ไมเ่ หน็ ดว้ ย กบั การแตง่ ตวั อยา่ งนน้ั คณุ กไ็ มค่ วรจา่ ยเงนิ ซอื้ ให”้ คำถามรอบสอง “สามเี ปน็ คนซอื้ เปน็ สว่ นใหญ่ ตอนทแ่ี มไ่ ปดว้ ย ลกู กไ็ ปลองเสอ้ื เอง  โดยแมไ่ มค่ ดิ วา่ จะเปน็ เสอ้ื ทเ่ี ปดิ เผยรา่ งกายอยา่ งนนั้ ทง้ั พอ่ และพบี่ อกวา่ แมค่ ดิ มากไป แตก่ ม็ พี อ่ แมข่ องเพอื่ นลกู สาวคนหนง่ึ บอกวา่ อยา่ เอาอยา่ งลกู สาวของตน ตนไดห้ าทางพดู กบั ลกู สาว วา่ ผคู้ นเขาจะตดั สนิ วา่ เธอเปน็ คนอยา่ งไรจากการแตง่ กาย  สามเี รม่ิ เขา้ ใจวา่ การแตง่ กายแบบ ยวั่ ยวนและแตง่ หนา้ จะมผี ลอยา่ งไรตอ่ ลกู สาว” 116 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรยี นรูก้ ารเปลย่ี นแปลง และภาพใหญข่ องชวี ิต

คำตอบของผเู้ ขยี น “ลูกสาวต้องการคุณเปน็ ท่พี งึ่ เพราะเธอยงั ไมเ่ ขา้ ใจผลของการแตง่ กายแบบยวั่ ยวน ซงึ่ เทา่ กบั เปน็ การสง่ สญั ญาณไปยงั เดก็ หนุ่มในโรงเรียน  คุณต้องคุยกับสามี และเปน็ นำ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั ในการสอนลกู สาววา่ การแตง่ กาย เชน่ นน้ั ไมเ่ หมาะสม เปน็ อนั ตรายตอ่ ตวั ลกู เอง และ นคี่ อื กตกิ าของบา้ น รวมทง้ั บอกลกู ชายอายุ ๑๘ วา่ อยา่ เขา้ มายงุ่ ” ตอนที่ ๔ ภาพใหญข่ องชวี ติ   เปน็ ธรรมดาทเี่ ดก็ วยั รนุ่ จะเผชญิ วกิ ฤตขิ องชวี ติ หรอื ความผดิ หวงั เปน็ ครง้ั คราว  เปน็ วกิ ฤตสิ นั้ ๆ และสว่ นใหญ่ เปน็ “เรอื่ งเดก็ ๆ”  เปน็ หนา้ ทข่ี องผใู้ หญท่ จี่ ะชว่ ยประคบั ประคอง ชว่ ยเหลอื เตอื นสต ิ ใหฟ้ นั ฝา่ วกิ ฤตนิ นั้ ไปได้ พรอ้ มกบั เรยี นรเู้ ปน็ ประสบการณช์ วี ติ ทม่ี ี คณุ คา่   คอยเตอื นสตเิ ดก็ วา่ วกิ ฤตนิ น้ั เปน็ เพยี งสว่ นหนงึ่ ของภาพใหญใ่ นชวี ติ ซงึ่ ยงั อกี ยาวไกล   ยามเดก็ มที กุ ข์ ใหโ้ คช้ เตอื นความจำถงึ ทกุ ขใ์ นอดตี ทเ่ี ดก็ เคยผา่ น มาแล้ว  และช้ีให้เห็นว่า เด็กเคยเอาชนะหรือทนความทุกข์เช่นน้ันได้ ความทกุ ขค์ ราวนี้ เดก็ กจ็ ะเอาชนะหรอื ฟนั ฝา่ ไปไดเ้ ชน่ เดยี วกนั    ชวี ติ คอื การเดนิ ทางและเรยี นรจู้ ากเรอ่ื งจรงิ ทปี่ ระสบกบั ตนเอง   หรอื ตนเองเปน็ ผแู้ สดง  ในหนงั สอื เลม่ น้ี กลา่ วถงึ การเดนิ ทางของอารมณ์ ความรสู้ กึ มากเปน็ พเิ ศษ  เปน็ การเปลยี่ นแปลงทร่ี นุ แรงและรวดเรว็ เมอ่ื เดก็ โตขนึ้   และผใู้ หญม่ กั ไมม่ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจหรอื ทกั ษะในการชว่ ยเหลอื เดก็ โดยหลกั การคอื ใหใ้ ชค้ วามรกั ความเมตตาเหน็ อกเหน็ ใจเปน็ ยาขนานหลกั เจอื ดว้ ยความเขา้ ใจการเปลยี่ นแปลง/พฒั นาการของเดก็ ตามทร่ี ะบใุ นหนงั สอื สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรียนรูก้ ารเปล่ียนแปลง และภาพใหญ่ของชวี ิต 117

เมอ่ื พอ่ แม/่ ครู ชว่ ยโคช้ เดก็ ดว้ ยความรกั ความเมตตา สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั คอื การปลกู ฝงั ความรกั ความเมตตาในตวั เดก็   ใหเ้ ขาเตบิ โตเปน็ คนดี ซง่ึ เทา่ กบั พอ่ แม/่ ครู ไดช้ ว่ ยกนั ทำให้ โลกนน้ี า่ อยขู่ นึ้   สงิ่ หนงึ่ ทเ่ี ดก็ ควรไดเ้ รยี นร ู้ คอื การแสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ (อยา่ ง สภุ าพ สรา้ งสรรค)์ เปน็ เรอ่ื งปกตขิ องมนษุ ย์ แตก่ ารอาละวาดตโี พยตพี าย ไมใ่ ชส่ งิ่ ควรทำ ตอนเปน็ ทารกคนเราตอ้ งรอ้ ง ตอ้ งโวยวาย เพราะทำไดแ้ คน่ นั้ เพอื่ เรยี กรอ้ งความสนใจ แตเ่ มอื่ เตบิ โตขน้ึ คนเราสามารถพดู ได้ แสดงออกได้ หลายทาง เราตอ้ งเรยี นรทู้ จี่ ะแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ การแสดงออกดว้ ยการโวยวาย ครำ่ ครวญ บน่ โทษคนอนื่ เปน็ การ แสดงออกซงึ่ ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมดา้ นลบของตน  ซง่ึ ไมเ่ ปน็ ผลดตี อ่ ตนเอง คนเราตอ้ งฝกึ ทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมดา้ นบวก  คอื การลงมอื ทำอยา่ งสรา้ งสรรค์ อยา่ งรบั ผดิ ชอบ และอยา่ งเคารพและเหน็ อกเหน็ ใจหรอื มเี มตตากรณุ าตอ่ ผอู้ น่ื 118 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรยี นรูก้ ารเปลีย่ นแปลง และภาพใหญ่ของชวี ติ

คำถามของสาว ๑๓ “หนมู ผี ลการเรยี นเปน็ เยย่ี ม ตลอดชว่ ง ม. ตน้ หนเู หน็ เพอื่ นๆ มเี พอื่ นชาย แตห่ นไู มม่  ี คนหนา้ ตาดรี ะดบั ๙.๕ จากคะแนน เตม็ ๑๐ เปน็ นกั บาสเกตบอล และวอลเลยบ์ อล และไดร้ บั รางวลั ศลิ ปนิ เยย่ี ม ของโรงเรยี น  ทำไมจงึ ไมม่ แี ฟน  หนสู งู เกนิ ไปหรอื เปลา่ หรอื วา่ หนเู ปน็ คน มน่ั ใจตวั เองเกนิ ไป  หนไู มใ่ ชค่ นป๊อบปูลาร์  แต่ก็ไม่มีคนตง้ั ขอ้ รงั เกยี จหน ู หนไู มค่ ดิ วา่ ควรจะประเมนิ คนดว้ ยความสมั พนั ธก์ บั เพอ่ื นตา่ งเพศ  แตห่ นกู ส็ งสยั วา่ มอี ะไรผดิ ปกตใิ นตวั หนู  หนรู สู้ ึกว่าตัวเองอาจตอ้ งอยู่คนเดยี วตลอดไป  หนอู ยากรวู้ า่ ตนเองทำอะไรผดิ  เพอ่ื วา่ เมอ่ื ขนึ้ ม. ปลาย จะไดแ้ กไ้ ขตนเอง” คำตอบของผเู้ ขยี น “เหน็ ใจทเ่ี พอื่ นๆ มเี พอื่ นชาย แตเ่ ธอไมม่ ี การ ทค่ี นเราจะตอ้ งตาตอ้ งใจกนั นนั้ เปน็ เรอื่ งบงั เอญิ หรอื โชคชะตา  ในขณะทเี่ ธอทำอะไรไมไ่ ดก้ บั โชคชะตา แตเ่ ธอกป็ รบั ปรงุ ตวั เองได ้ โดยการฝกึ ตนเองใหค้ ดิ ดา้ นบวก ไมค่ ดิ วา่ ตนเองจะตอ้ งอยคู่ นเดยี วไปตลอดชวี ติ ซงึ่ เปน็ ความคดิ ดา้ นลบ เธอคดิ ถกู แลว้ ทบ่ี อกวา่ เราไม ่ ประเมนิ คนจากการมเี พอ่ื นตา่ งเพศ คำแนะนำ คอื ใหเ้ ชอ่ื ความคดิ วา่ การไมม่ แี ฟนไมใ่ ชป่ ญั หา และลองคดิ ใหมว่ า่ การยงั ไมม่ เี พอื่ นชายเปน็ สงิ่ ด ี แลว้ ดวู า่ เกดิ อะไรขนึ้ กบั ชวี ติ ”  สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรียนรูก้ ารเปลย่ี นแปลง และภาพใหญข่ องชวี ิต 119

          ผมไมค่ อ่ ยถกู ใจนกั ตอ่ คำตอบของผเู้ ขยี นขา้ งบน ถา้ เปน็ ผม ผมจะ ตอบวา่ ชวี ติ ขา้ งหนา้ ยงั อกี ยาวนกั   โอกาสพบเพอื่ นชายทถ่ี กู ใจยงั มอี กี มาก  และวธิ ที ำใหต้ วั เองมเี สนห่ ด์ งึ ดดู ใจเพมิ่ จากความสามารถทเ่ี ธอมอี ยลู่ น้ เหลอื คอื ความรา่ เรงิ เบกิ บาน ทจ่ี ะเกดิ จากการมองโลกแงบ่ วก ตามทผ่ี เู้ ขยี นแนะนำ           ผมใครข่ อยำ้ ไว้ ณ ทน่ี วี้ า่ คำแนะนำของผเู้ ขยี นตอ่ คำถามทยี่ กมานนั้   เปน็ การตอบตามบรบิ ทของสงั คมอเมรกิ นั  หากจะนำมาใชใ้ นบรบิ ทสงั คมไทย ตอ้ งปรบั ใหเ้ หมาะสม      วจิ ารณ์ พานชิ ๙ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/556017 120 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๕. การยอมรับ : เรียนรู้การเปลยี่ นแปลง และภาพใหญข่ องชวี ิต

๑๖. ความกลา้ หาญทางสงั คม : ทักษะดำรงมติ รภาพ สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๖. ความกลา้ หาญทางสังคม : ทกั ษะดำรงมิตรภาพ 121

“นอกจากช่วยให้ตัวเด็กเองไม่ตกเป็นเหยื่อแล้ว  ผู้ ใหญ่ควรส่งเสริมให้เด็กมีความกล้าหาญพอท่ีจะช่วยเพ่ือน ทต่ี กเป็นเหยอ่ื   ให้หลดุ พน้ จากแรงกดดนั น ้ี ซงึ่ เปน็ การฝกึ ฝน ความมนี ้ำใจเห็นอกเห็นใจคนอ่ืน โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนที่ ออ่ นแอกวา่ ” 122 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสงั คม : ทักษะดำรงมิตรภาพ

ทงั้ บทที่ ๘ ของหนงั สอื เปน็ เรอื่ ง มติ รภาพ และความกลา้ หาญใน การเปน็ ตวั ของตวั เอง และสอ่ื สารทำความเขา้ ใจเพอื่ ธำรงมติ รภาพ            ตอนท่ี ๑ ของหนงั สอื กลา่ วถงึ มติ รภาพเปน็ ถนนสองทาง วา่ ดว้ ยการ โคช้ เดก็ ใหม้ คี วามกลา้ หาญ แสดงความเปน็ ตวั ของตวั เอง และรจู้ กั สอ่ื สาร กบั เพอ่ื น เพอ่ื สรา้ งมติ รภาพจากความเขา้ ใจซงึ่ กนั และกนั  โดยตอ้ งตระหนกั วา่ โลกในวยั รุน่ ในปจั จบุ ันมคี วามซับซ้อนและยุ่งเหยิงกว่าสมัยเราเปน็ วยั รนุ่ มากมายหลายเทา่ จงึ เปน็ ความทา้ ทายตอ่ วยั รนุ่ ในปจั จบุ นั   การฝกึ ทกั ษะมติ รภาพเบอื้ งตน้ เรม่ิ ทค่ี รอบครวั   หากพอ่ แมใ่ กลช้ ดิ ลกู และเหน็ อกเหน็ ใจ เอาใจใสฝ่ กึ ลกู และเหน็ ชดั วา่ มติ รภาพระหวา่ งลกู กบั พอ่ แมด่ ี มคี วามรกั ใครแ่ ละไวว้ างใจซง่ึ กนั และกนั   กเ็ ปน็ สญั ญาณวา่ ลกู จะมี ทกั ษะมติ รภาพตอ่ เพอ่ื นดดี ว้ ย    ทกั ษะมติ รภาพเรม่ิ ตน้ ทค่ี รอบครวั หากพบวา่ ลกู /ศษิ ย์ ประพฤตติ นเปน็ ผรู้ ะราน หรอื เปน็ เหยอื่ ของการระราน และเกดิ ขนึ้ ซำ้ ๆ นนั่ คอื สญั ญาณ บอกวา่ ลกู /ศษิ ย์ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื  โปรดสงั เกตวา่ การตกเปน็ เหยอ่ื ของการระรานไมไ่ ดแ้ ปลวา่ เดก็ คนระราน เปน็ ตวั ปญั หาเทา่ นนั้  แตเ่ ดก็ ทถี่ กู ระรานกเ็ ปน็ ตวั ปญั หาดว้ ย  ทจ่ี ะตอ้ งหาทางแกไ้ ขทนั ที โดยการน่ังคุยกับเด็กอย่างสงบ ไม่ดุด่าว่ากล่าวหรือโวยวาย ทำความเขา้ ใจเรอ่ื งการเปน็ เพอ่ื นกนั วา่ ทงั้ สองฝ่ายจะต้องมีไมตรีจิตตอ่ กัน   คอื การเปน็ เพอื่ นกนั เปน็ ถนนสองทาง  คอื ต้องเข้าใจซึ่งกนั และกนั บอกว่า เราชอบอะไร ไมช่ อบอะไร และรวู้ า่ เพอ่ื นชอบอะไร ไมช่ อบอะไร หากเพอ่ื น ปฏบิ ตั ติ อ่ เราในแบบทเี่ ราไมช่ อบ เราตอ้ งรจู้ กั บอกเพอ่ื นดๆี วา่ ทำอยา่ งน้ัน สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสงั คม : ทกั ษะดำรงมติ รภาพ 123

เราไมช่ อบ  ไมต่ อ้ งการใหเ้ พอ่ื นทำอยา่ งนน้ั ตอ่ เราอกี   อยา่ กลวั วา่ บอกแลว้ เพอื่ นจะโกรธหรอื เสยี เพอื่ น แตเ่ ราตอ้ งบอกเขาดๆี อยา่ ใชอ้ ารมณ ์   เพอื่ รกั ษาความเป็นเพื่อนท่ีดีต่อกัน หรือเพื่อมิตรภาพยาวนาน   เราต้องสื่อสารให้ชัดเจนว่าเราต้องการความสัมพันธ์แบบไหนกับเพ่ือน   ตอ้ งการใหป้ ฏบิ ตั ติ อ่ กนั อยา่ งไร  อยา่ ละไวใ้ นฐานเขา้ ใจ อยา่ อำ้ อง้ึ ทจ่ี ะบอก   และในทางกลบั กนั เมอื่ เพอ่ื นบอกความตอ้ งการของเขาตอ่ เรา เรากต็ อ้ งฟงั อยา่ งสงบและตงั้ ใจ เพอื่ ใหเ้ ราเขา้ ใจเพอื่ นอยา่ งแทจ้ รงิ    นนั่ คอื หลกั การ หรอื ทฤษฎี ในชวี ติ จรงิ มนั ยงุ่ ยากกวา่ นน้ั เพราะ เดก็ ๆ มกั มเี รอ่ื งกระทบกระทงั่ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ กนั เสมอ  โดยผใู้ หญม่ องเปน็ เรอื่ งเลก็ แตเ่ ปน็ เรอื่ งใหญส่ ำหรบั เดก็   วธิ หี รอื หลกั การทผ่ี ใู้ หญจ่ ะชว่ ยไดค้ อื   (๑) ชว่ ยเตอื นสตเิ ดก็ วา่ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งมองไดห้ ลายมมุ เสมอ เดก็ อาจมอง มมุ หนงึ่ แตเ่ พอื่ นอาจมองตา่ งมมุ   การทำความเขา้ ใจมมุ มองของเพอ่ื นเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการเรยี นรู้ และการเขา้ สวู่ ฒุ ภิ าวะ (๒) ทกุ ปญั หามที างออกเสมอ  เดก็ ตอ้ งเรยี นรแู้ ละหาทางทำใหส้ ถานการณด์ ขี นึ้ โดยแนะนำเดก็ วา่ ความ กลา้ หาญทจี่ ะลงมอื ทำเพอ่ื แกป้ ญั หา หรอื เพอ่ื สรา้ งมติ รภาพ เปน็ สง่ิ ทดี่  ี เมอื่ มี การลงมอื ทำ กจ็ ะเกดิ การเปลย่ี นแปลง และเกดิ การเรยี นรดู้ ว้ ย 124 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๖. ความกลา้ หาญทางสังคม : ทักษะดำรงมติ รภาพ

คำถามของหนมุ่ ๑๒  “เพอื่ นของผม ๒ คน บน่ วา่ ไมค่ อ่ ยมเี พอ่ื น โดยทเ่ี ขาเป็นคนชอบตดั สนิ คนอ่นื   ผมมีเพือ่ นผ้หู ญงิ ทีใ่ กล้ชิดกนั มากขน้ึ เรอื่ ยๆ แตเ่ พอื่ น ๒ คนนเ้ี รยี กชอื่ เธอแบบลอ้ เลยี น เพอื่ น ๒ คนนไ้ี มพ่ อใจเมอื่ ผมไปเท่ยี วกบั เธอหรอื ไปกับเพือ่ นคนอ่ืนๆ ผมจนใจไมร่ ู้จะทำอยา่ งไร ได้ พยายามแนะนำใหเ้ ขาเปน็ เพอ่ื นกบั คนนน้ั คนน้ี เขากบ็ อกวา่ ไมช่ อบและอา้ ง เหตผุ ลตา่ งๆ นานา เขาทง้ั สองไมท่ ราบวา่ คนอน่ื ๆ กเ็ รมิ่ ไมช่ อบเขา เพราะเขา ดว่ นตดั สนิ เกนิ ไป” คำตอบของผเู้ ขยี น “เธอทำถกู แลว้ ทไ่ี มอ่ ยากหมกมุ่นอยู่กับความคิดเชิงลบ  และการคบเพอื่ นนกั ตดั สนิ คนอน่ื ทำใหเ้ ธอ ไมส่ บายใจและอยากแกไ้ ข และแนน่ อนวา่ เธอมสี ทิ ธทิ จ่ี ะเลอื กเพอ่ื น แตเ่ ธอกไ็ มอ่ ยาก ใหเ้ พอื่ นเสยี ใจ ชวี ติ จรงิ กย็ งุ่ ยากเชน่ นเ้ี อง     คนทชี่ อบตดั สนิ คนอนื่ นน้ั   แสดงวา่ เขาเองไมค่ อ่ ยมน่ั ใจตนเอง จงึ ไมอ่ ยากมเี พ่ือนจำนวนมาก  ต้ังหน้าอยูใ่ นพน้ื ทีป่ ลอดภยั กันสองคน  และ อา้ งวา่ คนอน่ื ๆ ไมด่  ี และคนอน่ื ๆ กไ็ มอ่ ยากเปน็ เพอ่ื นกบั เขา เพราะไมม่ ใี คร อยากถกู วพิ ากษว์ จิ ารณ ์   สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสงั คม : ทักษะดำรงมิตรภาพ 125

เธอบอกวา่ จนใจไมร่ จู้ ะทำอยา่ งไร แตจ่ รงิ ๆ แลว้ มที างเลอื กตง้ั หลาย ทาง ไดแ้ ก ่ ๑. บอกเพอ่ื นทง้ั สองคนตรงๆ วา่ เธอเบอ่ื ทจี่ ะคบเพอ่ื นขบ้ี น่ เพราะ เธอรสู้ กึ สบายใจมากกวา่ เมอื่ เพอื่ นไมบ่ น่ ๒. ถา้ เพอ่ื นไม่เปล่ียนพฤติกรรมขี้บ่น ให้ลองแยกตัวออกมาคบ เพอ่ื นคนอนื่ ๆ ๓. การเปน็ เพอ่ื นทดี่ นี นั้  เราตอ้ งเปน็ เพอื่ นทดี่ กี บั ตวั เองกอ่ น ถา้ เพอื่ น ทำใหเ้ ธอไมส่ บายใจ และเธอยงั ทน เทา่ กบั เธอไมเ่ ปน็ เพอ่ื นทดี่ ตี อ่ ตวั เธอเอง”  ตอนท่ี ๒  ของบทนว้ี า่ ดว้ ยเรอื่ ง อาสาสมคั รพฒั นาเดก็  ผเู้ ขยี นเลา่ เรอ่ื งของตนเองทชี่ อบเขา้ ไปชว่ ยเหลอื เดก็ ทป่ี ระสบปญั หา  โดยถอื วา่ เปน็ การ ทำหนา้ ทขี่ องผใู้ หญ ่ เพราะเดก็ เปน็ ผเู้ ยาว์ ตอ้ งการคำแนะนำชว่ ยเหลอื จาก Parenting/Mentoring ถอ้ ยคำเหลา่ นท้ี ำใหผ้ มนกึ ถงึ สมยั เดก็ ๆ อยบู่ า้ นนอก  คนทน่ี นั่ เรยี กเดก็ เปน็ ลกู ทกุ คน และถา้ เดก็ เกเรขม่ เหงกนั กถ็ กู ผใู้ หญด่ หุ รอื หา้ มปรามไดท้ กุ คน ผเู้ ขยี นบอกวา่ ตนไมใ่ ชแ่ คเ่ขา้ ไปชว่ ยเหลอื หรอื แกป้ ญั หาใหเ้ ดก็ เทา่ นนั้   แตจ่ ะชมเดก็ ดว้ ย  ไปทไี่ หนหากเหน็ เดก็ ทำดกี จ็ ะหาโอกาสชม “หนชู ว่ ยแม่ ถอื ของ นา่ รกั จงั ” “หนชู ว่ ยปลอบเพอ่ื นทรี่ อ้ งไห้ เกง่ จงั ” ฯลฯ โดยถอื วา่ การ ชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ เตบิ โตเปน็ คนดนี น้ั เปน็ หนา้ ทขี่ องทกุ คน ไมใ่ ชแ่ คเ่ ปน็ หนา้ ที่ ของพอ่ แม/่ ครู เทา่ นนั้    ปญั หาทพ่ี บประจำในเดก็ วยั รนุ่ คอื การเสพตดิ การยอมรบั จากกลมุ่ เพอ่ื น (Peer Approval Addiction) หรอื อาจเรยี กวา่ ตกอยใู่ ตแ้ รงกดดนั จาก กลมุ่ เพอ่ื น (Peer Pressure)  และในขน้ั รนุ แรงถงึ กบั เปน็ ความบบี คนั้ จนเกดิ ความเครยี ดอยา่ งรนุ แรง 126 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสังคม : ทกั ษะดำรงมติ รภาพ

คนทตี่ กเปน็ เหยอ่ื คอื คนทไี่ มม่ นั่ ใจตนเอง ไมก่ ลา้ แสดงออกวา่ ตนมี จดุ ยนื อยา่ งไร ตนตอ้ งการอะไร สว่ นคนทม่ี คี วามมนั่ ใจตนเองกจ็ ะไมถ่ กู บบี คน้ั มาก  และผา่ นพน้ มรสมุ ชวี ติ วยั รนุ่ นไี้ ปได ้ ผใู้ หญต่ อ้ งหาวธิ ชี ว่ ยใหเ้ ดก็ เขา้ ใจ เรอ่ื งการเสพตดิ การยอมรบั จากเพอ่ื น ซง่ึ คนเราเปน็ กนั ทกุ คน  แตส่ ว่ นใหญเ่ ปน็ แบบนดิ ๆ หนอ่ ยๆ ไม่ รนุ แรง  การชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจเรอ่ื งนี้ และฝกึ ใหก้ ลา้ ทจี่ ะ แสดงทา่ ท/ี จดุ ยนื ของตน ชวี ติ วยั รนุ่ กจ็ ะราบรน่ื ขน้ึ              นอกจากชว่ ยใหต้ วั เดก็ เองไมต่ กเปน็ เหยอ่ื แลว้  ผใู้ หญค่ วรสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วามกลา้ หาญพอทจ่ี ะชว่ ยเพอ่ื นทต่ี กเปน็ เหยอื่ ใหห้ ลดุ พน้ จาก แรงกดดนั น ้ี ซงึ่ เปน็ การฝกึ ฝนความมนี ำ้ ใจเหน็ อกเหน็ ใจคนอน่ื โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ คนทอี่ อ่ นแอกวา่ คำถามของหนุ่ม ๑๒  “เพื่อนคนหนง่ึ ถูกรงั แกท่โี รงเรียนทกุ วนั    เขาเลา่ ใหผ้ มฟงั  ผมแนะนำใหบ้ อกครเู พอื่ ขอความชว่ ยเหลอื แตเ่ ขาไมเ่ อาดว้ ย เพราะเกรงวา่ จะโดนคนทรี่ งั แกทบุ ตอี กี   เขาไมต่ อ้ งการใหผ้ มชว่ ยดว้ ยเหตผุ ล เดยี วกนั ผมไมร่ วู้ า่ จะชว่ ยเขาอยา่ งไร ขอคำแนะนำดว้ ย” คำตอบของผเู้ ขยี น “ฉนั รสู้ กึ สงสารเพอื่ นของเธอมาก เปน็ เรอื่ ง ไมย่ ตุ ธิ รรมทผี่ รู้ งั แกไมถ่ กู ลงโทษ  ฉนั ไม่ทราบว่าเพอื่ น ของเธอไปโรงเรยี นแบบไหน  แตห่ วงั วา่ จะเปน็ โรงเรยี น ทคี่ รู ผชู้ ว่ ยครใู หญ่ และครทู ปี่ รกึ ษา จะเอาใจใสเ่ รอ่ื งนี้ เพอื่ นของเธอควรบอกผใู้ หญ่ สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสงั คม : ทกั ษะดำรงมิตรภาพ 127

ไม่ทราบว่าพ่อแม่ของเพ่ือนเธอทราบเรื่องไหม เขาควรเล่าให้ พ่อแม่ฟงั    แมเ้ ขาบอกวา่ ไมต่ อ้ งการใหเ้ ธอชว่ ย แตเ่ ขากย็ อ่ มตอ้ งการใหต้ นเอง ไมถ่ กู รงั แกอกี ตอ่ ไป  การทเี่ ขาบอกเธอคอื หลกั ฐานสนบั สนนุ ขอใหเ้ ธอบอก เขาใหพ้ ดู ออกมา  เพอ่ื เรอื่ งนจี้ ะไดย้ ตุ ิ หากเขาไมก่ ลา้ เธอควรเสนอวา่ เธอจะ ไปเปน็ เพอื่ นเพอื่ แจง้ ครทู ป่ี รกึ ษาหรอื ครใู หญ่ ถา้ เขาปฏเิ สธ ใหบ้ อกเขาวา่ เธอ เปน็ เพอ่ื น และจะชว่ ยปกปอ้ งเขา ถา้ เขาไมไ่ ป เธอจะไปเอง”   วจิ ารณ์ พานชิ ๙ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/556657 128 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๖. ความกล้าหาญทางสังคม : ทกั ษะดำรงมติ รภาพ

๑๗. ความกลา้ หาญทางสังคม : สู่โลกกวา้ ง สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๗. ความกล้าหาญทางสงั คม : สู่โลกกวา้ ง 129

“...กล่าวอีกนัยหนึ่ง ผมคิดว่า การศึกษาแบบ เน้นการถา่ ยทอดความรู้ เนน้ วชิ า  ไม่ไดเ้ รยี นจากการปฏบิ ตั ิ บนฐานชวี ติ จรงิ  ทำใหเ้ ดก็ ขาดทกั ษะชวี ติ ขาดความแขง็ แกรง่ ทจ่ี ะเอาชนะแรงกดดนั จากกลมุ่ เพอ่ื นได”้ 130 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๗. ความกล้าหาญทางสงั คม : สู่โลกกว้าง

ตอนที่ ๓ ของบทกล่าวถึงเร่ือง  เสพติดการยอมรับจาก กลุ่มเพ่ือน (Peer Approval Addiction) เป็นอาการรุนแรงในวยั รุ่น ทย่ี อมทำทกุ อยา่ งพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั การยอมรบั จากกลมุ่ เพอื่ น แมก้ ารกระทำ น้ันจะขัดความรู้สึกของตน บางทีใช้คำว่า Peer Pressure คือตกอยู่ ใต้แรงกดดันของกลุ่มเพื่อน  ให้ต้องมีพฤติกรรมสอดคล้องกับกลุ่ม  ไม่กลา้ แหกคอกออกมา  มีวัยรุ่นจำนวนหน่ึงมคี วามทกุ ขจ์ ากแรงกดดนั ทางสงั คมแบบน ี้ หรือมิฉะนั้นก็ตกกระไดพลอยกระโจน ทำตามเพื่อน จนเสียคน ดงั ตัวอย่างเคยมีหมอเลา่ ให้ผมฟังว่า  ได้คุยกบั เด็กสาวทเี่ ปน็ แม่ วยั ทนี วา่ ทมี่ ีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นก็เพ่ือให้เข้ากลุ่มกับเพ่อื นได้  เขา้ ใจ ว่าแรงกดดันจากกลุม่ เพือ่ นกร็ นุ แรงมากในกลุ่มวัยรนุ่ ไทย เพอื่ เอาชนะแรงกดดนั นี้ วยั รนุ่ ตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ใหม้ คี วามกลา้ หาญ ทางสังคม (Social Courage) ใหก้ ล้าลกุ ขนึ้ มาทำสิ่งทีถ่ ูกต้องตามสำนกึ ผดิ ชอบดชี ่ัวของตน   ผมคดิ เองวา่ คนทตี่ กเปน็ เหยอื่ ของการเสพตดิ การยอมรบั ของสงั คม คอื คนทมี่ บี ุคลิกภาพอ่อนแอ  ไม่เป็นตัวของตัวเอง  ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ ขาดการโค้ชของผู้ใหญ่ ท่ีฝึกให้รู้จักผิดชอบดีชั่ว  มี  EF ที่ http:// www.gotoknow.org/posts/463212 คอื มที กั ษะชวี ติ ไวใ้ ชฝ้ า่ อปุ สรรค ของชีวิต  ผมเชื่อว่า การศึกษาแบบ Active Learning  ท่ีเดก็ ไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั เิ พอื่ การเรยี นรขู้ องตนเอง เนน้ เรยี นรู้ 21st Century Skills และตาม ดว้ ยการไตรต่ รองทบทวน อย่างถูกตอ้ ง จะชว่ ยสร้างความเป็นตัวของ ตัวเองและสตริ ดู้ ชี ว่ั ใหแ้ กเ่ ดก็  ทำใหเ้ ดก็ เอาชนะแรงกดดนั จากกลมุ่ เพอื่ นได้ สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๗. ความกลา้ หาญทางสงั คม : สูโ่ ลกกวา้ ง 131

          กลา่ วอกี นยั หนง่ึ ผมคดิ วา่ การศกึ ษาแบบเนน้ การถา่ ยทอด ความรู้ เน้นวชิ า  ไมไ่ ดเ้ รยี นจากการปฏบิ ตั บิ นฐานชวี ติ จรงิ   ทำใหเ้ ดก็ ขาดทกั ษะชวี ิต  ขาดความแข็งแกร่งที่จะเอาชนะแรงกดดันจาก กลุ่มเพ่ือนได ้     คำถามของครขู องลกู   “เพื่อนมาบอกว่าลูกสาวของฉนั ขม่ เหง ลกู สาวของเขา  โดยการกีดกันลูกสาวของเขาออกจากกลุ่มเพอ่ื น และ นนิ ทาวา่ รา้ ยลกู สาวของเขา  ฉนั เองตอ้ งการสอนลกู ใหด้ ตี อ่ คนอน่ื แมค้ น นน้ั จะไมใ่ ชเ่ พอื่ น ลกู สาวมคี วามลำบากในชวี ติ เพราะการหยา่ ของฉนั  และ ลกู สาวโกรธพอ่ ท่โี กหกหลอกลวง  ฉันไมค่ ิดว่าการหยา่ รา้ งจะเป็นสาเหตุ ของพฤตกิ รรมไมด่ ขี องลกู สาว แตม่ นั อาจเปน็ สาเหตกุ ไ็ ด้” 132 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๗. ความกลา้ หาญทางสังคม : สู่โลกกวา้ ง

คำตอบของผเู้ ขยี น “ครอบครวั ของคณุ กำลงั อยใู่ นระยะเปลย่ี นผา่ น ครั้งสำคญั   และเปน็ ความยากลำบากสำหรบั ทกุ คน  และความยากลำบากนี้ จะดำเนนิ ไประยะหนงึ่  เวลานค้ี ณุ เปน็ ผนู้ ำของครอบครวั และเปน็ พเี่ ลยี้ ง (Mentor) แกล่ กู สาวอายุ ๑๓ ของคณุ  ใหเ้ รยี นรกู้ ารเอาชนะความยากลำบาก ในชวี ติ   โดยเฉพาะเม่ือคนที่คุณเช่ือถือทำให้คุณเจบ็ ปวด  คณุ ไมแ่ นใ่ จวา่ พฤตกิ รรมของลกู สาวเกดิ จากการหยา่ รา้ งหรอื ไม ่ สงั เกตไดจ้ ากวา่ พฤตกิ รรมน้ี มหี รอื ไมก่ อ่ นการหยา่ ถา้ ไมม่ กี ส็ นั นษิ ฐานไดว้ า่ เกยี่ วขอ้ งกบั การหยา่ รา้ ง ซง่ึ มผี ลกอ่ ความตึงเครยี ดแกท่ กุ คนในครอบครวั คณุ ตอ้ งเปน็ ตวั อยา่ งแก่ ลูกในการครองสตอิ ารมณใ์ นท่ามกลางความตึงเครยี ดน ้ี ขอแนะนำให้หาโอกาสท่ีคุณบังคับใจได้ และลูกก็พร้อม ปดิ สงิ่ รบกวน (เชน่ โทรศพั ท์ โทรทศั น)์ คยุ กนั เรอ่ื งการรว่ มกนั ฟนั ฝา่ มรสุมชวี ติ รว่ มกนั โดยคณุ บอกเหตกุ ารณท์ ค่ี ณุ ไดร้ บั แกล่ กู ดว้ ยนำ้ เสยี งราบเรยี บ และดว้ ยถอ้ ยคำท ่ี แสดงเหตกุ ารณ์เท่าน้ัน ไม่มกี ารตคี วาม ไมม่ กี ารกล่าวหา เชน่ ‘แมข่ องแมรีโ่ ทรศัพท ์ มาบอกแม่ว่า ....’  แม่อยากรู้ว่าเหตุการณ์เป็นอย่างไร  แล้วปิดปาก แนน่ ฟังอยา่ งเดยี ว และบอกลกู วา่  แมเ่ ชอื่ วา่ ลกู เปน็ คนด ี แตเ่ วลานเ้ี ราตก อยภู่ ายใต้สถานการณบ์ บี คนั้  เราอาจพลาดไปบา้ ง กเ็ ปน็ เรอ่ื งธรรมดา แต่ เราตอ้ งช่วยกันตั้งสติ และไม่ทำพลาดซ้ำซาก  คนเราอาจโกรธได้ อาจพลาดทำเพราะความโกรธได้  แต่ต้องหัดระงับความโกรธ (ด้วย การหายใจเข้าออกยาวๆ ชา้ ๆ) และไมท่ ำอะไรแบบหุนหันพลันแล่น ที่ต้องไม่ทำเลยคือแสดงความโหดรา้ ยตอ่ เพอ่ื น” สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๗. ความกล้าหาญทางสงั คม : สู่โลกกวา้ ง 133

ตอนที่ ๔ สู่โลกกว้าง อย่างม่ันใจ หนังสือเล่มนี้จบลงด้วย ภาพของลูก/ศิษย์ ท่ีเติบโต/พัฒนา เป็นผู้ใหญ่ท่ีทำหน้าที่ได้ดี มีความ รับผดิ ชอบ มีเมตตากรุณาเหน็ อกเห็นใจคนอน่ื มีความม่ันใจตนเอง และ ไมก่ ลวั อปุ สรรคความยากลำบากในชีวติ  คอื เปน็ คนดขี องสงั คม     หรือโดยสรปุ มี ๘ คุณสมบัตสิ ำคัญ ไดแ้ ก่ ความฉลาดทาง อารมณ์ (Emotional Intelligence), จริยธรรม (Ethics), ช่วยเหลือ ผ้อู ่นื (Help), ให้อภัย (Forgiveness), ความเหน็ ใจ (Compassion), เขา้ ใจความรู้สึกของผู้อ่ืน (Empathy), การยอมรับ (Acceptance), และความกล้าหาญทางสังคม (Social Courage) สู่การเป็นพลเมอื งดี ของโลก             แตแ่ มแ่ ละพ่อมกั จะมองลูกเปน็ เด็กอยูเ่ สมอ (แม่อายุ ๙๔ ของ ผมยังเปน็ ห่วงลูกชายอายุ ๗๑ อยู่)  และอดเข้ามาเจ้าก้ีเจ้าการชีวิต ของลูก (ที่โตแล้ว) ไม่ได้    หน้าท่ีของพ่อแม่ คือกล่อมเกลา ฟูมฟัก ให้ลูกเติบโตเปน็ ผใู้ หญท่ มี่ วี ฒุ ภิ าวะ มคี วามมนั่ ใจในตนเอง และเปน็ คนด ี แล้วปลอ่ ย ใหล้ กู เปน็ อสิ ระในชวี ติ แตผ่ กู พนั กนั ดว้ ยความรกั ความหว่ งใย               การเลย้ี งดลู กู /ศษิ ย์ เปน็ การชว่ ยใหเ้ ดก็ เตบิ โต/พฒั นา ผา่ นขน้ั ตอน ตา่ งๆ ในชีวิต  หรือให้เผชิญความเปลี่ยนแปลงในชีวิตได้อย่างราบรื่น หรือเมอ่ื มชี ่วงคับขันบา้ ง ก็ชว่ ยแนะนำ หรือโค้ช ใหเ้ รียนรู้อุปสรรคใน ชีวติ เหลา่ นนั้ และหาทางผา่ นพน้ ไปไดโ้ ดยไมเ่ กดิ ผลรา้ ยตอ่ ชวี ติ   ครง้ั แล้ว ครั้งเลา่ โดยค่อยๆ ผ่อนให้เด็กเป็นตัวของตัวเองข้ึนเร่ือยๆ ในท่ีสดุ ก็ บรรลวุ ฒุ ภิ าวะ สามารถดำรงชวี ติ ไดโ้ ดยอสิ ระ และเปน็ ทพ่ี ง่ึ ใหแ้ กค่ นอ่ืนได้  เป็นคนดี มีประโยชน์ต่อสังคม  และมีความสามารถฟนั ฝ่าอุปสรรคหรอื วิกฤติในชีวิตในอนาคตได้  134 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๗. ความกล้าหาญทางสังคม : สูโ่ ลกกวา้ ง

คำถามของหนุ่ม ๑๒  “ผมเพ่ิงย้ายโรงเรียน  จากโรงเรียนที่ผม เรยี นมาตง้ั แต่ชั้นอนุบาล  ย้ายมาเรียนชั้น ม. ๑ ที่โรงเรียนใหม่  ที่ โรงเรยี นเดมิ ผมมีเพื่อนสนิทมากมาย แต่ตอนน้ีเด็กผู้หญิงจากโรงเรียน เดิมของผมกลายเป็นคนป๊อบปูลาร์แทนผมไปแล้ว ผมคิดว่าเพอื่ นๆ ไมส่ ังเกตส่งิ ท่ีเกดิ ขึน้ ” คำตอบของผเู้ ขยี น “การยา้ ยโรงเรยี น เปน็ ความทา้ ทายอย่างหน่ึง ชีวิตคนเราก็มีการ เปลี่ยนแปลงเช่นน้ีเอง เมื่อมาโรงเรียนใหม่ เพือ่ นๆ จากโรงเรียนเดิมอาจยังตื่นเต้นกับส่ิงใหม่ๆ จึงยังไม่ได้ทักทายเธอ แต่ เธอสามารถแก้ไขสถานการณไ์ ด้ไม่ยาก เรม่ิ ตน้ ด้วยการนั่งตัวตรง เอามือออกจากแป้นพิมพ์วางบนขา   หลบั ตา แลว้ หายใจเขา้ ยาวๆ ชา้ ๆ ผา่ นรจู มกู   จนสดุ แลว้ อา้ ปาก หายใจ ออกชา้ ๆ  แลว้ ทำซำ้ หลายๆ ครง้ั สงั เกตลมหายใจเขา้ และออก  วธิ กี ารน้ี เรยี กว่า Re-Centering breath (อานาปานสติ) ซึ่งจะช่วยให้จิตใจ ผอ่ นคลาย และรสู้ กึ ดขี นึ้    ต่อไปนเ้ี ป็นคำแนะนำ  พรุ่งน้ีเม่ือไปถึงโรงเรียน ให้แสดง ความยิ้มแยม้ แจ่มใสอารมณ์ดี ทักทายเพื่อน เข้าไปคุย เลน่ กบั เพือ่ น อาจคยุ เรื่องความสนุกสนานกับการไปเที่ยวช่วงปิดเทอม  อาจเรม่ิ จากเพื่อนท่ีรู้จักกันแล้วที่โรงเรียนเก่า  และต่อมา ทำความรจู้ กั และพดู คยุ กบั เพอื่ นใหมด่ ว้ ยความยม้ิ แยม้ แจม่ ใส เชื่อว่าวิธีนจ้ี ะได้ผล” สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๗. ความกล้าหาญทางสงั คม : สู่โลกกวา้ ง 135

          ผมมองวา่ คำแนะนำนคี้ ือ ให้หนมุ่ ๑๒ มคี วามม่นั ใจตนเองที่ จะเปน็ ฝา่ ยรกุ มคี วามกลา้ หาญทางสงั คม ทจ่ี ะเขา้ ไปผกู มติ รกบั เพอื่ นร่วมชน้ั รว่ มโรงเรียนก่อน ด้วยทา่ ทีเปน็ มิตร ยม้ิ แย้มแจม่ ใส     วจิ ารณ์ พานิช ๙ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/557218   136 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๗. ความกลา้ หาญทางสังคม : สู่โลกกวา้ ง

๑๘. บทสง่ ทา้ ย สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๘. บทสง่ ท้าย 137

ตอนที่ ๑๘ นี้ ตคี วามจากบทสง่ ทา้ ยซงึ่ สน้ั นดิ เดยี ว  ความว่า ในข้ันตอนการเลี้ยงลูก หรือทำหน้าท่ีพ่อแม่น้ี  เรา ค่อยๆ ถอยออกมาทีละนิดๆ ในแต่ละปี  เปิดโอกาสให้ลูก ค่อยๆ จดั การชวี ติ ของตนเองมากขนึ้ เรอ่ื ยๆ   หนา้ ทข่ี องพอ่ แมค่ อื ทำใหต้ นเองเปน็ ทต่ี อ้ งการลดลง เรอื่ ยๆ จนในที่สุดหมดหน้าท่ี แต่รากฐานคุณสมบัติ ๘ ขอ้ ท่ีพอ่ แม่ช่วยให้ลูกสร้างขึ้นในตน จะให้คุณต่อชีวิตของลกู ไปตลอดชวี ติ        h ttp://w ww.go toknow .org/pวoจิs๙tาsร/เณม5.5์ ยพ7.า9๕น7๖ชิ1 138 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๘. บทสง่ ท้าย

๑๙. AAR สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๙. AAR 139

“ผมขอยำ้ วา่ คณุ สมบตั พิ น้ื ฐาน ๘ หมวด สำหรบั การ เปน็ คนดี มอี ทิ ธพิ ล หรอื สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ทด่ี ขี องลกู หลานของเรา มากกวา่ ความรเู้ ชงิ วชิ าเสยี อกี และยังส่งผลดีต่อสังคมมากกว่า ความรูเ้ ชงิ วชิ าดว้ ย”  140 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๙. AAR

ตอนท่ี ๑๙ นี้ เปน็ การ AAR ของผม หลงั จากอา่ นหนงั สอื เลม่ นี้ หลายเทยี่ ว และตคี วามนำมาเขยี นบนั ทกึ รวม ๑๘ ตอนไปแลว้   ผมคดิ วา่ หนงั สอื เลม่ นพี้ อ่ แมท่ กุ คนควรไดอ้ า่ น และการอา่ นบนั ทกึ ๑๙ ตอนของผม จะไมท่ ดแทนการอา่ นหนงั สอื ตวั จรงิ   เพราะหนงั สอื ตวั จรงิ เขยี นแบบเนน้ ผมรู้ จากการปฏบิ ตั จิ รงิ (Tacit Knowledge)  ในขณะทผี่ มเขยี นบนั ทกึ แบบเนน้ เขยี นแบบสรปุ หลกั การ (Explicit knowledge)   Annie Fox เขียนหนังสอื เล่มน้อี ยา่ งคนมีประสบการณส์ ูงมาก   เขา้ ใจจติ วทิ ยาเดก็ จติ วทิ ยาพฒั นาการในระดบั ประยกุ ตก์ บั ของจรงิ เขา้ ใจลกึ ไปถงึ เบอื้ งหลงั ของพฤตกิ รรมของเดก็ ผมตคี วามวา่ ความมนั่ คงทางอารมณเ์ ปน็ เรอ่ื งสำคญั ยง่ิ ในชวี ติ มนษุ ย ์ การชว่ ยใหเ้ ดก็ คอ่ ยๆ พฒั นาความมนั่ คงทางอารมณท์ ลี ะขน้ั ตอน เปน็ การ วางรากฐานชวี ติ ทสี่ ำคญั ยงิ่   ความเปน็ คนดมี รี ากฐานมาจากคณุ สมบตั ขิ อ้ นี้ เปน็ สำคญั   หนงั สอื เลม่ นที้ งั้ เลม่ วา่ ดว้ ยเรอื่ งน ี้     ระหวา่ งอ่านหนังสอื เลม่ น้ี และจบั ความเอามาเขยี นบนั ทกึ ผม ถามตวั เองวา่ หากผมมคี วามรเู้ รอ่ื งนเ้ี มอ่ื ๔๐ กวา่ ปมี าแลว้  ผมจะเลย้ี งลกู ตา่ งจากเดมิ อยา่ งไร และลกู ๆ ของผมจะมพี นื้ ฐานทางอารมณแ์ ละสงั คมแตก ตา่ งไปอยา่ งไร  ผมเชอื่ วา่ ลกู ๔ คนของผมจะไดป้ ระโยชนจ์ ากพอ่ แมม่ ากกวา่ อยา่ งมากมาย แตช่ วี ติ มนั เปน็ ถนนทเี่ ราถอยหลงั กลบั ไปทเี่ ดมิ เวลาเดมิ ไมไ่ ด้ ผมจงึ เขยี นบันทึกชุดสอนเด็กให้เป็นคนดีน้ี  เพ่ือให้คนไทยได้เรียนรู้ และ พจิ ารณานำไปใชก้ บั การเลย้ี งลกู ของตน โดยขอยำ้ วา่ ตอ้ งเอาไปปรบั บา้ ง เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมไทย  สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๙. AAR 141

ตลอดเวลาทผี่ มชว่ ยภรรยาเลย้ี งลกู ทงั้ ตอนลกู ยงั เลก็ ตอนโต  และ รวมทง้ั ปฏสิ มั พนั ธป์ จั จบุ นั กบั ลกู ๆ ทเี่ ปน็ ผใู้ หญห่ มดแลว้ ผมรสู้ กึ ตลอดเวลา วา่ “ลกู คอื คร”ู   คอื ลกู ชว่ ยใหผ้ มไดเ้ รยี นรสู้ งิ่ ใหมๆ่ มากมาย โดยหลายอยา่ ง มากบั ปญั หาหรอื ความทา้ ทายทเ่ี กดิ ขน้ึ ผมบอกตวั เองวา่ หากเมอ่ื ๔๕ ปกี อ่ น ผมไดอ้ า่ นหนงั สอื เลม่ น้ี ผม จะไดส้ งั เกตพฤตกิ รรมและพฒั นาการของลกู ไดล้ ะเอยี ดขน้ึ และไดเ้ รยี นรจู้ าก ลกู มากกวา่ เดมิ อยา่ งมากมาย   ทงั้ หมดนเี้ ปน็ If …. Were … สำหรบั ผม    แตเ่ ปน็ If …. Is สำหรบั ทา่ นผอู้ า่ นทลี่ กู ยงั เลก็  ทา่ นผอู้ า่ นทมี่ ลี กู เลก็ และลกู วยั T(w)een จะสามารถ นำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมาย      หนงั สอื เลม่ นบ้ี อกวา่ การเลยี้ งเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดเี ปน็ กระบวนการที่ ซบั ซอ้ นยง่ิ  แตส่ ามารถสรปุ คณุ สมบตั ขิ องคนดอี อกไดเ้ ปน็ ๘ หมวด คอื   ๑ ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ๒. จรยิ ธรรม (Ethics)  ๓. ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ (Help)  ๔. ใหอ้ ภยั (Forgiveness) ๕.  ความเหน็ ใจ (Compassion)  ๖. เขา้ ใจความรสู้ กึ ของผอู้ นื่ (Empathy) ๗. การยอมรบั (Acceptance) ๘. ความกลา้ หาญทางสงั คม (Social Courage) 142 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๙. AAR

โดยทใ่ี นชวี ติ จรงิ การพฒั นาคณุ สมบตั ิ ๘ หมวดน้ี มนั ไมแ่ ยกกนั    แตเ่ ปน็ กระบวนการทบี่ รู ณาการเชอื่ มโยงกนั เปน็ Holistic ผมขอยำ้ วา่ คณุ สมบตั พิ น้ื ฐาน ๘ หมวด สำหรบั การเปน็ คนดี มี อทิ ธพิ ล หรอื สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ทด่ี ขี องลกู หลานของเรามากกวา่ ความรเู้ ชงิ วชิ า เสยี อกี   และยงั สง่ ผลดตี อ่ สงั คมมากกวา่ ความรเู้ ชงิ วชิ าดว้ ย ตน้ ฉบบั ของหนงั สอื คอ่ นขา้ งเขยี นบอกพอ่ แม ่ แตผ่ มคดิ วา่ ครกู ต็ อ้ ง ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะชดุ ทเี่ ขยี นไวใ้ นหนงั สอื เลม่ นี้ ผมคดิ วา่ การศกึ ษาของไทย เราเดนิ มาผดิ พลาด  ทห่ี นั ไปใหค้ วามสำคญั ตอ่ ผลการเรยี นวชิ าเทา่ นน้ั เอาใจ ใสก่ ารฝกึ เดก็ ใหเ้ ปน็ คนดนี อ้ ยมาก หรอื แทบไมไ่ ดเ้ อาใจใสเ่ ลย    วจิ ารณ์ พานชิ ๙ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/558683 สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๙. AAR 143

144




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook