Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระบรมราโชบายด้านการศึกษา รัชกาลที่ 10

พระบรมราโชบายด้านการศึกษา รัชกาลที่ 10

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-07-17 12:45:58

Description: พระบรมราโชบายด้านการศึกษา รัชกาลที่ 10

Keywords: รัชกาลที่10,กศน.,กศน.เขตหนองแขม,อ.บุญชนะ

Search

Read the Text Version

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา ในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี

ประเดน็ การนาเสนอ ๑. พระบรมราโชบายท่เี กี่ยวข้องกับการศกึ ษาในสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ฯ ร.๑๐ และพระราชกรณียกิจดา้ นการศกึ ษา ๒. บทบาทของกระทรวงศกึ ษาธิการในการสนองพระบรมราโชบาย

พระบรมราโชบายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาใน สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวฯ ร.๑๐ และพระราชกรณยี กจิ ด้านการศึกษา

พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ในสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร คุณลกั ษณะ คนไทยที่พงึ ประสงค์ พัฒนาระบบ การศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั การศกึ ษา ราชภัฏ กลมุ่ เดก็ ที่ ทรงหว่ งใย เป็นพเิ ศษ

คุณลักษณะคนไทยทีพ่ ึงประสงค์ การศึกษาตอ้ งสรา้ งใหค้ นไทยมคี ณุ สมบัติ ดงั นี้  มีทศั นคติท่ีดีและถกู ตอ้ ง  มพี ้ืนฐานชวี ติ ท่มี ั่นคงเขม้ แข็ง มรี ะเบียบวนิ ยั  มงี านทา – มอี าชพี  เป็นพลเมืองดี

มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยกระดับมหาวิทยาลัยราชภัฏให้ทางานใหเ้ ข้าเป้าในการยกระดับคณุ ภาพ การศกึ ษาและพัฒนาท้องถิ่นในทอ้ งทตี่ น  ตอ้ งวเิ คราะห์ปัญหาและความตอ้ งการของประชาชนในทอ้ งถ่ินดว้ ย  เมอ่ื ตกลงกันแลว้ ให้นายทุ ธศาสตรใ์ หม่มาพฒั นาใช้ และใหป้ รบั ให้ เหมาะสมตามสภาพและประเพณีทอ้ งถน่ิ ด้วย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ๓๘ แหง่ ทั่วประเทศ ผลิตครคู ุณภาพ การศึกษามีคุณภาพ พัฒนาทอ้ งถ่นิ อย่างมีคุณภาพ

พัฒนาระบบการศกึ ษา  พฒั นาคณุ ภาพครู (คุณภาพ)  พฒั นาโรงเรยี น องค์ประกอบการจดั การศกึ ษา • ครู • โรงเรยี น • หลกั สูตรการเรยี นรู้ • ระบบการประเมิน • ระบบ ICT

กลมุ่ เด็กทีท่ รงหว่ งใยเป็นพิเศษ  เด็กแวน๊ ปัญหาสังคมในปัจจบุ ัน  เดก็ ในสลมั  ลกู เสือ ยกระดบั สู่การสรา้ งทศั นคติทีด่ ีและปลกู ฝังระเบยี บวนิ ยั  ร.ด. เพื่อให้เยาวชนเติบโตเป็นพลเมืองดขี องประเทศชาติ

การศึกษา คอื ความมนั่ คงของประเทศ  สร้างคนไทยใหม้ ีคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์  นาองค์ความรู้ไปสกู่ ารพฒั นาทอ้ งถ่ินไดอ้ ยา่ งตรงเปา้ หมาย ตาม ความต้องการของทอ้ งที่ (เกาให้ถูกทีค่ ัน)  พฒั นาระบบการศึกษา คุณภาพครูและโรงเรียน เพื่อถา่ ยทอด ความรู้และทศั นคติที่ดสี ู่ผู้เรียน สรา้ งพ้ืนฐานชีวิตทีม่ ่นั คงสกู่ ารเปน็ พลเมอื งดขี องประเทศ  บรรเทาปัญหาสงั คมในปัจจุบนั โดยการบ่มเพาะเยาวชนใหม้ ี ระเบียบวนิ ัย รกั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์

โรงเรียนท่ีจัดตง้ั ขึน้ ตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ฯ ร.๑๐ ท่ี โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ ร.๑๐ จงั หวัด ๑. มธั ยมพชั รกิตยิ าภา ๑ นครพนม ๒. มธั ยมพชั รกิตยิ าภา ๒ กาแพงเพชร ๓. มธั ยมพชั รกิติยาภา ๓ สรุ าษฎร์ธานี ๔. มธั ยมสริ ิวณั วรี ๑ อดุ รธานี ๕. มธั ยมสิริวณั วรี ๒ สงขลา ฉะเชิงเทรา ๖. มธั ยมสริ ิวณั วรี ๓ กรุงเทพ ๗. ทีปังกรวิทยาพฒั น์ (วดั น้อยใน) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ กรุงเทพ ๘. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (วดั โบสถ์) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ สมทุ รสงคราม ๙. ทีปังกรวิทยาพฒั น์ (วดั ประด)ู่ ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ กรุงเทพ ๑๐. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (ทวีวฒั นา) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ ปทมุ ธานี ๑๑. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (มธั ยมวดั หตั ถสารเกษตร) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ สมทุ รสาคร ๑๒. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถิต) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ ระยอง ๑๓. มกฎุ เมืองราชวทิ ยาลยั นนทบรุ ี ๑๔. อนรุ าชประสทิ ธิ์ ๑๕. ราชปิโยรสา ยพุ ราชานสุ รณ์ น่าน

ทุนพระราชทานในสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวฯ ร.๑๐ นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๒ ทรงมีพระราชดาริให้นาพระราชทรัพย์ส่วน ปัจจบุ ัน มีนักเรียนทุน พระองค์และทรัพย์จากผบู ริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลมาใชให้เกิดประโยชน ใน พระราชทานฯ รวม การเสริมสรางโอกาสทางการศึกษาใหแกเยาวชน ทรงพระราชดําริใหดําเนิน ทั้งสิน้ ๑,๒๒๘ คน โครงการทนุ การศกึ ษา สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และ และอย่รู ะหวา่ งปรบั ทรงจดั ตง้ั เปน “มูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทาน สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร” หรือ ม.ท.ศ. พระราชทานทุนการศึกษาต่อเนื่อง ต้ังแต่ เกณฑ์การรบั มัธยมศึกษาตอนปลายจนกระท่ังจบอุดมศึกษาให แกนักเรียนทุกจังหวัด พระราชทานทนุ ฯ จังหวัดละ ๒ คน และทรงเน้นย้าว่าูู“เม่ือทาโครงการมาแลวูจาเป็นตองศึกษาู สาหรบั ปี ๒๕๖๐ ติดตามูและพัฒนาแผนในการช่วยเหลืออย่างตอเน่ืองูการทางานที่ไดผลูตอง ศกึ ษาขอมลูมีการปรบั แผนใหท้ ันสมยั ูและมีความใสใจท่ีจะทางานตอเนื่อง..”

• สภาพัฒน์ฯ วางแนวทางการปรับเกณฑ์การรับทุน ม.ท.ศ. เพอ่ื สนองพระมหากรุณาธิคุณตาม พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา • คัดสรรนักเรยี นเรียนดี ประพฤติดี และพร้อมต่อการพัฒนาศักยภาพ เข้ารับทุนพระราชทาน เพื่อศึกษาต่อในระดับ ม.ปลาย ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ จนจบอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า โดยไมย่ ดึ สัดสว่ นชายหญงิ และไม่กาหนดสัดส่วนจานวนทนุ แตล่ ะจังหวัด • มุ่งเน้นการเรียนต่อในสาขาท่ีเป็นความต้องการของประเทศ สาขาขาดแคลน สาขาด้าน การเกษตร รวมทั้งสาขาดา้ นความม่นั คงในสายทหาร ตารวจ • มกี ระบวนการพัฒนาศกั ยภาพเพอ่ื คัดกรองขนั้ สุดทา้ ยใหไ้ ดผ้ ู้มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม • บ่มเพาะความมีวินัยและสร้างศักยภาพความสามารถในการเรียนรู้ ทักษะชีวิต และทักษะ อาชพี อยา่ งตอ่ เนื่อง ตลอดเวลาทีไ่ ดร้ บั พระราชทานทุนฯ • ใหม้ ีการทาสัญญารบั ทนุ และชดใช้ทนุ (หากไมป่ ฏบิ ตั ิตามเงือ่ นไขตอ้ งชดใชเ้ งินทนุ ) • สืบสานพระปณิธานในหลวง ร.๙ โดยเพ่ิมเติมกลุ่มนักเรียนในโครงการกอง ทนุ การศึกษา ใหม้ ีโอกาสไดร้ บั ทนุ ตามเกณฑข์ อง ม.ท.ศ.

ดาเนินการเชอ่ื มโยงโครงการกองทุนการศึกษาและ ม.ท.ศ. นักเรยี นทุนกอง 154 คน/ปี ทุนการศกึ ษา คดั เลือกนักเรยี นทุน ม.ท.ศ. จากทัว่ ประเทศ เกรดเฉลี่ย ≥ 3.00 และผ่าน เกณฑ์ ม.ท.ศ. X คน รบั ทนุ ม.ท.ศ. ม.ตน้ จานวนไม่เกนิ 154 คน 154 + X คน ≤ 3.00 • ได้รับการพัฒนาศักยภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง ศกึ ษาต่อ ม.ปลาย/ - เสริมสร้างความแข็งแกรง่ วิชาการ เทียบเท่า - ทักษะชีวติ - ทกั ษะอาชีพ ศึกษาต่อ ป.ตร/ี เทยี บเท่า • จบแล้วมอี าชพี ที่มัน่ คง (มีตาแหนง่ งานราชการรองรับ) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ มนี ักเรียนทุนในโครงการกอง ทุนการศึกษาทผ่ี า่ นเกณฑ์ ม.ท.ศ. จานวน ๒๙ คน

