Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอนเด็กให้เป็นคนดี

สอนเด็กให้เป็นคนดี

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-09-22 01:22:29

Description: สอนเด็กให้เป็นคนดี

Keywords: เด็ก,กา่รเรียน,การศึกษา

Search

Read the Text Version

ตอนท่ี ๖ นี้ ตคี วามจากบทท่ี ๓ How Can I Help? Figuring Out What’s Needed and Providing Some of It  โดยทใ่ี นบทท ี่ ๓ มี ๔ ตอน  ในบนั ทกึ ที่ ๖ จะตคี วามตอนท่ี ๑ และ ๒  ในบนั ทกึ ที่ ๗ จะ เปน็ การตคี วามตอนที่ ๓ และ ๔   คำแนะนำสำหรบั พอ่ แม/่ ครู ในการสอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดคี อื ชว่ ย ใหเ้ ด็กพัฒนาความมีน้ำใจ ควบคู่กับความมีวิจารณญาณ ว่าความ ช่วยเหลอื ทต่ี อ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ คอื อะไร ผมขอเพมิ่ เตมิ ความเหน็ ของตนเองวา่ ขอ้ ความในยอ่ หนา้ ขา้ งบน นน่ั แหละ คอื หลกั การทผี่ เู้ ขยี นบอกเรา วา่ พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งใชห้ ลกั การทง้ั สอง ควบคกู่ นั ในการชว่ ยเหลอื เดก็ ใหพ้ ฒั นาความเปน็ คนด ี คอื ครตู อ้ งมที ง้ั นำ้ ใจใฝช่ ว่ ยเหลอื และมวี จิ ารณญาณ ควบคกู่ นั   ในภาพรวมทั้งหมดของบทท่ี ๓ น้ี  ความชว่ ยเหลือให้เด็กเปน็ คนดที ำ ๒ ทางควบคู่กัน คือช่วยปลูกฝังนิสัยดี  และช่วยให้เด็กขจัด นิสัยชวั่ ออกไป      ตอนท่ี ๑ ของบทท่ี ๓ เปน็ เรอ่ื ง “ชว่ ยใหช้ ว่ ยตวั เองเปน็ ” ซง่ึ หมายความวา่ ไมใ่ ชช่ ว่ ยอยเู่ รอ่ื ยไป จนลกู /ศษิ ย์ กลายเปน็ คนออ่ นแอ หรอื เสยี นสิ ยั คอื ตอ้ งเตรยี มใหเ้ ดก็ พฒั นาความเปน็ ตวั ของตวั เอง หรอื พฒั นา ความเปน็ ผใู้ หญ ่ รบั ผดิ ชอบตวั เองได้ รจู้ กั มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ ผอู้ นื่ หลกั การคอื ตอนเดก็ อายนุ อ้ ย พอ่ แม/่ ครู ชว่ ยเหลอื มากหนอ่ ย แลว้ คอ่ ยๆ ผ่อนใหเ้ ด็กทำเอง และให้เดก็ ได้เข้าใจกระบวนการช่วยเหลอื ผอู้ น่ื รวมทง้ั เขา้ ใจความรสู้ กึ ของผไู้ ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากประสบการณ์ ของตนเอง     สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๖. ช่วยเหลอื ผู้อ่ืน : ความมีนำ้ ใจ เห็นอกเหน็ ใจชว่ ยเหลอื ผู้อน่ื 49

เดก็ บางคนมแี นวโนม้ ทจี่ ะขอใหพ้ อ่ แม/่ ครู ทำใหอ้ ยเู่ รอ่ื ยไป หาก พอ่ แม/่ ครู ทำใหต้ ามที่เด็กรอ้ งขอ จะเป็นการทำลายหรือทำรา้ ยเดก็ เพราะจะทำใหเ้ ดก็ เตบิ โตเปน็ คนทชี่ ว่ ยตวั เองไมเ่ ปน็ เปน็ คนหนกั ไมเ่ อา เบาไมส่ ู้ และไมม่ จี ติ ใจชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื   เมื่อพ่อแม/่ ครู ชว่ ยเหลือเด็ก ก็ใช้เป็นโอกาสให้เด็กไดเ้ รยี นรู้ คณุ คา่ ของการชว่ ยเหลือผู้อ่ืนไปด้วย โดยพ่อแม่/ครู ตอ้ งรจู้ กั วธิ จี บั เสน้ สญั ชาตญาณความเมตตากรณุ าของมนษุ ย์ โดยการบอกเด็กวา่ การทเี่ ดก็ ชว่ ยเหลือพ่อแม่/ครู น้อง/พี่/เพื่อน น้ัน เป็นส่ิงน่าชื่นชมยกย่อง และ พอ่ แม/่ ครู รสู้ กึ ภมู ใิ จในตวั เดก็ มาก  เมอื่ เดก็ พยายามชว่ ยเหลอื ตวั เองหรอื ชว่ ยเหลือผู้อื่น แต่ประสบความยากลำบาก  พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งยบั ยงั้ ตวั เองไมใ่ หเ้ ขา้ ไปชว่ ยเหลอื จงเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ไดฟ้ นั ฝา่ เอง  แลว้ แสดงความชนื่ ชม ในทนั ทที เ่ี ดก็ ทำไดส้ ำเรจ็ เปน็ จติ วทิ ยาสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ อยากใชค้ วามพยายามในโอกาสตอ่ ไป เปน็ การสรา้ งนสิ ยั สสู้ ง่ิ ยากและจะช่วยให้เด็กค่อยๆ พัฒนาตนเอง ให้เป็นคนที่ช่วยเหลอื ตนเองไดแ้ ละชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ เปน็ และเรยี นรวู้ า่ ความมเี มตตากรณุ านำไปสู่ การชว่ ยเหลอื และการชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั คอื ชวี ติ เมอ่ื ลกู /ศษิ ย์ โตขนึ้ เดก็ จะตอ้ งการความมอี สิ ระ พอ่ แม/่ ครู ควร คยุ กบั เดก็ วา่ อยากไดอ้ สิ ระเรอื่ งใดบา้ ง และทำความเขา้ ใจวา่ ความมอี สิ ระ  (Independence)  ตอ้ งคกู่ บั ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) และทำ ตามขอ้ ตกลง (Accountability) โดยเดก็ ตอ้ งทำตามขอ้ ตกลงทตี่ นสญั ญาไว้ และพอ่ แม/่ ครู กต็ อ้ งทำตามขอ้ ตกลงตามทส่ี ญั ญาไว ้ 50 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๖. ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื : ความมนี ำ้ ใจ เห็นอกเห็นใจช่วยเหลือผู้อืน่

เมอ่ื ลกู /ศษิ ย์ วยั รนุ่ มาขอความชว่ ยเหลอื หรอื ขอคำปรกึ ษา พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งอยา่ รบี บอกความเหน็ ของตน ใหถ้ ามกลบั วา่ นอกจากเลา่ ปญั หา  (Problem)  แลว้   ขอใหเ้ ลา่ แนวทางแกป้ ญั หา  (Solution)  ทเี่ ดก็ คดิ ไว้ แลว้ จงึ แลกเปลยี่ นขอ้ คดิ เหน็ กนั จะแปรสภาพทพี่ อ่ แม/่ คร ู “สอน”  เดก็ (ซง่ึ เดก็ วยั รนุ่ ไมช่ อบถกู สงั่ สอน)  ใหก้ ลายเปน็ การปรกึ ษากนั อยา่ งเพอื่ น หรอื คนทเี่ ทา่ เทยี มกนั มากขนึ้  เปน็ การปรบั ความสมั พนั ธต์ อ่ กนั แบบผใู้ หญ่ ตอ่ ผใู้ หญ ่ (แตก่ ต็ อ้ งตระหนกั วา่ ลกู /ศษิ ย์ ยงั ไมใ่ ชผ่ ใู้ หญเ่ ตม็ ท)่ี    ทส่ี ำคญั ยง่ิ หากพบวา่ วธิ คี ดิ /วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ของลกู /ศษิ ย์ เหมาะสม จง ใหค้ ำชมเชย คำขอความชว่ ยเหลอื ของหนมุ่ ๑๖ พอ่ แมใ่ หเ้ งนิ ไมพ่ อใช ้ เพราะ ตอ้ งพาสาวไปเทยี่ ว แถมยงั ตอ้ งจา่ ยคา่ นำ้ มนั รถมอเตอรไ์ ซคเ์ พมิ่ ขน้ึ ขอเงนิ จากพอ่ แมเ่ พม่ิ พอ่ เขา้ ใจ แตแ่ มย่ นื กรานไมใ่ ห ้ ตนพยายามหาเงนิ เองโดยไป รบั จา้ งเพอ่ื นบา้ นตดั หญา้ แตไ่ มพ่ อ  จนแตม้ เขา้ ตนจงึ ไปขโมยของจากรา้ นและ โดนจบั ได้ พอ่ แมก่ ย็ งั ไมย่ อมใหเ้ งนิ เพม่ิ และตอนนแี้ มไ่ มย่ อมพดู ดว้ ย ตน เศรา้ ใจมาก คำตอบของผเู้ ขยี น  ขอ้ เขยี นนค้ี ลา้ ยๆ จะโทษพอ่ แม่ วา่ เปน็ ตน้ เหตใุ หต้ นตอ้ งขโมย  ซงึ่ จริงๆ แล้วไมเ่ กย่ี วกันเลย  การขโมยมาจากการ ตดั สนิ ใจผดิ ของตนเอง เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของตนเองทจ่ี ะตอ้ งเลกิ พฤตกิ รรม แบบนเ้ี สยี   สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๖. ชว่ ยเหลือผู้อืน่ : ความมนี ้ำใจ เห็นอกเห็นใจช่วยเหลือผู้อน่ื 51

ผเู้ ขยี นแนะนำให้หนุ่ม ๑๖ เริ่มต้นความสัมพันธใ์ หมก่ บั พอ่ แม ่  โดยเขา้ ไปขอโทษท่ที ำใหพ้ ่อแมเ่ ดอื ดร้อนใจ  และบอกพอ่ แมว่ ่าตนจะถอื ความผดิ พลาดในอดตี เปน็ ครทู จ่ี ะไมท่ ำสงิ่ ผดิ ซำ้ อกี   หากตอ้ งการเงนิ เพม่ิ กจ็ ะ ขวนขวายหาเอง บาดแผลทางใจระหวา่ งหนมุ่ ๑๖ กบั พอ่ แมก่ จ็ ะคอ่ ยๆ หาย     ตอนท่ี ๒ ของบทที่ ๓ เปน็ เรอ่ื งการฝกึ เดก็ ใหเ้ ปน็ คนเหน็ อกเหน็ ใจ ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื   โดยผเู้ ขยี นเลา่ เรอื่ ง  Dear Abby (อา่ นขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ่ี http://en.wikipedia.org/wiki/Dear_Abby) ตอบคำปรึกษาของแมส่ งู อายุ คนหนงึ่ ใชส้ มญานามวา่  Alone in the Kitchen ทลี่ กู สาวทเี่ ปน็ ผใู้ หญแ่ ลว้ ๒ คน แยกครอบครวั ไปแลว้  และกลบั มาบา้ นแมใ่ นงานเลย้ี งประจำปี ทำตวั เปน็ แขกเหมอื นแขกคนอนื่ ๆ ๒๐ คน ใหแ้ มเ่ ปน็ เจา้ ภาพทำครวั ลา้ งจาน ฯลฯ โดยไมช่ ว่ ยแมเ่ ลย จนแมห่ มดแรงเปน็ ลมกช็ ว่ ยนดิ ๆ หนอ่ ยๆ แลว้ กท็ ำตวั อยา่ ง เดมิ อกี เปน็ อยา่ งนที้ กุ ป ี ผเู้ ขยี นบอกวา่ ตนใหค้ ะแนนคำตอบของ Dear Abby เพยี ง C+  เทา่ นน้ั   เพราะไมไ่ ดใ้ หค้ ำแนะนำวธิ แี กป้ ญั หาอยา่ งแทจ้ รงิ   แลว้ ผเู้ ขยี นกเ็ ขยี น คำตอบใหใ้ หม่ ว่าพฤติกรรมของลูกสาวเป็นกระจกสะท้อนวิธีเล้ียงและ ฝกึ สอนลกู ของคณุ  Alone in the Kitchen ทไ่ี มไ่ ดส้ อนใหล้ กู เหน็ อกเหน็ ใจ คนอนื่ และรจู้ กั เขา้ ไปชว่ ยเหลอื ผเู้ ขยี นแนะนำวา่ ในงานเลย้ี งปตี อ่ ไปจงเรมิ่ ดว้ ย การขอโทษลกู สาว ท่ีแม่ไม่ได้ฝึกความมีน้ำใจให้แก่ลกู เปน็ คำตอบทส่ี ะใจแทๆ้    ถงึ ตอนนี้ ผมกน็ กึ ออกวา่ การทพี่ อ่ แม่ มอบหมายงานบา้ นใหล้ กู ชว่ ยเหลอื และรบั ผดิ ชอบ เปน็ การฝกึ เดก็ ใหร้ จู้ กั ชว่ ยเหลอื ผอู้ น่ื โดยทางออ้ ม และนกึ ขอบคณุ แมท่ เี่ ขม้ งวดมอบหมายสารพดั งาน ใหผ้ มทำตง้ั แตเ่ ดก็ ๆ   52 สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๖. ช่วยเหลอื ผู้อน่ื : ความมนี ำ้ ใจ เหน็ อกเห็นใจชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่

คำปรกึ ษาของสาว ๑๖ ทคี่ รอบครวั กำลงั เผชญิ ความยากลำบาก แมต่ อ้ งทำงานตง้ั แต่ ๔.๓๐  -  ๒๐.๐๐ น. พอ่ ปว่ ยเปน็ มะเรง็ และตอ้ งการ คนพยาบาล พสี่ าวมคี รอบครวั และอยไู่ กล ตนจงึ ตอ้ งทำงานบา้ นทกุ อยา่ ง รวมทงั้ ตอ้ งไปเรยี นและทำการบา้ น ซงึ่ ครขู ยนั ใหก้ ารบา้ นมาก ขอคำแนะนำ วธิ จี ดั ระบบงานใหท้ ำไดเ้ รว็ คำตอบของผเู้ ขยี น เรมิ่ ดว้ ยการชมสาว ๑๖ วา่ ชนื่ ชมความมี นำ้ ใจชว่ ยเหลอื พอ่ แมข่ องสาว ๑๖ เปน็ อยา่ งยง่ิ และเชอื่ วา่ พอ่ แมก่ ภ็ มู ใิ จ ในตวั ลูกคนน้ีมากท่ีมีน้ำใจช่วยเหลือ แนะนำให้บอกครูเรื่องความยาก ลำบากทบี่ า้ น เพอ่ื ใหค้ รชู ว่ ยลดภาระการบา้ นและชว่ ยเหลอื การเรยี นทาง อนื่ ดว้ ย ควรไปคยุ กบั ครแู นะแนว  (School Counselor)  ซงึ่ จะชว่ ยพดู ทำความเขา้ ใจกบั ครผู สู้ อนอกี ทางหนงึ่ ดว้ ย คำแนะนำใหท้ ำงานเปน็ ระบบและเรว็ ขนึ้ คอื ใหท้ ำรายการของสง่ิ ทตี่ อ้ งทำทบ่ี า้ น แยกแยะ ระหวา่ งสงิ่ ทตี่ อ้ งทำทกุ วนั กบั สง่ิ ทที่ ำ ๒ - ๓ ครงั้ ตอ่ สปั ดาห์ จะช่วยให้จัดระบบการทำงานไดด้ ขี นึ้ ขอใหย้ อมรบั วา่ สภาพทเี่ ปน็ อยเู่ ปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งเผชญิ แตช่ วี ติ จะไมเ่ ปน็ เชน่ นต้ี ลอดไป สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๖. ช่วยเหลือผูอ้ ื่น : ความมนี ำ้ ใจ เห็นอกเหน็ ใจช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื 53

คำแนะนำคอื จงทำหนา้ ทเ่ี พอื่ ครอบครวั และเพอ่ื การเรยี นใหด้ ี ทส่ี ดุ และจดั เวลาวนั ละอยา่ งนอ้ ย ๓๐ - ๖๐ นาที ทกุ วนั สำหรบั อยกู่ บั ตวั เอง เปน็ เวลาของตวั เอง    วจิ ารณ์ พานชิ ๒๔ ม.ี ค. ๕๖ โรงแรมเรอื รษั ฎา  จงั หวดั ตรงั http://www.gotoknow.org/posts/550466 54 สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๖. ช่วยเหลอื ผู้อื่น : ความมีนำ้ ใจ เหน็ อกเหน็ ใจช่วยเหลือผู้อื่น

๗. ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื : ความเคารพผู้อืน่ และ เคารพตนเอง สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๗. ช่วยเหลอื ผูอ้ น่ื : ความเคารพผูอ้ ่นื และเคารพตนเอง 55

4 คำถาม ฝกึ ความอดทน อดกลนั้ ของพอ่ แมแ่ ละครู • กำลงั รสู้ กึ อยา่ งไร • ทำไมพฤตกิ รรมนที้ ำใหเ้ ราไมพ่ อใจมากถงึ เพยี งนี ้ • เมอื่ เกดิ เหตกุ ารณน์ แี้ ลว้ ตามปกตติ วั เรามปี ฏกิ ริ ยิ าอยา่ งไร ปฏกิ ริ ยิ าของเราชว่ ยลดหรอื เพมิ่ ปญั หา • จรงิ ๆ แลว้ ลกู /ศษิ ย์ ของเราตอ้ งการอะไร 56 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๗. ชว่ ยเหลือผู้อ่นื : ความเคารพผู้อน่ื และเคารพตนเอง

ตอนที่ ๗ นี้ ตีความจากบทท่ี ๓ How Can I Help? Figuring Out What’s Needed and Providing Some of It โดยทีใ่ นบทที่ ๓ มี ๔ ตอน ในบนั ทกึ ที่ ๖ ไดต้ คี วามตอนที่ ๑ และ ๒ ไปแลว้ ในบนั ทกึ ที่ ๗ นจ้ี ะเป็นการตคี วามตอนท่ี ๓ และ ๔   ตอนที่ ๓ ในบทน้ีเป็นเรื่อง ปัญหาท่ีแก้ไม่ตก ซ่ึงส่วนใหญ่ เป็นปัญหามติ รภาพของวยั   Tween คำว่า  Tween  เปน็ คำทผี่ มเพ่งิ พบ ในหนงั สือน้ีเป็นคร้ังแรก  หมายถึงวัยรุ่นท่ีอายุยังไม่ถึง ๑๓ (ยังไม่ถึง วัยทีน) เป็นตัวอย่างของโอกาสท่ีพ่อแม่/ครู จะชว่ ยเหลือใหเ้ ด็กเรียนรู้ ฝึกฝนความเคารพผู้อื่น และเคารพตนเอง  ความเห็นอกเห็นใจคนอื่น (Empathy) และความเมตตากรณุ า (Compassion) พอ่ แมม่ กั เอาใจใสส่ อนลกู ในวยั เดก็ เลก็ ใหม้ คี ณุ ลกั ษณะความเปน็ คนดเี หลา่ น ี้ แตม่ กั เผลอไมไ่ ด้เอาใจใสเ่ รือ่ งนี้ในวยั ท่ลี ูกสบั สนทสี่ ดุ คอื วยั   Tween  ทล่ี กู มกั มปี ญั หากบั เรอื่ งไมเ่ ปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธก์ บั เพอ่ื น  เชน่ เพอ่ื นรกั กนั มาหลายปี เอาใจออกหา่ งไปสนทิ กบั คนอน่ื และทำตวั หา่ งเหนิ   กร็ สู้ ึกสะเทือนใจน้อยใจ  เน่ืองจากเด็กยังพัฒนาความเคารพตนเอง ม่นั ใจในตนเองไม่เตม็ ท ่ี สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๗. ช่วยเหลอื ผูอ้ นื่ : ความเคารพผู้อื่น และเคารพตนเอง 57

น่ีคือการจัดการกรณี “เพ่ือนทรยศ”  ที่เด็กจะต้องรู้ว่ามีวิธี จดั การไดห้ ลายวิธี เชน่ ทำเฉยๆ เสยี ทำไมร่ ไู้ ม่ชี้กไ็ ด้ หรือจะแกแ้ คน้ ก็ได้ โดยท่วี ิธหี ลังไม่ใชว่ ธิ ที ่ีดี  แตก่ ่อนที่เดก็ จะเขา้ สวู่ ยั มเี พอ่ื นสนิท พอ่ แมม่ ีโอกาสสอนลูกเก่ียวกับการคบเพื่อน ว่ามิตรภาพเป็นเสมอื นถนน สองทาง คอื ต้องมไี มตรีจิตตอ่ กันทง้ั สองฝา่ ย มีพน้ื ฐานทค่ี วามเชือ่ มน่ั ตอ่ กนั และกัน ความรัก เคารพ ซ่อื สตั ย์ ช่วยเหลอื เก้อื กูลกนั  มีความเช่อื ใน คณุ ค่าเดียวกัน  สื่อสารกันอย่างเปิดเผย และรับฟังซ่ึงกันและกันหาก มิตรภาพมีปญั หา เมอ่ื เดก็ วยั  Tween/Teen มปี ญั หามติ รภาพระหวา่ งเพอ่ื นสนิท   หลายครงั้ คกู่ รณไี มท่ ราบวา่ จะแกป้ ญั หาอยา่ งไร  ผใู้ หญท่ เี่ ขาไวว้ างใจจะ ชว่ ยแนะนำได ้ สง่ิ ทคี่ วรแนะนำคอื ใหย้ นื หยดั มน่ั คงในตนเอง (Assertive) แตไ่ มใ่ ชแ่ สดงความกา้ วรา้ ว  (Aggressive)  ตอ่ เพอ่ื น  เดก็ ตอ้ งเรยี นรทู้ จ่ี ะ แยกแยะระหวา่ งพฤตกิ รรมสองแบบน ี้ ผ้เู ขยี นแนะนำใหพ้ อ่ แม/่ ครู ฝกึ วธิ คี ลายความขดั แยง้ ระหวา่ งเพอ่ื น ให้แก่ลูก/ศิษย์ ด้วยยุทธศาสตร์ ๙ ขั้นตอน คือ  (๑)  บอกความจริง (๒) หยดุ   (๓) สงบสตอิ ารมณ ์ (๔) กำหนดเปา้ หมาย (๕) คดิ ไตร่ตรอง (๖) ตรวจสอบทางเลอื ก (๗) เลอื กแนวทางทดี่ ที สี่ ุด (๘) ดำเนินการ (๙)  ใหค้ ำชมเมือ่ เดก็ คลายอารมณว์ ู่วาม คิดรอบคอบ และลงมือทำในสง่ิ ท่ี ถกู ต้อง 58 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๗. ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ืน่ : ความเคารพผู้อ่ืน และเคารพตนเอง

ปัญหาของหนมุ่ ๑๕   ทเี่ บอื่ อาหาร   ตอนเชา้ กนิ   Energy Bar  ครงึ่ ชนิ้ กอ่ นไปโรงเรยี น ตอนเทยี่ งไมก่ นิ อะไรเลย ตอนเยน็ กนิ  Energy Bar  ครึง่ ชิ้นทเี่ หลอื กับผลไมเ้ ลก็ น้อย  เม่ือไรท่ีกินอาหารจะรู้สึกว่าตนทำผิด ตนรสู้ กึ ไม่ดเี มอ่ื มีคนมาวา่ ตนอว้ น หรือช้จี ุดอ่อนของตน  แมบ่ อกว่าตน กินอาหารไมพ่ อแตต่ นทำเปน็ ไมไ่ ดย้ นิ   เพอ่ื นๆ ทโ่ี รงเรยี นชวนให้กินอาหาร ของเขา ตนปฏิเสธ ทัง้ ๆ ท่ีรูว้ ่าเพ่ือนๆ เป็นห่วง ตนไม่รู้สึกว่าได้รับการ ตอ้ นรบั ทดี่ ไี มว่ า่ ทไ่ี หน ครหู วั หนา้ ฝา่ ยดแู ลนกั เรยี นถามวา่ อยากคยุ กบั ครไู หม ตนตอบว่าตนเองสบายด ี ตนรวู้ า่ ครเู ปน็ หว่ ง ตนไมร่ วู้ า่ จะทำอยา่ งไรดี มี ปญั หาทแ่ี กไ้ มต่ ก คำตอบของผู้เขียน เธอมีปัญหาอย่าง แน่นอน ทุกคนท่ีรู้จักเธอเป็นห่วง ทั้งแม่ ครู เพื่อนๆ และครูหัวหน้าฝ่ายดูแลนักเรียน และ การท่ีเธอเขียนมาขอความช่วยเหลือ ก็แสดงว่า เธอเปน็ หว่ งตัวเองดว้ ย ใครๆ ก็มีปัญหาไม่อยากกินอาหารได้ ฟังคล้ายกับว่าเธอไม่อยากกินเพราะกลัวถูกล้อว่าอ้วน  จนกลายเป็น นิสัยไม่อยากกินอาหาร   ฉนั ขอเพม่ิ ตนเองเปน็ อกี คนหนง่ึ ทเี่ ปน็ หว่ งเธอ  และขอจบั ประเดน็ ทเ่ี ธอบอกวา่  “ไมร่ วู้ า่ จะทำอยา่ งไรด”ี  เพอ่ื แนะนำดงั ตอ่ ไปน ้ี ใหค้ ยุ กบั แม่ บอกความจรงิ หรอื ความรสู้ กึ ของเธอทง้ั หมด ตาม ทเ่ี ขยี นมาปรกึ ษาฉนั   คอื เรอื่ งไมอ่ ยากกนิ เรื่องรู้สกึ หดห ู่ บอกแมว่ า่ เธอ ไมอ่ ยากรสู้ กึ เชน่ นอ้ี กี ตอ่ ไป บอกแมว่ า่ เธออยากคยุ กบั ครหู วั หนา้ ฝา่ ยดแู ล นกั เรยี น และ/หรอื ทป่ี รกึ ษาประจำโรงเรยี น   สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๗. ช่วยเหลอื ผู้อ่นื : ความเคารพผู้อืน่ และเคารพตนเอง 59

ตอนที่ ๔ เป็นคำแนะนำตอ่ พอ่ แม่/ครู เร่อื งฝกึ เปน็ คนอดทน อดกลน้ั ไมแ่ สดงความโกรธโมโหววู่ าม เมอื่ ลกู /ศษิ ย์ มพี ฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ อย่ายอมใหเ้ ดก็ ทที่ ำตัวไม่ถูกตอ้ งมีอำนาจทำลายบรรยากาศ และโอกาส ฝกึ ฝนใหล้ กู /ศิษย์ เปน็ คนด ี โดยเม่อื เด็กทำตัวไม่ดแี ละเราเกดิ อารมณ์ กห็ าทางระงับด้วยการถามตนเองว่า  “กำลังรู้สึกอย่างไร” หลังจาก ถามคำถามแรกไปแล้ว ก็ตามด้วยคำถามที่สอง  “ทำไมพฤติกรรมนี้ ทำใหเ้ ราไม่พอใจมากถึงเพยี งนี”้  และตามด้วยคำถามทส่ี าม “เมือ่ เกิด เหตกุ ารณ์น้ีแล้ว ตามปกติตวั เรามีปฏกิ ริ ิยาอย่างไร  ปฏกิ ิรยิ าของเรา ชว่ ยลดหรือเพม่ิ ปัญหา”   การหยดุ และตั้งสติ ดว้ ยสามคำถามข้างต้น จะชว่ ยใหเ้ ราได้สติ ทจี่ ะถามคำถามท่ีส่ี ซึง่ เป็นคำถามท่สี ำคัญทีส่ ดุ  “จริงๆ แลว้ ลกู /ศิษย์ ของเราต้องการอะไร” เทา่ กบั วา่ เราไดส้ ติวา่ พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ ของ ลกู /ศษิ ย์ เปน็ สญั ญาณบอกวา่ เขากำลงั ตอ้ งการความสนใจ ตอ้ งการ มคี นมาฟงั ความตอ้ งการของเขา     ในสถานการณน์ ี้พอ่ แม่/ครู จงึ ควรหาโอกาสคยุ กับลกู /ศิษย์ วา่ เขาอยากบอกอะไร  ความต้องการที่แท้จริงของเขาคืออะไร พ่อแม/่ ครู พรอ้ มที่จะฟัง    พฤตกิ รรมเช่นนีข้ องพ่อแม่/ครู จะช่วยให้สตเิ ดก็ ว่าตัวเขาเอง ตอ้ งพรอ้ มใหโ้ อกาสคนอนื่ บอกความตอ้ งการของเขาด้วย   ผมคิดว่า สาระท่ีแท้จริงของตอนที่ ๔ น้คี อื จาคะ หรอื การให ้   การใหท้ ที่ รงคณุ คา่ ทสี่ ดุ คอื ใหค้ วามเอาใจใส่ แครต์ อ่ ความรสู้ กึ ของคนอนื่    60 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๗. ช่วยเหลือผูอ้ ื่น : ความเคารพผูอ้ ื่น และเคารพตนเอง

คำถามของครขู องลูกผูเ้ ขียน ลกู ชายอายุ ๑๔ มอี าการโวยวาย และกลา่ ววาจาผรสุ วาท เม่อื ไมไ่ ด้ดังใจ ต่อมาทะเลาะและมกี ารลงมอื ลง ไมก้ บั พอ่ ซ่งึ หยา่ ขาดจากผถู้ ามไปแล้ว  จงึ หนมี าอยู่กบั แม่และสามีใหม่ ของแม่ แล้วกเ็ กิดเหตอุ ย่างเดิม โดยมีความรุนแรงกับแม่ แล้วในที่สุด ก็ขอโทษแม ่ ขอปรกึ ษาวา่ ควรใหไ้ ปคยุ กบั หลวงพอ่ ทว่ี ดั ทที่ ำหนา้ ทแี่ นะนำ เยาวชน หรอื ควรนำเร่อื งไปขอคำแนะนำจากศาลเยาวชน คำตอบของผเู้ ขยี น  นคี่ อื ปัญหาทักษะในการจัดการความโกรธ และไม่ร้วู ิธจี ัดการอารมณข์ องตน เป็นเรอื่ งที่ปลอ่ ยทิง้ ไว้ไมไ่ ด ้ แตก่ ม็ สี ญั ญาณทด่ี ี ทใี่ นเหตกุ ารณส์ ดุ ทา้ ยเขาขอโทษแม่ แสดงว่า เขารตู้ วั วา่ ทำผดิ คำแนะนำคอื ควรใหไ้ ปคยุ กบั หลวงพอ่ (ในศาสนาครสิ ต)์ ทใ่ี หค้ ำแนะนำเยาวชน  และควรปรึกษานักครอบครัวบำบัด  (Family Therapist) ด้วย   แนะนำใหค้ ยุ กับลูก บอกลูกวา่ แมร่ กั ลูกและเชื่อว่าลูกเปน็ คนดี   แต่บางครั้งลูกก็ควบคุมอารมณไ์ มไ่ ด้ และทำสง่ิ ที่ไม่สมควรซึ่งไม่ดี  และ แมไ่ มอ่ ยากใหเ้ กดิ ขนึ้ แตแ่ มก่ เ็ ขา้ ใจวา่ ในสภาพเชน่ นนั้ สถานการณม์ นั คมุ ไมอ่ ยู่ แมต่ อ้ งการใหล้ กู เตบิ โตเปน็ คนดมี คี วามสำเรจ็   มพี ลงั ภายในจติ ใจที่ จะควบคุมอารมณ์ในสถานการณ์เช่นน้ันได้ และเป็นคนทีร่ ้จู กั เคารพให้ เกยี รตคิ นอื่น บอกลูกวา่ คนท่ีจะช่วยฝึกการควบคุมอารมณ์ได้คือหลวงพ่อ ทใี่ ห้คำแนะนำเยาวชน  และนกั ครอบครัวบำบัด สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๗. ช่วยเหลือผูอ้ นื่ : ความเคารพผูอ้ ื่น และเคารพตนเอง 61

ผเู้ ขยี นแนะนำว่า สภาพที่เกิดข้ึนเป็นปัญหาครอบครวั ดงั นน้ั ทงั้ สามเี กา่ สามใี หม่ และครผู ถู้ าม ตอ้ งรว่ มมอื กนั ดว้ ย โดยการชว่ ยเหลือ ของนกั ครอบครวั บำบดั ซง่ึ คำแนะนำนีน้ ่าจะไมส่ อดคลอ้ งกับบรบิ ทไทย ในสังคมไทย น่าจะหาทางขอคำแนะนำจากนักจิตวิทยาหรือนัก สังคมสงเคราะห์ แต่ผมไม่แน่ใจว่าจะสามารถช่วยเหลือได้หรือไม ่ วิจารณ์ พานิช ๒๔ ม.ี ค. ๕๖ โรงแรมเรอื รษั ฎา  จงั หวดั ตรงั http://www.gotoknow.org/posts/550969 62 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๗. ชว่ ยเหลอื ผู้อน่ื : ความเคารพผู้อ่ืน และเคารพตนเอง

๘. การให้อภัย : ความเคารพให้เกียรติ และความเชอ่ื ถอื ไวว้ างใจ สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๘. การใหอ้ ภยั : ความเคารพใหเ้ กยี รติ และความเช่อื ถอื ไว้วางใจ 63

สคี่ ำถาม • เกดิ อะไรขึน้ ตอบด้วยขอ้ เท็จจริงเทา่ น้ัน ไม่มกี ารตคี วาม • การตอบสนองของเราก่อผลอะไรต่อสถานการณน์ ้ัน • ฉนั จะพูดหรอื เขียน เพือ่ สอื่ สารกับบคุ คลผูน้ ัน้ ว่าอย่างไร (ที่สะท้อนวุฒภิ าวะและจรยิ ธรรม) • หากเกิดเหตกุ ารณท์ ำนองเดียวกันอกี ฉันจะประพฤตติ น แตกตา่ งจากทเี่ กดิ ขึน้ แล้วอยา่ งไรบ้าง 64 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๘. การใหอ้ ภยั : ความเคารพให้เกียรติ และความเชอ่ื ถอื ไวว้ างใจ

ตอนที่ ๘ น้ี ตีความจากบทที่ ๔ How About Letting It Go Already? Releasing Shame, Regret and Contempt โดยทใ่ี นบทท่ี ๔ มี ๔ ตอน ในบนั ทกึ ท่ี ๘ จะตคี วามตอนท่ี ๑ และ ๒  ในบนั ทกึ ท่ี ๙ จะ เปน็ การตคี วามตอนท่ี ๓ และ ๔   ทง้ั บทที่ ๔ ของหนงั สอื เปน็ เรอื่ งการฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหร้ จู้ กั ใหอ้ ภยั   ทั้งใหอ้ ภยั ตนเอง และใหอ้ ภยั ผอู้ นื่  ไมถ่ อื เอาความผดิ พลาดมาเปน็ อารมณ์ ทกี่ ดั กร่อนจติ ใจ แตถ่ ือเป็นการเรยี นร ู้ ตอนที่ ๑ เปน็ เรอื่ งฉนั ทำผดิ เสยี แลว้ เลา่ เรอ่ื ง ของตวั ผเู้ ขยี นเอง ในสมยั เปน็ นกั เรยี นไดท้ ำโครงงาน รว่ มกบั เพือ่ นคนหนึ่ง เปน็ เวลา ๑ ปี ผลงานออกมาดี แตผ่ ลดา้ นมติ รภาพยอ่ ยยบั  คอื ตนไมพ่ ดู กบั เพ่ือนคนนนั้ อกี เลย  และจรงิ ๆ แลว้ ผเู้ ขยี นไมใ่ ชท่ ำผดิ เรอ่ื งนเี้ รอ่ื งเดยี ว แตใ่ นชว่ ง ๑ ปี นั้น และอีก ๒ ปตี อ่ มา ผูเ้ ขียนไดร้ ะเบิดอารมณ์ในทต่ี า่ งๆ และต่อบุคคล ต่างๆ อกี นับไม่ถ้วน ที่ได้ตามหลอกหลอนผู้เขียน ที่ได้ทำความยุ่งยาก ให้แก่ผู้คนจำนวนมากมาย จนถึงจุดหน่ึง ผ้เู ขียนกเ็ ข้าใจ …. ทจ่ี ะให้ อภยั ตนเอง  ลืมเรื่องร้ายเหล่านั้นเสีย  เหลือไว้เฉพาะบทเรียนสำหรับ สอนตน และสอนลูก/ศิษย ์ ว่าเมอ่ื เกดิ ความรสู้ กึ คบั ข้องใจ ทม่ี คี นสรา้ งความไม่พอใจแกต่ น   ใหห้ ายใจลกึ ๆ หลายๆ คร้ัง  แล้วถามตัวเองด้วยสคี่ ำถาม • เกดิ อะไรขน้ึ ตอบดว้ ยขอ้ เทจ็ จรงิ เทา่ นน้ั ไมม่ กี ารตคี วาม • การตอบสนองของเรากอ่ ผลอะไรตอ่ สถานการณน์ นั้ • ฉนั จะพดู หรือเขียน เพื่อส่ือสารกับบุคคลผู้น้ันว่าอยา่ งไร (ทส่ี ะทอ้ นวฒุ ภิ าวะและจรยิ ธรรม) • หากเกดิ เหตกุ ารณท์ ำนองเดยี วกนั อกี ฉนั จะประพฤตติ นแตก ตา่ งจากทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้ อยา่ งไรบา้ ง  สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๘. การให้อภัย : ความเคารพใหเ้ กยี รติ และความเช่ือถือไว้วางใจ 65

          ขอ้ ความในย่อหนา้ บน ทำให้ผมนกึ ถงึ กระบวนการ AAR หรอื Self-Reflection  และไดต้ ระหนกั วา่ AAR ชว่ ยเปลย่ี นเรอ่ื งรา้ ย (ความ รสู้ ึกผดิ ทเี่ กาะกนิ ใจ) ใหก้ ลายเปน็ ดี (การเรยี นรจู้ ากสถานการณจ์ รงิ ) ได้ คำถามของหนมุ่ ๑๑  “เพื่อนทีด่ ที ่สี ดุ ในโลกของผมเอาใจออก หา่ งไปมีเพ่ือนใหม่  และไม่ยอมไปเท่ียวกับผมอีก  ไม่ยอมน่ังใกลผ้ ม ตอนกนิ อาหารเทย่ี ง  และทำทา่ ไมอ่ ยากพดู กบั ผม  เขาแสดงทา่ ทวี า่ เขาทงิ้ ผมแลว้ ผมกลับบา้ นด้วยความช้ำใจทุกวัน” คำตอบของผ้เู ขยี น “เขาไมใ่ ช่เพือ่ นท่ดี ีท่ีสุดในโลก  เขาอาจจะเปน็ ในอดตี แตไ่ มใ่ ชใ่ นเวลาน ้ี เพอ่ื นทดี่ ไี มป่ ฏบิ ตั ิ ต่อเพอ่ื นอย่างทเ่ี ธอเล่า เธอเคยบอกความรู้สึกของเธอ กับเขาหรือยงั ถา้ ยังก็น่าหาโอกาสบอก แตก่ อ็ ยา่ หวังมาก ว่าเขาจะกลบั มาเปน็ อยา่ งเดมิ   สง่ิ ทเี่ ธอตอ้ งทำในเวลานคี้ อื บอกตวั เองวา่ ‘ฉนั เปน็ คนมเี กยี รติ และควรไดร้ บั การใหเ้ กยี รตจิ ากคนอน่ื แต่เพื่อนคนนี้ ไม่ใหเ้ กยี รตแิ ก่ฉันอย่างท่ีเพื่อนควรให้เกียรติแก่กัน ฉันจะไมย่ อมใหเ้ ขา หรอื ใครกต็ ามมาทำใหฉ้ นั รสู้ กึ ตำ่ ตอ้ ย ฉนั จะไมร่ สู้ กึ เสยี ใจอกี ตอ่ ไป ฉนั จะ ปลอ่ ยเขาไป เขามสี ทิ ธทิ จ่ี ะมเี พอ่ื นใหม ่ และฉนั กม็ สี ทิ ธเิ หมอื นกนั ’”   ตอนท่ี ๒ เป็นเรือ่ ง ความเชือ่ ถือไว้วางใจ (Trust) ท่ีคนเราทกุ คนตอ้ งการจากคนอน่ื   และลกู /ศษิ ย์ กต็ อ้ งการจากเรา และจากเพอ่ื น ของเขา  คนที่ไม่ได้รับความไว้วางใจ หรือเคยได้รับ แล้วเกิดเหตกุ ารณ์ ทผ่ี อู้ น่ื หมดความเชอื่ ถอื ไวว้ างใจ จะรสู้ กึ เปน็ ทกุ ข์ เดก็ วยั รนุ่ จะมปี ญั หาน้ี มากเปน็ พเิ ศษ เดก็ มกั จะครำ่ ครวญวา่ ตนไมไ่ ดร้ บั ความเชอื่ ถอื ไวว้ างใจ จากพอ่ แม่ หรอื จากเพอ่ื นเสยี แลว้ 66 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๘. การให้อภัย : ความเคารพให้เกยี รติ และความเชอ่ื ถือไวว้ างใจ

เด็กควรได้รับคำแนะนำให้ตระหนักว่า ความเชื่อถือไว้วางใจ เปน็ สงิ่ มคี ่ายิง่ แตม่ คี วามเปราะบาง แตกหักหรอื ฉีกขาดไดง้ ่าย และเมื่อ เสียหายไปแล้วทำให้กลบั มาคนื ดไี ด้ยาก ทุกคนควรระมัดระวังไม่ทำลาย ความนา่ เชือ่ ถือไวว้ างใจของตน คนเราต้องรจู้ กั วิธปี กปกั รกั ษาสงิ่ น ี้     เดก็ ตอ้ งการเพื่อน เอาไว้ปรับทุกข์ระบายความรู้สึกบางอยา่ ง และในกระบวนการนัน้ บางครั้งก็บอกความลับแก่เพอ่ื น  ดว้ ยความหวงั ว่าเพอื่ นจะรักษาความลับได ้ แตเ่ พอ่ื นบางคนปากโป้ง อดเอาไปขยาย ต่อไมไ่ ด้ กจ็ ะเกิดกรณีขดั ใจกัน และหมดความเช่อื ถอื ไว้วางใจ           พอ่ แม/่ ครู ตอ้ งฝกึ ความนา่ เชอื่ ถอื ไวว้ างใจใหแ้ กล่ กู /ศษิ ย์ ทงั้ โดย การสนทนาทำความเขา้ ใจจากเหตกุ ารณใ์ นชวี ติ จรงิ ของเดก็ และโดยการ ประพฤตติ นเปน็ ตวั อยา่ ง  เชน่ การตรงเวลานดั   การปฏบิ ตั ติ ามสญั ญา เปน็ ตน้ คำถามของครขู องลกู “ภรรยาของผมค้นห้องของลูก (ลกู ชาย อายุ ๑๗ ลกู สาวอายุ ๑๕) พบยานอนหลบั ทซี่ อื้ ไดต้ ามรา้ นในหอ้ งลกู สาว  ลกู ชายฝกึ มวยปลำ้ และพบไนอาซนิ แคปซลู และยาระบายทอ้ ง ลกู ชาย เคยมปี ญั หาสบู กญั ชาทบี่ า้ นหลายครง้ั จะทำอยา่ งไรดี ตนคดิ วา่ ตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั ลกู ทงั้ สอง ซงึ่ กห็ มายความวา่ ตอ้ งบอกเขาวา่ เราคน้ หอ้ งเขาและทำใหเ้ ขา หาทซี่ อ่ นใหม”่ คำตอบของผเู้ ขยี น “นคี่ อื เรอื่ งการ ทำหนา้ ทพี่ อ่ แมอ่ ยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ  ซงึ่ มี จดุ สำคญั ๒ ประเดน็ คอื (๑) ความปลอดภยั ของลกู (๒) เพอ่ื สอนลกู เปน็ คนด ี เรอ่ื งการ เสพหรือใช้ยาเป็นสิ่งอันตรายย่ิงของวัยรุ่น  พอ่ แมไ่ มต่ อ้ งขอโทษลกู เลย ในการทำหน้าท่ี สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๘. การใหอ้ ภัย : ความเคารพใหเ้ กยี รติ และความเช่อื ถือไวว้ างใจ 67

เพอ่ื ความปลอดภยั ในชวี ติ ของลกู  ในสหรฐั อเมรกิ า การใชย้ าทซ่ี อื้ ไดจ้ ากรา้ น โดยใชอ้ ยา่ งผดิ ๆ เปน็ เรอ่ื งดาษดน่ื มาก และมอี นั ตรายมากกวา่ ทคี่ ดิ   ยาไนอาซนิ (วติ ามนิ บี ๓) เปน็ ยาทวี่ ยั รนุ่ เชอื่ กนั วา่ เมอื่ กนิ แลว้ จะทำใหต้ รวจจบั ยาเสพตดิ ไมพ่ บ (ซง่ึ ไมจ่ รงิ ) และยานกี้ นิ มากๆ เปน็ อนั ตราย การเสพยาเสพตดิ เปน็ เรอ่ื ง ทำลายอนาคตของเดก็  พอ่ แมต่ อ้ งรว่ มมอื กนั ปอ้ งกนั  และเดก็ มกั เสพเปน็ แกง๊ โดยชว่ ยเหลอื กนั แนะนำชกั ชวนหรอื หายามาใหแ้ กก่ นั   คณุ ควรสอบหาวา่ มี เพอื่ นคนไหนบา้ งของลกู ทเี่ กยี่ วขอ้ ง  และโทรศพั ทไ์ ปแจง้ เรอื่ งนแี้ กพ่ อ่ แมข่ องเขา  โดยถอื หลกั วา่ พอ่ แมต่ อ้ งชว่ ยเหลอื กนั ในการปกปอ้ งคมุ้ ครองลกู จากความชว่ั รา้ ย ตา่ งๆ รวมทงั้ จากความประพฤตไิ มด่ ขี องตวั ลกู เอง           บอกลกู ตรงๆ วา่ การใชย้ าเปน็ สงิ่ ทยี่ อมรบั ไมไ่ ด ้ เพราะเปน็ อนั ตราย ตอ่ อนาคตของตวั ลกู เอง ควรรว่ มกบั ลกู คน้ อนิ เทอรเ์ นต็ ศกึ ษาวา่ ยาแตล่ ะชนดิ ทล่ี กู ใชม้ อี นั ตรายอยา่ งไร  บอกลกู วา่ เหตกุ ารณน์ ท้ี ำใหพ้ อ่ แมห่ มดความเชอื่ ถอื ลกู อยา่ งไร  และลกู ตอ้ งทำอยา่ งไรเพอ่ื ฟน้ื ความนา่ เชอ่ื ถอื ของตน โดยใหเ้ วลา ระยะเวลาหนงึ่ สำหรบั ใหล้ กู พสิ จู นค์ วามนา่ เชอื่ ถอื ของตน”      ขอ้ คดิ เพมิ่ เตมิ ของผมคอื พอ่ แมต่ อ้ งแสดงใหล้ กู เขา้ ใจวา่ ทงั้ หมดที่ พอ่ แมท่ ำนน้ั ไมใ่ ชท่ ำเพราะอารมณว์ วู่ าม ไมไ่ ดท้ ำเพอ่ื ตนเอง แตท่ ำเพอ่ื อนาคต ของตวั ลกู เอง และเปน็ การทำหนา้ ทพ่ี อ่ แมท่ ร่ี กั ลกู และหว่ งใยอนาคตของลกู วจิ ารณ์ พานิช ๒๗ มี.ค. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/551493 68 สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๘. การใหอ้ ภัย : ความเคารพใหเ้ กยี รติ และความเช่ือถอื ไว้วางใจ

๙. การให้อภยั : เขา้ ใจ ให้อภัย และใหโ้ อกาสแกต้ วั สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๙. การให้อภยั : เขา้ ใจ ให้อภยั และให้โอกาสแก้ตวั 69

“สงั คมวัตถุนิยม ทุนนิยม กำลังทำทารุณกรรมต่อ วัยรุ่น เพอ่ื สรา้ งผลกำไรทางธุรกิจอย่างบ้าคลั่ง  พ่อแม่/ครู และสังคม ตอ้ งชว่ ยกนั สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทางอารมณ์ และทางสติ ปญั ญา เพอ่ื ไม่ใหว้ ยั รนุ่ ตกไปอยู่ใตอ้ ทิ ธพิ ลของการโฆษณาชวนเชอื่ การสอนลกู /ศษิ ย์ให้ เปน็ คนดี หมายรวมถงึ การพฒั นาภมู คิ มุ้ กนั นี้ ดว้ ย” 70 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๙. การใหอ้ ภยั : เขา้ ใจ ใหอ้ ภัย และให้โอกาสแก้ตัว

ทงั้ บทท่ี ๔ ของหนงั สอื เปน็ เรอื่ งการฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหร้ จู้ กั ใหอ้ ภยั   ทงั้ ใหอ้ ภยั ตนเอง และใหอ้ ภยั ผอู้ น่ื  ไมถ่ อื เอาความผดิ พลาดมาเปน็ อารมณ์ ทก่ี ดั กรอ่ นจติ ใจ แตถ่ อื เปน็ การเรยี นร ู้ ตอนท่ี ๓ ของบทนเ้ี ปน็ เรอ่ื ง ผดิ ไปแลว้ ขอโอกาสแกต้ วั  เลา่ เรอื่ ง ของตวั ผเู้ ขยี นเอง ทท่ี ำหนา้ ทใี่ หค้ ำแนะนำวยั รนุ่ ทถ่ี ามปญั หาทางอนิ เทอรเ์ นต็ ในชอื่   Hey!Terra (อา่ นขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ไดท้ ี่ http://www.anniefox.com/ teens/ask.html) โดยมเี ดก็ ผหู้ ญงิ ถามวา่ ตนไดท้ ำ Masturbation ให้ เพอื่ นผูช้ ายระหวา่ งนัง่ เรยี นในช้ัน แตอ่ ยากเลิก  จึงเขียนมาขอคำแนะนำ ผเู้ ขยี นทำผดิ ทต่ี อบดเุ ดก็ ไปวา่ ทำไมจงึ ทำพฤตกิ รรมนา่ บดั สเี ชน่ นนั้    เดก็ ตอบกลบั มาวา่ ตนเขยี นมาขอคำแนะนำ เพราะตอ้ งการทพี่ ง่ึ   ไมน่ กึ วา่ จะไดร้ บั คำตอบเชน่ น ี้ ผเู้ ขยี นจงึ เขยี นขอโทษกลบั ไป และแนะนำให้ บอกเพอื่ นผชู้ ายตรงๆ วา่ ตนตอ้ งการเลกิ ทำสง่ิ นน้ั แลว้  และไมเ่ อามอื ไปใกลต้ วั เพอ่ื น ถา้ เพอื่ นถามเหตผุ ล กใ็ หต้ อบเพยี งวา่ ไมต่ อ้ งการทำสงิ่ นนั้ อกี แลว้ เดก็ ตอบกลบั มาขอบคณุ ๒ วนั ใหห้ ลงั  และบอกขา่ วดวี า่ ปญั หาได้ จบสนิ้ ไปแลว้   เรอ่ื งนส้ี อนเราและเดก็ วา่ คนเราทำผดิ พลาดได ้ แตต่ อ้ งรตู้ วั วา่ ผดิ และดำเนนิ การแกไ้ ข หนา้ ทข่ี องพอ่ แม/่ ครู คอื ชว่ ยเหลอื เดก็ ใหอ้ อกมาจากพฤตกิ รรมที่ไมเ่ หมาะสม หรอื ให้โอกาสแกต้ ัว พอ่ แม/่ ครู ควรคยุ กบั เดก็ เรอื่ งความเออ้ื เฟอื้ เหน็ อกเหน็ ใจตอ่ กนั ในการใหโ้ อกาสแกต้ วั  วา่ เปน็ คณุ สมบตั อิ ยา่ งหนง่ึ ของการเปน็ คนดี โดยยกเรอ่ื งทเ่ี กิดข้นึ จรงิ ในชวี ติ ของเด็กขึ้นมาเป็นกรณีศึกษา สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๙. การใหอ้ ภยั : เขา้ ใจ ใหอ้ ภยั และใหโ้ อกาสแก้ตวั 71

ตอนที่ ๔ ของบทที่ ๔ เป็นเรอื่ ง ฟังใหไ้ ดค้ วามหมายทแี่ ท้จรงิ    ยกตัวอย่างลูกชายของผู้เขียนเอง เมื่อเข้าวัยรุ่น (อายุ ๑๓) พ่อแมช่ วน ไปเทยี่ วดว้ ยกนั ลกู ปฏเิ สธ  โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ ไปกบั แมแ่ ลว้ อดึ อดั เพราะ แมช่ อบจกุ จิกจู้จ้ี              พอ่ แมค่ าดหวังให้ลูกมีวุฒภิ าวะ  เคารพให้เกียรติผู้อื่น  และมี ความรับผิดชอบ  แต่เม่ือลูกทำผิดหรือไม่ได้ดังใจพ่อแม่  ตัวพ่อแม่เอง กลบั แสดงพฤตกิ รรมตรงกันข้ามกับที่คาดหวังจากลูก นี่คือจุดออ่ นของ พอ่ แม่เอง คอื แสดงอารมณเ์ สียเอากับลูกแบบยั้งไม่อยู่ หรอื ไมย่ ้งั             เม่อื เลก็ ลูกจะเคารพเช่ือฟังพอ่ แม่ มีพอ่ แมเ่ ป็นฮีโร่ แตเ่ มอื่ เข้า วยั รุ่น ก็จะฝึกทักษะการเปน็ ผใู้ หญ่ หรอื การมอี สิ ระ ดว้ ยการตำหนหิ รอื หาจุดอ่อน ของพ่อแม ่ หรือใช้คำพดู ทีก่ วนอารมณ์ของพอ่ แม่ กลับไปทีล่ กู ชายอายุ ๑๓ ปี ของผเู้ ขยี นหนังสอื   ทปี่ ฏเิ สธการไปเที่ยวกับพอ่ แม่ ดว้ ยถ้อยคำไมน่ ่าฟัง คือ โยนความผิดไปให้แม่ ท้ังๆ ท่ีเหตุผลเบ้ืองลึกท่ีพ่อแม่ ต้องเข้าใจคือ กลัวว่าไปเที่ยวกับพ่อแม่แลว้ ไปพบเพ่ือน  เพื่อนจะนำมาลอ้ ทโี่ รงเรยี นวา่ เปน็ หนมุ่ แลว้ ยงั ไมห่ ยา่ นม   ยงั ไปเทยี่ วกบั พอ่ แมอ่ ยู่ ความกลวั นจี้ ะหายไปเมอ่ื เดก็ พฒั นาความเคารพ มัน่ ใจในตัวเอง  ซง่ึ จะช่วยให้เด็กหลุดออกจากอิทธิพลหรือแรงกดดัน ของเพ่ือนๆ (Peer Pressure)             ในกรณีของลูกชายของผู้เขียน โชคดีที่พ่อแม่ไม่ถือสาถ้อยคำ ไม่รนื่ หขู องลกู วยั รนุ่  ยงั แสดงความรัก ความเคารพตอ่ ความคดิ เหน็ ของลกู และชวนทำโนน่ ทำนด่ี ้วยกนั  ในที่สดุ เด็กกจ็ ะคอ่ ยๆ พัฒนาความเคารพ มนั่ ใจตวั เองขนึ้ มา รวมทงั้ พฒั นาความเคารพใหเ้ กยี รตผิ อู้ น่ื เปน็ ซง่ึ บทเรียน แรกคือต่อพ่อแม ่ 72 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๙. การให้อภยั : เขา้ ใจ ใหอ้ ภัย และให้โอกาสแกต้ วั

          คำถามของหนุ่ม ๑๕  “ผมกับน้องชายอายุ ๑๓ ทะเลาะกนั ใน รา้ นอาหารฟาสตฟ์ ดู้   นอ้ งเปน็ ฝา่ ยเรม่ิ   เราปาซอสมะเขอื เทศใส่กัน และ ไปโดนเสอื้ ผหู้ ญงิ คนหนง่ึ   แมต่ อ้ งจา่ ยคา่ เสยี หายไป ๔๕ เหรยี ญ  แมเ่ รยี ก พวกเราว่าทารกทีไ่ ม่รู้จักโต ตอ่ ไปนจ้ี ะเลี้ยงแบบทารก  น้องชายยอมทำ ตามแม ่ แตต่ นกำลงั จะเรยี นขับรถยนต์ แต่แม่ไม่อนญุ าต  อา้ งวา่ ทารก ทำสิ่งท่ีผู้ใหญ่ทำไม่ได้  แม่มีสิทธิห้ามผมไหม  ผมมสี ทิ ธฟิ ้องแม่ทที่ ารณุ ลูกไหม มวี ธิ ีไหนบ้างท่จี ะทำใหแ้ มเ่ ป็นแม่ท่ดี ีกวา่ นี้” คำตอบของผู้เขียน “ฟังแล้วสรุปได้ว่าเธอและน้องชายหมด ความนา่ เชอื่ ถอื ทร่ี า้ นอาหาร  และนอ้ งชายเปน็ ฝา่ ยเรม่ิ   แตใ่ นฐานะทเ่ี ธอกำลงั จะโตเปน็ ผใู้ หญ ่ เธอจะตอ้ งฝกึ ควบคมุ ตวั เอง ไมท่ ะเลาะกบั นอ้ งแบบเดก็ ๆ    ในเรอ่ื งการขอใบขบั ข ่ี แมพ่ ดู ถกู  คนทจ่ี ะขบั ขย่ี านพาหนะไดต้ อ้ ง มวี ฒุ ภิ าวะ  เพ่ือการขับขี่ท่ีปลอดภัย  ต้องรู้จักควบคุมอารมณ์ ไม่วู่วาม ตอ้ งควบคมุ ไดไ้ มเ่ ฉพาะรถยนต์ แตต่ อ้ งควบคมุ ตนเองไดด้ ว้ ย    เธอรสู้ กึ อดึ อดั กบั แม ่ แมก่ ร็ สู้ กึ อดึ อดั กบั ความประพฤตขิ องลกู ชาย ทงั้ สองคนเหมอื นกนั   ในเรอ่ื งฟอ้ งแมต่ อ่ ศาลนนั้ เธอปรกึ ษาวา่ จะฟอ้ งแมไ่ ดไ้ หม เธอจะฟอ้ งศาลวา่ แมเ่ ปน็ ตวั การทท่ี ำใหต้ วั เธอไมพ่ ฒั นาวฒุ ภิ าวะเชน่ นนั้ หรอื    คำแนะนำคอื ใหส้ งบสตอิ ารมณต์ นเอง  และใหเ้ วลาแม่ อารมณด์ ขี นึ้ ในชว่ งเวลานี้ หากนอ้ งชายกอ่ ความขดั แยง้ อกี จงแสดงใหค้ นเหน็ วา่ เธอมคี วามอดทนอดกลน้ั แบบคนที่ เปน็ ผใู้ หญ ่ พรงุ่ นหี้ รอื มะรนื นคี้ อ่ ยไปคยุ กับแม ่ กลา่ ว ขอโทษแม่  และเสนอขอจา่ ยคา่ เสียหาย ๔๕ เหรียญเอง เพอ่ื แสดงว่า ตนยอมรับผิดท่ีเป็นผู้ก่อเร่ือง และคุยกับแม่เร่ืองการหดั ขบั รถและขอ ใบขบั ข่ี ดูว่าแม่จะตอ่ รองอย่างไร”  สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๙. การใหอ้ ภยั : เข้าใจ ใหอ้ ภัย และใหโ้ อกาสแกต้ ัว 73

ผมสรปุ กบั ตนเองวา่   ทกั ษะของพอ่ แม/่ ครู ในการชว่ ยเหลอื และ ฝกึ ทกั ษะของลูก/ศิษย์ วัยรุ่น  ให้พัฒนาทักษะด้านอารมณ์และความ สมั พนั ธก์ บั ผอู้ น่ื  ในฐานะคนทม่ี วี ฒุ ภิ าวะ เปน็ เรอื่ งทา้ ทายยง่ิ สำหรับสังคม ยคุ ปัจจบุ นั  ทม่ี ี Peer Pressure และ Social Pressure ที่ไมเ่ หมาะสม ตอ่ วยั รุ่น มากมาย     สงั คมวตั ถนุ ยิ ม ทนุ นิยม กำลังทำทารุณกรรมต่อวยั รนุ่ เพอ่ื สรา้ งผลกำไรทางธรุ กจิ อยา่ งบา้ คลง่ั  พอ่ แม/่ ครู และสงั คม ตอ้ งช่วยกัน สร้างภมู คิ มุ้ กนั ทางอารมณ์ และทางสตปิ ญั ญา เพอ่ื ไมใ่ หว้ ยั รนุ่ ตกไปอยู่ ใตอ้ ทิ ธพิ ลของการโฆษณาชวนเชอ่ื    การสอนลกู /ศษิ ย์ ใหเ้ ปน็ คนดี หมายรวมถงึ การพฒั นาภูมคิ ุ้มกัน นด้ี ว้ ย        วจิ ารณ์ พานิช ๒๘ มี.ค. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/551905 74 สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๙. การให้อภยั : เขา้ ใจ ใหอ้ ภยั และใหโ้ อกาสแกต้ วั

๑๐. ความเห็นใจ : เขา้ ใจระดบั พฒั นาการของเดก็ สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๐. ความเห็นใจ : เขา้ ใจระดับพัฒนาการของเดก็ 75

พฤติกรรมไม่เหมาะสมของเด็กสะท้อนความทุกข์ ของเขา  ผู้ใหญพ่ งึ เข้าใจ เห็นใจ และใหค้ วามเมตตากรณุ า ชว่ ยใหเ้ ขาคลายทกุ ข ์ ท่ีไม่ ใชค่ ลายทกุ ขป์ จั จบุ นั ชว่ั ครง้ั ชว่ั คราว แตช่ ว่ ยพฒั นาจติ ใจใหเ้ ขม้ แข็ง คลายทุกข์ได้ในระยะยาวหรอื ถาวร 76 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๐. ความเหน็ ใจ : เขา้ ใจระดับพฒั นาการของเด็ก

ตอนท่ี ๑๐ น้ี ตคี วามจากบทท่ี ๕ How Can I Make It Better? Modeling Compassion to Teach Kindness โดยทใี่ นบทที่ ๕ มี ๔ ตอน ในบนั ทกึ ที่ ๑๐ จะตคี วามตอนที่ ๑ และ ๒  ในบนั ทกึ ท่ี ๑๑ จะเปน็ การ ตคี วามตอนท่ี ๓ และ ๔             ทั้งบทที่ ๕ ของหนงั สอื เปน็ เรอื่ งการฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหร้ จู้ กั ใหอ้ ภยั   ทง้ั ใหอ้ ภยั ตนเอง และใหอ้ ภยั ผอู้ น่ื ไมถ่ อื เอาความผดิ พลาดมาเปน็ อารมณ์ ทกี่ ดั กรอ่ นจติ ใจ   แตถ่ อื เปน็ การเรยี นร้ ู           ผูเ้ ขยี นอ้างทา่ นดาไลลามะวา่  ความเมตตากรณุ าเหน็ อกเห็นใจ ผู้อืน่ ไมใ่ ชเ่ รื่องศาสนา แต่เป็นมิติของความเป็นมนุษย์ ซ่ึงผมเห็นด้วย อย่างยิง่  (แต่ใครจะลากเข้าศาสนาก็ไมน่ ่าจะผดิ ) ไมใ่ ชเ่ รื่องพิเศษพิสดาร แต่เปน็ เร่ืองของชีวิตประจำวัน และเป็นปัจจัยของคุณภาพชีวิต หรือ สุขภาวะทด่ี ี ทง้ั ของตนเอง  และเปน็ การเออ้ื เฟอื้ เผอ่ื แผแ่ กผ่ อู้ นื่ ไปพรอ้ มกนั หรอื อาจกล่าวได้วา่ เปน็ ส่ิงจำเป็นตอ่ การอยรู่ อดของมนุษย์  มองจากมมุ หนงึ่ ชวี ติ เปน็ ทกุ ข ์ เพราะมสี งิ่ มาทำใหเ้ กดิ ทกุ ข์ ใน หนงั สอื เขาเอย่ ถงึ ความวติ กกงั วล ความโกรธ ความเศรา้ ความกลวั ในคติ พทุ ธของเรา ความทกุ ขม์ าจากกเิ ลส ไดแ้ ก่ โลภะ โทสะ โมหะ ซงึ่ แตกลกู รายละเอยี ดไดม้ ากมาย และทกั ษะในการมเี มตตากรณุ าเหน็ อกเหน็ ใจ ตอ่ ผอู้ น่ื และตอ่ ตนเอง คอื หนทางหนึง่ สู่ความพน้ ทุกข์  ทั้งส่วนบคุ คล และ สว่ นรวมคอื สงั คม การฝึกเด็กให้มีเมตตากรุณา เห็นใจผู้อื่น (และตนเอง) จึง เป็นส่วนหน่ึงของการแก้ปญั หาสังคม  แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิไมง่ า่ ยนกั เพราะ สังคมเองมกั จะชักจูงไปในทางตรงกนั ข้าม สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๐. ความเหน็ ใจ : เข้าใจระดับพัฒนาการของเดก็ 77

ตอนที่ ๑ เปน็ เรอ่ื ง เรากำลงั ทำสงิ่ ตรงกนั ขา้ มกบั ทคี่ วรทำ เพราะ เดก็ จะเรยี นไดง้ า่ ยและดที สี่ ดุ จากตวั อยา่ ง เวลานเี้ รามพี ฤตกิ รรมปากวา่ ตาขยบิ   สอนอยา่ งแตท่ ำอกี อยา่ ง  คอื เราบอกวา่ คนเราตอ้ งมเี มตตากรณุ าเหน็ อก เหน็ ใจกนั แตพ่ ฤตกิ รรมตา่ งๆ ในสงั คม ดำเนนิ ไปในทางทำรา้ ยผอู้ นื่ แทนท่ี จะมเี มตตากรณุ า เหน็ อกเหน็ ใจผอู้ นื่  เชน่ พฤตกิ รรมกลา่ วรา้ ย  ตฉิ นิ นนิ ทา เอาขอ้ ดอ้ ยของคนอื่นมาลอ้ เลยี น สร้างความ ขบขนั  ในเด็กมีการข่มเหงรงั แกกนั สังคมปจั จบุ นั เพิ่มความรุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ   กลายเปน็ วฒั นธรรมแหง่ ความโหดรา้ ย สอื่ สารมวลชน นิยมแพรข่ า่ วรา้ ย มคี ำพดู วา่ “ขา่ วรา้ ยลงฟรี ขา่ วดเี สยี เงนิ ”  ขา่ วสรา้ งสรรคม์ นี อ้ ย และเมอ่ื มโี ซเชยี ลมเี ดยี กก็ ลายเปน็ เครอ่ื งมือ ของความรุนแรงอยู่บ่อยๆ เพราะโลกในปจั จุบันกำลังเดนิ ไปใน ทางเพมิ่ ความรนุ แรงในจิตใจคน  การปลูกฝังจิตใจเด็กให้มีพื้นฐานเมตตากรุณาเห็นใจคนอื่น และตนเองจงึ จำเปน็ ยงิ่ สำหรบั ยคุ น ้ี เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เตบิ โตไปเปน็ ผใู้ หญท่ มี่ ี Transformative Learning สามารถเปน็ ผนู้ ำการเปลย่ี นแปลงสงั คม จากสงั คมโหดรา้ ย ไปส่สู ังคมทดี่ งี ามได้              นอกจากผ้ใู หญ่ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ตวั อย่างแลว้ ผู้เขยี นแนะนำใหพ้ ่อ แม/่ ครู คุยกบั เดก็ เร่อื ง “สือ่ สับสน” (Mixed Message) (หรือพดู อย่าง ทำอีกอยา่ งนัน่ เอง) ทพ่ี บในความสัมพันธ์ระหว่างกันในชีวิตประจำวัน โดยตา่ งกย็ กกรณที ต่ี นสบั สนขนึ้ มาคยุ กนั อยา่ งเปดิ เผย ไมก่ ลา่ วหา ตำหนิ หรอื มคี วามรสู้ กึ ไมด่ ตี อ่ กนั การคยุ กนั เชน่ นจ้ี ะเปน็ การใหส้ ตติ อ่ กนั และกนั โดยทผี่ ใู้ หญค่ งจะตอ้ งละทฐิ มิ านะลงไปมากในบรบิ ทสงั คมวฒั นธรรมไทย คอื ผมคดิ วา่ คำแนะนำนอี้ าจทำในฝร่ังง่ายกว่าในคนไทย  แต่ก็น่าลอง 78 สอนเด็กใหเ้ ป็นคนดี : ๑๐. ความเห็นใจ : เขา้ ใจระดับพฒั นาการของเดก็

ท่านผู้อ่านที่นำวิธีการน้ีไปทดลองใช้น่าจะนำมาเขียนเล่าแลกเปลี่ยน ประสบการณก์ นั   ทจ่ี รงิ วธิ กี ารคยุ กนั เรอ่ื ง “สอ่ื สบั สน” นี้ นา่ จะนำไปทำ เปน็ โจทย์วิจยั ด้านการศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาได ้           คำถามของเด็ก ๑๐ ขวบ  “เวลาอยูใ่ นกลุ่มเพ่อื นเกเร ก่อกวน ทำร้ายเพอื่ น หนตู อ้ งประพฤตติ นเกเรตามไปดว้ ย ตอนนห้ี นไู มอ่ ยากเขา้ กลมุ่ น้ี แต่เมื่อหนูไปคบกับเพื่อนท่ีเรียบร้อย เพื่อนกลุ่มเดิมกต็ ามมา ล้อเลียน หนจู ะทำอย่างไรดี” คำตอบของผูเ้ ขียน “เม่อื อ่านเร่ืองของเธอจบ ฉันรู้ทนั ทีว่าเธอ เปน็ คนมีจติ ใจดี เธอมี ‘เสียงภายใน’ คอยเตอื นสติ ช่วยให้เธอประพฤติ ตนเป็นคนมเี มตตากรุณา ซึ่งเป็นส่ิงท่ีมีค่ายง่ิ ตอ่ ชวี ติ  คำแนะนำคือ ทำใจ ใหเ้ ข้มแขง็ และเลือกทางที่คิดว่าดีต่ออนาคตของตนเอง และตรงกบั ความต้องการของตนเอง แม้หนทางท่ีเลือกจะมีอุปสรรค เช่น ถ้าเลือก ไม่เข้ากล่มุ เพ่ือนเกเร เพื่อนบางคนอาจตามมารังควาน แต่อาจไม่มี ใครทำจรงิ จงั กไ็ ด้ ในทางตรงกนั ขา้ ม หากเธอไปเขา้ กลมุ่ เพอ่ื นเกเร และ รว่ มรงั ควานเพอื่ นคนอน่ื   กเ็ ทา่ กบั เธอเข้าไปช่วยกนั ทำให้โรงเรยี นเตม็ ไป สอนเด็กใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๐. ความเหน็ ใจ : เขา้ ใจระดบั พัฒนาการของเดก็ 79

ดว้ ยการรงั แกขม่ เหงเอาเปรยี บกนั และทร่ี า้ ยคอื การไปเข้ากลุ่มเพื่อน กลุ่มน้ัน เท่ากับเธอไม่เคารพตนเอง  ไม่เคารพความรู้สึกของตนเอง และถ้าเธอแยกออกจากกลุ่มเพอื่ นเกเร เท่ากบั เธอชว่ ยทำใหบ้ รรยากาศ ในโรงเรยี นดีขึน้ และจะรู้สึกภูมิใจในตนเอง  ขอให้เธอเลือกเองว่าจะ เลือกทางไหน และขอใหโ้ ชคด”ี ตอนที่ ๒ ของบทที่ ๕ เปน็ เรอื่ ง  หนอู จิ ฉานอ้ ง  เลา่ เรอ่ื งคำ ปรกึ ษาของพอ่ ลกู สอง ทเ่ี อม็ มา่ ลกู สาวคนโตอายุ ๕ ขวบ มพี ฤตกิ รรม เปลี่ยนแปลงอย่างนา่ ตกใจเม่ือมีทารกนอ้ งชาย  โดยท่ีเอ็มม่าไม่ได้แสดง พฤตกิ รรมต่อต้านน้อง แต่แสดงพฤตกิ รรมตอ่ ตา้ นพอ่ แม ่ เร่ืองนี้ตรงกับประสบการณ์ของผู้เขียนหนังสือไม่ผิดเพี้ยน  จึงรีบตอบแนะนำ สรปุ สาระไดว้ า่ “ปฏกิ ิริยาของเอ็มม่าเป็นเรื่องคลาสสิก และฉันก็ประสบมา ด้วยตนเอง  ลูกสาวอายุ ๕ ขวบของฉันก็มีปฏิกิริยาเช่นนี้  ให้ลองนึกดูว่า ลูกสาวเป็นราชินีของบ้านและคนที่มา เกี่ยวข้องดว้ ยมา ๕ ปี อยๆู่ กม็ เี บอร์ ๒ มาอยดู่ ว้ ย และ เปน็ เบอร์สองท่ีใครๆ ก็ให้ความสนใจเอาใจใส ่ มนั เป็น การส่นั คลอนตัวตนของเอ็มม่าอย่างแรง ให้ลองนึกถึง ผู้หญิงท่ีเป็นภรรยา อยกู่ นิ กบั สามีมา ๕ ปี อยู่ๆ สามีกพ็ า หญงิ สาวอกี คนหน่งึ มาแนะนำและให้อยู่ในบ้าน บอกว่าเป็น ภรรยาคนท่ี ๒ และตอ่ ไปนีก้ จ็ ะตอ้ งมีการปรับความเป็นอยู่ของเบอร์ หน่ึงใหมด่ ้วย ภรรยาเบอรห์ น่งึ รู้สกึ อย่างไร เอ็มม่าก็รู้สึกอย่างน้ัน แต่ เด็กอายุ ๕ ขวบ ยังอธิบายความรูส้ ึกไมไ่ ด้ กแ็ สดงปฏกิ ริ ิยาตอ่ พ่อแม่ อย่างท่เี ห็น” 80 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๐. ความเห็นใจ : เข้าใจระดบั พฒั นาการของเด็ก

“คำแนะนำใหท้ ดลองปฏิบัตคิ อื • ใหบ้ อกเอ็มม่าว่า ความรู้สึกของเธอไม่มีอะไรผิด อย่าไป บอกหรือกล่าวหาว่าความรู้สึกของเธอเป็นส่ิงช่ัวร้าย แต่ พฤติกรรมท่ีเธอแสดงออกเป็นส่ิงที่ไม่เหมาะสม และ ยอมรับไม่ได้  การแสดงความรุนแรงต่อน้องหรือต่อพ่อ แม่ยอมรับไมไ่ ด้ ให้บอกเอ็มม่าว่า เอ็มม่าก็มาอยู่กับพ่อ แม่เหมอื นนอ้ งนแ่ี หละ  และพ่อแม่ก็รักและจะเอาใจใส่ เอ็มม่าไม่ต่างจากเดิม  แต่พ่อแม่ก็ต้องดูแลน้องท่ีเป็น ทารก เหมือนกับดูแลเอ็มม่าตอนเปน็ ทารก   • พ่อพาเอม็ มา่ ออกไปทำกจิ กรรมสองคนนอกบา้ น อยา่ งนอ้ ย สัปดาห์ละคร้ัง คร้ังละ ๒ - ๓ ช่ัวโมง  เพื่อสร้างความ สัมพนั ธ์ท่ีแน่นแฟ้นกับเอ็มม่า  และให้ภรรยาพาเอ็มม่า ออกไปทำกจิ กรรมนอกบา้ นสองคนอยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะครง้ั เช่นเดียวกนั  โดยพอ่ ทำหน้าทีเ่ ลี้ยงลกู ชายแทนแม่   • มอบหนา้ ท่ี “พ่ีสาว” เลี้ยงน้อง ให้แกเ่ อม็ มา่   เนน้ หนา้ ท่ี สรา้ งความสนกุ สนาน เชน่ รอ้ งเพลงใหน้ อ้ งฟงั อา่ นหนงั สอื นทิ านใหน้ อ้ งฟงั ใหว้ าดรูปติดฝาผนังห้องและอธิบายภาพ ใหน้ ้องฟัง สอนน้องให้เล่นของเล่น บอกเอ็มม่าว่า นอ้ ง ยงั พูดไมไ่ ด้ แตเ่ ขาสนใจและไดเ้ รยี นรจู้ ากการเลย้ี งนอ้ งของ พสี่ าว  นอ้ งตอ้ งการความช่วยเหลือของพ่ี และจะรักพี่ และเม่ือโตข้ึนก็จะเปน็ เพ่ือนท่ีดขี องพส่ี าว” สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๐. ความเห็นใจ : เขา้ ใจระดบั พัฒนาการของเดก็ 81

ผมตคี วามวา่ เรอ่ื งของเอม็ มา่ คนไทยเราตคี วามจากพฤตกิ รรม วา่ พอี่ จิ ฉานอ้ ง แตผ่ มคดิ ตา่ ง คดิ วา่ เปน็ เรอ่ื งของการยงั ไมบ่ รรลวุ ฒุ ภิ าวะ ทางอารมณ ์ เกิดความรู้สึกไม่มั่นคงต่อการเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ   จงึ แสดงปฏกิ ริ ยิ ากา้ วรา้ วไมพ่ อใจ สถานการณเ์ ชน่ นไ้ี มใ่ ชส่ ง่ิ เลวรา้ ย แต่เป็น โอกาสดีท่ีเด็กจะได้เรียนรู้ส่ิงที่จะเกิดข้ึนในชีวิตจริง  ได้ฝึกสรา้ งความ สมั พันธ์ดา้ นบวกกบั ผูอ้ ืน่ ซึ่งในทีน่ ้คี ือน้องของตนเอง โดยผ้ใู หญ่ต้องรู้วธิ ี ชว่ ยเอื้อให้เดก็ เกดิ การเรียนรู้อย่างถกู ต้อง  ตาม ๓ ขอ้ ทผ่ี เู้ ขยี นแนะนำ ผมชอบมาก ทผ่ี เู้ ขยี นบอกวา่ “An angry child is suffering” และขอเสรมิ วา่ ทง้ั โลภ โกรธ หลง เปน็ ความทกุ ข ์ พฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม ของเดก็ สะท้อนความทุกขข์ องเขา  ผ้ใู หญพ่ ึงเข้าใจ เหน็ ใจ และให้ ความเมตตากรุณาช่วยให้เขาคลายทุกข์ ที่ไม่ใช่คลายทุกข์ปัจจบุ นั ชว่ั ครง้ั ชว่ั คราว แต่ชว่ ยพัฒนาจิตใจใหเ้ ขม้ แขง็ คลายทกุ ข์ไดใ้ นระยะ ยาวหรอื ถาวร           เมือ่ วินจิ ฉัยว่าเดก็ มีทุกข์  ผูใ้ หญพ่ ึงแสดงทา่ ทีเหน็ ใจ และชวน คุยความรสู้ ึกในขณะน้ัน อย่างท่ีเด็กรู้สึกปลอดภัยที่จะเผยความรู้สึก ของตนออกมา  การที่ผู้ใหญ่ช่วยให้เด็กพูดความรู้สึกไม่ชอบ กลวั ไมพ่ อใจ ออกมาได ้ จะชว่ ยใหผ้ ใู้ หญเ่ ขา้ ใจมมุ มองหรอื มมุ ความรสู้ กึ ของ เดก็ และเมอื่ เดก็ (และผใู้ หญก่ เ็ ชน่ กนั ) รสู้ กึ วา่ ตนไดร้ บั ความเขา้ ใจ ความ เหน็ ใจ ความรสู้ กึ ขนุ่ เคอื งกจ็ ะคลายลง และไดป้ ระสบการณค์ วามรกั การ เกดิ อารมณไ์ มพ่ งึ ใจ และการคลายอารมณน์ นั้ นคี่ อื การเรยี นร ู้ เมอื่ เรารบั รคู้ วามรสู้ กึ ของคนอน่ื ดว้ ยความเมตตาเหน็ อกเหน็ ใจ  เราจะสามารถเข้าใจความรู้สกึ นึกคดิ จากมมุ ของเขา ความเขา้ ใจน้เี อง ชว่ ยใหเ้ ราช่วยเหลอื และให้ความรกั ไดด้ ยี ิ่งข้นึ    82 สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๐. ความเห็นใจ : เขา้ ใจระดบั พัฒนาการของเดก็

ผเู้ ขยี นแนะนำวา่ เมอื่ คนในครอบครวั (เชน่ ลกู ) ๒ คน ทะเลาะ กัน ให้ใช้ ๕ คำถามตอ่ ไปนี้ ช่วยให้แต่ละคนได้สติวา่ ท้งั สองฝ่ายตา่ งก็มี ส่วนก่อความขดั แยง้ น้ัน โดยตอ้ งคุยกบั คขู่ ัดแย้งทีละคน • เธอทำอะไรบ้าง ทอี่ าจเพม่ิ ขอ้ ขัดแย้ง • มีส่ิงที่เธอลมื ทำอะไรบ้าง ท่อี าจมีสว่ นชว่ ยเพิ่มข้อขัดแยง้ • ถ้าย้อนเหตุการณ์มาเริ่มต้นใหม่ได้ เธอจะพูดหรือทำตา่ ง จากทีไ่ ดท้ ำไปแลว้ อย่างไรบา้ ง • คราวหน้าหากเกิดเหตุการณ์ทำนองน้ี เธอจะทำหรือพูด แตกตา่ งไปอยา่ งไร • ใหเ้ ธอลองนกึ เร่อื งนี้จากมุมของคู่ขัดแย้ง (เชน่ นอ้ ง) เธอ จะพดู หรือทำอะไรหากเธอเปน็ น้อง ตามปกตเิ มอ่ื คุยกันด้วย ๕ คำถาม  อารมณ์ของเดก็ จะเยน็ ลง และมสี ตมิ ากขน้ึ   ใหบ้ อกเดก็ วา่ เธออาจไมอ่ ยากพดู เรอ่ื งทเี่ ราคยุ กนั กบั น้อง แต่ถ้าเธอจะบอกก็ได้           อ่าน ๕ คำถามนแ้ี ลว้ ผมนึกถงึ AAR (After Action Review) และเหน็ วา่ การจดั การความรชู้ ว่ ยฝกึ สติ และฝกึ ความเหน็ อกเหน็ ใจคนอน่ื ได้ คำถามของหนุ่ม ๑๔ “ผมเบื่อแม่ของผม สองนาทีที่แล้วผมขออนุญาตออกไปขี่จักรยาน เที่ยวกับเพ่ือน แม่ไม่อนุญาต  ผมขอเหตุผล เพราะตอนน้ันยังสว่างอยู่และผมจะกลับบ้าน ก่อนมดื แมต่ อบวา่ ไมอ่ ยากใหล้ กู ออกไปขา้ งนอก   แม่มีปัญหาอะไรครับ” สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๐. ความเหน็ ใจ : เข้าใจระดับพัฒนาการของเด็ก 83

คำตอบของผเู้ ขยี น “เธอคงคดิ วา่ แมเ่ ขม้ งวดกบั เธอมากเกนิ ไป   และเธอไมพ่ อใจ เธอไม่เข้าใจว่าแม่คิดอย่างไร  ไม่พอใจที่แมไ่ มอ่ ธบิ าย เหตุผล เธออาจไม่ชอบใจที่แม่ไม่เข้าใจว่าเธอต้องการอิสระ ฉนั ไมร่ วู้ า่ ปญั หาของแมเ่ ธอคอื อะไร เดาวา่ แมค่ งเปน็ หว่ งเมอ่ื เธอไมอ่ ยบู่ า้ น ตอ่ ไปน้ี คอื คำแนะนำ หาโอกาสคุยกับแม่ยามท่ีแม่อารมณ์ดี  บอกแมว่ า่ มเี รอ่ื งสำคญั อยากคยุ กบั แม ่ พดู ดว้ ยทา่ ทเี คารพ  วา่ พฤตกิ รรม .... ของแม่ ทำใหเ้ ธอ รสู้ กึ ....  บอกแม่ว่าเธอรู้ว่าแม่รักเธอมาก บอกว่าเธอก็ต้องการพสิ จู น์ ตนเองวา่ จะระมัดระวังตัว เพ่ือไม่ให้แม่ห่วงมากเกินไป  แมม่ ที างทจ่ี ะ ปลอ่ ยให้เธอเป็นอิสระในการคบเพ่ือนมากกวา่ เดมิ ไดไ้ หม  พดู กบั แมด่ ๆี ดว้ ยความเขา้ ใจความรกั ความเปน็ หว่ งลกู ของแม ่ แมอ่ าจเขา้ ใจความตอ้ งการ ของเธอไดด้ ขี น้ึ ” อ่านตอนนแ้ี ลว้ ผมคดิ วา่ คนทม่ี ลี กู เรม่ิ เขา้ วยั รนุ่ ตอ้ งการทกั ษะ ในการแสดงความรักความเข้าใจลูกในทำนองน้ีมาก เป็นวิธีสอนลูก ให้เปน็ คนดีทค่ี นเราละเลย หรือทำไมเ่ ป็น วจิ ารณ์ พานชิ ๘ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/552558 84 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๐. ความเหน็ ใจ : เข้าใจระดบั พฒั นาการของเด็ก

๑๑. ความเหน็ ใจ : การจัดการเดก็ ทไี่ มเ่ ช่ือฟัง / การจัดการความสัมพนั ธ์ สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๑. ความเห็นใจ : การจดั การเด็กท่ีไม่เชือ่ ฟงั / การจดั การความสัมพันธ์ 85

“การแกป้ ญั หาโดยใชค้ วามรกั ความเขา้ ใจทำโดยคอ่ ยๆ แสดงมมุ มองของตน  สังเกต  ตั้งคำถาม  ฟัง  ทำความ เขา้ ใจ และแสดงออกดว้ ยความเมตตาเหน็ อกเหน็ ใจ”  86 สอนเดก็ ใหเ้ ป็นคนดี : ๑๑. ความเหน็ ใจ : การจดั การเดก็ ที่ไม่เชอ่ื ฟัง / การจัดการความสมั พนั ธ์

ยามลูก/ศิษย์ แสดงอารมณ์หรือพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ใหต้ ง้ั คำถามวา่ “เมอ่ื เธอมคี วามรสู้ กึ เชน่ นี้ เธอตอ้ งการใหผ้ อู้ นื่ ชว่ ยเหลอื เธออยา่ งไร” แลว้ ฟงั อย่างตงั้ ใจ เพื่อทำความเขา้ ใจ ทงั้ บทที่ ๕ ของหนงั สอื เปน็ เรอ่ื งการฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหร้ จู้ กั ใหอ้ ภยั   ทง้ั ใหอ้ ภัยตนเอง และให้อภัยผู้อื่น ไม่ถือเอาความผิดพลาดมาเป็น อารมณ์ทก่ี ัดกรอ่ นจิตใจ แต่ถือเป็นการเรียนรู้  ตอนที่ ๓ เปน็ เรอ่ื ง ถา้ ไมท่ ำตามสง่ั จะถกู สเปรยพ์ รกิ ไทย  นเี่ ปน็ เรอื่ งจรงิ ในสหรฐั อเมรกิ าทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั เดก็ ป. ๒ และเปน็ “เดก็ พเิ ศษ” ทอ่ี าละวาดในโรงเรยี น ครเู อาไมอ่ ย ู่ จงึ เรยี กตำรวจ ซง่ึ มาพรอ้ มอาวธุ คอื สเปรยพ์ รกิ ไทย และขวู่ า่ หากไมห่ ยุด อาละวาดจะโดนสเปรย์พริกไทย เม่ือเด็กไม่หยุด ตำรวจ ก็สเปรย์จริงๆ พ่อจงึ ไปฟ้องศาลเรยี กค่าเสยี หาย และเปน็ ข่าว น่ันเปน็ วิธีนำเรื่องของผู้เขียน เข้าสู่ประเด็นท่ีลูก/ลูกศิษย์ ไมเ่ ช่ือฟัง จะทำอยา่ งไร   คำตอบคอื การเลยี้ งลกู หรอื ดแู ลลกู ศษิ ย์ เปน็ เรอื่ งละเอยี ดออ่ น   ต้องใช้ความรักความเข้าใจเป็นหลัก  ไม่ใช่ใช้ความรุนแรงเป็นหลัก (อย่างสเปรยพ์ รกิ ไทย) การแก้ปัญหาโดยใช้ความรักความเข้าใจทำ โดยคอ่ ยๆ แสดงมมุ มองของตน สงั เกต ตงั้ คำถาม ฟงั  ทำความเขา้ ใจ และแสดงออกดว้ ยความเมตตาเห็นอกเห็นใจ   ยามที่มีคนในบา้ น/โรงเรยี น มีอารมณเ์ ศรา้ หรือกา้ วร้าวรุนแรง   ให้ถอื โอกาสถามลูก/ศษิ ย์ วา่ เราควรชว่ ยเหลือเขาอย่างไร จะเหน็ วา่ เราสามารถใชช้ วี ติ จรงิ ของการมอี ารมณร์ นุ แรง ควบคุม ตวั เองไม่ได้ ทงั้ ของตนเองและของผ้อู ืน่ เป็นบทเรียน ฝกึ ฝนเรียนรู้ “ความเป็นคนด”ี ของเรา (และของลกู /ศษิ ย์ ของเรา) ไดเ้ สมอ   สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๑. ความเหน็ ใจ : การจัดการเด็กท่ีไมเ่ ช่ือฟงั / การจดั การความสัมพนั ธ์ 87

          ในบา้ น ควรทำความตกลงกันระหวา่ งพอ่ แมล่ กู ว่ายามท่ีมีคนมี อารมณห์ รอื แสดงความกา้ วรา้ ว คนอนื่ ๆ จะชว่ ยตงั้ คำถามวา่ ตนจะชว่ ยเหลอื อย่างไรได้บา้ ง คำถามของครขู องลกู ผเู้ ขยี น “ลกู สาวอายุ ๑๕ ขออนญุ าตออกเดท กบั ชายหนมุ่ อายุ ๑๘ ตนไมอ่ นญุ าต โดยอธบิ ายวา่ ระดบั ความเปน็ ผใู้ หญต่ า่ ง กนั มากเกนิ ไป  เธอไมเ่ หน็ ดว้ ย แตก่ ไ็ มเ่ ถยี ง  ตอ่ มาจบั ไดว้ า่ ยงั คบเพอื่ นชายคน นน้ั อย ู่ จงึ รบิ โทรศพั ทม์ อื ถอื และหา้ มออกนอกบา้ น และบอกวา่ เมอื่ เลกิ คบ ชายคนนี้ กจ็ ะไดร้ บั ความเชอ่ื ถอื กลบั มาใหม่ และจะไดร้ บั สงิ่ ตา่ งๆ คนื  เราทำ เกนิ ไปหรอื เปลา่  เราจะชว่ ยใหล้ กู สาวเขา้ ใจเรา และชว่ ยแนะนำเธอไดอ้ ยา่ งไร” คำตอบของผเู้ ขยี น  “ตอบยากวา่ พอ่ แมท่ ำเกนิ ไปหรือไม่ เพราะ ไมไ่ ดฟ้ งั คำปรึกษาหารอื และน้ำเสียงที่พดู กบั ลกู   แตเ่ หน็ ด้วยว่าลกู สาว ยังเดก็ เกนิ ไปทจ่ี ะคบเพอ่ื นชายอายุ ๑๘  และคุณไดอ้ ธบิ ายแก่ลูกอย่าง ชัดเจนแลว้  เมอ่ื เธอโกหก การลงโทษท่ที ำไปน่าจะเหมาะสมแลว้ สำหรับคำถามว่า ทำอย่างไรให้ลูกสาวเข้าใจคุณน้ัน  ขอบอกวา่ เปน็ เรอื่ งยากมากทจี่ ะใหเ้ ดก็ อายุ ๑๕ เขา้ ใจความคดิ ของคนอนื่ ทแ่ี ตกตา่ งจากความคดิ ของตน จงึ แนะนำใหท้ ง้ั ครอบครวั ไปขอคำแนะนำ ช่วยเหลือจากนักครอบครัวบำบดั (Family Therapist) ทมี่ ีความร ู้ ความชำนาญ ในบรรยากาศทเ่ี ปน็ กลาง ดว้ ยความชว่ ยเหลอื ของนกั วชิ าชพี  การสอื่ สารกนั ในครอบครัวน่าจะดขี ึน้ ” 88 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๑. ความเห็นใจ : การจดั การเด็กที่ไม่เชอื่ ฟงั / การจดั การความสมั พันธ์

คำถามรอบ ๒ จากพ่อ  “ได้ติดต่อนัดไปขอคำแนะนำจาก นกั ครอบครัวบำบัดแล้ว  แต่เมื่อบอกลูกสาว เธอก็โวยวาย  ว่าพ่อแม่ ไมไ่ วใ้ จถงึ กับพาไปหาคำปรึกษาเชียวหรอื ตนเกรงวา่ เร่อื งจะไปกันใหญ่ เกรงวา่ ยิ่งหา้ มจะเหมอื นย่ิงยุ” คำตอบของผเู้ ขยี น  “คณุ ทำถกู ตอ้ งแลว้   ขอใหบ้ อกความคาดหวงั ตอ่ พฤตกิ รรมของลกู สาวใหช้ ดั เจน เมอื่ ไรกต็ ามทสี่ งั เกตเหน็ พฤตกิ รรมทถี่ กู ตอ้ ง ของลกู สาว ใหร้ บี กลา่ วยกยอ่ ง แสดงความพอใจวา่ เปน็ การแสดงวฒุ ภิ าวะ และ เมอื่ เธอทำไมถ่ กู ตอ้ งกใ็ หเ้ขม้ งวดวนิ ยั  อยา่ ไปสนใจคำโวย ใหบ้ อกเสมอวา่ พอ่ แม่ รกั ลกู และเรารวู้ า่ เราทงั้ ครอบครวั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ไมใ่ ชเ่ ฉพาะลกู ที่ ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื  เราทง้ั ครอบครวั จะไปรบั ความชว่ ยเหลอื ดว้ ยกนั ขอให้โชคดีกับนักครอบครัวบำบัด  และอย่าคิดว่าไปคร้ังเดียว จะเห็นผลเดด็ ขาด  ขอใหไ้ ปตามนัดครงั้ ต่อไป แตถ่ า้ นกั ครอบครวั บำบดั คนแรกไมด่ ี ขอให้หาคนใหม่ แลว้ ไปรบั บรกิ ารสมำ่ เสมอ ชว่ งวยั ทีนเปน็ ช่วงท่ยี ากท้งั ต่อเดก็ และต่อพอ่ แม่ นกั ครอบครัวบำบดั ทด่ี จี ะชว่ ยให้ชวี ิต งา่ ยขนึ้  แตพ่ อ่ แมต่ อ้ งอดทน ชว่ ยกนั สรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ใี นครอบครวั ” ตอนที่ ๔ เปน็ เรอ่ื ง อย่าดว่ นสรปุ เลา่ เรอื่ งตวั ผู้เขยี นเองทหี่ มนั่ ทำดี เอ้ือเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่น เพื่อสร้างตัวอย่างที่ดีแก่เด็กๆ แต่แล้ว วันหน่งึ กเ็ กือบพลาด ทีเ่ ม่ือเดินผ่านยายแก่เพื่อนบ้านที่สติคุ้มดีคุ้มร้าย ในฤดูหนาวเดอื นธนั วาคม ยายแก่พูดพมึ พำอะไรกับตน แตไ่ ม่ได้ยินชดั และกำลังจะเดินจากไป เพราะยายแกพ่ ดู อะไรเลอะๆ เป็นประจำ แต่ ลางสังหรณท์ ำใหผ้ เู้ ขยี นเดนิ ขา้ มถนนไปหายายแก่ เพ่ือถามว่าต้องการให้ ชว่ ยอะไร แลว้ จงึ ไดโ้ อกาสทำความดี นำบตั รอวยพรครสิ ตม์ าสไปสง่ ไปรษณยี ์ เป็นการแสดงตวั อยา่ งวา่ คนเราไมค่ วรดว่ นสรปุ ในเรอื่ งใดๆ ควร ฟังหรือหาขอ้ มูลให้ถอ่ งแท้เสียก่อน เพอื่ จะได้ไม่ “ก้าวพลาด”   สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๑. ความเห็นใจ : การจดั การเดก็ ที่ไม่เชือ่ ฟงั / การจัดการความสัมพันธ์ 89

คำถามของหนมุ่ ๑๖  “ผมชอบเสือ้ ผ้าสดี ำ แตแ่ ม่บอกวา่ น่นั มนั ชดุ นกั เลง  และเปน็ พวกตดิ ยา  ผมพยายามบอกวา่ นม่ี นั เปน็ เรอื่ งแฟชนั่ แมไ่ มฟ่ งั และขวู่ า่ จะไมใ่ หผ้ มออกนอกบ้าน  ผมพยายามทำความเข้าใจ จากมมุ ของแม่  วา่ ผมกำลงั จะเสียคน  ทำอย่างไรจะใหแ้ มเ่ ขา้ ใจว่า การ แตง่ ชดุ ดำจะไม่เปลี่ยนความรูส้ กึ นกึ คิดของผมไปในทางชว่ั ร้าย” คำตอบของผ้เู ขยี น “ฉันชื่นชมที่เธอเข้าใจความคิด ของแม่ และอคตติ อ่ การแต่งชุดดำของแม่ เพราะแม่มีอคตินี้ และเพราะแม่รกั เธอมาก แมจ่ งึ กลวั เธอเสยี คนเมอื่ เธอชอบแตง่ ชดุ ดำ วธิ ที ำใหแ้ มส่ บายใจ ว่าการแตง่ ชุดดำไม่ไดท้ ำใหเ้ ธอชั่วร้าย ก็คือพสิ จู นค์ วามประพฤติของเธอให้แมเ่ ห็น วา่ ไมไ่ ด้เปล่ยี นแปลง           ขอให้เขา้ ใจแม่ ว่าแมใ่ สใ่ จตอ่ มุมมองของคนอน่ื โดยเฉพาะ อย่างยงิ่ มมุ มองของคนในเครือญาติต่อลูกของตน  ดังน้ันขอให้คยุ กบั แม่ วา่ เธอรแู้ ละเขา้ ใจความรกั และความหว่ งใยของแม่ ทตี่ อ้ งการใหล้ กู เตบิ โต เปน็ คนด ี  และเธอจะไม่ทำใหแ้ ม่ผิดหวงั ”              อา่ นบทนี้แลว้ ผมคิดวา่ ชีวิตของคนแต่ละคนเปรยี บเสมือน แขวนอยบู่ นเสน้ ดา้ ย ทางแพรง่ ระหวา่ งทางสคู่ วามดกี บั ทางสกู่ ารเสยี คนดู ไมต่ า่ งกนั มาก และมมี ายาความหลอกลวงซ่อนอย่ ู พอ่ แม่/ครู เป็นคนที่ มคี ณุ คา่ ยง่ิ ทีจ่ ะชว่ ยเดก็ ใหแ้ ยกแยะทางทง้ั สองได้ วจิ ารณ์ พานชิ ๘ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/553226 90 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๑. ความเห็นใจ : การจดั การเดก็ ท่ีไม่เช่ือฟัง / การจดั การความสมั พันธ์

๑๒. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอื่น : ต่อต้านวัฒนธรรม แหง่ ความ โหดร้ายรนุ แรง สอนเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอน่ื : ตอ่ ต้านวฒั นธรรมแห่งความโหดร้ายรุนแรง 91

“พ่อแม่/ครู มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือ ฝึกฝนกล่อมเกลานิสัยเด็ก ให้เป็นคนท่ีเคารพให้เกียรติ คนอื่น และในขณะเดียวกัน ก็มั่นใจในเกียรติและความ รับผิดชอบของตน” 92 สอนเดก็ ให้เป็นคนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรูส้ ึกของคนอน่ื : ต่อต้านวฒั นธรรมแหง่ ความโหดร้ายรนุ แรง

ตอนท่ี ๑๒ นี้ ตีความจากบทท่ี ๖ How Do You Think That Makes Him/Her Feel? Stretching Young Minds and Hearts to Empathize โดยท่ีในบทที่ ๖ มี ๔ ตอน ในบนั ทกึ ท่ี ๑๒ จะตคี วามตอน ที่ ๑ และ ๒  ในบนั ทึกท่ี ๑๓ จะเป็นการตคี วามตอนที่ ๓ และ ๔   ทงั้ บทที่ ๖ ของหนงั สอื เปน็ เรอื่ งการฝกึ ลกู /ศษิ ย์ ใหร้ จู้ กั เหน็ อก เหน็ ใจคนอน่ื (Empathize) ไมด่ ำเนนิ ตามวฒั นธรรมโหดรา้ ยทารณุ ทก่ี ำลงั ครองโลกอยใู่ นปจั จบุ นั ใหค้ นรนุ่ ใหมก่ ลา้ ออกมาตอ่ ตา้ นวฒั นธรรมชว่ั ร้ายน ี้ โดยฝึกลกู /ศษิ ย์ ให้เข้าใจความรู้สึกของคนอื่น เพ่ือสรา้ งความสัมพนั ธ์ อนั ดตี อ่ กนั           ในตอนที่ ๑ เดก็ ทีห่ วั ใจแตกสลาย  ผเู้ ขยี น เอย่ ถึงกรณีวยั รุน่ ถกู ระรานทางอนิ เทอรเ์ นต็ จนฆา่ ตวั ตาย โดยทผ่ี ทู้ ำไมค่ ดิ อะไรมาก   ระรานเพอ่ื ความสนกุ ของตนเอง  ไม่สนใจวา่ จะทำให้เหยื่อเกิดความเครียดหนัก ถึงกับฆ่าตัวตาย คนเหล่าน้ีเอาสนุกของตนโดยไม่เห็นใจคนอื่นท่ีตกเปน็ เหยื่อ จงึ มขี บวนการตอ่ ตา้ นวฒั นธรรมแหง่ ความโหดรา้ ยนใ้ี นสหรฐั อเมรกิ า เชน่ ท่ี http://www.youtube.com/watch?v=wktlwCPDd94 พอ่ แม/่ ครู ควรถามเดก็ วา่ เดก็ นยิ ามพฤตกิ รรมโหดรา้ ยเหน็ แกต่ วั อยา่ งไร ชวนเดก็ ทบทวนว่า ตนเคยแสดงความโหดร้ายต่อคนอน่ื เมอื่ ไร อยา่ งไร  และตนเคยโดนคนอื่นแสดงความโหดร้ายอยา่ งไร ชวนคุยเรื่อง การระรานกนั ทางอนิ เทอรเ์ นต็   วา่ ทำไมคนเราจงึ ระรานกนั ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ไดง้ า่ ยกวา่ เมอื่ เผชญิ หนา้ กนั  ชวนคยุ วา่ เมอ่ื มคี นระรานตน เธอจะทำอยา่ งไร และเด็กมีวิธีแยกแยะระหว่างการหยอกล้อกับการระรานอยา่ งไร และ ตอ้ งทำความเขา้ ใจกบั ลกู /ศษิ ย์ วา่ ความโหดรา้ ยรนุ แรง ไมว่ า่ ในรปู แบบใด เป็นสิ่งท่ยี อมรบั ไมไ่ ด ้   สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอนื่ : ต่อตา้ นวฒั นธรรมแห่งความโหดร้ายรุนแรง 93

คำถามของหนมุ่ ๑๕ “ผมเปน็ คนออ่ นไหว คนเขาวา่ ผมหนา้ ตวั เมยี    เขามกั บอกผมวา่ อยา่ พดู อยา่ งนนั้  อยา่ นงั่ อยา่ งนน้ั  ผคู้ นไมส่ นใจผมตงั้ แตผ่ ม อายุ ๑๐ ขวบ ตอนนน้ี อ้ งสาวอายุ ๘ ขวบ และพอ่ แมห่ ยาบคายกบั เธอมาก  ผมรสู้ กึ ไดจ้ ากแววตาของเธอวา่ เธอวา้ เหว่ ไมม่ เี พอื่ นเลน่ ดว้ ย ผมรสู้ กึ วา่ เปน็ เรอ่ื งโงเ่ งา่ ทผ่ี มรสู้ กึ เจบ็ ปวดไปกบั เธอ และไมอ่ ยากใหเ้ ธอตอ้ งเผชญิ ชะตา กรรมเหมอื นผมอกี ” คำตอบของผู้เขยี น “ไม่เป็นเร่ืองโง่เง่าเลย ท่ีเธอรู้สึกเห็นอก เห็นใจคนอ่นื แตก่ ลบั เปน็ สญั ญาณของความมเี มตตากรณุ าเหน็ อกเหน็ ใจ คนอน่ื เธอเปน็ คนมเี มตตากรณุ า นอ้ งสาวของเธอโชคดมี ากทม่ี พี ชี่ ายอยา่ งเธอ  เธอบอกวา่ เธอทนไมไ่ หวทเี่ หน็ นอ้ งสาวเศรา้ สรอ้ ย จงอยา่ แคเ่ หน็ ใจ จงทำ อะไรบางอยา่ งเพอื่ ชว่ ยนอ้ งสาว  พดู กับพ่อแม่อย่างสงบและอยา่ งเคารพ ว่าเธอสงั เกตเหน็ อะไร เมอ่ื เหน็ นอ้ งสาวเหงา หรอื เมอ่ื นอ้ งสาวโดนพอ่ แม่ แสดงความโหดร้าย  ก็ขอให้เข้าไปพูดคยุ กบั นอ้ ง  เพ่อื ใหน้ ้องรสู้ ึกว่าตน ยงั มพี เ่ี ปน็ เพอื่ น ทเ่ี หน็ อกเหน็ ใจและคอยชว่ ยเหลือทางใจ การทำหน้าท่ี พ่ีท่ีน้องมองเป็นฮีโร่จะเป็นคุณแก่ตัวเธอเอง ชว่ ยใหเ้ ธอมคี วามเขม้ แขง็ มน่ั ใจตนเอง  และเกดิ ความเขา้ ใจ มีความพรอ้ มที่จะยืนหยัดเปน็ ตัวของ ตวั เอง”   94 สอนเด็กให้เปน็ คนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรูส้ ึกของคนอ่นื : ตอ่ ตา้ นวัฒนธรรมแห่งความโหดร้ายรนุ แรง

ตอนที่ ๒ พอ่ ชนั้ เลว เปน็ เรอื่ งของ พฤติกรรมของพอ่ ลูกที่รา้ นอาหารสะดวกซอ้ื ทผี่ ู้เขยี นไปประสบ สะทอ้ นภาพของพ่อแมท่ ่ ี เล้ยี งลกู ไม่เป็น หรือร้ายกว่าน้ัน การที่พ่อแม่ ส่งสญั ญาณผดิ ๆ ตอ่ ลกู  ทำใหล้ กู เพาะพฤตกิ รรม ไมด่ ี คือมพี ฤตกิ รรมกา้ วรา้ วรนุ แรงโดยทไี่ มไ่ ดม้ อี ารมณโ์ กรธแตอ่ ย่างใด ตดิ ตวั เป็นนิสัย ?    ผเู้ ขยี นแนะนำพ่อแม่/ครู ให้ไม่เอาใจใส่พฤติกรรมไม่ดี  แต่ให้ เอาใจใสพ่ ฤติกรรมดแี ละยกยอ่ งทกุ คร้ังทพ่ี บเห็น  และแนะนำให้ผู้ใหญ่ควบคุมอารมณ์เมื่อพบเห็นพฤติกรรมไม่ดี ของเด็ก เพอื่ จะได้ทำความเข้าใจวา่ พฤติกรรมนน้ั เกดิ จากอะไร และการ ควบคมุ อารมณโ์ กรธเกรย้ี วน้ีจะเป็นแบบอย่างแกเ่ ดก็ วา่ คนทเ่ี ปน็ ผใู้ หญ่ เขาสามารถดำรงความมีเหตุผลและความเห็นอกเห็นใจ แม้จะมีคน มากวนโมโห  แต่ก็ต้องส่งสัญญาณต่อเด็กเป็น ว่าพฤติกรรมแบบไหน ไมพ่ งึ ประสงค์ และเดก็ ตอ้ งหยดุ ไมใ่ ชเ่ มอ่ื เดก็ เรม่ิ แสดงพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว รนุ แรง พอ่ กลบั ยม้ิ ใหแ้ ละแสดงทา่ ทเี อน็ ดู อยา่ งทพ่ี อ่ ชน้ั เลวทำ จนลกู ชกั แรงขนึ้ เรอื่ ยๆ พอ่ กแ็ สดงความโมโหและทำทา่ จะลงมอื ลงไม้ แตก่ ไ็ มก่ ลา้ ทำในทส่ี าธารณะทม่ี คี นจอ้ งมองอยมู่ ากมาย ที่จรงิ พฤตกิ รรมทกุ แบบของเดก็ เปน็ การทดลองและเรยี นรขู้ องเดก็ ทัง้ สนิ้   และเป็นโอกาสทพี่ อ่ แม/่ ครู จะสอนเดก็ ให้ไดเ้ รยี นรวู้ ิธีเปน็ คนด ี   ดังนนั้ เม่ือเด็กทำผดิ คร/ู พ่อแม่ กต็ อ้ งบอกวา่ ผดิ ไมค่ วรทำอีก รวมท้งั หาวธิ ีให้เดก็ ได้เขา้ ใจเองวา่ ทำไมส่ิงนนั้ จงึ ผิด และผมขอเพ่ิมเติมว่า เม่ือ ปีครึ่งมาแล้ว ผมไปเยี่ยมชมโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ผมประทับใจ มากที่ทางโรงเรียนฝึกครู ๑ ปี ให้ไม่ข้ึนเสียงหรือดุเด็ก  แต่ฝึกตง้ั คำถามแก่เด็ก เพอื่ ให้เด็กไดค้ ิด และรูว้ า่ ส่ิงใดถูก สิ่งใดผิด เม่ือเดก็ ทำผดิ สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๒. เข้าใจความรู้สึกของคนอื่น : ต่อต้านวัฒนธรรมแหง่ ความโหดรา้ ยรุนแรง 95

ครูก็ไมด่ ุ แต่จะชวนเด็กคุยโดยครูตั้งคำถาม จนเดก็ รไู้ ปเองว่าทต่ี นทำ นน้ั ผดิ   ทีหลงั ต้องไมท่ ำอีก  อา่ นความประทับใจของผมได้ ที่ http:// www.gotoknow.org/posts/463231   วิธีต่อต้านวัฒนธรรมแห่งความโหดร้ายได้ดีท่ีสุดคือการสร้าง วฒั นธรรมแหง่ ความเคารพใหเ้ กยี รตซิ ง่ึ กันและกนั   โดยทเ่ี ดก็ ตอ้ งไดร้ บั เกยี รตเิ ชน่ เดยี วกนั    นนั่ คอื ลทู่ างทเ่ี ดก็ จะเรยี นรกู้ ารใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กนั และกนั    ผู้เขียนแนะนำให้ทุกคนในครอบครัวมาน่ังประชุมตกลงกัน ยกรา่ งกติกาของการเคารพให้เกียรติซึ่งกันและกันในบ้าน  โดยคุยกัน ให้ชัดว่า กติกาเดียวใช้กับทกุ คนในบ้านหรอื ไม่  โดยต้องไมล่ มื วา่ บ้าน ไม่ใชท่ ่บี งั คับใช้ประชาธิปไตยแบบที่ทุกคนเท่าเทียมกันหมด  เพราะพอ่ แม่ยงั ตอ้ งเป็นผู้นำในบา้ น  และลูกก็ยังอยู่ระหว่างการฝึกฝนความเปน็ ผใู้ หญท่ ร่ี บั ผิดชอบตัวเองได้ท้ังหมด คำถามของครูของลูก  “ลูกสาวอายุ ๑๔ เป็นที่ชืน่ ชมใน โรงเรยี นว่าเปน็ เด็กดี  แตท่ ่บี า้ นกลบั เป็นคนละคน  เธอตอ่ ตา้ นพ่อแม่ วา่ สง่ิ ทพ่ี อ่ แมพ่ ดู เปน็ เรอื่ งไรส้ าระ หรอื โงเ่ งา่  จนบางครงั้ แมไ่ มอ่ ยากพูดด้วย  พอ่ แม่ตักเตือนก็ดีข้ึนช่วงสั้นๆ แล้วก็กลับไปใช้คำพูดเสียดสีอย่างเดิม เหมือนกับว่า เธอไม่สามารถควบคุมตนเองได้ เราอยากให้ลูกพูดกับ พอ่ แมอ่ ยา่ งเคารพ จะทำอยา่ งไรดี” 96 สอนเด็กให้เป็นคนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรูส้ ึกของคนอ่ืน : ตอ่ ต้านวฒั นธรรมแหง่ ความโหดรา้ ยรุนแรง

คำตอบของผเู้ ขยี น  “คุณพูดว่า ลูกสาวดูเหมือนไม่สามารถ ควบคมุ ตนเองได้  นน่ั เปน็ ความจริงสำหรบั เด็กอายุ ๑๔  ทค่ี วบคุมตัวเอง ได้ยากมาก   เพราะเธอกำลังต่อสู้กับตัวเอง เพ่ือสร้างความเป็นตัวตน ของตนขน้ึ มา และเพอื่ เปา้ หมายนนั้ เธอจงึ ตอ้ งสรา้ งระยะหา่ งจากพอ่ แม่ โดยการไมเ่ ห็นดว้ ยกบั ทกุ เรอื่ งทพี่ ่อแม่ว่า  เมื่อคณุ บอกให้ทำอะไรกต็ าม เธอจะรู้สึกว่าการต้องทำตามท่ีพ่อแม่สั่งทำให้เธอเป็นเหมือนเด็กเล็ก  พ่อแม่ควรเข้าใจว่า ความหยาบคายของเด็กวัยทีนเป็นตัวบอกความ อ่อนเยาว์วฒุ ภิ าวะของตวั เธอ สภาพเชน่ นี้จะค่อยๆ หายไปเอง  พ่อแม่ช่วยได้โดยการสงบ สติอารมณ์ (แม้จะทำได้ไม่ง่าย) แต่ไม่ได้หมายความว่า ต้องยอมให้ ลูกสาวแสดงความไม่เคารพพอ่ แม่ แนะนำให้คุยกับลูกดีๆ ด้วยน้ำเสียงราบเรียบ เริ่มด้วยการ ขอโทษลูก  วา่ ท่ีแม่ปล่อยให้ลูกพูดจาเสียดสีพ่อแม่น้ันเป็นการทำผิด ในฐานะแม ่ ซงึ่ มหี นา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ใหล้ กู เตบิ โตเปน็ คนด ี การทพ่ี อ่ แมป่ ลอ่ ยให้ ลกู แสดงพฤตกิ รรมไมด่ นี น้ั ถอื เปน็ ความผดิ ของพอ่ แม่ เปน็ การทำรา้ ยลกู   ดงั นน้ั ตอ่ ไปนเ้ี รามาตกลงกนั วา่ ลกู จะตอ้ งไมแ่ สดงพฤตกิ รรมไมด่ อี ะไรบา้ ง ถา้ แสดงออกมาจะไดร้ บั ผลอยา่ งไร เชน่ ถกู รบิ โทรศพั ทม์ อื ถอื ๑ วนั หรือ อย่างอื่นท่ีแม่รู้ว่ามีความหมายต่อลูก แล้วแม่ก็คอยเฝ้าดู หากลูกทำผดิ สิ่งใด กไ็ ดร้ บั ผลตามทตี่ กลงกนั   เมอื่ ลูกเผลอตัวกล่าวคำรุนแรงอีก ให้ เตือนด้วยน้ำเสียงราบเรียบ วา่ ถา้ ไมห่ ยดุ จะไดร้ ับผลตามขอ้ ตกลง หาก ลูกหยดุ ใหก้ ลา่ วคำขอบคณุ  อยา่ ดดุ า่ วา่ กลา่ ว อยา่ ขน้ึ เสยี งหรอื แสดงอารมณ์ การแสดงอารมณ์ออกมาจะเป็นสัญญาณไปยงั ลกู ว่าเขาชนะแลว้ เมอ่ื ลงโทษลูกตามขอ้ ตกลง และลกู กระฟัดกระเฟยี ด อยา่ สนใจ ใหน้ งิ่ ไว ้ ลกู สาวคณุ เปน็ เดก็ ฉลาด เขาจะเรยี นรู้ได้ในทีส่ ุด” สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรู้สึกของคนอื่น : ตอ่ ต้านวฒั นธรรมแห่งความโหดรา้ ยรุนแรง 97

จะเหน็ ว่า พ่อแม่/ครู มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือ ฝึกฝนกล่อมเกลานิสัยเด็ก ให้เป็นคนที่เคารพให้เกียรติคนอื่น  และ ในขณะเดยี วกัน ก็มั่นใจในเกียรตแิ ละความรับผดิ ชอบของตน พ่อแม่และครูมีโอกาสรับใช้สังคม โดยการเอาใจใส่ฝึกเด็กให้ เป็นคนดี มคี วามสมั พันธท์ ี่ดีกบั คนอ่นื   วจิ ารณ์ พานชิ ๘ เม.ย. ๕๖ http://www.gotoknow.org/posts/553957 98 สอนเดก็ ให้เปน็ คนดี : ๑๒. เขา้ ใจความรูส้ ึกของคนอืน่ : ตอ่ ตา้ นวัฒนธรรมแห่งความโหดร้ายรนุ แรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook