Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551

รายงานการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-09-15 22:41:46

Description: รายงานการวิจัย เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551

Keywords: การจัดกระบวนการเรียนรู้,กศน.หลักสูตร พื้นฐาน 2551

Search

Read the Text Version

รายงานผลการวิจัย เพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของครู กศน. ในเขตภาคเหนือ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน สว่ นวิจยั และพัฒนา สถาบนั พัฒนาการศึกนอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคเหนอื สานกั งานสง่ เสริมการศกึ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

บทคัดย่อ หัวข้อวิจยั : การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนร้ทู ี่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ผรู้ ายงาน ของครู กศน. ในเขตภาคเหนือ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรียน สถานศึกษา : นางอรวรรณ ฟงั เพราะ ท่ีปรกึ ษา : สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ ปที ว่ี จิ ัย : นายประเสรฐิ หอมดี : 2558 การวิจยั ครง้ั นม้ี วี ตั ถุประสงค์เพื่อ 1) พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขต ภาคเหนอื โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี น 2) ศึกษาความคิดเหน็ ของครูต่อการนา รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี นไปปฏิบตั ิ 3) ศึกษาความพงึ พอใจของครตู อ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนย์การเรยี น 4) ศกึ ษาความพงึ พอใจของ ผู้เรียนต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรยี น 5) เปรยี บเทียบความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ย์ การเรียนระหว่างครแู ตล่ ะกล่มุ ศนู ย์ 6) เปรียบเทียบความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดย ใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนระหวา่ งผูเ้ รยี นแต่ละกลุ่มศูนย์ และ 7) เปรียบเทียบ ความพงึ พอใจของตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรียน ระหวา่ งครูกับผเู้ รยี น ประชากรท่ใี ช้ในการศึกษาครงั้ น้ี ไดแ้ ก่ ข้าราชการครู ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน. ตาบล และนักศกึ ษา กศน. ในเขตภาคเหนอื ผู้รายงานได้ดาเนินการ เลอื กกลุม่ ตัวอยา่ ง โดยการเลือก แบบเจาะจง จากข้าราชการครู ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล และนกั ศึกษา กศน. ในเขตภาคเหนอื 4 กลมุ่ ศนู ย์ ๆ ละ 1 อาเภอ ๆ ละ 5 คน จาแนกออกเป็น 1) ขา้ ราชการครูหรือครอู าสาสมคั รฯที่ รับผิดชอบงานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน จานวน 1 คน และ 2) ครู กศน.ตาบล จานวน 4 คน ประกอบดว้ ย 1) กล่มุ ศูนยห์ ลา่ ยดอย ได้แก่ กศน.อาเภอวงั เหนอื จงั หวัดลาปาง จานวน 5 คน 2) กลุ่มศูนย์องิ ดอย ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ จานวน 5 คน 3) กลุ่มศนู ยอ์ ู่ข้าวอนู่ า้ ได้แก่ กศน.อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวัดพิจติ ร จานวน 5 คน และ 4) กล่มุ ศนู ย์หา้ ขนุ ศึก ได้แก่ กศน. อาเภอเมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ จานวน 5 คน และนักศึกษา กศน.ท่ีลงทะเบียนเรียนในภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ของ กศน.อาเภอทีส่ ่งครูเขา้ รบั การอบรมฯ จานวน 248 คน เคร่อื งมอื ที่ ใช้ในการวจิ ัยคร้งั นี้ ประกอบดว้ ย 1) แบบสอบถามความคดิ เห็นของครูต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ (1) รายงานผลการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนร้ฯู โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น

โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น โดยแยกเปน็ ระดบั ปฏิบตั ิ (ความคดิ เหน็ ของครูต่อ การนารปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี นไปปฏิบตั ิ) และระดบั ความพงึ พอใจ (ความพึง พอใจของครูต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี น) เป็น แบบมาตราประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั และปลายเปดิ 2) แบบสอบถามความพงึ พอใจของ ผ้เู รยี นตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรยี น เปน็ แบบ มาตราประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ และปลายเปิด และ 3) แบบสังเกตการจดั กระบวน กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นร้แู บบศูนย์การเรียน เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (check-list) ผลการวิจยั พบว่า 1. ครมู คี วามคิดเห็นต่อการนารปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี นไปปฏิบตั ิ อยู่ ในระดบั มาก โดยมคี า่ เฉล่ยี ( X ) 4.23 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.603 2. ครมู ีความพงึ พอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบ ศนู ย์การเรียน อยูใ่ นระดบั มาก โดยมีคา่ เฉลยี่ ( X ) 4.33 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.579 3. ผู้เรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้ แบบศูนยก์ ารเรยี น อยใู่ นระดบั มาก โดยมคี า่ เฉล่ีย( X ) 4.27 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) 0.750 4. ความพึงพอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนย์ การเรียนระหว่างครูแตล่ ะกลมุ่ ศูนย์ ไม่แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 5. ความพงึ พอใจตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นร้โู ดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนย์ การเรยี นระหว่างผเู้ รียนแตล่ ะกล่มุ ศนู ย์ ไมแ่ ตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 6. ความพงึ พอใจตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศูนย์ การเรียนระหวา่ งครูกับผู้เรยี น ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 จากการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการทดลองใช้รปู แบบการจดั การเรียนร้แู บบศนู ย์การ เรยี นในการจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในพ้ืนท่ีทดลอง 4 แหง่ ไดแ้ ก่ 1) กลุ่มศนู ยห์ ลา่ ยดอย กศน.อาเภอวงั เหนอื จงั หวัด ลาปาง 2) กลุ่มศูนยอ์ ิงดอย กศน.อาเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ 3) กลุ่มศูนยห์ า้ ขุนศกึ กศน.อาเภอ เมอื งอุตรดิตถ์ จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ และ 4) กลมุ่ ศูนยอ์ ขู่ า้ วอู่น้า กศน.อาเภอเมอื งพิจติ ร จังหวดั พจิ ติ ร โดย ใช้แบบสังเกตการจัดกระบวนกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบศูนย์การเรยี น เป็นแบบตรวจสอบรายการ ( check-list) พบวา่ ครูสว่ นใหญไ่ ดจ้ ดั กระบวนการเรียนร้ไู ด้ครบขนั้ ตอน กระบวนการของการจดั การเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรียน นอกจากนย้ี ังพบวา่ ครูและผ้เู รียนส่วนใหญม่ ี ความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรียนร้ใู นรปู แบบการจัดการเรยี นร้แู บบศูนยก์ ารเรียนและ ตอ้ งการใหน้ ารูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรยี นไปใชใ้ นรายวชิ าอน่ื ๆ อีกดว้ ย (2) รายงานผลการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น

กิตติกรรมประกาศ รายงาน ผลการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั หลักสตู ร การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขตภาคเหนอื โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน ฉบับนี้ ได้รับความอนเุ คราะหจ์ าก ผอ.ประเสรฐิ หอมดี ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาคเหนือ ท่ีได้กรณุ าให้คาปรกึ ษา แนะนา และข้อคิดทางวิชาการ ตลอดจนใหก้ าลงั ใจ และใหค้ วามชว่ ยเหลือแกค่ ณะผวู้ ิจัยเปน็ อย่างดี ทาใหร้ ายงาน ผลการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขตภาคเหนือ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การ เรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี น ฉบบั นส้ี าเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยดี คณะผวู้ จิ ัยขอกราบขอบพระคุณ ท่านเป็นอยา่ งสูง มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคณุ ผเู้ ชยี่ วชาญทกุ ท่าน ที่ไดก้ รุณาสละเวลาอันมีค่าย่ิงของทา่ นในการตรวจ คณุ ภาพเครอื่ งมือการวิจัยในครง้ั นี้ ขอขอบพระคณุ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอวงั เหนอื จงั หวัดลาปาง ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอ เมอื งแพร่ จังหวดั แพร่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ติ ร และผอู้ านวยการ กศน. อาเภอเมอื งอุตรดติ ถ์ จงั หวัดอุตรดิตถ์ ตลอดจนขอขอบคณุ ครู กศน.ทุกทา่ น ทไ่ี ด้ให้ความร่วมมอื ใน การทาวจิ ยั คร้ังน้ี ขอขอบพระคุณผอู้ านวยการ รองผ้อู านวยการ ศึกษานิเทศก์ และเจา้ หนา้ ท่ที เี่ ก่ยี วข้องของ สานกั งาน กศน.จังหวัดลาปาง สานกั งาน กศน.จงั หวดั แพร่ สานักงาน กศน.จงั หวดั พจิ ิตร และ สานักงาน กศน.จงั หวดั อุตรดติ ถ์ ท่ีไดใ้ หค้ วามสะดวกและความร่วมมอื ในการทาวจิ ยั คร้งั น้ี ขอขอบพระคณุ ผ้อู านวยการ รองผ้อู านวยการ คณะครูและ บุคลากรทางการศึกษา และ เจา้ หนา้ ที่ทเ่ี กยี่ วข้องของสถาบนั กศน.ภาคเหนอื ทีไ่ ดใ้ หค้ วามสะดวกและความรว่ มมอื ในการ ทาวจิ ัย ครั้งน้ี คณะผู้วจิ ัย สถาบัน กศน.ภาคเหนือ กันยายน 2558 (3) รายงานผลการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบศนู ย์การเรยี น

สารบญั หนา้ บทคดั ย่อ……………………………………………………………………………………………………..…………….(1) กิตตกิ รรมประกาศ………………………………………………………………………………………………….…..(3) สารบญั ตาราง…………………………………………………………………………………………………..…….….(11) สารบญั ภาพ...……………………………………………………………………………………….………….……..…(13) บทที่ 1 บทนา……………………………………………………………………………………….……….………… 1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา…….…………………...........................................1วตั ถุประสงค์การ วจิ ยั ..………………………………...…........................................................3 สมมตฐิ านของการวจิ ัย……………………………..............……............................................3 ขอบเขตของการวจิ ัย………………………………..............……............................................3 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ……………………………................….....................................................5 ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ………………………………………...............................................6 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง…………………………………………................................... 7 พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553…………...........................................................7 แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2545-2559)....……………….............................................10 ยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2558.................……………….......... 11 วสิ ยั ทัศน์..........…………………………….………………………………………………………....12 เปา้ ประสงค.์ ................………………………….………………………………………………....12 พนั ธกิจ...............................……………………………………………………………………....12 ยุทธศาสตร์....……………………………………………………………………………………….... 12 จดุ เน้นการดาเนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์...............……………………………………….... 14 (4) รายงานผลการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน

สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 2 (ตอ่ ) แนวคดิ ความเช่ือพืน้ ฐาน และหลักการศึกษานอกโรงเรียน........................................ 17 ปรชั ญาคิดเป็น..........…..…….……………………………….…………………………………....17 หลกั การศกึ ษานอกโรงเรียน...………………………………………………..……………….... 18 ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ารศึกษานอกโรงเรียน......…………………………………………….... 19 จิตวทิ ยาการเรยี นร้กู ารศึกษานอกโรงเรยี น......……..………………………………….... 20 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551........................................................................................................22 หลักการ………………………………………………………..…………………………………….... 23 จุดหมาย………….………………………………………………….……………………………….....23 กล่มุ เป้าหมาย….…………………………………………………………………….………….….... 24 ระดับการศึกษา….………………………………………………………………….…………..…....24 สาระการเรียนรู้….………………………………………………………………….………..……....24 โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551………….………………………………………………..………..………….... 25 วธิ ีการจดั การเรียนรู้….…………………………………………………………….…………….... 26 การจัดกระบวนการเรยี นรู้….…………………………………………………….…………….... 26 สื่อการเรียนรู้….……………………………………………………………………….……………....26 การวดั และประเมนิ ผล….………………………………………………………….……………....27 การจบหลกั สูตร..........….………………………………………………………….……………....27 การสอนทเี่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ.....................……………….............................................28 ความเปน็ มาของแนวคิด………….…….……………………………………………………….... 28 หลักการพ้ืนฐานของแนวคิด “ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง”……….………………………… 28 หลกั การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง………….………... 29 (5) รายงานผลการวจิ ัยเพื่อพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรียน

สารบัญ (ต่อ) หนา้ บทท่ี 2 (ต่อ) วธิ จี ัดกิจกรรมการเรียนรู้……………..…………………………………………………………....29 การประเมนิ ผล…………………………………………………………………………………..….…30 ลกั ษณะของการจดั การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั …………………………….….… 30 ตัวบ่งช้ีการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง……………………………..….… 31 ประเภทการสอนที่มีผูเ้ รยี นเป็นศูนยก์ ลาง……………………………………………..….… 32 รูปแบบการจัดการเรยี นร้แู บบศนู ย์การเรียน.……………….............................................53 ความหมายของศนู ย์การเรียน………………………………………………..……………….... 53 ลกั ษณะของศนู ย์การเรยี น………………………………………………….………..….... 53 ทฤษฎีการเรียนรแู้ ละส่อื การสอน.…………………………………………………….... 54 องคป์ ระกอบของศนู ยก์ ารเรียน……………………………………………………………….... 54 บทบาทของผเู้ รยี น…………………………………………………………….………..….... 54 บทบาทของผสู้ อน.…………………………………………………………………………....55 ชดุ การสอนสาหรับศูนย์การเรยี น…………….……………………………………….... 55 การจัดห้องเรียน…………………………………………….………………………………....56 ข้ันตอนการสอนแบบศนู ย์การเรียน……………………………………………………..….… 57 ข้นั ประเมินผลกอ่ นเรียน…………………………………………………….………..….... 57 ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรียน.....……………………………………………………………………....57 ขน้ั ประกอบกิจกรรมการเรยี น….………………………………………………………....57 ขนั้ สรปุ บทเรยี น………………………………….………….………………………………....58 ขั้นประเมินผลการเรยี น……………………….………….………………………………....58 การประเมนิ ผลการใช้ศนู ย์การเรียน……………………………………………………..….… 58 ข้อดแี ละขอ้ จากัดของวิธีสอนแบบศูนย์การเรยี น…………………………………..….… 59 ทฤษฎีการเรยี นรู้ท่ีสัมพนั ธก์ บั การพฒั นาหลกั สตู ร…….................................................60 (6) รายงานผลการวิจัยเพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น

สารบญั (ต่อ) หน้า บทที่ 2 (ตอ่ ) งานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง………..…….......................……………….............................................67 กรอบแนวคิดในการพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรูท้ ่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบศนู ย์การเรียน......................................................71 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั ..…………………………………………………………………….………….…...… 73 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง....................…….…………………...........................................7เค3รื่องมอื ที่ใช้ใน การวจิ ัย..….………………………...…........................................................74 การสรา้ งเครอื่ งมือ……………………………..............……...................................................75 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู …………................…..................................................................77 การวิเคราะห์ข้อมูล……………………………………...........…...............................................78 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู …..………………………....…...............................................79 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู .……………………………………………………………….………….…….. 81 สมมตฐิ านการวจิ ยั .....…………………………………………………...........................................8ผ2ลการวเิ คราะห์ข้อมลู …...….………………………...…................................................... ....82 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม...........…..………………….... 82 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทว่ั ไปของครู…………………………………………………..... 82 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้เรยี น.......……………………………………….... 85 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ความคดิ เห็นของครูต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรยี น……………………………………....87 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความคิดเหน็ ของครูตอ่ การนารปู แบบ การจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรียนไปปฏิบัติ.................................………....87 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ความพงึ พอใจของครตู ่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบศูนย์การเรียน..................................... 94 ผลการวิเคราะห์ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพิม่ เติมของครู ตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรโู้ ดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้ แบบศนู ยก์ ารเรียน...................................................................................... 101 (7) รายงานผลการวิจัยเพ่อื พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ฯ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน

สารบญั (ต่อ) หน้า บทที่ 4 (ตอ่ ) ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลความพึงพอใจของผูเ้ รยี นต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรยี น……………………………………....102 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ของผูเ้ รยี น ต่อการจดั กระบวนการเรียนร้โู ดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ แบบศูนย์การเรยี น...................................................................................... 109 ผลการทดสอบเพ่อื เปรยี บเทยี บความพงึ พอใจ ของกล่มุ ครูและกล่มุ ผเู้ รียน………………………………………………..……………….….... 110 การทดสอบเพอ่ื เปรยี บเทียบความพงึ พอใจตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรียนระหว่าง ครแู ต่ละกล่มุ ศูนย์……………………………………………………………………….…... 110 การทดสอบเพอ่ื เปรยี บเทยี บความพงึ พอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรูแ้ บบศูนย์การเรียนระหวา่ ง ผเู้ รยี นแตล่ ะกล่มุ ศูนย์………………………………………………………………….…... 110 การทดสอบเพอ่ื เปรยี บเทียบความพึงพอใจตอ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรียนระหวา่ ง ครูกบั ผเู้ รียน………….……………………………………………………………..…….…... 111 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสังเกตการจัดกระบวนการเรียนรขู้ องครู โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนย์การเรียน……………………………………....111 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ.......………………………….……….………. 115 วัตถุประสงค์การวจิ ัย..………………………………...…........................................................115 สมมติฐานการวจิ ยั .....…………………………………………………...........................................1ป1ร5ะชากรและกลมุ่ ตวั อ …….…………………...........................................116 เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั ..….………………………...…........................................................117 (8) รายงานผลการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นร้ฯู โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน

สารบัญ (ต่อ) หน้า บทท่ี 5 (ตอ่ ) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล…………................…..................................................................117 การวิเคราะห์ขอ้ มูล……………………………………...........…...............................................118 ผลการวจิ ัย..................................................…………....…...............................................119 อภปิ รายผล…..............................................…………....…...............................................120 ขอ้ เสนอแนะ...............................................…………....…...............................................127 บรรณานุกรม…………………………………………………………………………………………………..…….… 131 ภาคผนวก.....……………………………………………………………………………………………………….…… 135 ภาคผนวก ก การตรวจสอบเคร่อื งมือการวิจยั ...................................................................137 แบบประเมินความสอดคลอ้ งขององคป์ ระกอบของหลกั สตู ร.......................................139 ตารางแสดงการวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งขององคป์ ระกอบของหลกั สตู ร หลกั สตู รการพัฒนาครู กศน.ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรยี น เปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ยก์ ารเรียน...................... 141 แบบประเมนิ ของผ้เู ชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบเคร่อื งมอื วิจัย เร่ือง ความคดิ เห็นของครูและผเู้ รยี นที่มตี ่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียน......................................................143 ตารางแสดงการวิเคราะห์ความคดิ เห็นของผูเ้ ชย่ี วชาญต่อประเดน็ การประเมนิ ความคดิ เห็นของครูและผูเ้ รยี นทม่ี ตี อ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรียน..................................................... ภ14า7คผนวก ข เครอื่ งมือ หลกั สูตรการพฒั นาครู กศน. ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่เี นน้ ผ้เู รียน เปน็ สาคัญ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบศูนยก์ ารเรยี น.................................... 153 (9) รายงานผลการวิจยั เพอื่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นร้ฯู โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรียน

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ภาคผนวก (ตอ่ ) แบบสอบถามความคดิ เหน็ ของครูตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน......................................................167 แบบสอบถามความพึงพอใจของผเู้ รียนต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน......................................................171 แบบสังเกตการจดั กระบวนกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น......................................................175 ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูป............................................. 179 วิเคราะห์ข้อมูลทวั่ ไปของครู (จาแนกตามสถานศึกษา และ เพศ)................................ 181 วิเคราะหข์ ้อมูลทว่ั ไปของครู (จาแนกตามอายุ วุฒิการศกึ ษา และ เพศ)..................... 185 วเิ คราะห์ข้อมูลความคิดเหน็ ของครตู ่อการนารูปแบบ การจดั การเรียนรแู้ บบศูนย์การเรยี นไปปฏบิ ตั ิ..............................................................187 วิเคราะห์ขอ้ มูลความพงึ พอใจของครูต่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน......................................................199 วเิ คราะห์ข้อมลู ทัว่ ไปของผ้เู รียน (จาแนกตามสถานศึกษา และ เพศ).......................... 211 วเิ คราะหข์ ้อมูลทั่วไปของผ้เู รยี น (จาแนกตามอายุ วฒุ กิ ารศึกษา และ เพศ)............... 215 วิเคราะหข์ อ้ มูลความพงึ พอใจของผู้เรยี นตอ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น......................................................219 การทดสอบเพอ่ื เปรยี บเทียบความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียนระหว่างครูแตล่ ะกล่มุ ศูนย์............ 231 การทดสอบเพ่ือเปรียบเทียบความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียนระหวา่ งผเู้ รยี นแต่ละกลุ่มศูนย์...... 235 การทดสอบเพอื่ เปรียบเทียบความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียนระหว่างครูกบั ผู้เรยี น..................... 239 ภาคผนวก ง ประวตั ิผูเ้ ช่ยี วชาญ........................................................................................241 ภาคผนวก จ รายช่ือคณะทางาน.......................................................................................247 คณะผวู้ จิ ัย....................................................................................................................249 คณะผ้จู ดั ทา..................................................................................................................251 (10) รายงานผลการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน

สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 1 แสดงโครงสรา้ งหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551.........................................................................................................26 2 แสดงจานวน และร้อยละของครู จาแนกตามจงั หวดั สถานศึกษา และเพศ (N = 20)………………………………………………………………………………….…..…...82 3 แสดงจานวน และรอ้ ยละของครู จาแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา อายุ และเพศ (N = 20)………………………………………………………………………………….…..…...84 4 แสดงจานวน และร้อยละของผู้เรียน จาแนกตามจังหวัด สถานศึกษา และเพศ ( N = 248)……………………………………………………………………………….…...…...85 5 แสดงจานวน และร้อยละของผเู้ รยี น จาแนกตามระดบั การศกึ ษา อายุ และเพศ (N = 248)……………………………………………………………………………….….….....86 6 แสดงจานวน ร้อยละ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ของความคดิ เหน็ ของครู ตอ่ การนารปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรยี นไปปฏิบตั ิ ( N = 20)...........….. 88 7 แสดงจานวน ร้อยละ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของความพึงพอใจของ ครตู อ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ย์การเรยี น ( N = 20)…..............................................................................................................…..95 8 แสดงความถีข่ องความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ ของครตู ่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรยี น............... ..….. 101 9 แสดงจานวน รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของความพึงพอใจ ของผเู้ รยี นตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้ แบบศูนยก์ ารเรยี น ( N = 248).............................................................................. ..…..102 10 แสดงความถีข่ องความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติมของผเู้ รียนต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี น............... ..….. 109 11 แสดงการวเิ คราะห์ความแปรปรวนของระดับความพงึ พอใจ ต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน ระหวา่ งครูแต่ละกลมุ่ ศูนย์...... .................................................................................…..110 (11) รายงานผลการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ฯ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรยี น

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 12 แสดงการวิเคราะห์ความแปรปรวนของระดับความพงึ พอใจ ..110 ต่อการจัดกระบวนการเรียนรูโ้ ดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรียน ..…..111 ระหว่างผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ศูนย์.................................................................................... 13 แสดงการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนของระดับความพงึ พอใจ ต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียน ระหวา่ งครูกับผเู้ รยี น.............................................................................................. (12) รายงานผลการวจิ ยั เพือ่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรียน

สารบัญภาพ ภาพท่ี หน้า 1 แสดงตวั อยา่ งการจดั หอ้ งเรยี นแบบศูนย์การเรียน........................................................57 2 แสดงกรอบแนวคิดในการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรยี น................................................. …..72 3 แสดงตัวอยา่ งการจดั ศนู ยก์ ารเรยี นท่ีจัดกจิ กรรมหลากหลายรูปแบบ ในแต่ละศนู ย์ความรู้................................................................................................. …..129 (13) รายงานผลการวิจัยเพื่อพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรยี น

บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 ไดก้ าหนดให้สถานศึกษาและหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องดาเนินการ เกย่ี วกับการจดั กระบวนการเรียนรู้ ตามมาตรา 24 (5) สง่ เสริมสนับสนนุ ให้ผสู้ อนสามารถจัด บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรยี น และอานวยความสะดวกเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้และ มคี วามรอบ รู้ และมาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมปี ระสิทธภิ าพ รวมท้งั การสง่ เสรมิ ให้ผ้สู อนสามารถวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกับผู้เรยี นในแตล่ ะระดับ การศกึ ษา นอกจากนแี้ ผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ.2545-2559) ไดก้ าหนดวตั ถปุ ระสงค์ขอ้ 1 เพือ่ พัฒนาคนอย่างรอบดา้ นและสมดลุ เพ่อื เปน็ ฐานหลกั ของการพัฒนา โดยมีแนวนโยบายเพอื่ ดาเนินการ คือ การปฏริ ูปการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนาผเู้ รียนตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ และ กาหนดเป้าหมายไว้วา่ ผ้เู รียนเป็นคนเก่งทีพ่ ัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศกั ยภาพ เปน็ คนดี และมี ความสขุ และครทู กุ คนไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามรแู้ ละสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ่เี นน้ ผ้เู รียนมคี วามสาคญั ท่ีสุด ในปีงบประมาณ 2558 สานักงาน กศน.ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนนิ งาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การเร่งรดั ปฏิรูปการดาเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยการประเมิน ทบทวนและปรับกจิ กรรม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรง่ รัดพฒั นาครู กศน.ตาบลทุกคน กอรปกับการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การศึกษาข้นั พน้ื ฐานของครู กศน.ตาบลทผ่ี า่ นมา พบว่า ผเู้ รียน ขาดการพบกลมุ่ ผ้เู รยี นมาพบกล่มุ ไม่พร้อมกัน ทาให้ติดตามการเรียนการสอนของครไู ม่ทัน และ ครไู ม่สามารถจดั การเรยี นการสอนไดท้ นั ครบทุกรายวิชา หรอื ทุกสาระการเรียนรู้ ซงึ่ ใน ปงี บประมาณ 2558 สานักงาน กศน.ได้ช่วยแก้ปัญหาโดยการใช้ ETV ในการช่วยสอน แตย่ งั มี ปัญหาคือ ผู้เรยี นมาพบกลุ่มไมพ่ ร้อมกนั และครไู ม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ทนั ครบทุก รายวชิ า หรอื ทุกสาระการเรยี นรู้ ศูนย์การเรียนเป็นการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่ใี หค้ วามสาคญั กบั ผู้เรยี นหรอื ยดึ ผเู้ รยี น เปน็ ศูนยก์ ลาง ใชเ้ ทคนิคการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยการแบง่ ผู้เรียนออกเปน็ 4-6 กล่มุ กลมุ่ ละประมาณ 5-12 คน ให้เข้าเรยี นในศนู ย์กจิ กรรม โดยแตล่ ะกล่มุ มกี ารประกอบกิจกรรม 1 รายงานผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรูฯ้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ย์การเรียน

ต่างกันไปตามที่กาหนดไวใ้ นชุดการสอน แต่ละกลมุ่ ใชเ้ วลาประมาณ 15 - 25 นาที สาหรบั ประกอบกิจกรรม ตามคาสง่ั เม่อื ผเู้ รยี นทกุ ศนู ยป์ ระกอบกิจกรรมเสรจ็ แล้วจงึ เปล่ยี นศนู ย์กิจกรรม จนกระทั่งครบทุกศนู ยจ์ ึงจะถือว่าเรียนเน้อื หาในแตล่ ะหนว่ ยครบตามทก่ี าหนด การสอนในลักษณะ น้ที าให้บทบาทของผู้สอนและผเู้ รียนต่างไปจากเดมิ โดยครูเปน็ ผูป้ ระสานงาน คอยดูแล กระตนุ้ การเรยี นของผูเ้ รยี นแต่ละคน (อรนุช ลมิ ตศริ ิ 2546 : 179) โดยลักษณะของศูนยก์ ารเรยี นจะ ประกอบดว้ ยส่อื ประสมชนิดต่าง ๆ ในแตล่ ะศนู ย์ความรู้ ซง่ึ ผ้เู รยี นจะสามารถเรยี นรู้ไดต้ นเอง หรอื เรยี นในลักษณะกลมุ่ และปรึกษาหารือกนั โดยการอ่านคาแนะนาการใชส้ ่อื ในแตล่ ะศนู ย์ความรู้ และ ดาเนินกจิ กรรม หรอื ศกึ ษาหาความรดู้ ว้ ยตนเองตามท่ีกาหนดในใบงาน ซง่ึ ผู้เรียนบางกล่มุ จะเรียน โดยตรงกับครูผ้สู อน และบางกลุ่มจะศึกษาจากเอกสาร หนังสอื เรียน รปู ภาพ หรือเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ในศนู ยค์ วามรู้ เช่น ชุดการสอน ซดี ี วซี ีดี เครอื่ งคอมพิวเตอร์ และอน่ื ๆ ดังน้ันในศูนยก์ ารเรยี นจะ ประกอบดว้ ยศูนย์ความรตู้ า่ ง ๆ ซ่งึ มีอปุ กรณ์การเรยี นรู้ท่ีเพียงพอ เหมาะสม และอยูใ่ นตาแหนง่ ที่ ผ้เู รียนจะสามารถศกึ ษาไดโ้ ดยไมร่ บกวนผอู้ นื่ นอกจากนผี้ ูส้ อนจะกาหนด ติดประกาศ หรอื เขียน ใหผ้ ้เู รยี นรบั ทราบว่า เมื่อผูเ้ รียนศกึ ษาหรือเรียนในศูนยค์ วามรู้หนงึ่ ๆ เสร็จแล้ว ควรจะศึกษาใน ศนู ยค์ วามรู้ใดต่อไป (ระวิวรรณ ศรคี ร้ามครนั 2543 : 149) นอกจากนีล้ ักษณะสาคญั ของวธิ สี อน แบบน้อี กี ประการหนึง่ กค็ อื การที่ผู้เรยี นไดล้ งมือปฏิบัตกิ จิ กรรม ศกึ ษาดว้ ยตนเอง นบั เป็นการ สร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง ตลอดจนสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นแสดงความคิดเห็น ฝกึ การตัดสินใจ และมี ความรบั ผดิ ชอบ การสอนด้วยวิธนี เ้ี ปน็ การนาเนื้อหาในบทเรยี นมาแบง่ เปน็ สว่ น ๆ เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้ เรยี นรทู้ ลี ะหนว่ ย (อรนชุ ลมิ ตศิริ 2544: 179) จากสภาพปญั หาการจัดการเรยี นการสอนดงั กลา่ วขา้ งต้น สถาบนั พฒั นาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคเหนือได้เลง็ เห็นความจาเป็นและความสาคญั ของปญั หา ดงั น้ันในปีงบประมาณ 2558 สถาบัน กศน.ภาคเหนอื จึงไดจ้ ัดทาโครงการ การวิจัยเพ่อื พัฒนาการ จัดกระบวนการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ของครู กศน.ในเขตภาคเหนอื โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบ ศนู ย์การเรยี น ขน้ึ โดยการจัดอบรมครู กศน.ตาบลในเขตภาคเหนอื เพ่ือใหค้ รูได้นา รูปแบบการ จดั การเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรยี น ไปใช้ในการจดั กระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาข้ันพ้นื ฐานควบคู่ไป กบั การใช้ ETV ในการชว่ ยสอน ทง้ั นเ้ี พ่ือสนองนโยบายของสานักงาน กศน. และให้เปน็ ไปตาม พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนเพอ่ื แก้ปัญหาการจัดการเรยี นการสอนดงั กล่าว 2 รายงานผลการวิจยั เพื่อพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นร้ฯู โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนยก์ ารเรียน

วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรูท้ เี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ หลกั สูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขตภาคเหนือ โดยใช้รูปแบบ การจดั การเรียนรแู้ บบศูนย์การเรียน 2. เพอ่ื ศึกษาความคดิ เหน็ ของครตู ่อการนารูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ย์การเรยี นไป ปฏิบัติ 3. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของครูต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการ จดั การเรยี นร้แู บบศนู ย์การเรยี น 4. เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของผเู้ รยี นต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการ จดั การเรียนรแู้ บบศูนย์การเรียน 5. เพื่อเปรียบเทยี บความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการ เรียนรแู้ บบศูนยก์ ารเรยี นระหว่างครแู ตล่ ะกลุ่มศูนย์ 6. เพอ่ื เปรียบเทียบความพงึ พอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การ เรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี นระหวา่ งผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ ศูนย์ 7. เพ่ือเปรยี บเทียบความพงึ พอใจของต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ปู แบบการ จดั การเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรยี นระหวา่ งครกู บั ผเู้ รยี น สมมติฐานการวิจยั 1. ความพงึ พอใจต่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ย์ การเรียนระหว่างครแู ต่ละกลมุ่ ศนู ย์ ไมแ่ ตกต่างกัน 2. ความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนย์ การเรียนระหวา่ งผู้เรียนแตล่ ะกลมุ่ ศูนย์ ไมแ่ ตกตา่ งกัน 3. ความพึงพอใจของตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบ ศูนย์การเรยี นระหวา่ งครูกับผ้เู รยี น ไม่แตกต่างกัน ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากร ประชากรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ข้าราชการครู ครูอาสาสมคั รฯ ครู กศน.ตาบล และนกั ศกึ ษา กศน. ในเขตภาคเหนือ 3 รายงานผลการวิจยั เพอื่ พัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน

2. กลุ่มตวั อยา่ ง 2.1 กลมุ่ ตัวอย่างทเี่ ขา้ รับการอบรมหลกั สตู รการพฒั นาครู กศน.ในการ จัด กระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของ ครู กศน.ในเขตภาคเหนือ โดยใช้ รปู แบบการจดั การเรียนร้แู บบ ศูนยก์ ารเรียน และนารูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศนู ยก์ ารเรียนไปทดลองใช้ในการ จัด กระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จานวน 20 คน เป็นข้าราชการครู ครอู าสาสมัครฯ และครู กศน.ตาบล ในเขตภาคเหนือที่มีความสนใจและสมคั รเข้ารว่ มโครงการฯ โดยการเลอื กแบบเจาะจง จาก สถานศกึ ษา กศน.ในเขตภาคเหนอื 4 กลุ่มศนู ย์ ๆ ละ 1 อาเภอ ๆ ละ 5 คน จาแนกออกเปน็ 1) ข้าราชการครหู รือครอู าสาสมคั รฯทร่ี ับผิดชอบงานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน จานวน 1 คน และ 2) ครู กศน.ตาบล จานวน 4 คน ประกอบด้วย 1) กลุ่มศนู ย์หล่ายดอย ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอวงั เหนอื จังหวดั ลาปาง จานวน 5 คน 2) กลุ่มศูนยอ์ งิ ดอย ได้แก่ กศน.อาเภอเมอื งแพร่ จังหวัดแพร่ จานวน 5 คน 3) กลมุ่ ศูนย์อขู่ ้าวอู่น้า ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจติ ร จานวน 5 คน 4) กลมุ่ ศนู ยห์ า้ ขนุ ศกึ ไดแ้ ก่ กศน.อาเภอเมืองอตุ รดติ ถ์ จังหวัดอตุ รดติ ถ์ จานวน 5 คน 2.2 กล่มุ ตัวอยา่ งทใ่ี ช้ในการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรียน จานวน 248 คน เปน็ นักศกึ ษา กศน.ทีล่ งทะเบียนเรยี นในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 ของ กศน.อาเภอทส่ี ่งครูเข้ารบั การอบรมฯ จานวน 4 แห่ง ประกอบด้วย 1) กศน.อาเภอวังเหนอื จังหวัดลาปาง จานวน 76 คน 2) กศน.อาเภอเมอื งแพร่ จังหวัดแพร่ จานวน 47 คน 3) กศน.อาเภอเมอื งพิจติ ร จงั หวัดพิจติ ร จานวน 58 คน 4) กศน.อาเภอเมืองอุตรดติ ถ์ จงั หวัดอตุ รดิตถ์ จานวน 67 คน 3. เนือ้ หาทีใ่ ชใ้ นการวิจัย เนอ้ื หาท่ีใชใ้ นการ วจิ ยั คร้ังน้ี เป็น เนอ้ื หารายวิชาบงั คับและรายวิชาเลือก หลกั สตู ร การศกึ ษานอกระบบระดบั ขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 4. ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจยั ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการ วิจยั คร้ังน้ี ดาเนินการใน ปีงบประมาณ 2558 ระหวา่ งวันท่ี 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558 4 รายงานผลการวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศูนย์การเรยี น

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. การจดั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ หมายถึง การจดั กระบวนการ เรียนรู้ในลกั ษณะทผี่ ูเ้ รยี นต้องรู้จักการคดิ คน้ แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง ด้วยวธิ ีการต่าง ๆ เชน่ ศกึ ษาจากตารา สมั ภาษณ์ผู้รู้ หรือผทู้ ี่เกีย่ วข้อง โดยมผี สู้ อนเป็นผอู้ านวยความสะดวก ให้คาแนะนา ช่วยเหลือ ชี้แนะในการสบื ค้นแหลง่ ขอ้ มูล และเปน็ แหล่งความรู้ ตลอดจนเปน็ ผู้กาหนด สถานการณ์ หรอื สภาพแวดล้อม รวมทง้ั กาหนดปญั หาที่เกยี่ วข้องกับสถานการณป์ จั จุบนั บรู ณาการกบั ความรู้เน้อื หาวิชาท่กี าหนดไวใ้ นหลักสูตร เพอื่ กระตุ้นหรือส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นได้ศกึ ษา คน้ ควา้ ความรู้ ปรกึ ษาหารือกัน และรว่ มกนั ตดั สินใจ จนค้นพบความรูแ้ ละสรปุ เปน็ องค์ความรู้ ได้ดว้ ยตนเอง 2. รปู แบบการจดั การเรยี นร้แู บบศนู ย์การเรียน หมายถึง การจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี ผู้เรียนจะสามารถเรยี นรไู้ ด้ตนเอง หรือเรียนในลักษณะกล่มุ และปรึกษาหารือกนั โดยการแบง่ ผูเ้ รียนออกเป็น 4-6 กลุม่ กลมุ่ ละไม่เกนิ 12 คน ใหเ้ ขา้ เรยี นในศูนย์ความรู้ โดยการอา่ นคาแนะนา การใช้สื่อในแตล่ ะศูนยค์ วามรู้ และดาเนินกจิ กรรม หรอื ศึกษาหาความรดู้ ้วยตนเองตามทีก่ าหนดใน ใบงาน โดยแต่ละกล่มุ มีการประกอบกิจกรรมต่างกันไปตามที่กาหนดไว้ในชดุ การสอน แต่ละกลมุ่ ใช้เวลาประมาณ 15-25 นาที สาหรบั ประกอบกจิ กรรม ตามคาส่งั เมือ่ ผู้เรียนทุกศูนยป์ ระกอบ กิจกรรมเสร็จแล้วจงึ เปลี่ยนศนู ยก์ ิจกรรม ซึ่งผสู้ อนจะกาหนด ติดประกาศ หรือเขยี นให้ผ้เู รยี น รบั ทราบวา่ เมือ่ ผู้เรียนศึกษาหรอื เรยี นในศูนย์ความรู้หนึ่ง ๆ เสรจ็ แล้ว ควรจะศกึ ษาในศูนยค์ วามรู้ ใดต่อไป จนกระทัง่ ครบทกุ ศนู ย์ จึงจะถือวา่ เรยี นเนือ้ หาในแตล่ ะหนว่ ยครบตามทก่ี าหนด โดยครู เป็นผู้อานวยความสะดวก ให้คาแนะนา คอยดแู ล กระตุ้นการเรยี นของผเู้ รยี นแต่ละคน ชว่ ยเหลอื ชี้แนะในการสืบค้นแหลง่ ขอ้ มูล และเป็นแหล่งความรู้ 3. ความคดิ เห็นต่อการนารปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรยี นไปปฏิบัติ หมายถึง ระดับความสามารถในการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรยี นตามองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ประกอบดว้ ย ด้านผู้สอน ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดา้ นการจดั บรรยากาศการเรียนรู้ และ ด้านประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการจัดการเรยี นรู้ 4. ความพงึ พอใจตอ่ การจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบ ศนู ยก์ ารเรียน หมายถึงระดบั ความรูส้ ึกพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนรแู้ บบศูนย์การเรียนตาม องค์ประกอบดา้ นตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย ดา้ นผู้สอน ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดา้ นการจดั บรรยากาศการเรียนรู้ และด้านประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการจดั การเรยี นรู้ 5 รายงานผลการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นร้ฯู โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนย์การเรียน

ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั 1. ไดแ้ นวทางการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั หลกั สูตรการศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบศนู ย์การ เรยี น 2. นารูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี นขยายผลใหก้ ับครู กศน.อาเภออน่ื ๆ ในเขตภาคเหนือ นาไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั หลกั สตู รการศึกษา นอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตอ่ ไป 6 รายงานผลการวจิ ยั เพือ่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรูฯ้ โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ ง การศกึ ษาคร้งั นี้ คณะผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้อง โดยแบ่งเปน็ 10 หวั ข้อ ดังน้ี 1. พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 2. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559) 3. ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2558 4. แนวคดิ ความเช่ือพืน้ ฐาน และหลกั การศกึ ษานอกโรงเรียน 5. หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 6. การสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 7. รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรียน 8. ทฤษฎีการเรียนรูท้ ีส่ มั พนั ธก์ บั การพฒั นาหลักสตู ร 9. งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 10. กรอบแนวคิดในการพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใชร้ ปู แบบการ จดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน 1. พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 ไดก้ าหนดแนวทางการจดั การศกึ ษาไว้ในหมวด 4 ดังน้ี มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาต้องยดึ หลักวา่ ผเู้ รียนทกุ คนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นา ตนเองได้ และถอื วา่ ผูเ้ รียนมคี วามสาคัญทส่ี ดุ กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ 7 รายงานผลการวิจัยเพ่อื พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรยี น

มาตรา 23 การจดั การศกึ ษา ทัง้ การศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศยั ต้องเนน้ ความสาคญั ทง้ั ความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรูแ้ ละบูรณาการตามความ เหมาะสมของแต่ละระดบั การศึกษาในเรอ่ื งต่อไปนี้ (1) ความรเู้ กยี่ วกับตนเอง และความสมั พนั ธข์ องตนเองกับสงั คม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถงึ ความร้เู ก่ียวกับประวัตศิ าสตร์ความเปน็ มาของสงั คมไทยและระบบ การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (2) ความรแู้ ละทกั ษะด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทงั้ ความรู้ความเข้าใจและ ประสบการณเ์ รอ่ื งการจดั การ การบารุงรกั ษาและการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมอยา่ งสมดุลย่งั ยืน (3) ความรเู้ ก่ียวกบั ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภมู ปิ ัญญาไทย และการ ประยกุ ต์ใชภ้ ูมปิ ัญญา (4) ความรู้และทกั ษะดา้ นคณติ ศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถกู ตอ้ ง (5) ความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดารงชีวิตอยา่ งมคี วามสขุ มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องดาเนนิ การ ดงั ต่อไปนี้ (1) จดั เน้อื หาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ บุคคล (2) ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพอ่ื ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา (3) จดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นร้จู ากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบตั ใิ ห้ทาได้ คิดเปน็ ทาเป็น รักการอา่ นและเกิดการใฝร่ ูอ้ ยา่ งต่อเนือ่ ง (4) จดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรตู้ ่าง ๆ อยา่ งได้สดั ส่วนสมดุลกัน รวมท้งั ปลูกฝังคณุ ธรรม ค่านยิ มท่ดี ีงามและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวชิ า (5) ส่งเสริมสนบั สนุนให้ผูส้ อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม ส่ือการเรียน และ อานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ละมคี วามรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใชก้ ารวิจยั เปน็ สว่ นหนึง่ ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผูส้ อนและผเู้ รยี นอาจเรยี นรู้ไปพร้อมกันจากสอ่ื การเรียน การสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ (6) จดั การเรียนรใู้ หเ้ กิดข้นึ ได้ทกุ เวลาสถานที่ มกี ารประสานความร่วมมือกบั บดิ ามารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกันพัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ 8 รายงานผลการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน

มาตรา 25 รฐั ตอ้ งส่งเสรมิ การดาเนนิ งานและการจดั ตง้ั แหล่งการเรยี นรู้ตลอดชีวิตทกุ รปู แบบ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุดประชาชน พพิ ิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศนู ยก์ ารกฬี าและนันทนาการ แหลง่ ข้อมูล และแหลง่ การ เรียนรอู้ ื่นอยา่ งพอเพียงและมปี ระสิทธิภาพ มาตรา 26 ใหส้ ถานศึกษาจดั การประเมินผ้เู รียนโดยพจิ ารณาจากพัฒนาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน การรว่ มกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปใน กระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรปู แบบการศกึ ษา ให้สถานศกึ ษาใชว้ ิธีการทห่ี ลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และใหน้ าผล การประเมินผูเ้ รียนตามวรรคหน่ึงมาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานกาหนดหลกั สูตรแกนกลางเพ่ือความ เป็นไทย ความเป็นพลเมืองท่ีดขี องชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพื่อ การศกึ ษาตอ่ ใหส้ ถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีหน้าที่จดั ทาสาระขอหลักสตู รตามวตั ถุประสงคใ์ นวรรคหนึ่งใน ส่วนท่ีเกยี่ วกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์เพอ่ื เปน็ สมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดบั ต่าง ๆ รวมทง้ั หลกั สูตรการศกึ ษาสาหรบั บุคคลตาม มาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ตอ้ งมีลักษณะหลากหลาย ทัง้ นี้ ใหจ้ ดั ตามความ เหมาะสมของแตล่ ะระดบั โดยม่งุ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของบคุ คลให้เหมาะสมแกว่ ัยและศกั ยภาพ สาระของหลักสตู ร ทงั้ ทเ่ี ป็นวชิ าการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดลุ ท้ัง ดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดงี าม และความรับผิดชอบต่อสังคม สาหรบั หลกั สูตรการศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา นอกจากคุณลกั ษณะในวรรคหน่งึ และวรรค สองแล้ว ยงั มีความมุ่งหมายเฉพาะท่ีจะพัฒนาวชิ าการ วิชาชีพช้ันสงู และคน้ ควา้ วิจยั เพื่อพฒั นา องคค์ วามร้แู ละพฒั นาสังคม มาตรา 29 ใหส้ ถานศกึ ษาร่วมกับบคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่นิ เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอนื่ สง่ เสรมิ ความเข้มแขง็ ของชมุ ชนโดยจดั กระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน เพ่ือให้ชมุ ชนมี การจดั การศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และรจู้ กั เลอื กสรรภมู ิปญั ญาและ วทิ ยาการต่าง ๆ เพอื่ พฒั นาชุมชนใหส้ อดคล้องกับสภาพปญั หาและความต้องการ รวมทัง้ หาวธิ ีการ สนบั สนุนให้มกี ารแลกเปลีย่ นประสบการณ์การพฒั นาระหวา่ งชมุ ชน มาตรา 30 ใหส้ ถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนทม่ี ปี ระสิทธิภาพ รวมทง้ั การ สง่ เสรมิ ให้ผูส้ อนสามารถวจิ ยั เพอื่ พฒั นาการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียนในแตล่ ะระดับการศกึ ษา 9 รายงานผลการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรฯู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ย์การเรยี น

2. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545-2559) แผนการศึกษาแห่งชาติ เปน็ แผนยทุ ธศาสตรช์ ี้นาสาหรบั การดาเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ืองใน แตล่ ะแผนงาน/โครงการ เพ่ือการปฏริ ูปการศึกษา การบรหิ าร และการจัดการดา้ นศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม ทสี่ อดคลอ้ งกนั ท้ังประเทศในระยะ 15 ปี ตงั้ แต่ พ.ศ. 2545 ถงึ พ.ศ. 2559 ดว้ ย การนาสาระตามกาหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ และนโยบายรฐั บาล ท่มี ุ่งพฒั นาสังคมใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ ความรู้ นาพาไปสรู่ ะบบเศรษฐกิจฐานความรู้ ใหค้ นไทยท้งั ปวง ได้รบั โอกาสเทา่ เทยี มกนั ทจ่ี ะเรยี นรู้ ฝึกอบรมไดต้ ลอดชีวติ และมีปัญญาเป็นทุนไว้สรา้ งงานสร้าง รายได้ พาประเทศใหร้ อดพ้นจากวกิ ฤตเศรษฐกิจและสังคม ซ่งึ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ได้กาหนด วตั ถุประสงค์และแนวนโยบายเพอ่ื ดาเนินการ ไวใ้ นวัตถุประสงค์ 3 ขอ้ และแนวนโยบาย 11 ประการ ดงั นี้ (สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2545: 9 – 11) 1) พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล เพื่อเปน็ ฐานหลักของการพัฒนา ประกอบด้วย แนวนโยบายเพอื่ ดาเนินการ 4 ประการ คือ (1) การพฒั นาทกุ คนตงั้ แตแ่ รกเกิดจนตลอดชวี ติ ใหม้ โี อกาสเข้าถึงการเรยี นรู้ (2) การปฏริ ูปการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและเต็มศกั ยภาพ (3) การปลูกฝงั และเสรมิ สรา้ งศลี ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะ ทีพ่ งึ ประสงคใ์ นระบบวถิ ชี วี ิตท่ดี งี าม (4) การพัฒนากาลงั คนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพื่อการพงึ่ พาตนเองและเพม่ิ สมรรถนะในการแข่งขนั ในระดับนานาชาติ 2) สร้างสังคมไทยให้เปน็ สงั คมคณุ ธรรม ภมู ปิ ญั ญา และการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย แนวนโยบายเพือ่ ดาเนนิ การ 3 ประการ คอื (5) การพัฒนาสงั คมแห่งการเรยี นรู้ เพอื่ สร้างความรู้ ความคดิ ความประพฤติ และ คณุ ธรรมของคน (6) การส่งเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นาเพอ่ื เพ่มิ พนู ความรูแ้ ละการเรยี นรู้ของคนและ สงั คมไทย (7) การสรา้ งสรรค์ ประยุกตใ์ ช้ และเผยแพร่ความรแู้ ละการเรียนรู้ เพ่อื สรา้ งสังคม คณุ ธรรม ภูมปิ ญั ญา และการเรียนรู้ 3) พฒั นาสภาพแวดลอ้ มของสังคมเพอ่ื เปน็ ฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคม คุณธรรม ภมู ปิ ัญญา และการเรียนรู้ ประกอบด้วยแนวนโยบายเพ่ือดาเนินการ 4 ประการ คอื (8) การส่งเสรมิ และสร้างสรรคท์ นุ ทางสังคม วัฒนธรรม ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม บนฐานของศาสนา ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น/ไทย 10 รายงานผลการวิจยั เพ่ือพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น

(9) การจากดั ลด ขจดั ปัญหาทางโครงสร้างที่กอ่ ให้เกิด และหรอื คงไว้ซงึ่ ความ ยากจน ขัดสน ด้อยทัง้ โอกาสและศกั ดศิ์ รขี องคนและสงั คมไทย เพื่อสรา้ งความเปน็ ธรรมในสังคม (10) การพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาและการพัฒนาประเทศ (11) การจดั ระบบทรัพยากรและการลงทนุ ทางการศึกษา ศาสนา ศลิ ปะ และ วัฒนธรรม เพ่ือพัฒนาคนและสงั คมไทย เป้าหมายและกรอบการดาเนนิ งาน ตามวตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 1 และแนวนโยบายเพอ่ื ดาเนินการ 2 คือ วตั ถุประสงคข์ ้อท่ี 1 : พฒั นาคนอยา่ งรอบดา้ นและสมดลุ เพอ่ื เป็นฐานหลกั ของการ พฒั นา แนวนโยบายเพ่อื ดาเนินการ 2 : การปฏิรูปการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ เปา้ หมาย : 1. ผู้เรียนเป็นคนเกง่ ที่พัฒนาตนเองได้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ เปน็ คนดี และมคี วามสขุ 2. ครทู กุ คนได้รับการพฒั นาให้มีความรู้และความสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ี่ เนน้ ผ้เู รียนมคี วามสาคัญทส่ี ุด 3. ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครูทุกคนได้รับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี 4. สถานศกึ ษาทกุ แหง่ มกี ารประกันคุณภาพการศกึ ษา กรอบการดาเนนิ งาน : 1. การปฏิรปู การเรยี นรทู้ ่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2. การปฏิรปู ครูคณาจารย์และบคุ ลากรทางการศึกษา 3. การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา และการประกนั คุณภาพการศึกษา 3. ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจาปงี บประมาณ 2558 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (2557 : 8 – 13) ได้ กาหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2558 เพ่ือให้เป็น กลไกสาคัญกลไกหน่ึงทม่ี สี ว่ นร่วมในการขบั เคลื่อนนโยบายของรฐั บาลภายใตก้ ารนาของ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี รวมท้ังนโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พล เรอื เอกณรงค์ พพิ ฒั นาศยั และทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) และแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ฉบับปรบั ปรงุ (พ.ศ. 2552- 2559) ใหป้ รากฏผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางในการวางแผนพฒั นา 11 รายงานผลการวิจัยเพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรูแ้ บบศูนย์การเรยี น

และแผนปฏบิ ัตกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา ในสังกดั สานกั งาน กศน. ในปงี บประมาณ พ.ศ.2558 เพือ่ แปลงนโยบายสู่การปฏิบตั ิอย่างมี ประสทิ ธภิ าพตอ่ ไป โดยมวี สิ ัยทัศน์ เป้าประสงค์ และพันธกจิ ที่ใช้เปน็ หลกั ยดึ และตวั กากบั ทศิ ทาง ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนินงานดังกล่าวในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ไว้ดังต่อไปนี้ 3.1 วสิ ยั ทศั น์ คนไทยทกุ กลุ่ม ทกุ ช่วงวัย เข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัยที่มีคุณภาพอยา่ งทั่วถึง เทา่ เทียม เป็นพลเมืองดี และมีศักยภาพสามารถในสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งมีความสุข รวมท้งั เป็นพลงั ในการพัฒนาประเทศ 3.2 เปา้ ประสงค์ ประชาชนผ้รู ับบริการ ทุกกล่มุ ทกุ ช่วงวัย มคี วามร้คู วามสามารถรอบดา้ น เพียงพอตอ่ การดารงชีวิตอยู่ในสงั คมอยา่ งมคี วามสุขบนพ้ืนฐานของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม หลกั ของคนไทย 12 ประการ มีศักยภาพในการผลติ ทางเศรษฐกจิ การสรา้ งสังคมคณุ ภาพ การมี ส่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ และมีความใฝ่รอู้ ย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวิต 3.3 พนั ธกิจ สานักงาน กศน. มีพนั ธกิจหลัก ดงั น้ี 1) จดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ใหป้ ระชาชน กล่มุ เปา้ หมายทกุ กลมุ่ ทุกช่วงวัย มีโอกาสเรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ 2) ส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนให้มสี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เพือ่ ตอบสนองความต้องการทางการศึกษาของ ประชาชนอยา่ งหลากหลาย 3) พฒั นาระบบการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัย ที่ม่งุ เนน้ ผลสัมฤทธใ์ิ นการดาเนินงานตามบทบาทหนา้ ที่ และภารกิจ ท้ังระดับนโยบาย และระดบั ปฏิบตั ิของหน่วยงาน สถานศกึ ษา รวมทัง้ การส่งเสรมิ สนับสนนุ การดาเนินงานการมี สว่ นร่วมของภาคีเครอื ข่าย 3.4 ยุทธศาสตร์ 4 ยทุ ธศาสตรท์ ่หี วังผลใน 3 เดือน 1) การเรง่ ปฏิรปู การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้สามารถขบั เคล่อื นนโยบายของรัฐบาลทกุ ระดบั ในส่วนทเ่ี ก่ยี วข้อง เพอื่ นาไปสู่การปฏบิ ตั ใิ ห้ บรรลผุ ลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตามกรอบเงือ่ นไขระยะเวลาทกี่ าหนดไว้ โดย 12 รายงานผลการวิจยั เพ่อื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรียน

(1) การทบทวนและปรบั บทบาทหนา้ ท่ขี องหนว่ ยงานและสถานศึกษาทุก ประเภท ทกุ ระดบั ตลอดจนหนว่ ยจัดบริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใน พืน้ ท่ี ใหท้ าหน้าทต่ี ามเจตนารมณท์ ก่ี าหนดไวอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยใช้ “กศน.ตาบล” เป็นฐาน (สถานี) เตมิ เต็มความรู้ โดยยึดผ้รู ับบริการเป็นศูนย์กลาง (2) การประเมนิ ทบทวนและปรับกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเ้ อื้อต่อการเรียนร้แู ละสอดคล้องกบั วถิ ชี ีวิต และสภาพปญั หาความ เรง่ ด่วนของแตล่ ะชมุ ชน ตลอดจนพฒั นาทกั ษะทีจ่ าเปน็ ในการดารงชวี ติ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเอง การพฒั นาชุมชนและสงั คมได้อย่างแทจ้ ริง โดยยึดหลัก ประสิทธภิ าพ ความโปร่งใส และความคมุ้ ค่าในการดาเนนิ งาน (3) กากับและตดิ ตามให้หน่วยงานและสถานศึกษาทกุ ระดับบริหารการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยใช้นโยบายและแผน ตลอดจนระบบการ กระจายอานาจ เป็นกลไกการดาเนินงานท่ีสาคัญ โดยมกี ารส่อื สารสรา้ งความเข้าใจที่ชัดเจน ระหว่างผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี เพือ่ ใหน้ โยบายและแผนเป็นเคร่ืองมือในการพฒั นาการดาเนนิ งานที่มี ประสทิ ธิภาพ มีการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิที่ เชอ่ื มโยงกันอยา่ งเป็นระบบ (4) การกระตนุ้ ส่งเสริมและสนบั สนุนการมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของทุกภาคสว่ นอย่างกวา้ งขวาง โดยยดึ หลักความคลอ่ งตัวใน การทางาน การเขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายการศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพ และความตอ่ เน่ืองอยา่ งย่งั ยืนของการ เปน็ ภาคีเครอื ขา่ ยซง่ึ กันและกนั ทง้ั ระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ตั ิ (5) การเร่งรดั สรา้ งความเข้าใจกับคณะกรรมการ กศน.จงั หวดั คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการ กศน.ตาบล ใหเ้ ข้าใจบทบาทหนา้ ทแ่ี ละสามารถ ปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ (6) การเร่งรดั พัฒนาครู กศน.ตาบลทกุ คน ใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานตาม บทบาทหนา้ ที่ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2) การเรง่ รัดดาเนินการการนาคูปองการศกึ ษาหรือคปู องการเรียนรรู้ ู้ตลอดชวี ิต มาใช้ เพอ่ื สง่ เสรมิ การเข้าถงึ โอกาสทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ ประชาชนผ้รู ับบริการ ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและเปน็ ธรรมอยา่ งแท้จรงิ 3) การเรง่ รดั ปรับปรุงหลกั สตู รแกนกลางหลกั สตู รสถานศึกษา และหลกั สตู ร ทอ้ งถ่นิ ตลอดจนหลกั สูตรทสี่ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของแต่ละกลุ่มเปา้ หมาย รวมถึงการเรียนการสอน ทีม่ ่งุ ใหผ้ ้เู รียนเป็นพลเมืองดี มีคณุ ธรรมนาความรู้ และปฏบิ ัตติ นตามค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ มสี ว่ นรว่ มในการสร้างความสมานฉนั ท์ และมีความพร้อมในการเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น 13 รายงานผลการวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรฯู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศนู ยก์ ารเรยี น

4) เร่งพิจารณาทบทวนการอดุ หนนุ รายหวั และค่าอปุ กรณก์ ารเรยี นการสอนแก่ ผ้เู รียนการศึกษาข้นั พ้ืนฐานนอกระบบ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือผยู้ ากจน ผู้พิการ และ ผ้ดู ้อยโอกาสทางการศกึ ษา 3 ยทุ ธศาสตร์ทหี่ วงั ผลใน 1 ปี 1) การเร่งรดั การกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ประชาชนท่ีอยู่ นอกระบบโรงเรยี นอยา่ งท่วั ถึงทกุ กลมุ่ อายุ ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ทมี่ ีลกั ษณะเฉพาะทางสังคม – ประชากรอยา่ งเสมอภาค และเปน็ ธรรมพร้อมท้ังพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างเปน็ องคร์ วมท้ังระบบ โดย 2) การกาหนดให้มแี ผนยทุ ธศาสตร์แผนพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย สาหรับพ้นื ที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมกี ารเชือ่ มโยงกับแผน ยทุ ธศาสตร์/แผนพัฒนาพ้ืนท่ีจงั หวดั ชายแดนภาคใตอ้ ยา่ งระบบ และสนับสนุนซง่ึ กันและกันเพื่อให้ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นกลไกสาคัญกลไกหนงึ่ ท่มี ีพลงั ในการแก้ไข ปัญหาและพัฒนาพนื้ ที่จงั หวัดชายแดนภาคใตใ้ นบทบาททเ่ี ก่ียวขอ้ งไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย การนเิ ทศ กากับตดิ ตามและรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ และปรบั เปลยี่ นได้อยา่ งทนั ท่วงทตี าม นโยบายและสถานการณ์ 3) การเร่งรดั ตดิ ตาม ใหม้ กี ารพฒั นาหนว่ ยงาน สถานศึกษาและหนว่ ยจัดบรกิ าร ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทุกแหง่ ท่ัวประเทศ โดยยึดภารกิจหลักเป็นตัวตั้ง เพอื่ ให้มีศักยภาพในการนานโยบายรัฐบาลและนโยบายทีเ่ กยี่ วข้องสู่การปฏบิ ตั จิ ริงอย่างมี ประสิทธิภาพทั้งด้านกาลงั คนทกุ ระดับ และทรพั ยากรสนับสนนุ การดาเนินงานทจี่ าเป็นตอ่ การ ขบั เคล่ือนนโยบายดังกลา่ ว 3.5 จุดเนน้ การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3.5.1 จุดเนน้ ดา้ นประชากรกลมุ่ เปา้ หมาย มุ่งเนน้ การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาที่มคี วามเป็นธรรมให้กบั ประชากรทุก กลุ่ม โดยเฉพาะอย่างย่ิง กลมุ่ ผู้ดอ้ ย ผ้พู ลาด และผูข้ าดโอกาสทางการศึกษา ท้งั นจี้ าแนกประชากร กล่มุ เป้าหมายไว้ ดงั น้ี 1) จาแนกตามชว่ งอายุ มี 3 กลมุ่ ได้แก่ 1.1) กล่มุ วยั เรยี นการศึกษาภาคบงั คบั แต่อยนู่ อกระบบโรงเรียน (อายุ 6 – 14 ป)ี 1.2) กลุม่ วัยแรงงาน (อายุ 15 – 59 ป)ี ซ่งึ แบ่งเปน็ 2 กลุม่ ย่อย คือ (1) กลุ่มวัยแรงงานอายุ 15 – 39 ปี เป็นกลุ่มวัยแรงงานทใ่ี ห้ ความสาคัญในการจัดบรกิ ารการเรียนรเู้ ป็นกลมุ่ แรก 14 รายงานผลการวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนร้ฯู โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรูแ้ บบศูนย์การเรยี น

(2) กล่มุ วัยแรงงานอายุ 40 – 59 ปี เปน็ กลมุ่ วยั แรงงานท่ใี ห้ ความสาคญั ในการจัดบรกิ ารการเรียนรรู้ องลงมา 1.3) กลุม่ ผู้สงู อายุ แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย โดยให้ความสาคัญในการ จดั บริการการเรียนรู้จากมากไปนอ้ ยตามลาดบั ดังน้ี (1) กลุ่มอายุ 60 – 69 ปี (2) กลุ่มอายุ 70 – 79 ปี (3) กลุ่มอายุ 80 – 89 ปี (4) กลมุ่ อายุ 90 ปขี ึน้ ไป 2) จาแนกตามคุณลักษณะเฉพาะทางสงั คม – ประชากรท่ีเกี่ยวเนอ่ื งกับ การเข้าสโู่ อกาสทางการศกึ ษา แบ่งเป็น 2 กล่มุ ใหญ่ ดังน้ี 2.1) กลมุ่ ทมี่ เี งอ่ื นไขข้อจากดั ในการเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา/การ เรยี นรู้ จาแนกเปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ 17 กลมุ่ ย่อย ดงั น้ี (1) กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส เป็นกลมุ่ ท่มี โี อกาสในการทจี่ ะเข้ารบั บริการ ทางการศึกษา/ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรดู้ ้อยกว่าคนปกตทิ วั่ ไป อันเน่อื งจาก 1) ข้อจากดั ดา้ น ร่างกาย/จติ ใจ/สติปญั ญาหรอื ความสามารถในการเรียนรู้ 2) ข้อจากัดดา้ นฐานะทางเศรษฐกจิ หรือ ความยากจน หรือ 3) ขอ้ จากัดด้านการตดิ ต่อสือ่ สารอนั เนื่องมาจากความต่างทางภาษา/ วฒั นธรรม มี 3 กล่มุ ยอ่ ย ได้แก่ (1.1) กลุม่ พกิ าร (1.2) กลมุ่ ผู้ประกอบอาชพี แรงงานนอกระบบ (1.3) กล่มุ ชาตพิ ันธุ์ (ชนกลมุ่ นอ้ ย) (2) กลมุ่ ผู้พลาดโอกาส เป็นกล่มุ ทพี่ ลาดโอกาสในการทีจ่ ะเข้ารบั บรกิ ารทางการศึกษา/ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ อันเนือ่ งมาจาก 1) ความไมส่ ามารถในการที่จะรบั การศึกษา/การเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง หรือไมม่ ีความประสงค์ท่ีจะรบั การศกึ ษา การเรียนร้จู นจบ หลกั สตู รหรือระดับชนั้ การศึกษาใด ๆ ทีผ่ ่านมา 2) การย้ายถ่ิน/เร่รอ่ น หรอื 3) เง่ือนไข ข้อจากัด เก่ียวกับอายุ มี 7 กลุม่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ (2.1) กลมุ่ เดก็ /เยาวชนที่ออกกลางคันจากระดบั การศกึ ษาภาค บงั คบั (2.2) กลมุ่ ผ้จู บการศกึ ษาภาคบงั คบั แต่ไม่ไดเ้ รียนตอ่ (2.3) กลมุ่ ทหารกองประจาการท่ยี ังไม่จบการศกึ ษาภาคบังคับ (2.4) กลมุ่ เด็ก/เยาวชนเรร่ ่อน/ไรบ้ ้าน (2.5) กลุ่มเด็ก/เยาวชน/ลกู กรรมการกอ่ สร้าง 15 รายงานผลการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นรู้ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบศูนย์การเรยี น

(2.6) กลุ่มเด็ก/เยาวชนทมี่ คี วามพร้อมแตไ่ ม่ตอ้ งการรบั การศกึ ษาในระบบปกติ (2.7) กลมุ่ ผู้สงู อายุ (3) กล่มุ ผ้ขู าดโอกาส เปน็ กล่มุ ที่ไมส่ ามารถเขา้ ถงึ โอกาสทางการ ศึกษา/รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้ อนั เนื่องมาจาก 1) การอยูใ่ นพ้นื ทเี่ สย่ี งภยั จากการกอ่ การรา้ ย/ การก่อความไม่สงบในบริเวณชายแดน 2) การอยู่ในพนื้ ที่ชนบทห่างไกล หรอื ยากลาบากในการ คมนาคม ตดิ ตอ่ สือ่ สาร 3) การมถี ิ่นพานกั อยู่ในตา่ งประเทศ 4) การถูกจาคุก คุมขงั หรือจากดั บรเิ วณตามคาพพิ ากษา หรอื 5) การไมม่ สี ทิ ธเิ สรภี าพในฐานะพลเมอื งไทย มี 7 กลุ่มย่อย ไดแ้ ก่ (3.1) กลมุ่ ประชาชนในพื้นทเี่ สย่ี งภยั จากการกอ่ การร้าย การ กอ่ ความไมส่ งบในบริเวณชายแดน (3.2) กลุม่ ประชาชนในพืน้ ทีช่ นบทหา่ งไกลหรอื ยากลาบากใน การคมนาคมติดตอ่ สอ่ื สาร (3.3) กลมุ่ คนไทยในตา่ งประเทศ (3.4) กลมุ่ ผู้ต้องขัง (3.5) กลุ่มเดก็ /เยาวชนในสถานพนิ จิ (3.6) กลมุ่ แรงงานต่างดา้ ว หรือแรงงานข้ามชาติ (3.7) กลุ่มบคุ คลท่ีไม่มที ะเบียนราษฎร์ 2.2) กลุ่มท่ไี ม่มเี งอ่ื นไขข้อจากัดในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา/ การ เรยี นรู้ จาแนกเป็น 4 กลมุ่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ (1) กลุ่มบุคคลผู้เปน็ ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน/ภูมปิ ัญญาพ้ืนบ้านหรอื ปราชญ์ชาวบ้าน (2) กลุ่มผนู้ าชมุ ชนท้ังทเี่ ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ (3) กลุม่ นักเรียน/นกั ศึกษาในระบบโรงเรียนทส่ี นใจเติมเต็มความรู้ (4) กลุ่มประชาชนทั่วไป 3.5.2 จุดเน้นดา้ นผู้จัดบรกิ ารและภาคเี ครอื ขา่ ย 1) ผ้บู ริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท คณะกรรม กศน. จังหวัด คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะกรรมการ กศน.ตาบล และครู กศน.ตาบลทกุ คน ได้รบั การพัฒนาให้มีศักยภาพและความพรอ้ มในการปฏิบตั ิภารกิจตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 16 รายงานผลการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนร้ฯู โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนร้แู บบศูนย์การเรียน

2) มีการประสานเชอ่ื มโยงการทางานตามโครงสร้างภายในหน่วยงานกบั ภาคี เครือข่าย ทั้งระดบั นโยบายและระดบั ปฏิบัติอย่างเปน็ ระบบ โดยมเี อกภาพในเชงิ นโยบาย และเน้น ผลสมั ฤทธเ์ิ ปน็ เปา้ หมายความสาเร็จในการทางาน 3) กศน.ตาบลทกุ แหง่ ใช้แผนจลุ ภาคระดับตาบลเปน็ เคร่อื งมอื ในการจัด กจิ กรรมหรอื ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนกลมุ่ เป้าหมายในพ้ืนท่ี โดยมีขอ้ มลู พน้ื ฐานทีส่ าคญั แต่ละกลุ่ม แตล่ ะประเภท แหล่ง วิทยาการชุมชน (ทนุ มนษุ ย์ ทนุ สงั คม ทนุ กายภาพ และทุนการเงนิ ) เปน็ ตน้ ทงั้ นใี้ หม้ ีการปรับ ข้อมลู ดังกลา่ วใหเ้ ปน็ ปจั จุบันทกุ รอบปีงบประมาณ 3.5.3 จุดเน้นด้านผลสัมฤทธิ์ 1) ผู้สาเร็จหลกั สตู รหรอื รว่ มกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั มีผลสมั ฤทธ์ทิ มี่ คี ณุ ภาพ ตรงตามจุดมุง่ หมายของหลกั สตู รหรอื กิจกรรมการศึกษา/การ เรียนรทู้ ี่กาหนดไว้ และสามารถนาความรูแ้ ละประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง 2) ผูส้ าเร็จหลกั สตู รหรอื ร่วมกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย มีคณุ ธรรม จริยธรรม ยึดคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ในการดาเนินชีวติ และมี ความใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รยี นอยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ 4. แนวคดิ ความเชอื่ พืน้ ฐาน และหลักการศึกษานอกโรงเรียน กลุม่ เป้าหมายการศกึ ษานอกโรงเรยี นส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ ซ่งึ เปน็ ผมู้ ีวฒุ ิภาวะ ประสบการณ์ มีความรับผิดชอบในการประกอบอาชีพ ดูแลครอบครวั และมีขอ้ จากัดมากมายใน การเรียนรู้ ซงึ่ ลกั ษณะดงั กล่าวทาใหก้ ารจดั กระบวนการเรยี นรู้ไม่เหมือนเด็ก เพราะมีอะไรที่ แตกต่างกันหลายอย่าง เชน่ ความคิดอ่าน ประสบการณ์ ความพร้อม การจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนจงึ จาเป็นตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและธรรมชาตขิ องผู้เรียน สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมสี ว่ น รว่ ม นาความรูแ้ ละประสบการณ์ทีม่ ีอยแู่ ลกเปล่ียนเรียนรู้กนั และสง่ เสริมการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง 4.1 ปรัชญาคดิ เป็น “คิดเป็น” (KIDPEN) ปรัชญาพนื้ ฐานของ กศน. เป็นกระบวนการคิดที่เกดิ ขึ้น จากหลกั การและแนวคดิ ของ ดร.โกวิท วรพพิ ฒั น์ นักการศึกษาไทย ทีก่ ล่าววา่ “การจัดการศึกษา ตอ้ งสอนคนใหค้ ิดเปน็ ทาเป็น แกป้ ัญหาเปน็ ” (สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2553 ก: 5 – 6) คิดเปน็ หมายถงึ กระบวนการท่ีคนเรานามาใชใ้ นการตดั สนิ ใจ โดยต้อง แสวงหาข้อมูลของตนเอง ขอ้ มูลของสภาพแวดล้อมในชมุ ชน และข้อมลู ทางวิชาการ แลว้ นามา วิเคราะหห์ าทางเลือกในการตัดสินใจท่เี หมาะสม มคี วามพอดีระหวา่ งตนเองและสังคม 17 รายงานผลการวิจัยเพ่ือพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นร้ฯู โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนยก์ ารเรียน

คิดเป็น มคี วามเช่อื ว่า มนุษย์ทกุ คนตอ้ งการความสุข แต่ความสุขของแตล่ ะ คนแตกตา่ งกัน เนอื่ งจากมนษุ ย์มีความแตกตา่ งกันในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น เพศ วัย สภาพสงั คม สิ่งแวดล้อม วถิ ชี วี ติ ซึ่งทาใหค้ วามตอ้ งการและความสขุ ของแตล่ ะคนไม่เหมือนกนั ดังน้นั การทีจ่ ะ อยไู่ ดอ้ ย่างมคี วามสุขในสงั คม จะตอ้ งเป็นผคู้ ิดเปน็ ทาเป็น แก้ปญั หาเปน็ และกระบวนการคดิ เปน็ แก้ปัญหาเปน็ นัน้ จะต้องนาขอ้ มูลอย่างนอ้ ย 3 ประการ มาประกอบในการคิด คือ ขอ้ มลู ดา้ น ตนเอง ข้อมูลดา้ นสังคม ส่ิงแวดลอ้ ม ข้อมลู ดา้ นวิชาการ โดยเราจะตอ้ งชง่ั น้าหนกั ดูว่า ขอ้ มูลใด น่าเชอื่ ถอื มากกว่า หรือมีผลดมี ากกว่า นามาตัดสินใจโดยอาศยั การพิจารณาอยา่ งรอบคอบ 4.2 หลกั การศกึ ษานอกโรงเรียน การศกึ ษานอกโรงเรยี นเปน็ กระบวนการของการศกึ ษาตลอดชีวิต มภี ารกจิ สาคัญที่มงุ่ ใหป้ ระชาชนได้รับการศึกษาอย่างทว่ั ถึง โดยเฉพาะการศกึ ษาพืน้ ฐานที่จาเป็นต่อการ ดารงชวี ิตตามมาตรฐานของสงั คม ซ่งึ เปน็ สทิ ธิท่คี นทกุ คนพงึ ไดร้ บั นอกจากนั้นยงั จะตอ้ งได้รับ การศกึ ษาท่ตี อ่ เนือ่ งจากการศกึ ษาพน้ื ฐาน เพือ่ นาความรู้ไปพฒั นาอาชีพ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ พัฒนาชมุ ชนและสงั คมในท่สี ุด การจดั กระบวนการเรียนร้กู ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจึงยดุ หลกั การ สาคญั 5 ประการ คอื หลกั ความเสมอภาคทางการศกึ ษา หลกั การพัฒนาตนเองและการพง่ึ พา ตนเอง หลักการบูรณาการการเรียนรกู้ ับวิถชี วี ิต หลักความสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้เรียน และหลักการเรยี นรู้รว่ มกนั และการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน (สานกั งานการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 2553 ก: 8 – 9) ดังนี้ 1) หลักความเสมอภาคทางการศกึ ษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอก โรงเรยี นส่วนมากเปน็ ผู้พลาดโอกาสและผูด้ ้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกตา่ ง ทางด้านสถานภาพในสังคม อาชีพ เศรษฐกจิ และข้อจากัดต่าง ๆ ในการจดั การศกึ ษาและ กระบวนการเรียนร้กู ารศึกษานอกโรงเรียนตอ้ งไมม่ ีการเลอื กปฏิบัติ หากแตส่ รา้ งความเสมอภาคใน โอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรอู้ ย่างเท่าเทียมกัน 2) หลักการพัฒนาตนเองและการพงึ่ พาตนเอง การจัดการศึกษานอก โรงเรยี นจะตอ้ งจัดการเรยี นการสอนและกระบวนการเรียนรู้เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาศกั ยภาพของ ตน สามารถเรยี นรู้ เกิดความสานกึ ท่ีจะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคดิ เป็น ปรบั ตวั เพื่อใหท้ นั กับ กระแสการเปลย่ี นแปลงของสังคม โดยเรยี นรอู้ ย่ตู ลอดเวลา เรียนดว้ ยตนเอง พึ่งพาตนเอง เพือ่ ให้ สามารถดารงชวี ิตอยา่ งเป็นปกติสุขทา่ มกลางการเปลย่ี นแปลงของสงั คม 3) หลักการบรู ณาการการเรยี นรกู้ บั วถิ ีชีวิต หลักการน้อี ย่บู นพ้ืนฐานของ การจดั การเรียนรทู้ ่สี ัมพนั ธ์กับสภาพปญั หา วถิ ชี วี ติ สภาพแวดล้อมและชมุ ชนทอ้ งถ่ินของผู้เรยี นซง่ึ เปน็ หลักการท่สี าคญั ในการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา ส่งิ ดังกลา่ วส่งผลโดยตรงตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ เป็นลักษณะของการบรู ณาการจึงมีความเหมาะสมโดย 18 รายงานผลการวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรฯู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบศนู ยก์ ารเรยี น

บรู ณาการสาระตา่ ง ๆ เพือ่ การเรียนรแู้ ละบรู ณาการวิธีการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื นาไปสูก่ าร พัฒนาคุณภาพชวี ิตของผ้เู รียนเปน็ องค์รวม 4) หลกั ความสอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รียนและความถนัดของ ผูเ้ รยี น หลกั การนีเ้ ปน็ การส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนร้จู ักความตอ้ งการของตนเอง สามารถจดั การศกึ ษา ใหก้ บั ตนเองได้อยา่ งเหมาะสม ครูการศึกษานอกโรงเรียนมีบทบาทในการสง่ เสรมิ กระบวนการ เรียนรูด้ ว้ ยตนเองของผเู้ รยี น โดยใหผ้ เู้ รียนร่วมกาหนดมาตรฐานและสาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการ เรยี นรู้ การจดั ประเมนิ ผลการเรียนของตนเอง ซงึ่ เป็นกระบวนการศึกษานอกโรงเรียนรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 5) หลกั การเรยี นรู้ร่วมกนั และการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน การเรยี นร้รู ่วมกัน ในกลมุ่ ผ้เู รียนนบั วา่ สาคัญ เปน็ การส่งเสรมิ และสรา้ งกลั ยาณมิตรในกลมุ่ ผ้เู รยี น ก่อใหเ้ กิดความ ร่วมมือ ความผกู พัน เออ้ื อาทร การช่วยเหลือกันและกัน ปลกู ฝังวนิ ัยในตนเอง ฝึกความรับผิดชอบ ซ่ึงเปน็ สิ่งท่คี วรเกดิ ขึ้นสาหรับผเู้ รียนท่ีมวี ฒุ ภิ าวะ ส่วนการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน ก็นบั ว่าเป็น หลักการสาคญั ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ชมุ ชนสามารถเข้ามาร่วมในการจดั ทาหลักสตู ร สถานศกึ ษา การจดั สรรทรพั ยากรเปน็ แหล่งเรยี นรแู้ ละสนับสนุนในเรื่องอ่ืน ๆ เพ่อื ผลิตผู้เรียนให้ เปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของชมุ ชนต่อไป 4.3 ทฤษฎีการเรียนรู้การศกึ ษานอกโรงเรยี น สานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น กระทรวงศึกษาธิการ (2547 : 34 – 35) ได้กล่าวถงึ หลกั การจัดการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ โดยการใช้ทฤษฎี Andragogy ของ Knowles เป็นทฤษฎที ่พี ัฒนาขนึ้ มาจากการศกึ ษาเกี่ยวกบั การเรยี นรขู้ องผใู้ หญ่ ซงึ่ ย้าว่าผใู้ หญ่น้ัน สามารถ เรียนรู้ได้ดว้ ยตนเองและคาดหวังว่าการตัดสนิ ใจเรยี นของผใู้ หญ่จะได้รบั การตอบสนองท่ดี ี ดังนนั้ โปรแกรมการเรียนรขู้ องผใู้ หญจ่ งึ ตอ้ งสอดคล้องเหมาะสมกบั สภาพพืน้ ฐานของผู้ใหญแ่ ตล่ ะคน กล่าวโดยสรปุ แลว้ หลักการสาคญั ของ Andragogy คอื 1) ผูใ้ หญต่ อ้ งการท่จี ะมสี ว่ นเข้าไปเกย่ี วขอ้ งในการวางแผนและประเมินการ จัดการเรียน การสอน 2) ประสบการณแ์ ละความผิดพลาดตา่ ง ๆ นาไปสู่พ้ืนฐานของกจิ กรรมการ เรียนรู้ 3) ผ้ใู หญ่จะใช้เวลาส่วนใหญ่สนใจในการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง อาจมเี พื่อนชว่ ย เรียนและมีใครสกั คน (ครู ฯ) คอยแนะนา 4) การเรยี นรขู้ องผูใ้ หญ่ ยึดปญั หาเป็นศูนยก์ ลางมากกว่าทจ่ี ะมุง่ เนอื้ หา 5) การเรียนรทู้ ่ีดจี ะเกดิ ขึ้นเมอ่ื บทเรยี นสัมพนั ธ์กบั ชวี ิตจรงิ และเรียนรจู้ าก ของจรงิ มากกว่าสง่ิ สมมตุ ิ 19 รายงานผลการวจิ ัยเพือ่ พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรฯู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบศนู ย์การเรียน

4.4 จติ วทิ ยาการเรียนร้กู ารศกึ ษานอกโรงเรียน การจดั กระบวนการเรยี นรูใ้ นทกุ กจิ กรรมของการศกึ ษานอกโรงเรียน จาเปน็ ต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจสภาพธรรมชาตขิ องผเู้ รยี นซงึ่ เป็นกลมุ่ เป้าหมายทีอ่ ยู่นอกระบบ โรงเรยี น และส่วนใหญ่เป็นผ้ใู หญ่ มีความพร้อมและศักยภาพในการเรยี นรู้ที่แตกต่างจาก กลุม่ เปา้ หมายในระบบโรงเรียน การจดั กระบวนการเรียนรูค้ วรคานงึ ถงึ จิตวทิ ยาผู้ใหญ่ ซง่ึ ตอ้ งทา ความเขา้ ใจเก่ยี วกับความคดิ จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรมของผู้ใหญ่ ซึ่งจะมคี วามแตกตา่ งระหว่าง บคุ คล มีความสนใจ มลี กั ษณะการเรียนรู้เฉพาะตน เพื่อผู้ท่จี ะจัดการศึกษาสามารถดาเนนิ การจดั การศึกษาสาหรับผ้ใู หญไ่ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ซึง่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2547 : 36 – 41) กลา่ วถึง ขอ้ ควรคานงึ ถงึ ในการสอนผใู้ หญ่ การแสดงออก ของผูใ้ หญ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้ผใู้ หญ่ ปญั หาหรืออุปสรรคตอ่ การเรียนรูข้ องผู้ใหญ่ และ แนวทางแก้ไขอุปสรรคการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ไวด้ งั น้ี 4.4.1 ข้อควรคานึงถงึ ในการสอนผใู้ หญ่ ในการจัดการเรียนการสอนให้แกผ่ ใู้ หญซ่ งึ่ นับอายุต้ังแต่ 16 ปขี ึ้นไปและสว่ น ใหญเ่ ป็นผทู้ ี่มีอายุเลยวยั การศกึ ษาภาคบงั คบั ไปแลว้ สิ่งท่ีควรคานึงถึงคือลักษณะทวั่ ไปของผู้ใหญ่ ซ่ึงจะมลี ักษณะทพี่ บเห็นได้โดยทัว่ ไป ดังน้ี 1) เป็นผู้มีประสบการณ์ชีวติ และการทางาน 2) ขาดความมั่นใจ ไม่คอ่ ยกลา้ แสดงออก 3) ไมอ่ ยากเขา้ สังคมกบั คนอืน่ ทแี่ ตกตา่ งไปจากพวกของตวั เพราะมกั จะ คดิ วา่ ตัวเองมีปมดอ้ ย 4) เรยี นร้ใู นสงิ่ ที่ใกล้ตัวไดด้ ี เรียนและนาไปใช้ได้ทันที 5) ไม่ชอบบรรยากาศแบบช้นั เรียน เพราะอาจจะไมม่ เี วลา หรือมคี วามฝัง ใจทีไ่ ม่ดี 6) ไม่ชอบถกู สอน ชอบการแนะนาหรอื ดตู วั อย่าง 7) ไม่ชอบการตาหนิ ชอบการยกยอ่ งชมเชยใหเ้ กยี รติ 8) มคี วามกงั วลในภารกจิ ของตนเอง เพราะเก่ียวข้องกับชวี ติ และปากทอ้ ง 9) ปรับตัวยากในภาวะท่ีไม่ค้นุ เคย 10) ใชเ้ วลาในการสร้างความคุ้นเคยกับเพอ่ื นผู้เรยี นมาก 11) ไมช่ อบการทดสอบหรอื ลองภูมิ 12) มคี วามสามารถในการใชภ้ าษานอ้ ย เพราะการทางานสว่ นใหญ่ไม่ ส่ือสารกับเอกสาร 13) ชอบความจริงใจ มเี หตผุ ล ยุตธิ รรม 20 รายงานผลการวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนย์การเรยี น

14) จะเรยี นรู้ไดด้ จี ากของจริง หรอื ประสบการณ์ตรง 15) ต้องการเหตผุ ลและคาอธบิ ายจนกว่าจะพอใจมากกวา่ ส่งั ให้เช่อื 4.4.2 การแสดงออกของผู้ใหญ่ ผูใ้ หญส่ ว่ นมากจะมกี ารแสดงออก ดังน้ี 1) มคี วามประหมา่ กลวั ผดิ ขาดความมน่ั ใจเมอ่ื ตกอยูใ่ นภาวะที่ไมค่ ้นุ เคย 2) มีประสบการณ์ ตดั สนิ ใจดีกว่าเด็ก 3) ไม่ชอบการตาหนิ ดูหม่นิ และการแสดงตวั ตอ่ ชมุ ชน 4) ไมช่ อบการถูกบังคับจนกว่าจะพอใจท่จี ะแสดงออกดว้ ยตนเอง 5) ไม่ชอบการเข้มงวดเอาจรงิ เอาจงั 4.4.3 การจดั กระบวนการเรียนรูใ้ ห้ผใู้ หญ่ ในการจดั กระบวนการเรียนรใู้ หผ้ ูใ้ หญ่ ควรคานึงในส่งิ ตอ่ ไปน้ี 1) สร้างบรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ และกระต้นุ ใหอ้ ยากเรียนรอู้ ยา่ ง แท้จริง 2) จัดโครงสร้างหรือกลไกสาหรับการวางแผนการเรยี นรรู้ ่วมกนั 3) วเิ คราะหค์ วามต้องการเรยี นรู้ของผู้เรยี น และจดั บทเรียนให้สอดคลอ้ ง 4) กาหนดวัตถุประสงค์ เน้ือหาท่สี นองตอ่ ความต้องการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 5) ออกแบบประสบการณเ์ พอื่ การเรียนรขู้ องผ้เู รียน โดยคานึงถงึ จติ วทิ ยา ผูใ้ หญ่ 6) ดาเนนิ การใหเ้ กิดประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวธิ ีการและสื่ออุปกรณท์ ่ี เหมาะสม เน้นให้รู้จรงิ รู้อย่างลึกซง้ึ 7) ประเมนิ ผลการเรียนรูแ้ ละวิเคราะห์ความตอ้ งการเรยี นรู้อีกครั้ง เพ่ือดู วา่ ความตอ้ งการเรียนร้นู นั้ ๆ ไดร้ ับการตอบสนองหรอื ไม่ เน้นให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการรับรู้ดว้ ย 8) เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นและเนน้ กระบวนการคดิ เป็น 9) อธิบาย สาธติ ง่าย ๆ และชัดเจน เน้นของจริงและใกลเ้ คียงกับ ประสบการณ์ 10) เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงออกอยา่ งเต็มท่ี ใหอ้ สิ ระในการตดั สนิ ใจ ของตนเอง 11) ละเวน้ การลงโทษ ทงั้ ทางตรง และทางออ้ ม แต่ตอ้ งอธิบายให้เขา้ ใจ เหตุผล 12) จะต้องมีการวางแผน ปฏบิ ตั ิ และประเมนิ ผลอย่างชดั เจนร่วมกันกับ ผูเ้ รยี น 21 รายงานผลการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรูฯ้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียน

13) กิจกรรมเน้อื หาตรงตามความต้องการและเปน็ เร่ืองใกลต้ ัว 14) สง่ เสริมให้เรียนรูด้ ้วยตนเอง หรืออาจจัดกลมุ่ เล็ก ๆ ชว่ ยกันเรียน 15) เน้นให้นาความรู้ทไ่ี ด้รับไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริงและการทางานไดด้ ้วย 4.4.4 ปญั หาหรอื อุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ของผูใ้ หญ่ จากการศกึ ษาพบว่าสงิ่ ทเี่ ป็นปญั หาหรอื อปุ สรรคตอ่ การเรียนรขู้ องผ้ใู หญ่ ประกอบดว้ ย 1) ประสบการณ์เดมิ 2) ขาดความเชอ่ื มั่นในตัวเอง 3) ขาดแรงจูงใจในการเรียน 4) กลัวตอ่ การเปล่ียนแปลง 5) ความกลวั ความล้มเหลวจากการเรียน 6) ความเชอ่ื ผดิ ๆ ทีว่ ่าผใู้ หญไ่ มส่ ามารถเรียนได้ 7) การขาดความสนใจ 4.4.5 แนวทางแก้ไขอุปสรรคการเรยี นรูข้ องผ้ใู หญ่ 1) ต้องสร้างความเช่อื ม่นั ในศกั ยภาพของผูเ้ รียนว่าเขาสามารถทาอะไร ด้วยตนเองได้หลายอย่างในชีวติ รวมทง้ั การเรียนด้วย หากเขาเชื่อมน่ั ในตวั เอง 2) ต้องกระตุ้นใหเ้ กดิ แรงบันดาลใจ ความต้องการที่จะเรียนรู้ท่ีมากเปน็ พิเศษ กระบวนการคดิ เปน็ เปน็ วธิ ีหนึง่ ท่ชี ว่ ยใหเ้ ขาตัดสินใจได้อยา่ งมเี หตผุ ล 3) ต้องแสดงให้เหน็ ถึงความจาเป็นสาหรับการใชช้ วี ิตในโลกยุคปัจจุบันท่ี เปน็ สงั คมแหง่ ความรู้ และจาเปน็ ต้องเรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ 5. หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใหใ้ ช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เมือ่ วันท่ี 18 กนั ยายน 2551 เป็นหลกั สตู รทีม่ ุง่ จดั การศึกษาเพ่อื ตอบสนองอดุ มการณก์ ารจดั การศกึ ษาตลอดชวี ิต และการสร้างสงั คมไทยใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การ เรยี นรู้ตามปรชั ญา “คดิ เป็น” เพือ่ สร้างคุณภาพชวี ติ และสงั คม มกี ารบรู ณาการอย่างสมดลุ ระหว่าง ปัญญาธรรม ศลี ธรรม และวฒั นธรรม มุ่งสร้างพน้ื ฐานการเป็นสมาชิกท่ดี ีของครอบครวั ชุมชน สงั คม และพฒั นา ความสามารถเพือ่ การทางานทมี่ คี ณุ ภาพ โดยใหภ้ าคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มจดั การศึกษาให้ตรงตามความต้องการของผู้เรยี น และสามารถตรวจสอบไดว้ า่ การศกึ ษานอกระบบ เป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสงั คม สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และรู้เทา่ ทนั การ เปล่ียนแปลง เป็นหลกั สูตรทีม่ คี วามเหมาะสมวอดคล้องกบั สภาพปญั หา ความต้องการของบคุ คลท่ี 22 รายงานผลการวิจัยเพือ่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนร้ฯู โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรยี น

อยนู่ อกระบบโรงเรยี น ซ่ึงเปน็ ผ้มู ีความรู้ ประสบการณจ์ ากการทางาน และการประกอบอาชพี โดย การกาหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล ให้ ความสาคญั กับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายดา้ นจิตใจใหม้ ีคุณธรรมควบคไู่ ปกับพัฒนาการเรยี นรู้ สรา้ ง ภมู คิ ุ้มกนั สามารถจดั การกบั องค์ความรู้ ท้งั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และเทคโนโลยี เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน สามารถปรบั ตัวอยใู่ นสงั คมท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมคิ ุ้มกันตามแนวปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง รวมทัง้ คานึงถึงธรรมชาติการเรยี นรูข้ องผู้ทอ่ี ยนู่ อกระบบ และสอดคลอ้ งกับ สภาพเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความเจริญกา้ วหน้าของเทคโนโลยีและการส่ือสาร (สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2553 ข: 1) 5.1 หลักการ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดหลกั การไวด้ ังน้ี (สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2553 ข: 1) 1) เป็นหลักสูตรทีม่ โี ครงสรา้ งยดื หยุ่นดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น และ การจัดการเรียนรู้ โดยเน้นการบูรณาการเน้ือหาใหส้ อดคลอ้ งกับวิถีชีวิต ความแตกตา่ งของบุคคล ชมุ ชน และสงั คม 2) สง่ เสริมใหม้ กี ารเทยี บโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3) ส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นได้พฒั นาและเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ โดย ตระหนกั ว่าผ้เู รยี นมีความสาคญั สามารถพฒั นาตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ 4) ส่งเสริมให้ภาคเี ครือขา่ ยมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา 5.2 จดุ หมาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสตปิ ัญญา มคี ุณภาพชีวิตทด่ี ี มศี ักยภาพในการประกอบ อาชพี และการเรียนรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งซงึ่ เปน็ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ตี่ ้องการ จงึ กาหนดจดุ หมาย ดังต่อไปนี้ (สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2553 ข: 2) 1) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดงี าม และสามารถอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่าง สันตสิ ขุ 2) มคี วามรู้พ้ืนฐานสาหรับการดารงชวี ิต และการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง 3) มีความสามารถในการประกอบอาชพี ใหส้ อดคล้องกับความสนใจ ความ ถนัด และตามทนั ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง 23 รายงานผลการวจิ ยั เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรฯู้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนย์การเรียน

4) มที กั ษะการดาเนนิ ชีวติ ทดี่ ี และสามารถจัดการกบั ชวี ิต ชุมชน สังคมได้ อย่างมีความสุขตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) มีความเขา้ ใจประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย ภูมิใจในความเป็นไทย โดยเฉพาะ ภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กฬี า ภูมปิ ญั ญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มัน่ ในวถิ ีชวี ติ และการปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ ทรงเปน็ ประมุข 6) มีจิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์ และพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) เปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถงึ แหลง่ เรียนรู้และบรู ณาการความร้มู าใชใ้ นการพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และ ประเทศชาติ 5.3 กลุ่มเปา้ หมาย กล่มุ เป้าหมายเปน็ ประชาชนท่ีไม่ได้อยใู่ นระบบโรงเรยี น ซง่ึ เปน็ ไปตามมาตรา 5 แหง่ พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พุทธศักราช 2551 ระบุวา่ “เพอ่ื ประโยชนใ์ นการส่งเสรมิ และสนบั สนุนการศึกษาให้บุคคลไดร้ ับการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยอย่างท่วั ถงึ และมีคุณภาพตามกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ โดย ให้บคุ คลซง่ึ ได้รับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานไปแลว้ หรือไมก่ ต็ ามก็มสี ทิ ธไิ ด้รบั การศึกษาในรูปแบบ การศึกษานอกระบบหรอื การศึกษาตามอธั ยาศยั ได้แลว้ แต่กรณี ทง้ั น้ีตามกระบวนการและการ ดาเนนิ การทไ่ี ด้บญั ญัตไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี” (สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั 2553 ข: 2) 5.4 ระดบั การศึกษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 แบ่งระดบั การศึกษาออกเป็น 3 ระดบั คอื ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยแตล่ ะระดับใชเ้ วลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีท่มี กี ารเทยี บ โอน ทัง้ น้ตี อ้ งลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอย่างนอ้ ย 1 ภาคเรียน (สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2553 ข: 2) 5.5 สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดังนี้ 1) สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการเรียนร้ดู ้วยตนเอง การใช้ แหลง่ เรียนรู้ การจัดการความรู้ การคดิ เป็น และการวจิ ยั อย่างงา่ ย 2) สาระความรพู้ ้ืนฐาน เป็นสาระเกี่ยวกบั ภาษาและการสื่อสาร คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 24 รายงานผลการวิจยั เพอ่ื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรฯู้ โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรยี น

3) สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกีย่ วกบั การมองเหน็ ชอ่ งทางและการ ตัดสนิ ใจประกอบอาชพี ทกั ษะในอาชพี การจัดการอาชีพอย่างมคี ุณธรรม และการพัฒนาอาชพี ให้ มีความมนั่ คง 4) สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ เปน็ สาระเก่ยี วกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สขุ ศึกษา พลศกึ ษา และศลิ ปศกึ ษา 5) สาระการพฒั นาสังคม เป็นสาระเกีย่ วกับภมู ศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี หนา้ ที่พลเมอื ง และการพฒั นา ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม 5.6 โครงสร้างหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โครงสร้างหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประกอบดว้ ย 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทกั ษะการเรยี นรู้ ความรูพ้ ืน้ ฐาน การ ประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนนิ ชีวิต และการพฒั นาสังคม ซึง่ แต่ละสาระประกอบดว้ ยรายวิชา บังคับ และรายวชิ าเลอื กตามจานวนหน่วยทก่ี าหนดไว้ ในโครงสร้างรายวิชาบงั คบั ทุกรายวิชา ผู้เรียนต้องลงทะเบียนเรียนตามที่กาหนด ส่วนรายวชิ าเลือกสถานศึกษากาหนดไดต้ ามความ ต้องการ โดยพัฒนาหลกั สูตรขึ้นเองหรือเลอื กใช้จากทีส่ ถานศึกษาอ่นื หรอื ทีส่ ว่ นกลางกาหนด และ ต้องทาโครงงานอย่างนอ้ ย 3 หน่วยกติ นอกจากนีแ้ ตล่ ะระดบั ต้องทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต ซง่ึ เปน็ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่จี ัดขน้ึ ตามเงอื่ นไขการจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพื่อให้ผเู้ รียนได้พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ กาหนดใหผ้ ู้เรียนทุกระดับการศกึ ษาตอ้ งเรยี นรแู้ ละปฏิบัติกิจกรรมจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 100 ชั่วโมง (สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2553 ข: 4) 25 รายงานผลการวิจยั เพื่อพฒั นาการจดั กระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นร้แู บบศนู ยก์ ารเรียน

ตารางท่ี 1 โครงสร้างหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จานวนหน่วยกติ ท่ี สาระการเรียนรู้ ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาต้อนต้น มธั ยมศึกษาตอ้ นปลาย วชิ าบังคบั วชิ าเลอื ก วชิ าบังคบั วิชาเลอื ก วชิ าบังคับ วิชาเลือก 1 ทักษะการเรยี นรู้ 5 5 5 2 ความรพู้ ้ืนฐาน 12 16 20 3 การประกอบอาชพี 8 8 8 4 ทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ 5 5 5 5 การพัฒนาสังคม 6 6 6 รวม 36 12 40 16 44 32 48 หนว่ ยกติ 56 หนว่ ยกติ 76 หนว่ ยกิต กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต 100 ช่วั โมง 100 ชว่ั โมง 100 ชั่วโมง หมายเหตุ วิชาเลอื กในแต่ละระดบั สถานศกึ ษาต้องจัดใหผ้ เู้ รียน เรยี นรู้จากการทาโครงงาน จานวนอย่างน้อย 3 หน่วยกติ 5.7 วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ วิธีการเรียนรูต้ ามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จะมวี ธิ เี ดยี ว คอื วธิ ีเรยี น กศน. ท่สี ามารถจัดการเรียนรูไ้ ดห้ ลายรปู แบบ เช่น การเรยี นรู้แบบพบกลุ่ม การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นร้แู บบทางไกล การเรียนรู้แบบชัน้ เรียน และการเรยี นรแู้ บบอ่ืน ๆ ซึง่ ในแต่ละรายวิชา ผู้เรยี นสามารถเลือกเรียนรูปแบบใดรปู แบบหน่ึง หรอื หลายรปู แบบก็ได้ แต่ทั้งน้ีต้องขน้ึ อยู่กบั ความพรอ้ มของสถานศกึ ษาด้วย (สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2553 ข: 9) 5.8 การจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 เนน้ การจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามปรัชญาพ้นื ฐานของการศึกษา นอกโรงเรยี น “คิดเปน็ ” โดยใช้ขอ้ มูลตนเอง วิชาการ และสภาพแวดล้อมในชุมชน สังคม มา วเิ คราะห์ ตัดสนิ ใจในเรอื่ งท่ตี อ้ งการเรียนรู้ แล้วนาไปประยุกตใ์ ช้ โดยมขี น้ั ตอนในการดาเนินงาน 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นกาหนดสภาพปญั หา/ความต้องการในการเรยี นรู้ 2) ขน้ั แสวงหาขอ้ มูลและ จัดการเรยี นรู้ 3) ข้ันปฏบิ ัติ 4) ขัน้ ประเมินผลการเรยี นรู้ และสรุปเป็นองค์ความรใู้ หม่พร้อม เผยแพร่ (สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2553 ข: 9) 5.9 สอื่ การเรยี นรู้ ในการจดั การเรียนรเู้ น้นให้ผูเ้ รยี นแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยการใช้สือ่ การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ไดแ้ ก่ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ สือ่ บคุ คล ภูมิปัญญา แหลง่ เรียนรทู้ ี่มี 26 รายงานผลการวิจยั เพือ่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนรฯู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบศูนย์การเรยี น

อย่ใู นท้องถน่ิ ชุมชน และแหล่งเรียนรูอ้ ื่นๆ ผู้เรียน ครู สามารถพฒั นาสอื่ การเรยี นรูข้ ้ึนเอง หรือนา สอื่ ต่างๆ ที่มอี ยใู่ กล้ตวั และขอ้ มูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วขอ้ งมาใชใ้ นการเรยี นรู้ โดยใชว้ จิ ารณญาณใน การเลือกใชส้ ่ือต่างๆ ซึง่ จะส่งเสรมิ ให้การเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างมีคณุ ค่า นา่ สนใจ ชวนคดิ ชวนตดิ ตาม เขา้ ใจง่าย เป็นการกระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นร้จู ักวธิ กี ารแสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อยา่ งกวา้ งขวาง ลกึ ซึง้ และต่อเนอ่ื งตลอดเวลา (สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2553 ข: 10) 5.10 การวดั และประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลมี 2 ระดบั คือ (สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2553 ข: 10) 1) การประเมินผลในระดับสถานศกึ ษา เปน็ การดาเนินการวดั และประเมินผล การเรยี นเป็นรายวิชา ประเมินกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และประเมินคณุ ธรรม 2) การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ สถานศึกษาต้องจดั ให้ ผเู้ รยี นเขา้ รับการประเมินในภาคเรียนสดุ ทา้ ยก่อนสอบปลายภาคของภาคเรยี นนน้ั ๆ โดยไม่มผี ลตอ่ การไดห้ รือตกของผู้เรยี น 5.11 การจบหลักสูตร ผู้เรยี นทงั้ ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ และระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มีเกณฑก์ ารจบหลักสตู รในแต่ละระดบั การศึกษา (สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2553 ข: 11) ดงั นี้ 1) ผ่านเกณฑ์การประเมนิ การเรียนรรู้ ายวชิ าในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา ตาม โครงสรา้ งหลกั สตู ร คอื (1) ระดบั ประถมศึกษา ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกติ แบง่ เปน็ วิชาบังคับ 36 หน่วยกิต และวชิ าเลอื กไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต (2) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ไมน่ ้อยกวา่ 56 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชา บงั คับ 40 หนว่ ยกิต และวิชาเลอื กไมน่ อ้ ยกว่า 16 หนว่ ยกิต (3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไมน่ ้อยกวา่ 76 หนว่ ยกิต แบง่ เป็นวชิ า บังคบั 44 หน่วยกติ และวชิ าเลอื กไมน่ อ้ ยกวา่ 32 หน่วยกติ 2) ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) ไมน่ อ้ ยกว่า 100 ชวั่ โมง 3) ผา่ นการประเมินคุณธรรม ในระดับพอใช้ข้ึนไป 4) เข้ารับการประเมินคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ 27 รายงานผลการวิจยั เพอื่ พฒั นาการจดั กระบวนการเรียนร้ฯู โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ยก์ ารเรยี น

6. การสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั การสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั หรอื การจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง หรอื การสอนทม่ี ผี ้เู รียนเปน็ ศนู ย์กลาง (Student centered) เปน็ รูปแบบการสอนในลักษณะทีช่ ว่ ย ใหผ้ เู้ รยี นรูจ้ กั การคิดคน้ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยผสู้ อนจะเป็นผู้กาหนดสถานการณ์ หรอื สภาพแวดลอ้ ม รวมท้ังกาหนดปญั หาทเ่ี ก่ยี วข้องกับสถานการณ์ปัจจบุ นั บูรณาการกบั ความรู้ เนื้อหาวิชาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ซ่ึงการกาหนดสถานการณ์ หรือสภาพแวดล้อมดังกล่าวจะ กระตนุ้ หรอื ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นได้ศึกษา ค้นควา้ ความรู้ การปรกึ ษาหารอื และร่วมกันตดั สนิ ใจ รปู แบบการสอนมีดังตอ่ ไปน้ี (ระววิ รรณ ศรีครา้ มครนั 2545: 119) 1) เริ่มจากผู้สอนกาหนดปญั หา หัวข้อเร่อื งหรือสถานการณท์ นี่ ่าสนใจ ซ่งึ อย่ใู นขอบเขต ของเนือ้ หาวชิ าในหลักสูตรทีจ่ ะตอ้ งศกึ ษา 2) ผเู้ รียนศกึ ษาปัญหา หัวขอ้ เร่อื ง หรือสถานการณ์ โดยการคดิ ค้น แสวงหาความรู้ ด้วย วธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ ศกึ ษาจากตารา สมั ภาษณ์ผู้รู้ หรอื ผ้ทู ่ีเก่ยี วขอ้ ง โดยมีผู้สอนใหค้ าแนะนา ชว่ ยเหลอื ชแี้ นะในการสืบคน้ แหล่งข้อมูล 3) ผู้เรยี นสามารถคน้ พบหลกั การ ขอ้ สรปุ แนวคิดในลกั ษณะของนยั ทั่วไป หรอื ความคดิ รวบยอดของปัญหานน้ั ๆ พิจารณาตัดสนิ ใจ และเสนอผลงานตอ่ เพ่ือน ๆ และผูส้ อน ความเป็นมาของแนวคดิ Carl R. Roger คือผู้คดิ ค้นและใช้คาวา่ “เด็กเปน็ ศูนยก์ ลาง (Child-centred)” เปน็ ครง้ั แรก ในวิธกี ารนีผ้ ูเ้ รยี นจะได้รับการสง่ เสริมใหม้ ีความรับผดิ ชอบและมสี ่วนร่วมเตม็ ทต่ี อ่ การเรยี นรขู้ อง ตน ผ้เู รยี นแตล่ ะคนมคี ุณคา่ สมควรไดร้ บั การเชอ่ื ถอื ไวว้ างใจ แนวทางนี้จงึ เปน็ แนวทางที่จะผลักดนั ผ้เู รียนไปส่กู ารบรรลศุ กั ยภาพของตน โดยสง่ เสรมิ ความคดิ ของผู้เรยี นและอานวยความสะดวกให้ เขาไดพ้ ัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ (วัฒนาพร ระงบั ทกุ ข์ 2542: 4-5) หลักการพนื้ ฐานของแนวคดิ “ผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลาง” 1) ผ้เู รยี นมีบทบาทรบั ผิดชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องตน 2) เน้ือหาวิชามคี วามสาคัญและมคี วามหมายต่อการเรยี นรู้ 3) การเรียนรู้จะประสบผลสาเร็จหากผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 4) สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผเู้ รยี น 5) ครูคอื ผูอ้ านวยความสะดวกและเปน็ แหลง่ ความรู้ 6) ผู้เรียนมีโอกาสเหน็ ตนเองในแง่มุมทแ่ี ตกตา่ งจากเดิม 7) การศึกษา คือ การพฒั นาประสบการณ์การเรยี นรู้ของผูเ้ รยี นหลาย ๆ ด้านพร้อมกันไป 28 รายงานผลการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรฯู้ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศูนย์การเรียน

หลกั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง เพือ่ ให้การเรยี นรเู้ ป็นไปอย่างได้ผล การจัดประสบการณ์การเรยี นร้คู วรยดึ หลักดงั ต่อไปน้ี (วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ 2542: 7) 1) การเรียนรู้เปน็ กระบวนการทค่ี วรเป็นไปอย่างมีชวี ติ ชวี า ดังน้ันผ้เู รยี นจึงควรมี บทบาทรบั ผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน และมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2) การเรยี นรเู้ กิดขน้ึ ได้จากแหลง่ ตา่ ง ๆ กัน มิใช่จากแหลง่ ใดแหล่งหนึง่ เพยี งแหลง่ เดียว ประสบการณค์ วามรูส้ กึ นึกคดิ ของแตล่ ะบคุ คลถือวา่ เปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ทสี่ าคญั 3) การเรียนรู้ที่ดี จะตอ้ งเปน็ การเรยี นร้ทู ี่เกดิ จากการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจด้วยตนเอง 4) การเรียนรูก้ ระบวนการเรียนร้มู คี วามสาคญั 5) การเรยี นรทู้ ่มี คี วามหมายแก่ผูเ้ รียน คือ การเรียนรูท้ ส่ี ามารถนาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวนั การจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง สามารถดาเนินการ ดงั น้ี (สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ม:.ป4.)ป. 1) จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผเู้ รยี น โดยคานึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล โดยผ้เู รียนริเร่มิ การเรยี นรู้ ดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ทเี่ ขา สนใจและถนดั 2) จัดสภาพแวดล้อม จดั สถานการณก์ ารเรยี นรเู้ พือ่ ใหผ้ ้เู รยี นได้เรยี นรู้ 3) จัดกิจกรรมให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรปู้ ระสบการณจ์ ริง ฝกึ การปฏบิ ตั ิทาให้ได้คดิ เป็นทาเปน็ รกั การอา่ นและรู้จกั คิดวเิ คราะห์ และเกดิ การใฝร่ แู้ ละพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง 4) จัดกระบวนการเรียนรแู้ บบผสมผสานสาระความรูด้ ้านต่าง ๆ อย่างสมดลุ และ สอดคล้องกบั สภาพของชุมชน รวมทงั้ ปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นิยมทดี่ งี ามและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 5) สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรรู้ ่วมกนั รวมทั้งการจดั ส่ือการเรยี นและอานวยความ สะดวกเพ่ือใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนร้แู ละมคี วามรอบรู้ รวมทั้งสามารถค้นคว้าวจิ ยั ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 6) สนับสนุนการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ข้นึ ได้ทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มีการประสานความรว่ มมอื กับ เครอื ข่ายทุกฝ่ายเพอื่ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาตามศักยภาพ 7) ผู้เรียนและครูรว่ มกันประเมินการเรียนรู้ และนาผลพฒั นาร่วมกันอยา่ งต่อเนือ่ ง วิธจี ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีกระบวนการท่สี าคญั คือ (สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ม.ป.ป.: 4 - 5) 1) สรา้ งบรรยากาศการเรียนร้ทู ีด่ ี 29 รายงานผลการวิจัยเพอ่ื พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ฯ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นร้แู บบศูนย์การเรียน

2) สนบั สนุนให้ผู้เรยี นทากิจกรรมตามแผนการเรียนท่แี ตล่ ะคนกาหนดไว้ 3) จดั กจิ กรรมเรยี นรตู้ ามแผนทไ่ี ด้เตรียมไว้ 4) ดแู ลใหผ้ ู้เรียนดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ แกป้ ัญหาที่อาจเกดิ ข้นึ 5) อานวยความสะดวกแกผ่ ู้เรยี นในการดาเนินกจิ กรรมการเรียนรู้ 6) สังเกต ให้คาแนะนา ดแู ล เสรมิ แรง ใหก้ าลังใจ และจดบันทกึ พฤติกรรมและ กระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน รวมทั้งเหตกุ ารณ์ทจี่ ะส่งผลต่อการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นทเ่ี กดิ ขนึ้ ขณะ ทากจิ กรรมทุกคร้ังที่มกี ารพบกลมุ่ ได้แก่ (1) ให้ผเู้ รียนแลกเปลยี่ นเรียนร้กู นั (2) ให้คาแนะนา ให้ข้อมลู ตา่ ง ๆ แกผ่ ู้เรียน (3) บันทกึ ปญั หาและข้อขดั ขอ้ งตา่ ง ๆ ในการดาเนินกิจกรรมเพือ่ ปรบั ปรุงใหด้ ขี น้ึ ใน คร้ังต่อไป (4) เสริมแรงผ้เู รียนตามความเหมาะสม (5) ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของผเู้ รียนและใหค้ วามรเู้ พิม่ เตมิ ตามความ เหมาะสม (6) ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั กระบวนการเรียนรู้ร่วมกนั การประเมนิ ผล (สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ม.ป.ป.: 5) 1) ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเป็นผูป้ ระเมินตนเองและผเู้ รียนกบั ผ้เู รยี นประเมนิ ร่วมกนั ครู ประเมินผเู้ รยี นและผ้เู กยี่ วข้องเป็นผู้ประเมนิ 2) ประเมินผลการเรียนรตู้ ามกระบวนการเรียนรู้/ประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และประเมินทักษะทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 3) มกี ารประเมินอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดเวลา เพ่อื พฒั นาปรับปรุงใหด้ ขี ึน้ โดยถอื ว่าการ ประเมินเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ลักษณะของการจดั การเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มดี ังนี้ (สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ม.ป.ป.: 5) 1) ผู้เรียนวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง 2) ผ้เู รียนได้เรียนรู้ตรงกับความตอ้ งการ ความสนใจและความถนัดของตนเอง 3) ผเู้ รียนสามารถคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ 4) ผู้เรียนสามารถแสดงออกอย่างอสิ ระ 5) ผเู้ รยี นไดเ้ ปน็ ผูป้ ฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง 6) ผู้เรยี นได้เรยี นร้จู ากสภาพจรงิ และไดร้ บั ประสบการณ์ตรง 30 รายงานผลการวิจยั เพอ่ื พฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรูฯ้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบศนู ย์การเรยี น

7) ผ้เู รียนไดใ้ ชส้ อ่ื ต่าง ๆ เพ่ือการเรยี นรู้ 8) ผเู้ รียนได้แลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ว่ มกบั ผู้อ่ืน 9) ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้อย่างมคี วามสขุ 10) ผเู้ รียนสามารถนาความร้ไู ปใชใ้ นการดารงชวี ติ และพฒั นาความเปน็ อยู่ใน ชีวิตประจาวนั ตวั บ่งช้ีการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง ศนู ย์พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน (พ.ค.ร.) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา แหง่ ชาติ ได้พัฒนาตัวบ่งช้กี ารเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นศูนยก์ ลางขน้ึ โดยกาหนดตัวบ่งชกี้ าร เรียนของผู้เรียน 9 ข้อ และตัวบง่ ช้กี ารสอนของครู 10 ขอ้ เปน็ เครือ่ งตรวจสอบวา่ เมอื่ ใดกต็ ามท่ี เกิดการเรียนหรือการสอนตามตวั บง่ ชเี้ หลา่ นี้ เมอื่ นั้นไดเ้ กดิ การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางแล้ว ดังน้ี (วัฒนาพร ระงับทกุ ข์ 2542: 8-10) 1) ตวั บง่ ชก้ี ารเรยี นของผู้เรียน (1) ผู้เรียนมีประสบการณต์ รงสมั พนั ธก์ บั ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (2) ผู้เรียนฝึกปฏิบตั ิจนค้นพบความถนดั และวธิ ีการของตนเอง (3) ผู้เรยี นทากิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรจู้ ากกลุ่ม (4) ผูเ้ รยี นฝึกคดิ อย่างหลากหลายและสรา้ งสรรคจ์ นิ ตนาการ ตลอดจนไดแ้ สดงออก อยา่ งชดั เจนและมเี หตุผล (5) ผู้เรียนได้รบั การเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แกป้ ัญหา ทัง้ ดว้ ยตนเอง และร่วม ดว้ ยชว่ ยกัน (6) ผเู้ รียนได้ฝึกคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มลู และสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง (7) ผเู้ รียนไดเ้ ลอื กทากจิ กรรมตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ ตนเองอยา่ งมคี วามสุข (8) ผเู้ รียนฝกึ ตนเองใหม้ ีวินัยและมคี วามรบั ผดิ ชอบในการทางาน (9) ผู้เรียนฝกึ ประเมนิ ปรับปรุงตนเองและยอมรบั ผูอ้ ่นื ตลอดจนสนใจใฝห่ าความรู้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง 2) ตวั บ่งชก้ี ารเรยี นของครู (1) ครูเตรยี มการสอนทั้งเนอ้ื หาและวิธกี าร (2) ครูจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศท่ีปลุกเร้า จูงใจ และเสรมิ แรงใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ (3) ครูเอาใจใสผ่ เู้ รยี นเป็นรายบุคคล และแสดงความเมตตาผเู้ รียนอย่างท่วั ถึง (4) ครูจดั กิจกรรมและสถานการณใ์ หผ้ ูเ้ รยี นได้แสดงออกและคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ 31 รายงานผลการวจิ ยั เพื่อพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรูฯ้ โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบศนู ย์การเรยี น

(5) ครสู ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนฝกึ คิด ฝกึ ทา และฝึกปรับปรุงตนเอง (6) ครูสง่ เสรมิ กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรจู้ ากกลุ่ม พร้อมท้ังสงั เกตสว่ นดี และ ปรบั ปรุงสว่ นดอ้ ยของผเู้ รียน (7) ครูใช้ส่ือการสอนเพ่ือฝกึ การคิด การแกป้ ญั หา และการคน้ พบความรู้ (8) ครใู ช้แหลง่ เรียนร้ทู ี่หลากหลายและเชอ่ื มโยงประสบการณ์กบั ชีวิตจรงิ (9) ครูฝกึ ฝนกิริยามารยาทและวนิ ยั ตามวถิ ีวัฒนธรรมไทย (10) ครูสงั เกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง กล่าวโดยสรุป การจัดการเรียนร้ทู เ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ จึงเปน็ การจัดการเรียนรูใ้ น ลักษณะทผี่ ู้เรียนตอ้ งรู้จกั การคดิ ค้น แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เช่น ศกึ ษาจาก ตารา สัมภาษณ์ผรู้ ู้ หรอื ผู้ท่เี กยี่ วขอ้ ง โดยมผี ้สู อนเปน็ ผอู้ านวยความสะดวก ให้คาแนะนา ช่วยเหลือ ชแี้ นะในการสืบค้นแหลง่ ข้อมูล และเปน็ แหลง่ ความรู้ ตลอดจนเปน็ ผูก้ าหนด สถานการณ์ หรือสภาพแวดล้อม รวมทงั้ กาหนดปญั หาทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับสถานการณป์ จั จบุ นั บรู ณา การกับความรเู้ นอ้ื หาวิชาที่กาหนดไว้ในหลกั สตู ร เพือ่ กระต้นุ หรือส่งเสริมให้ผ้เู รยี นได้ศึกษา ค้นควา้ ความรู้ ปรึกษาหารือกัน และรว่ มกนั ตัดสนิ ใจ จนค้นพบความรแู้ ละสรุปเปน็ องค์ความรไู้ ด้ ดว้ ยตนเอง ประเภทการสอนท่ีมีผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลาง การสอนทม่ี ีผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลางสามารถแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ตามลักษณะของการ จดั การเรียนการสอนดงั ตอ่ ไปนี้ (ระวิวรรณ ศรคี รา้ มครัน 2545: 120) 1) การสอนตามเอกัตภาพ (Individualized Instruction) การสอนตามเอกตั ภาพ หมายถงึ การจัดการเรียนการสอนสาหรับผเู้ รียนแตล่ ะคน ซง่ึ จะได้รับการสอนตามแผนการสอนทีก่ าหนดไว้ สอดคล้องกบั ระดับความรู้ ความสามารถ ความ สนใจและความตอ้ งการของตนเอง การจดั การสอนในลักษณะดังกลา่ วมีอยู่หลายแบบ โดยการใช้ เคร่อื งมอื ประกอบการสอน ผ้เู รียนอาจจะเรียนเปน็ รายบคุ คล เปน็ กลุ่มเล็กหรือกล่มุ ใหญ่ แตเ่ นน้ การจัดการเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสมกบั ระดับความรู้ ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน การจัดการเรยี นการสอนให้ผูเ้ รียนได้เรียนตามเอกัตภาพ หรอื ตามความสามารถของ ตนเอง มีแนวคิดท่ีสอดคล้องกบั การจัดการเรียนการสอนท่คี านึงถงึ ความแตกต่างของแต่ละบคุ คล เน่อื งจากในช้นั เรียนหน่งึ ๆ จะมผี เู้ รียนซึง่ มีความสามารถแตกต่างกัน รว่ มกนั เรยี น ดังน้นั จึงเปน็ การเหมาะสมทผ่ี ู้สอนจะได้พิจารณา และศึก ษาผู้เรียนเปน็ ราย ๆ ไป และจัดการเรียนการสอน หรือจดั ใหม้ ีบทเรียนเฉพาะเพอื่ สอนเสรมิ ให้แก่ผ้เู รยี นท่ีมีลักษณะเดน่ หรือด้อย ซ่งึ แตกตา่ งไปจาก กล่มุ โดยให้ผเู้ รยี นได้เรียนตามระดบั ความสามารถของตนเอง 32 รายงานผลการวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการจัดกระบวนการเรียนร้ฯู โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบศนู ยก์ ารเรียน

การจดั การเรียนการสอนให้ผู้เรยี นได้เรยี นตามเอกัตภาพ จะสามารถพัฒนาขดี ความสามารถของผู้เรียนได้ตามศักยภาพของแต่ละคน และใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษาในปรมิ าณท่ี สอดคล้องตามทีห่ ลกั สตู รกาหนด รวมท้งั เปน็ การใหก้ ารศกึ ษาแกผ่ ู้เรยี นในแนวกวา้ งตามความ สนใจและความตอ้ งการของผู้เรียน หรืออาจกล่าวได้วา่ เป็นการจดั การศกึ ษาเพือ่ เพิ่มคุณภาพชีวติ ใหแ้ ก่ผ้เู รยี นด้วย ซ่ึงผูเ้ รียนจะสามารถศกึ ษาไดด้ ้วยตนเองไมจ่ ากัดระยะเวลา และคานงึ ถึงสถานท่ที ี่ จะศึกษา การจัดการสอนตามเอกัตภาพ ส่วนมากผสู้ อนจะจดั สร้างเครื่องมอื ใหผ้ ้เู รียนไดศ้ กึ ษา ความร้ตู ามระดับความสามารถ และความสนใจของผู้เรยี น เพื่อให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนเป็นรายบคุ คลจะ มลี กั ษณะเฉพาะ และชอื่ เรียกตา่ ง ๆ ดงั น้ี (1) บทเรยี นแบบโปรแกรม (Programmed instruction) (2) เครื่องมือช่วยสอน (Teaching machine) (3) คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer-assisted instruction) (4) ชดุ การเรยี นการสอนเป็นรายบุคคล (Personalized-system of instruction) การจัดรปู แบบการเรียนการสอน หรอื การจดั บทเรยี นสาหรับให้ผเู้ รียนได้เรียนตาม เอกตั ภาพจงึ ตอ้ งมีลักษณะเฉพาะ และควรประกอบดว้ ยลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ (1) การประเมนิ ผลกอ่ นการเรยี น (pretest) (2) กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (instructional objectives) (3) จดั เนอื้ หาวชิ าให้ผ้เู รยี นสามารถเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง (the pace of learning) (4) กาหนดกิจกรรมในการเรยี น (the activity or the material) (5) การใชภ้ าษา (reading skill) (6) การประเมินผล (Evaluation) การจดั การเรียนการสอนโดยให้ผเู้ รยี นได้ศกึ ษาเป็นรายบุคคลตามระดบั ความสามารถและความสนใจชั้นเรยี นนน้ั จะมลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกับการสอนโดยตรง โดยผเู้ รยี นจะ ศึกษาและไดร้ ับความรจู้ ากเอกสาร หรือเครอ่ื งมือตา่ ง ๆ ผ้สู อนจะเป็นผ้สู นับสนุนใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษา และคน้ ควา้ เพ่มิ เตมิ โดยการถามคาถาม จัดกจิ กรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ ง หรอื ใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาตามใบงาน ของผสู้ อน จากการวิจัยพบวา่ การสอนเปน็ รายบุคคลไม่มปี ระสิทธภิ าพสูงกว่าการเรยี นการสอน ในช้นั เรียนธรรมดา สาหรับนักเรยี นในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา แตจ่ ะใหผ้ ลมากกวา่ ใน ระดับอดุ มศกึ ษา นอกจากน้นี ักเรียนทีม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการเรยี นจะสามารถเรยี นไดด้ ีกว่า นกั เรยี นที่ไม่ไดร้ บั การสอน หรอื การอธบิ ายโดยตรงจากครู และครจู ะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเตรียม 33 รายงานผลการวิจัยเพ่ือพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ฯ โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรียนรูแ้ บบศูนย์การเรยี น

หรือกาหนดกิจกรรม และตรวจงานทีน่ ักเรียนทา ใชเ้ วลาเพยี งส่วนน้อยในการสอนเท่าน้ัน การสอน เป็นรายบคุ คลทม่ี ีประสทิ ธภิ าพน้ัน จะตอ้ งประกอบดว้ ยเครอื่ งมือท่ใี ช้ในการสอนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สงู สอดคลอ้ งกบั ระดบั ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน ผเู้ รียนสนใจที่จะศึกษาด้วยตนเองและ ผ้เู รยี นมเี วลาเพียงพอทจ่ี ะศึกษาจากเอกสาร หรือเครอ่ื งมือดังกลา่ ว 2) การสอนโดยออ้ ม (Indirect Instruction) การสอนโดยอ้อมเป็นการสอนท่ีเนน้ กิจกรรม มุ่งให้ผเู้ รยี นมที ักษะในการคดิ เปน็ รายบุคคล หรือในลักษณะกลุม่ โดยร่วมกนั คิดและทางานในลกั ษณะกลุ่ม สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมีความ พร้อม มปี ระสบการณ์ และมีความรบั ผดิ ชอบในการแสวงหา ค้นพบความรู้ หรอื แนวคิดใหม่ตามที่ สนใจ รวมทง้ั สามารถสรุปเป็นข้อความ หรือแนวคดิ เพือ่ นาเสนอตอ่ ผู้อนื่ ได้ ซึง่ ครูจะเป็นพยี งผู้ เรม่ิ ต้นในการกาหนดคาถาม ปัญหา กาหนดสถานการณ์ กระตนุ้ ความคดิ ความใคร่รู้ของผ้เู รียนให้ สนใจแสวงหาความรู้ ข้อเทจ็ จรงิ หรอื วิธีการแก้ปญั หา รวมท้งั ใหค้ าแนะนาในการแสวงหาความรู้ จนผเู้ รียนสามารถศึกษาและแสวงหาขอ้ เทจ็ จริงได้ รผู้ ลของการศกึ ษาในเรือ่ งนนั้ ๆ สร้างแนวคิด ใหม่ และแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างประสบความสาเร็จ ดังน้นั ลักษณะการสอน ผู้สอนจะไม่บอกหรือ อธบิ ายให้ความรู้โดยตรงแก่ผู้เรยี น แตจ่ ะส่งเสริมให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้ หรอื มีความรู้จากการแสวงหา คิดคน้ และศึกษาวธิ กี ารแกป้ ัญหาด้วยตนเอง ในลักษณะของการเรียนแบบกลุ่มหรือเปน็ รายบคุ คล การสอนโดยออ้ ม จะสนับสนนุ ผู้เรยี นใหม้ สี ว่ นร่วมในกระบวนการเรยี นการสอน โดย นาเนื้อหาวิชาในหลกั สูตรทีผ่ เู้ รียนจะตอ้ งเรียนรมู้ าบรู ณาการกับความสนใจ ความตอ้ งการท่จี ะ คดิ คน้ ในการแก้ปญั หา และความต้องการท่ีจะสารวจของผูเ้ รยี น นามาเปน็ สว่ นในการกาหนด ปญั หา หัวข้อเรื่อง หรือสถานการณ์ให้แกผ่ ูเ้ รียน ซึง่ จะสนับสนุนให้ผู้เรยี นมที กั ษะในการคดิ คน้ ปัญหา ร้จู ักการตดั สินใจเลือกขอ้ มูลอยา่ งมเี หตผุ ล มีความคิดสรา้ งสรรค์ มอี ิสระในการเรยี น สาหรบั ความรู้ทผ่ี ้เู รยี นไดร้ บั จะอย่ใู นลักษณะของประสบการณ์ การเข้าใจหลกั การและแนวคิด อยา่ งแท้จรงิ ผ้เู รียนสามารถเก็บสะสมความรไู้ ดน้ านกวา่ การทอ่ งจา การจดั การเรยี นการสอนนยิ ม ใชก้ ารวางแผนการสอนในลักษณะของหนว่ ยการสอน เน่อื งจากต้องใชเ้ วลาในการดาเนนิ กิจกรรม การสรปุ ผล การเสนอความคิดเห็น และขอ้ เทจ็ จรงิ รวมท้ังจัดให้เรียนในลกั ษณะของกลุ่ม เพ่อื ให้ ผ้เู รียนรู้จกั การเรยี นร่วมกนั ร่วมมือกนั ทางาน ตวั อย่างของรปู แบบการสอนโดยทางอ้อมมี ดังตอ่ ไปน้ี  การสอนแบบสบื หาความรู้ (Inquiry Model) การสอนแบบสืบหาความรู้ พัฒนาโดย Richard Suchman ซงึ่ จะส่งเสรมิ ให้ ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ โดยใหม้ ีทกั ษะและมีความเขา้ ใจในลักษณะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific process) มีทักษะในการคดิ อยา่ งมีระบบ รจู้ กั คิด วิเคราะห์ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เม่ือ ผเู้ รยี นถกู กระต้นุ หรอื เรา้ ความสนใจในปญั หา หรอื หัวข้อเรอ่ื งทีค่ อ่ นข้างยาก ท้าทายความสามารถ 34 รายงานผลการวจิ ยั เพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรียนร้ฯู โดยใช้รปู แบบการจัดการเรียนร้แู บบศูนยก์ ารเรยี น

และความสนใจ ซงึ่ การพัฒนาความคดิ ของผเู้ รยี นจะเพมิ่ มากขึน้ เมอื่ ได้รับฟังแนวคดิ ของผ้อู ืน่ ร่วมด้วย ลักษณะของการสอนจะใช้ทกั ษะในการถามคาถาม เพื่อกระต้นุ ให้ผู้เรยี นสนใจ ทจ่ี ะสืบหาความรู้ในหัวขอ้ เรอ่ื งท่กี าหนด และรบั ผิดชอบในการศกึ ษาหาความรดู้ ้วยตนเอง บทบาท ครจู ะเปน็ เพียงผู้ให้คาแนะนา อานวยความสะดวก ให้ขอ้ คดิ เหน็ ในเรอ่ื งทวั่ ๆ ไป เพ่ือให้ผู้เรยี นได้ สบื หา หรือคน้ พบข้อมูลภายใตค้ าแนะนาของผู้สอน และการสบื หาขอ้ มลู โดยอสิ ระ ซงึ่ แนวทางการ เรียนเริ่มจากผูส้ อนให้คาแนะนาจนผูเ้ รียนสามารถที่จะวเิ คราะห์ข้อมูลตา่ ง ๆ ท่ีได้มา มคี วาม ชานาญ และมีความสามารถแล้ว ผู้เรียนจงึ จะสบื หาข้อมูลโดยอสิ ระต่อไป แนวคดิ สาคญั ในการ สอนแบบสืบหาความรู้นีต้ ะอยทู่ ีก่ ารมอบงาน (assigned questions) ใหผ้ เู้ รียนตอบคาถามของครู โดยกาหนดการเขียนในลักษณะการรายงาน เน้นและสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมปี ระสบการณใ์ น กระบวนการแสวงหาความรู้ คิดค้นหาคาตอบ มากกวา่ ตวั คาตอบเอง  การสอนแบบคน้ พบ (Discovery Learning Model) การสอนแบบคน้ พบ เปน็ การสอนที่มุ่งให้ผเู้ รียนรจู้ กั การใช้ความคิดอยา่ งมี เหตผุ ล ซง่ึ Jerome Bruner ได้ศกึ ษาและวจิ ยั เก่ียวกับการพัฒนาความสามารถในด้านการคิดของ ผเู้ รียน โดยเน้นความเขา้ ใจของผู้เรยี น ซึ่งเป็นการเข้าใจในด้านลักษณะของโครงสรา้ ง ความสัมพันธ์หรอื รูปแบบของสิ่งทีไ่ ด้เคยเรียนมาแล้ว และจะทาใหผ้ ู้เรียนสามารถค้นพบ เข้าใจ ความรหู้ รือแนวคิดในเร่ืองอ่ืน ๆ ทสี่ มั พันธก์ ันได้ การสอนเพ่อื ให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ด้วยการค้นพบน้ันสามารถแบง่ ออกได้ เป็น 3 ระดบั คอื ระดบั ที่ 1 ผเู้ รยี นสามารถค้นพบความรภู้ ายใต้คาแนะนาของผู้สอน ซงึ่ ผสู้ อน จะเสนอปญั หา หรือพจิ ารณาปญั หาจากหนังสือแบบเรยี น รวมทัง้ เสนอแนวทางการค้นหาความรู้ จากหนังสอื แบบเรียน สาหรับผเู้ รยี นจะเปน็ เพียงผู้พจิ ารณาตดั สนิ ใจเลือกข้อมลู ทถ่ี ูกตอ้ ง หรอื เสนอแนวคิดเพอื่ นามาใชแ้ กป้ ญั หาต่าง ๆ เทา่ นนั้ ระดบั ที่ 2 ผสู้ อนจะเป็นผูเ้ สนอปญั หา หรือนาเสนอปญั หาจากหนงั สอื แบบเรยี น สาหรบั แนวทางการพจิ ารณากระบวนการแกป้ ญั หา การศกึ ษา และการคน้ คว้า จะเป็น หนา้ ทีข่ องผู้เรยี น รวมทั้งแนวทางการตัดสนิ ใจเลือกขอ้ มูลและการเสนอแนะแนวทางการแก้ปญั หา ดงั กลา่ วด้วย ระดับที่ 3 ผเู้ รยี นจะศึกษาและค้นพบความร้โู ดยอสิ ระ สาหรบั ในกรณีนี้ ผเู้ รยี นจะเป็นผู้สนใจปญั หา เสนอปัญหาต่าง ๆ ท่ตี นสนใจ พิจารณา และดาเนนิ การกระบวนการ แกป้ ัญหา รวมทั้งตดั สินในเลือกขอ้ มูล และเสนอแนะแนวทางการแก้ปญั หา หรอื แนวความคิด แนวความรู้ใหม่ให้แก่ผสู้ อนด้วยตนเอง 35 รายงานผลการวิจยั เพอื่ พัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นรูฯ้ โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นร้แู บบศนู ยก์ ารเรียน