สืบสานพระปณิธานในหลวง ร.๙ ๑. โครงการกองทนุ การศึกษา ๒. มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

๑. โครงการกองทุนการศึกษา • พ.ศ. ๒๕๕๕ ในหลวง ร.๙ พระราชทานเงนิ ส่วนพระองค์เป็นทุนการศกึ ษา เพ่อื พัฒนาคน พฒั นาเยาวชน • ต้องพระราชประสงค์ให้ดาเนินการแบบ “เอกชน” เพ่อื ความคล่องตวั และดาเนนิ การ อยา่ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป โดยมีเป้าหมายท่เี ยาวชนระดบั ประถมฯ มัธยมฯ ท้ังสายสามญั และ สายอาชีวะ • พัฒนาควบคกู่ นั ไปทั้งเยาวชนและโรงเรยี น • พิจารณาเยาวชนท่เี ปน็ คนดี ไมจ่ าเป็นตอ้ งเกง่ แต่ให้มคี ณุ ธรรมจริยธรรม • ใหป้ ระชาสมั พนั ธไ์ ด้บ้าง แต่ไม่มากเกินไป เกรงจะส่งผลกระทบต่อรัฐบาล • พิจารณาเยาวชนด้อยโอกาสก่อน • เรมิ่ จากภาคกลางก่อนเพราะเดนิ ทางไปดูแลได้สะดวก ทาใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ไดง้ ่าย แลว้ คอ่ ยขยายผล • ดาเนินการจากเล็กไปใหญ่ เร่ิมจากเยาวชนท่ไี ด้รับทุนจานวนนอ้ ยแลว้ ค่อยเพิ่มข้ึนใน ภายหลงั ดูโรงเรยี นขนาดเล็กๆ ทีเ่ หมาะสมก่อนจงึ คอ่ ยขยายเพิ่มข้ึนไป

การปรบั ปรงุ การดาเนินงานโครงการกองทุนการศกึ ษา (พ.ศ. ๒๕๖๐) ประธานองคมนตรี ได้มีคาสั่งแต่งตั้งกรรมการโครงการกองทุนการศึกษาขึ้น ใหม่ เพื่อเป็นการปรับปรุงการดาเนินงานโครงการฯ ตามพระราชดาริของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้ สอดคล้องและบูรณาการกับแนวพระราชดาริด้านการศึกษาของสมเด็จพระ เจา้ อยูห่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร - พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี ประธานกรรมการ - พล.อ. สรุยุทธ์ จลุ านนท์ องคมนตรี รองประธานกรรมการ - องคมนตรอี ีก ๑๐ ท่าน - พล.อ. ดาวพ์ งษ์ รตั นสุวรรณ กรรมการ กรรมการและเลขาธกิ าร

สถานะปัจจุบนั มีนกั เรยี นทุน ๒๘๖ คน และมโี รงเรยี นในโครงการฯ ๑๕๕ แหง่ (๓๕ จงั หวดั ) โรงเรียนในโครงการกองทนุ การศึกษา ๑๕๕ แหง่ เป็นโรงเรยี นสายสามญั ๑๔๓ แห่ง สายอาชพี ๑๒ แหง่ ภาคเหนือ (๒๗) ภาคตะวนั ตก (๓๓) ภาคตะวนั ออก (๑๐) แมฮ่ ่องสอน ๒ แห่ง ตาก ๔ แหง่ ฉะเชงิ เทรา ๕ แห่ง เชียงใหม่ ๗ แห่ง กาญจนบุรี ๑๑ แหง่ สระแกว้ ๕ แห่ง เชยี งราย ๒ แห่ง ราชบุรี ๔ แห่ง พะเยา ๓ แหง่ เพชรบรุ ี ๑๑ แห่ง ภาคอสี าน (๔๐) น่าน ๕ แห่ง ประจวบฯ ๓ แหง่ หนองบวั ลาภู ๖ แหง่ แพร่ ๔ แห่ง อุดรธานี ๖ แห่ง อตุ รดติ ถ์ ๓ แห่ง ภาคกลาง (๓๕) สกลนคร ๗ แห่ง สุโขทัย ๒ แห่ง มกุ ดาหาร ๓ แห่ง ภาคใต้ (๑๑) พิษณุโลก ๒ แหง่ บุรีรัมย์ ๔ แหง่ สงขลา ๓ แห่ง กาแพงเพชร ๓ แห่ง สรุ นิ ทร์ ๕ แหง่ ยะลา ๒ แห่ง อุทยั ธานี ๔ แหง่ ศรสี ะเกษ ๓ แห่ง นราธิวาส ๖ แหง่ ลพบุรี ๔ แห่ง อบุ ลราชธานี ๖ แห่ง สุพรรณบุรี ๕ แหง่ กรุงเทพฯ ๖ แหง่ ปทุมธานี ๒ แห่ง สมุทรปราการ ๓ แหง่ อยุธยา ๔ แหง่

๒. มลู นธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม • ก่อตงั้ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๘ เพ่ือเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.๙ เนื่องใน มหามงคลวโรกาสทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงครองสริ ริ าชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในปี กาญจนาภเิ ษก พ.ศ. ๒๕๓๙ • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ร.๙ ได้พระราชทานทนุ ประเดมิ ๕๐ ล้านบาท • มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื แก้ปญั หาการขาดแคลนครู (ครไู มค่ รบชั้น / ไม่ตรงสาขา) • ถา่ ยทอดสด ๑ ชอ่ ง ๑ ชน้ั ป.๑ – ม.๖ การศึกษาทางไกลครบวงจร รวมถงึ ชอ่ งการ อาชีพ ชอ่ งอุดมศกึ ษา และรายการนานาชาติอกี อย่างละ ๑ ชอ่ ง รวมทง้ั สิ้น ๑๕ ชอ่ ง ออกอากาศตลอด ๒๔ ชวั่ โมงเป็นประจาทุกวนั • eLearning (website / mobile application) • eDLTV • พัฒนาครดู ้วยระบบประชุมทางไกลผ่านวดี ทิ ศั น์ (Videoconference)

สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ร.๑๐ ทรงมพี ระมหากรณุ าธิคณุ โปรดเกล้าแตง่ ตงั้ คณะกรรมการบริหาร มลู นิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ประธานกรรมการบรกิ าร ร.ศ. นราพร จันทรโ์ อชา รองประธานกรรมการฝ่ายบรหิ าร มล. ปรยิ ดา ดศิ กลุ รองประธานกรรมการฝา่ ยวิชาการ ร.ศ. สธุ ี อกั ษรกติ ต์ รองประธานกรรมการฝ่ายเทคโนโลยสี อ่ื สาร ร.ศ. ยืน ภู่วรวรรณ รองประธานกรรมการฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ นายอนุสรณ์ ฟูเจรญิ กรรมการบรหิ ารและเลขาธกิ าร นางมณรี ตั น์ สุวนั ทารัตน์ กรรมการบริหารและเหรญั ญิก ศ. ชตุ มิ า สจั จานนท์ กรรมการบรหิ าร ร.ศ. เฉลียวศรี พิบูลชล กรรมการบริหาร ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรรมการบริหาร เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กรรมการบริหาร เลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กรรมการบรหิ าร ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั การอาชพี วังไกลกงั วล กรรมการบรหิ าร ผอู้ านวยการโรงเรยี นวังไกลกงั วล กรรมการบริหาร นางสาวกศุ ลนิ มสุ ิกลุ กรรมการบรหิ าร นางเกศทพิ ย์ ศุภวานิช กรรมการบรหิ าร หวั หนา้ สานักงานมูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม กรรมการบรหิ าร • สานต่อพระราชปณิธานในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ร.๙ • พฒั นาการดาเนนิ งานให้เกดิ ผลสมั ฤทธิ์สอดคล้องตามพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาใน สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯ ร.๑๐

บทบาทของกระทรวงศกึ ษาธิการ ในการสนองพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา

บทบาทของ ศธ. ในการสนองพระบรมราโชบาย • ส่งเสรมิ งานพัฒนาโรงเรยี นท่จี ดั ตัง้ ขึ้นตามพระราชดาริสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ฯ ร.๑๐ • ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ทีจ่ ะสนองพระบรมราโชบาย อย่างจริงจัง • สนับสนนุ โครงการกองทุนการศกึ ษา และ ม.ท.ศ. • สนบั สนนุ งานที่เก่ยี วข้องกับมลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ น ดาวเทยี ม

ส่งเสริมงานพัฒนาโรงเรียนทีจ่ ัดตั้งข้ึนตามพระราชดาริสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ฯ ร.๑๐ ท่ี โรงเรียนในพระบรมราชูปถมั ภ์ ร.๑๐ จงั หวัด สมพระเกียรติ ๑. มธั ยมพชั รกิติยาภา ๑ นครพนม ๒. มธั ยมพชั รกิตยิ าภา ๒ กาแพงเพชร ๓. มธั ยมพชั รกิติยาภา ๓ สรุ าษฎร์ธานี ๔. มธั ยมสิริวณั วรี ๑ อดุ รธานี ๕. มธั ยมสิริวณั วรี ๒ สงขลา ฉะเชิงเทรา ๖. มธั ยมสิริวณั วรี ๓ กรุงเทพ ๗. ทีปังกรวิทยาพฒั น์ (วดั น้อยใน) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ กรุงเทพ ๘. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (วดั โบสถ์) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ สมทุ รสงคราม ๙. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (วดั ประด)ู่ ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ กรุงเทพ ๑๐. ทีปังกรวิทยาพฒั น์ (ทววี ฒั นา) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ ปทมุ ธานี ๑๑. ทีปังกรวทิ ยาพฒั น์ (มธั ยมวดั หตั ถสารเกษตร) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ สมทุ รสาคร ๑๒. ทีปังกรวิทยาพฒั น์ (วดั สนุ ทรสถิต) ในพระราชปู ถมั ภ์ฯ ระยอง ๑๓. มกฎุ เมืองราชวิทยาลยั นนทบรุ ี ๑๔. อนรุ าชประสทิ ธิ์ ๑๕. ราชปิโยรสา ยพุ ราชานสุ รณ์ นา่ น

ดาเนนิ การในโครงการเดมิ ของ ศธ. ทีจ่ ะสนองพระบรมราโชบายอย่างจรงิ จัง ๑. การศกึ ษาต้องสรา้ งคนไทยใหม้ ีทัศนคติทถ่ี กู ต้อง พระบรมราโชบาย โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) โครงการ/กจิ กรรม What to do? โครงการ/กจิ กรรม What to do? สร้างคนไทยใหม้ ีทัศนคติท่ี  ลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้  มี “เมนกู ิจกรรม” ลดเวลา  โรงเรยี นประชารัฐ  สอดแทรกกจิ กรรมทีส่ ง่ ผล สรา้ งคา่ นิยมอาชีวศึกษา DLTV ลพั ธใ์ ห้ผ้เู รยี นมีทศั นคติทดี่ ี ถูกตอ้ ง  ลูกเสอื เรยี นเพ่ิมเวลารู้ในหมวด  ผลิตครูเพ่อื พฒั นาท้องถน่ิ และถูกตอ้ ง โรงเรยี นคุณธรรม เสรมิ สร้างทศั นคตทิ ี่ดใี หแ้ ก่  ราชภฏั เป็นเลิศดา้ นครู - รักชาติ ศาสนา  ปรบั ปรงุ หลกั สูตรพนื้ ฐาน  นักเรียน เพ่อื ใหค้ รนู าไปใช้ กจิ กรรมการเรียนรู้ตาม (เพม่ิ วชิ าประวัตศิ าสตร์) อย่างเต็มกาลงั หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พระมหากษตั ริย์   พอเพียง - เขา้ ใจความสัมพนั ธ์อัน  นกั เรยี นอาชีวศึกษาเปน็ ดงั ผู้  ลึกซงึ้ ของทง้ั ๓ สถาบนั สบื สานพระราชปณิธาน “ผู้ - เมอื่ มคี วามรัก ความ ปิดทองหลังพระ” ในการ เขา้ ใจแล้วจึงจะทาให้ สร้างชาติ การทานุบารุงชาติ  ปรบั ปรงุ กิจกรรมลกู เสือให้ ศาสนา และ พระมหากษัตรยิ ์ เปน็ เนน้ ปลูกฝังทัศนคตทิ ดี่ ี และ หน้าทีข่ องทกุ คน สร้างความภาคภูมิใจในการ เป็นลูกเสือ เปรยี บได้กับ “ยุวทหารของพระราชา” เป็นการฝึกพฒั นาตนเอง และเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการ พัฒนาชาติ  ใหเ้ ด็กได้เรียนรู้ ประวตั ิศาสตร์อย่างลกึ ซึง้ เพ่ือใหต้ ระหนักถงึ ความสาคญั และ ความสัมพนั ธอ์ ย่างลกึ ซงึ้ ของ สถาบนั ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์

ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ท่ีจะสนองพระบรมราโชบายอยา่ งจริงจัง ๒. การศกึ ษาต้องสรา้ งใหค้ นไทยมพี ืน้ ฐานชีวิตทม่ี ัน่ คงเขม้ แข็ง พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) โครงการ/กจิ กรรม What to do? โครงการ/กจิ กรรม What to do? สร้างคนไทยใหม้ ีพื้นฐาน  ลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้  วเิ คราะห์วา่ อะไรบา้ งเปน็  โรงเรยี นประชารัฐ  สอดแทรกกิจกรรมทีส่ ง่ ผล ชีวิตทม่ี ั่นคงเข้มแข็ง  สรา้ งคา่ นยิ มอาชวี ศกึ ษา พนื้ ฐานชีวติ ที่คนไทยต้อง  STEM Education ลพั ธ์ใหผ้ ้เู รียนมีพน้ื ฐานชวี ติ  ลูกเสอื ม/ี ควรมี เชน่ สขุ ภาวะท่ีดี  DLTV ท่มี น่ั คงเข้มแข็ง  กจิ กรรมการเรียนร้ตู าม วฒุ ิภาวะตามวยั ทรี่ จู้ ักคิด  ผลติ ครเู พ่อื พฒั นาทอ้ งถิ่น หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ วิเคราะห์ รจู้ กั สทิ ธแิ ละ  ราชภัฏเป็นเลิศด้านครู พอเพยี ง หนา้ ทีข่ องตน เคารพสทิ ธิ  โรงเรียนดีใกล้บา้ น ของผอู้ น่ื อดทน  โรงเรยี น ICU ขยนั หม่ันเพียร เคารพ  ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตนเอง รักในการใฝ่หา ตามแนวทาง สสวท. และ ความรูเ้ พ่มิ เติมและ สอวน. ประกอบอาชพี สุจริต ฯลฯ  นาผลการวเิ คราะห์ท่ี ได้มาจัดกลมุ่ และ เรียงลาดบั ความสาคัญ และใช้เป็นหมวดกจิ กรรม ในโครงการ โดยกาหนด ในแผนการสอนให้ชดั เจน มี “เมนกู ิจกรรม” ให้ ผสู้ อนนาไปปฎบิ ัติ

ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ทจี่ ะสนองพระบรมราโชบายอยา่ งจรงิ จงั ๓. การศึกษาต้องสรา้ งคนไทยให้มีระเบียบวนิ ัย พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) โครงการ/กิจกรรม What to do? โครงการ/กิจกรรม What to do? สร้ างคนไทยให้ มี  ลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้  มี “เมนกู ิจกรรม” ลด  ราชภฏั เป็นเลศิ ด้านครู  สอดแทรกกิจกรรม ระเบียบวนิ ัย  ลกู เสือ เวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ใน  ห้องเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ เสริมสร้างการมีระเบยี บ ตามแนวทาง สสวท. และ วนิ ยั ให้นกั เรียนนกั ศกึ ษา หมวดปลกู ฝังความมี ระเบยี บวินยั ให้แก่ สอวน. นกั เรียน เพื่อให้ครู  กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั นาไปใช้อยา่ งเตม็ กาลงั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ใช้กิจกรรมลกู เสือในการ  ห้องเรียนกีฬา สร้างระเบียบวินยั ให้ เยาวชน และทาให้ ลกู เสือภาคภมู ิใจใน เกียรตขิ องตน

ดาเนินการในโครงการเดิมของ ศธ. ทจี่ ะสนองพระบรมราโชบายอย่างจริงจัง ๔. การศกึ ษาตอ้ งสร้างคนไทยใหม้ งี านทา – มรี ายได้ พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) โครงการ/กิจกรรม What to do? โครงการ/กิจกรรม What to do? สรา้ งคนไทยใหม้ งี านทา –  สรา้ งคา่ นิยมอาชวี ศึกษา  ต้องดาเนินการโครงการดา้ น  STEM Education  สอดแทรกกิจกรรมส่งเสรมิ มีอาชพี  ทวิศกึ ษา อาชวี ศกึ ษาใหเ้ ข้มขน้ ข้ึน (มี  DLTV อาชีพ และแนะแนวอาชพี  ทวิภาคี วตั ถปุ ระสงคช์ ดั เจนในการ  Boot Camp  อาชวี สู่สากล ยกระดับบัณฑติ ใน  ผลิตครูเพ่ือพฒั นาทอ้ งถิน่  อาชีวศึกษาเป็นเลศิ ตลาดแรงงานอย่แู ลว้ )  ราชภัฏเป็นเลิศ  ผลิตบณั ฑติ ตรงตามสาขา  แผนการผลิตบัณฑิตตาม  ผลติ ครูทอ้ งถิ่น ขาดแคลนของประเทศ แนวโนม้ ตลาดแรงงาน ตอ้ ง  ผลติ ครูระบบปดิ สอดคลอ้ งกบั แนวโน้ม ถูกนาไปใชจ้ รงิ ต่อไปน้ี  หอ้ งเรยี นกีฬา ตลาดแรงงาน (แผนการ ความสาเรจ็ ของ ศึกษาชาติ) มหาวทิ ยาลัยจะไมใ่ ชจ่ านวน  กจิ กรรมการเรียนรตู้ าม บัณฑิตทีผ่ ลติ ได้ แตเ่ ป็น หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ จานวนบัณฑติ ท่ีมงี านทา พอเพียง และควรมีการติดตามบณั ฑติ ในตลาดแรงงานในห้วงเวลา ๓ ปี  ทาใหน้ กั เรียนเข้าใจหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง อย่างลกึ ซง้ึ นาไปประยุกต์ใช้ ไดก้ ับการประกอบอาชพี ได้ ทกุ สาขาและทกุ ระดับ

ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ทจ่ี ะสนองพระบรมราโชบายอย่างจริงจงั ๕. การศกึ ษาตอ้ งสรา้ งให้คนไทยเปน็ พลเมอื งดี พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางออ้ ม) โครงการ/กจิ กรรม What to do? โครงการ/กิจกรรม What to do? สร้างคนไทยให้เป็น  ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้  ยกระดบั โครงการลดเวลา  สร้างค่านิยมอาชวี ศกึ ษา  สอดแทรกกจิ กรรมสรา้ ง พลเมอื งดี  ลูกเสือ เรียนเพมิ่ เวลารู้และ  ผลิตครูเพอื่ พฒั นาทอ้ งถ่นิ จติ สานึกการเปน็ พลเมืองดี - ค่านิยม ๑๒ ลูกเสือ  ราชภฏั เป็นเลิศ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ประการ  กาหนด “เมนกู ิจกรรม”  ผลิตครทู ้องถิน่ เพอ่ื ปลกู ฝงั จิตสานึกการ  กจิ กรรมการเรียนรู้ตามหลัก เปน็ พลเมอื งดี ใหผ้ สู้ อน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนาไปปฎบิ ัติได้  โรงเรยี นประชารัฐ อยา่ งเป็นรปู ธรรม  DLTV

ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ท่ีจะสนองพระบรมราโชบายอย่างจริงจงั ๖. ยกระดบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางออ้ ม) ยกระดบั มหาวิทยาลยั ราช  โครงการ/กจิ กรรม What to do? โครงการ/กจิ กรรม What to do? ภฎั ในการยกระดับคุณภาพ การศึกษา (ร่าง) ยทุ ธศาสตรใ์ หม่  ดาเนินการ Reprofile  มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อยา่ ง - ระยะ ๒๐ ปี เข้มข้น เนอ่ื งจากเป็น - - ผลิตครูคุณภาพ รากฐานของการยกระดับ  ผลิตครูระบบปิด มหาวิทยาลัยราชภัฏ - ผลติ ครูทอ้ งถ่นิ  มรภ. ต้องไมล่ ืมเร่ืองการ - - ปรบั ปรงุ หลักสตู ร ผลติ ครูทมี่ คี ณุ ภาพ ตอ้ ง  Reprofile ยกระดบั คุณภาพบัณฑติ ราชภฏั เปน็ เลิศ ครู เพราะเปน็ หวั ใจของ ราชภัฏสู่สากล มรภ. ปรับปรุงหลักสตู รตาม ภารกจิ มรภ. ให้ สอดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงาน สถานศกึ ษาพเี่ ลีย้ ง

ดาเนนิ การในโครงการเดิมของ ศธ. ทจ่ี ะสนองพระบรมราโชบายอยา่ งจริงจัง ๗. ยกระดบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏในการพฒั นาท้องถนิ่ ในท้องที่ตน พระบรมราโชบาย โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กจิ กรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) ยกระดบั มหาวทิ ยาลยั ราช  โครงการ/กิจกรรม What to do? โครงการ/กจิ กรรม What to do? ภฏั ในการพัฒนาท้องถ่นิ ใน ทอ้ งท่ีตน (รา่ ง) ยทุ ธศาสตรใ์ หม่  มรภ. ตอ้ งสารวจความต้องการทแี่ ท้จริงของชุมชน  มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ระยะ และหากยิ่งสอดคล้องกบั การพฒั นาตาม  ๒๐ ปี ยุทธศาสตรจ์ ังหวัดกจ็ ะทาใหผ้ ลลพั ธท์ เี่ กิดข้ึนได้  สบื สานงานอนั เน่อื งมาจาก ประโยชน์สูงสุดกบั ทอ้ งถิน่  วเิ คราะหป์ ัญหาและความ  พระราชดาริ  ทกุ มรภ. ต้องมียทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาท้องถิ่นท่ี ต้องการของประชาชนใน ท้องถนิ่ ผลิตครูทอ้ งถ่นิ ชัดเจน และมแี นวทางในการพฒั นาทอ้ งถ่นิ ให้ พฒั นาใช้ยุทธศาสตร์ใหม่  ศูนย์การเรยี นร้เู พ่ือให้ สอดคลอ้ งกบั ทอ้ งทขี่ องตน (Area Base) ซงึ่ ในบาง มรภ. โดยปรบั ใหเ้ หมาะสม กับสภาพและประเพณี บรกิ ารวชิ าการแก่ กรณตี ้องอาศยั ความรว่ มมือระหวา่ งคณะต่างๆของ ท้องถิ่น ประชาชนในท้องถิน่ มรภ. (ตอ้ งมงุ่ แกป้ ญั หาท้องถิ่นเปน็ สาคญั อยา่ คิด สถานศึกษาพ่เี ลยี้ ง แบบแยกคณะ ตา่ งคนตา่ งทา) พนั ธกิจสมั พนั ธก์ บั ท้องถน่ิ  ตอ้ งบรู ณาการการทางานร่วมกับท้องถิ่น/จงั หวดั ท่ีเนน้ การพัฒนาท้องถน่ิ ใน หลักสาคัญคอื การพฒั นาตอ้ งเป็นไปตาม มิติเศรษฐกจิ สงั คม และ ยทุ ธศาสตร์ของจงั หวัดทสี่ อดคลอ้ งกับแผนพฒั นา สิ่งแวดล้อม ทอ้ งถน่ิ ใน ประเทศ โดย มรภ. มีหนา้ ท่ีใหค้ วามรแู้ ละทาความ ท้องที่ตน เขา้ ใจกับประชาชนในทอ้ งถน่ิ เพ่ือให้เกิดการพฒั นา ปรับยุทธศาสตร์แตล่ ะ รว่ มกนั มรภ. ใหส้ อดคลอ้ งกบั  มรภ. ตอ้ งเป็นพีเ่ ลยี้ งทางวิชาการให้กบั โรงเรียนใน ยทุ ธศาสตรใ์ หม่ ทอ้ งถิน่ ด้วย มหาวิทยาลยั ราชภฏั ระยะ ๒๐ ปี

ดาเนินการในโครงการเดิมของ ศธ. ทีจ่ ะสนองพระบรมราโชบายอย่างจรงิ จงั ๘. พัฒนาระบบการศกึ ษา (พฒั นาคณุ ภาพครู) พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางออ้ ม) โครงการ/กิจกรรม What to do? โครงการ/กิจกรรม What to do? พัฒนาคุณภาพครู  ผลติ ครูระบบปดิ  โรงเรยี นมาตรฐานสากล  มหาวทิ ยาลัยพีเ่ ล้ียง  โรงเรียนตน้ แบบการพฒั นาสู่  ผลิตครูเพื่อพัฒนาทอ้ งถนิ่ ประชาคมอาเซยี่ น  ราชภัฏเป็นเลิศ (ด้านครู)  โรงเรยี นรางวลั พระราชทาน  DLTV  Boot Camp  แก้ปญั หาหน้ีสินครู

ดาเนินการในโครงการเดมิ ของ ศธ. ทจี่ ะสนองพระบรมราโชบายอย่างจรงิ จัง ๘. พฒั นาระบบการศึกษา (พัฒนาโรงเรียน) พระบรมราโชบาย โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางตรง) โครงการ/กิจกรรมของ ศธ. (ทางอ้อม) โครงการ/กิจกรรม What to do? โครงการ/กจิ กรรม What to do? พฒั นาโรงเรียน  โรงเรยี นประชารฐั  โรงเรียนมาตรฐานสากล  โรงเรยี นดีใกลบ้ า้ น  โรงเรยี นตน้ แบบการพฒั นาสู่  โรงเรยี น ICU ประชาคมอาเซยี่ น  โรงเรยี นดปี ระจาตาบล  โรงเรียนรางวัลพระราชทาน ชว่ ยกนั เติมตารางให้ถกู ตอ้ งและสมบูรณ์ เพอื่ ให้รู้ว่าโครงการต่างๆของ ศธ. ตอบสนองพระบรมราโชบายในประเดน็ ใดบ้าง

สนบั สนุนโครงการกองทนุ การศกึ ษา และ ม.ท.ศ. • จัดต้ังหน่วยประสานงานกลาง • จดั ทาและสง่ ผ่านขอ้ มูลเพื่อสนับสนนุ /ดแู ล เม่ือนักเรียนทุนฯ เลอ่ื นระดบั ช้นั เรยี น/เปล่ียน สถานศกึ ษา ระหว่างสถานศกึ ษาในสงั กัด สพฐ. สอศ. และ สกอ. • ประสานงานอย่างเป็นระบบทง้ั ในส่วนกลางและสว่ นภูมิภาคเพ่ือใหก้ ารสนบั สนนุ ที่เหมาะสม สพฐ. / สอศ. คกก.กองทนุ ฯ หน่วยงานภาครฐั กศจ. องคมนตรที ี่ กรมทรัพยากรน้าบาดาล เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา รับผดิ ชอบ / การไฟฟ้าสว่ นภูมิภาค อาสาสมัคร ฯลฯ ความต้องการของ รร. ภาคเอกชน โรงเรยี นในโครงการกอง ทนุ การศึกษา ประชารฐั CSR ของภาคเอกชน ฯลฯ ย่นื คาขอตามหลกั เกณฑ์

สนับสนนุ งานทเี่ กีย่ วข้องกบั มูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง สถานทถ่ี ่ายทา/หอ้ งเรียน ดาวเทยี มไทยคม ผ้ใู หบ้ รกิ าร (Set-Top-Box) สญั ญาณทวี ี (KU Band) หอ้ งเรียน (ห้องสง่ ) True (โทรทศั น์) ห้องสมดุ ศนู ย์ขอ้ มูล (Data Center) PSI ห้องควบคมุ (Control) (@TOT) DTV แอพลพลิเคชัน่ บา้ น (มอื ถอื , แทบ็ แลต็ ) อุปกรณพ์ กพา เทป สือ่ การเรียนปัจจุบนั ผู้ให้บริการ (ISP) (ปกี ารศกึ ษาปัจบุ ัน) True เวบ็ บราวเซอร์ AIS (คอม/มือถอื /แท็บแลต็ ) สือ่ การเรยี นเกา่ DTAC (ปีการศกึ ษาก่อน) TOT CAT 3BB กรอบแนวทางการพัฒนาการศึกษาทางไกลเพือ่ แกป้ ัญหาการขาดแคลนครู และส่งเสรมิ การศึกษาที่มคี ณุ ภาพอย่างทั่วถึง  เทคนิคการสอนของครู  การเฝา้ ติดตามการบรหิ ารโครงขา่ ย (Network Monitoring)  Application Developer  สอ่ื การสอน  การวเิ คราะห์พ ตกิ รรมใชง้ าน (Usage Analytics)  Web Developer  เทคนิคการถา่ ยทา  โครงข่ายและการใชข้ อ้ มลู (Data Usage)  การพฒั นาการจัดการจัดศกึ ษาทางไกลใหก้ บั ครปู ลายทาง  เทคนิคการผลติ /การตัดต่อ  Call Centre / การสอบถามปญั หาการใช้งาน  การแนะนาและอธบิ ายการใชง้ านให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง  อุปกรณ์ตน้ ทาง Smart  การตดิ ตง้ั การซอ่ มบารงุ ปลายทาง Board


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook