บทสวด ธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร บทสวดที่พระสัมม�สัมพุทธเจ�้ ทรงแสดงเมอ่ื ไดต้ รัสรู้อนตุ ตรสมั ม�สัมโพธญิ �ณแลว้ ดังนัน้ ใครกต็ �มทีไ่ ดส้ วดธมั มจกั กปั ปวัตตนสตู รเปน็ นิจ จะทำ�ให้ผู้น้นั ได้บุญม�ก เมอ่ื คดิ ปร�รถน�อะไรกจ็ ะส�ำ เร็จทุกอย่�งได้โดยง�่ ย
บทสวด ธัมมจกั กัปปวัตตนสตู ร
คำ� นำ� เสียงสวดมนตท์ เี่ กดิ จากความเลอ่ื มใสในพระรตั นตรยั จะเปน็ พลังมวลแหง่ ความบรสิ ุทธ์ทิ ่ีแผข่ ยายไปทกุ ทศิ ทุกทาง ไปชว่ ยขจดั สิง่ ท่ีเปน็ มลทินในบรรยากาศ ขจดั ทุกข์ โศก โรค ภยั สง่ิ ท่ีไมด่ ี ความขดั แยง้ และการเบยี ดเบียนใหม้ ลายหายสญู จนเกดิ กระแสแหง่ ความเมตตา ทท่ี า� ใหส้ รรพสตั วเ์ กดิ ความรกั ความปรารถนาดตี อ่ กนั ในแตล่ ะวัน เราใชเ้ วลาสวดเพียงไมก่ ่นี าที โดยไมต่ อ้ งเสยี เงนิ เสยี ทองอะไรเลย แตอ่ านิสงสจ์ ากการสวดมนตน์ ้ันเกิดข้นึ มากมาย โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ใจของผสู้ วดเองกจ็ ะผอ่ งใส มีจติ ผกู พนั กับพระรตั นตรยั ซง่ึ ใจท่ีผอ่ งใสเปน็ ปกตเิ นืองนิตยน์ ้เี อง เวลาใกลห้ ลับตาลาโลก สคุ ตกิ จ็ ะเปน็ ท่ไี ป... ดว้ ยความปรารถนาดจี าก ใจ...หยุด ๒๔ น.
สำรบญั • ทา� ไม..ต้องสวดธมั มจกั กปั ปวัตตนสูตร ?................... ๑ • บทขดั ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ...................................... ๓ • ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ................................................ ๔ • บทขดั ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร (แปล) ....................... ๑๖ • ธัมมจกั กัปปวัตตนสตู ร (แปล) .................................. ๑๗ • พระธรรมเทศนาของ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) “ธัมมจกั กัปปวตั ตนสตู ร”.......................................... ๒๕ • ทบทวนโอวาท เรอ่ื งสวดธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร ................................ ๕๓ - ความส�าคญั ของบทสวดธมั มจกั กัปปวตั ตนสตู ร .................. ๕๓ - ความส�าคญั ของการมาสวด ท่หี นา้ พระมหาธรรมกายเจดยี ์ ......................................... ๕๗ - วิธกี ารสวดอยา่ งถูกหลกั วชิ ชา ......................................... ๖๐ - อานสิ งสท์ ่ีเกดิ ขึน้ จากการสวดธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ........ ๖๑ - วธิ ปี รบั ใจใหล้ ะเอยี ด ..................................................... ๖๗ - ทา� โลกใหเ้ ปน็ ดงั สวรรค์ ................................................. ๖๘
ทำ� ไม..ต้อง สวดธมั มจักกัปปวตั ตนสูตร ? บทสวด “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” เป็นบทสวดทีม่ ี ความส�าคญั มาก เพราะเปน็ บทท่ปี ระกาศพระสมั มาสมั โพธ-ิ ญาณ เป็นบททพี่ ระสมั มาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ที่ บงั เกดิ ขึน้ บนโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นพระปัญญาธกิ พทุ ธเจ้า พระสทั ธาธกิ พทุ ธเจ้า พระวิริยาธกิ พทุ ธเจ้าจ�านวนนบั อสงไขยพระองค์ไม่ถ้วน เมือ่ พระองค์ตรัสรู้แล้ว กท็ รง แสดงธรรมบทนก้ี ันทง้ั นน้ั ดังนัน้ ใครก็ตามทไี่ ด้สวดธมั มจักกัปปวัตตนสูตรใน ยคุ นี้ จึงถอื เป็นบุคคลส�าคญั ทไี่ ด้เคลอื่ นจักรแห่งธรรมใน ช่วงเวลาท่ีชาวพุทธกา� ลงั สับสน เกิดความไมส่ งบแหง่ จติ ใจ เพรำะเทำ่ กบั เรำไดเ้ ปน็ ตวั แทนของพระสมั มำสมั พทุ ธเจำ้ ถงึ แมพ้ ระองคจ์ ะดบั ขันธปรนิ พิ พำนไปแลว้ กย็ ังมีสำวกเอำ ธรรมบทนม้ี ำแสดงตอ่ ซง่ึ เปน็ การสบื ทอดอายพุ ระพทุ ธ- ศาสนาใหย้ ืนยาวต่อไป 1
ธรรมบทนีเ้ ป็นธรรมะที่ท�ำให้ควำมเป็นพระสัมมำ- สมั พุทธเจ้ำบริบรู ณ์ เพราะเม่ือพระองคท์ รงแสดงแล้ว ได้ มีผู้บรรลธุ รรมตาม คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ จงึ เปน็ เหตุ ใหเ้ กิดองคแ์ หง่ พระรตั นตรยั ครบถว้ นบรบิ รู ณ์ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ครง้ั แรกของโลก ดังนัน้ ใครก็ตำมทีไ่ ด้สวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นนจิ จะท�ำใหผ้ ู้นน้ั ไดบ้ ุญมำก เมื่อคิดปรำรถนำอะไร กจ็ ะสำ� เร็จทกุ อย่ำง !!! เพราะบทสวดธมั มจักกัปปวัตตนสูตรนี้ ทา� ให้มนษุ ย์ พ้นจากความทกุ ข์ทรมานของชีวิต และหลุดพ้นจากกิเลส อาสวะทัง้ หลาย จนสามารถก้าวข้ามไปสู่หนทางแห่งพระ- นิพพาน และทสี่ า� คญั ทกุ ครั้งทเี่ ราสวดมนต์ บุญกจ็ ะเกิดกับ ตวั เรา เพราะใจเราจะถกู กลน่ั ใหส้ ะอาดบรสิ ทุ ธ์ิ วบิ ากกรรม ทีต่ ิดมาข้ามภพข้ามชาติก็จะถูกกลั่นแก้ไปด้วย จากหนัก ก็จะเป็นเบา จากเบาก็จะหาย จิตใจทขี่ ุ่นมวั กจ็ ะใสสว่าง ดงั นน้ั เราต้องสวดธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตรกนั ทกุ วนั ... 2
บทขัดธัมมจกั กปั ปวัตตนสูตร อะนุตตะรัง อะภสิ ัมโพธิง สมั พชุ ฌติ ว๎ า ตะถาคะโต ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธมั มะจักกงั อะนุตตะรัง สมั มะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตตยิ งั ยัตถากขาตา อโุ ภ อันตา ปะฏิปัตติ จะ มัชฌมิ า จะตูสว๎ าริยะสจั เจสุ วิสทุ ธงั ญาณะทสั สะนัง เทสิตงั ธัมมะราเชนะ สมั มาสมั โพธกิ ิตตะนงั นาเมนะ วิสสตุ งั สุตตงั ธัมมะจกั กปั ปะวัตตะนัง เวยยากะระณะปาเฐนะ สงั คตี นั ตมั ภะณามะ เส ฯ 3
ธมั มจกั กัปปวัตตนสตู ร เอวัมเม สตุ ัง เอกงั สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสยิ งั วิหะระติ อสิ ิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตตั ๎ระ โข ภะคะวา ปญั จะวคั คิเย ภิกขู อามันเตสิ เทว๎ เม ภกิ ขะเว อนั ตา ปพั พะชเิ ตนะ นะ เสวติ พั พา ฯ โย จายัง กาเมสุ กามะสขุ ัลลกิ านโุ ยโค หโี น คมั โม โปถชุ ชะนโิ ก อะนะรโิ ย อะนตั ถะสญั หิโต โย จายงั อตั ตะกิละมะถานุโยโค ทกุ โข อะนะริโย อะนตั ถะสัญหโิ ต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อโุ ภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภญิ ญายะ สมั โพธายะ นพิ พานายะ สงั วตั ตะติ ฯ 4
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มชั ฌิมา ปะฏปิ ะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพทุ ธา จกั ขกุ ะระณี ญาณะ- กะระณี อปุ ะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สงั วัตตะติ ฯ อะยะเมวะ อะริโย อฏั ฐังคโิ ก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกปั โป สมั มาวาจา สัมมากมั มนั โต สมั มาอาชีโว สมั มา- วายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ อะยัง โข สา ภกิ ขะเว มชั ฌมิ า ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภสิ มั พทุ ธา จักขุกะระณี ญาณะ- กะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นพิ พานายะ สงั วตั ตะติ ฯ 5
อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะ- สัจจัง ฯ ชาตปิ ิ ทุกขา ชะราปิ ทกุ ขา มะระณมั ปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะทกุ ขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อปั ปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วปิ ปะโยโค ทุกโข ยมั ปจิ ฉงั นะ ละภะติ ตมั ปิ ทุกขงั สงั ขติ เตนะ ปญั จปุ าทานักขนั ธา ทุกขา ฯ อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทกุ ขะสะมุทะโย อะริยะสจั จัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นนั ทิราคะสะหะคะตา ตัต๎ระ ตัต๎ราภินันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ กามะตณั หา ภะวะตณั หา วิภะวะ- ตัณหา ฯ อทิ งั โข ปะนะ ภิกขะเว ทกุ ขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะ- วิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏนิ สิ สคั โค มตุ ติ อะนาละโย ฯ 6
อทิ ัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนโิ รธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสจั จัง ฯ อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถที ัง ฯ สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาสงั กัปโป สัมมาวาจา สมั มากมั มนั โต สมั มา- อาชีโว สมั มาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ (หยดุ ) อิทัง ทุกขงั อะริยะสจั จันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสเุ ตสุ ธมั เมสุ จักขุง อทุ ะปาทิ ญาณัง อทุ ะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อุทะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะรญิ เญยยันติ เม ภกิ ขะเว ปุพเพ อะนะนสุ สุเตสุ ธัมเมสุ จกั ขงุ อทุ ะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญั ญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ 7
ตัง โข ปะนทิ ัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะรญิ ญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนสุ สเุ ตสุ ธัมเมสุ จกั ขงุ อุทะปาทิ ญาณัง อทุ ะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อุทะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ อทิ ัง ทกุ ขะสะมทุ ะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธมั เมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนทิ ัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจงั ปะหาตพั พันติ เม ภิกขะเว ปพุ เพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จกั ขงุ อุทะปาทิ ญาณงั อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ 8
ตัง โข ปะนทิ ัง ทกุ ขะสะมทุ ะโย อะรยิ ะสัจจัง ปะหนี ันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธมั เมสุ จกั ขุง อุทะปาทิ ญาณงั อทุ ะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะรยิ ะสจั จนั ติ เม ภกิ ขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธมั เมสุ จักขุง อทุ ะปาทิ ญาณงั อุทะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ ตัง โข ปะนิทัง ทกุ ขะนโิ รโธ อะริยะสจั จัง สจั ฉิกาตพั พนั ติ เม ภิกขะเว ปพุ เพ อะนะนสุ สุเตสุ ธมั เมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ 9
ตัง โข ปะนทิ ัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขงุ อุทะปาทิ ญาณงั อุทะปาทิ ปญั ญา อุทะปาทิ วิชชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ อทิ งั ทุกขะนโิ รธะคามินี ปะฏปิ ะทา อะรยิ ะ- สจั จนั ติ เม ภกิ ขะเว ปพุ เพ อะนะนสุ สเุ ตสุ ธัมเมสุ จกั ขงุ อุทะปาทิ ญาณงั อทุ ะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อทุ ะปาทิ ฯ ตงั โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏปิ ะทา อะริยะสจั จัง ภาเวตัพพนั ติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อทุ ะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ 10
ตงั โข ปะนิทัง ทกุ ขะนโิ รธะคามนิ ี ปะฏปิ ะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนสุ สุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญั ญา อทุ ะปาทิ วชิ ชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ ยาวะกีวญั จะ เม ภิกขะเว อเิ มสุ จะตูสุ อะริยะสจั เจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทว๎ าทะสาการัง ยะถาภตู งั ญาณะทัสสะนัง นะ สวุ ิสทุ ธัง อะโหสิ เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพร๎ หั ม๎ ะเก สสั สะมะณะพร๎ าหม๎ ะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนสุ สายะ อะนตุ ตะรงั สมั มา- สัมโพธงิ อะภิสมั พุทโธ ปัจจญั ญาสงิ ฯ 11
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสจั เจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทว๎ าทะสาการัง ยะถาภตู ัง ญาณะทสั สะนงั สุวสิ ทุ ธัง อะโหสิ อะถาหงั ภกิ ขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพร๎ ัห๎มะเก สัสสะมะณะพร๎ าหม๎ ะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนสุ สายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธงิ อะภสิ ัมพทุ โธ ปัจจญั ญาสงิ ฯ ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นตั ถทิ านิ ปนุ ัพภะโวติ ฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อตั ตะ- มะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินนั ทงุ ฯ 12
อมิ ัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณสั ๎มงิ ภัญญะมาเน อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วตี ะมะลัง ธัมมะจักขุง อทุ ะปาทิ ยังกญิ จิ สะมุทะยะธมั มงั สพั พนั ตัง นโิ รธะธมั มันติ ฯ ปะวัตตเิ ต จะ ภะคะวะตา ธมั มะจกั เก ภมุ มา เทวา สทั ทะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มคิ ะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจกั กงั ปะวัตตติ งั อปั ปะฏวิ ตั ตยิ งั สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พร๎ หั ๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ (หยดุ ) ภมุ มำนงั เทวานงั สทั ทงั สตุ ว๎ า จาตมุ มะหา- ราชิกา เทวา สทั ทะมะนสุ สาเวสุง...ฯ 13
จาตมุ มะหาราชิกานัง เทวานงั สัททงั สตุ ๎วา ตาวะตงิ สา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง...ฯ ตาวะติงสานงั เทวานัง สทั ทงั สุต๎วา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสงุ ...ฯ ยามานงั เทวานงั สทั ทงั สุตว๎ า ตุสิตา เทวา สทั ทะมะนสุ สาเวสุง...ฯ ตสุ ิตานงั เทวานัง สัททงั สุตว๎ า นมิ มานะระตี เทวา สทั ทะมะนสุ สาเวสงุ ...ฯ นิมมานะระตีนงั เทวานัง สทั ทัง สตุ ๎วา ปะระนมิ มติ ะวะสะวตั ตีเทวาสทั ทะมะนสุ สาเวสงุ ...ฯ ปะระนมิ มติ ะวะสะวตั ตีนงั เทวานัง สทั ทัง สุต๎วา พ๎รัห๎มะกายกิ า เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง 14
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มคิ ะทาเย อะนตุ ตะรัง ธัมมะจักกงั ปะวตั ตติ ัง อัปปะฏวิ ตั ติยัง สะมะเณนะ วา พร๎ าห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มนุ า วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ (หยุด) อติ หิ ะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มหุ ตุ เตนะ ยาวะ พร๎ หั ม๎ ะโลกา สัทโท อพั ภคุ คัจฉิ ฯ อะยญั จะ ทะสะ- สะหสั สี โลกะธาตุ สงั กมั ปิ สมั ปะกัมปิ สมั ปะเวธิ ฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะตกิ กมั เมวะ เทวานงั เทวานุภาวัง ฯ อะถะโข ภะคะวา อทุ านัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ อติ หิ ทิ ัง อายสั ๎มะโต โกณฑญั ญสั สะ อัญญา- โกณฑัญโญเตว๎ วะ นามัง อะโหสีติ ฯ 15
บทขดั ธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร (แปล) พระตถาคตเจา้ ไดต้ รสั รพู้ ระอนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณ แล้ว เม่ือจะทรงประกาศธรรมท่ีใคร ๆ ยังมไิ ดใ้ ห้เปน็ ไปใน โลกให้เป็นไปโดยชอบ ได้ทรงแสดงอนตุ ตรธรรมจักรใด ก่อน สว่ นสุด ๒ อยา่ ง ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ันเปน็ สายกลาง และญาณ- ปญั ญาอันรเู้ หน็ ในอรยิ สัจท้งั ๔ อยา่ งหมดจดท่พี ระองคท์ รง แสดงไว้ในธรรมจักรใด เราท้ังหลายจงสวดธรรมจกั รน้นั ท่พี ระองคผ์ เู้ ปน็ ธรรม- ราชาได้ทรงแสดงแล้ว ปรากฏโดยชือ่ ว่า ธัมมจักกัป- ปวตั ตนสตู ร อนั เปน็ พระสตู รท่ปี ระกาศพระสมั มาสมั โพธ-ิ ญาณ อนั พระสงฆส์ าวกของพระองคไ์ ดร้ อ้ ยกรองไวโ้ ดยบาลี ไวยากรณเ์ ถดิ 16
ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสูตร (แปล) ข้าพเจ้าไดส้ ดับมาแลว้ อยา่ งนี้ :- สมัยหนงึ่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าประทบั อยู่ ณ ป่าอิสิ- ปตนมฤคทายวนั ใกลพ้ ระนครพาราณสี ณ ท่ีนน้ั แล พระผ-ู้ มีพระภาคเจา้ ตรสั เรยี กภกิ ษุปญั จวคั คียม์ าแลว้ ตรสั วา่ ดกู ร ภกิ ษุท้ังหลาย สว่ นสุด ๒ อยา่ งน้อี ันบรรพชติ ไมค่ วรเสพ คอื ๑. การหมกมุ่นอยู่ด้วยกามสุขในกามทงั้ หลาย เป็น ของเลว เป็นของชาวบา้ น เปน็ ของปถุ ชุ น ไมป่ ระเสรฐิ ไม่ ประกอบดว้ ยประโยชน์ ๒. การท�าความเดือดร้อนแก่ตน เป็นทุกข์ ไม่ ประเสรฐิ ไมป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ ข้อปฏิบตั ิอันเป็นสายกลาง ไม่เข้าไปใกล้ส่วนสุด ๒ อยา่ งน้ี อันตถาคตได้ตรัสร้แู ลว้ เปน็ ปฏิปทาก่อให้เกิดจกั ษุ ก่อให้เกิดญาณ เป็นไปเพือ่ สงบระงับ เพือ่ ความรู้ยงิ่ เพือ่ การตรสั รู้ เพอ่ื นพิ พาน 17
กข็ ้อปฏิบัติอันเป็นสายกลางอันตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว เปน็ ปฏปิ ทากอ่ ใหเ้ กดิ จกั ษุ กอ่ ใหเ้ กดิ ญาณ เปน็ ไปเพ่ือสงบ ระงับ เพือ่ ความรู้ยงิ่ เพอื่ การตรัสรู้ เพื่อนพิ พานนัน้ เป็น ไฉน? คอื อรยิ มรรคอันประกอบดว้ ยองค์ ๘ น้ีแหละ ซง่ึ ไดแ้ ก่ ความเหน็ ชอบ ความดา� รชิ อบ วาจาชอบ การงานชอบ การ เล้ยี งชพี ชอบ ความเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจชอบ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ันเปน็ สายกลางน้แี ลอนั ตถาคตไดต้ รสั รแู้ ลว้ เปน็ ปฏปิ ทากอ่ ใหเ้ กิดจกั ษุ กอ่ ใหเ้ กดิ ญาณ เปน็ ไปเพ่ือสงบ ระงับ เพือ่ ความรยู้ ิง่ เพ่ือการตรสั รู้ เพอ่ื นิพพาน ดูกรภิกษุท้ังหลาย ข้อนีเ้ ปน็ ทกุ ขอรยิ สจั คือ แม้ความ เกดิ กเ็ ป็นทุกข์ แม้ความแก่กเ็ ป็นทกุ ข์ แม้ความตายก็เป็น ทุกข์ แม้ความเศร้าโศก ความร�า่ ไรร�าพนั ความเสียใจ และ ความคับแค้นใจกเ็ ปน็ ทุกข์ ความประสบสงิ่ อันไม่เปน็ ทีร่ ัก กเ็ ป็นทกุ ข์ ความพลัดพรากจากสงิ่ อนั เป็นทีร่ ักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาส่งิ ใดไมไ่ ดส้ ่ิงน้ันก็เปน็ ทุกข์ โดยยอ่ อุปาทานขนั ธ์ ๕ เปน็ ทุกข์ 18
ดูกรภิกษทุ งั้ หลาย ข้อนเี้ ป็นทุกขสมทุ ยอริยสัจ คือ ตัณหาอันท�าให้เกิดอีก ประกอบด้วยความเพลิดเพลิน และความกา� หนดั มีปกตทิ า� ใหเ้ พลดิ เพลนิ ในอารมณน์ น้ั ๆ ไดแ้ ก่ กามตณั หา ภวตณั หา วิภวตัณหา ดกู รภกิ ษุท้งั หลาย ขอ้ น้เี ปน็ ทุกขนโิ รธอรยิ สจั คือ ความ ดับดว้ ยการสา� รอกโดยไมเ่ หลอื แหง่ ตณั หานน้ั แหละ ความ สละ ความวาง ความปล่อย ความไม่อาลยั ดูกรภิกษุทัง้ หลาย ข้อนีเ้ ป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อริยสัจ คอื อริยมรรคประกอบด้วยองค์ ๘ ประการนีแ้ ล ไดแ้ ก่ ความเหน็ ชอบ ความดา� รชิ อบ วาจาชอบ การงานชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ความเพียรชอบ ความระลกึ ชอบ ความ ตั้งใจชอบ ดกู รภิกษทุ ้งั หลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสวา่ ง เกดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทัง้ หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ นท้ี กุ ขอริยสัจ ดกู รภิกษุทงั้ หลาย จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสว่าง เกดิ ข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทัง้ หลายท่ีไมเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทุกขอริยสัจน้ันควรกา� หนดรู้ 19
ดูกรภิกษุทง้ั หลาย จักษุ ญาณ ปญั ญา วิชชา แสงสวา่ ง เกดิ ข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทุกขอรยิ สัจนนั้ เราไดก้ �าหนดรู้แลว้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย จกั ษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง เกดิ ข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมท้งั หลายท่ีไมเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ นี้ทุกขสมทุ ยอริยสจั ดกู รภกิ ษุทั้งหลาย จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง เกิดข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ีไมเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทกุ ขสมทุ ยอริยสัจนั้นควรละ ดกู รภิกษุท้งั หลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วชิ ชา แสงสวา่ ง เกิดข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทุกขสมทุ ยอรยิ สจั น้นั เราละไดแ้ ลว้ ดกู รภิกษทุ ้ังหลาย จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสว่าง เกิดข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ นี้ทกุ ขนิโรธอรยิ สจั ดูกรภกิ ษุทั้งหลาย จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสวา่ ง เกิดข้นึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ีไมเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั นนั้ ควรกระท�าใหแ้ จ้ง 20
ดกู รภกิ ษุทั้งหลาย จกั ษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง เกดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ีไมเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทกุ ขนโิ รธอรยิ สัจน้ันเราไดก้ ระท�าใหแ้ จ้งแล้ว ดูกรภกิ ษุทง้ั หลาย จกั ษุ ญาณ ปญั ญา วชิ ชา แสงสว่าง เกดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมท้งั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ นท้ี กุ ขนิโรธคามนิ ีปฏิปทาอริยสัจ ดูกรภิกษุท้งั หลาย จักษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสวา่ ง เกิดขน้ึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทกุ ขนิโรธคามนิ ีปฏิปทาอรยิ สจั นนั้ ควรเจรญิ ดกู รภกิ ษุทงั้ หลาย จกั ษุ ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่าง เกดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราในธรรมทง้ั หลายท่ไี มเ่ คยไดฟ้ งั มากอ่ นวา่ ทกุ ขนโิ รธคามินีปฏิปทาอริยสจั น้ันเราไดเ้ จริญแลว้ ดูกรภกิ ษุทัง้ หลาย ก็ญาณทัสสนะ (ความร้เู หน็ ) ตาม ความเปน็ จริงของเราในอรยิ สัจ ๔ ประการนี้ มรี อบ ๓ มี อาการ ๑๒ อยา่ งน้ียังไม่บรสิ ุทธ์เิ พียงใด เราก็ยงั ไม่ยนื ยนั ว่า เป็นผูต้ รัสรอู้ นุตตรสมั มาสัมโพธิญาณในโลก พรอ้ มทงั้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สตั ว์ พร้อมทงั้ สมณ- พราหมณ์ เทวดา และมนุษย์เพียงน้ัน 21
ดกู รภกิ ษุท้ังหลาย กเ็ ม่ือใด ญาณทัสสนะตามความเปน็ จรงิ ของเราในอรยิ สัจ ๔ ประการนี้ มรี อบ ๓ มอี าการ ๑๒ อย่างนบี้ ริสุทธดิ์ ีแล้ว เมอื่ นนั้ เราจึงยนื ยนั ว่า เป็นผู้ตรัสรู้ อนตุ ตรสัมมาสมั โพธิญาณในโลก พรอ้ มท้ังเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมสู่ ตั ว์ พรอ้ มท้งั สมณพราหมณ์ เทวดา และ มนษุ ย์ ก็ญาณทสั สนะเกิดขึน้ แก่เราว่า ความหลดุ พ้นของเรา ไมก่ า� เรบิ ชาตนิ ี้เป็นชาติสดุ ทา้ ย บัดนี้ภพใหม่ไม่มอี ีก พระผู้มพี ระภาคเจ้าได้ตรัสธัมมจักกัปปวัตตนสตู รนี้ ภกิ ษปุ ญั จวคั คยี ม์ ใี จยินดี ตา่ งช่นื ชมพระภาษิตของพระผมู้ -ี พระภาคเจ้า กเ็ มอื่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรัสไวยากรณภาษิตนอี้ ยู่ ดวงตาเหน็ ธรรมอันปราศจากธุลี ปราศจากมลทนิ ได้เกิด ขึ้นแก่ท่านโกณฑัญญะว่า สงิ่ ใดสิง่ หนงึ่ มคี วามเกิดขึน้ เป็น ธรรมดา สงิ่ น้นั ท้งั ปวงล้วนมคี วามดบั ไปเปน็ ธรรมดา 22
ครนั้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงประกาศธรรมจกั รใหเ้ ปน็ ไปแล้ว พวกภุมมเทวดาได้ประกาศว่า นนั่ ธรรมจักรอนั ยอดเยีย่ ม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงให้เป็นไปแล้ว ณ ป่าอสิ ิปตนมฤคทายวนั ใกล้พระนครพาราณสี อนั สมณ- พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ ในโลกให้หมนุ กลับ (ปฏเิ สธ) ไมไ่ ด้ พวกเทพชั้นจาตุมหาราชได้ฟังเสยี งของพวกภุมม- เทวดาแล้ว...พวกเทพชั้นดาวดึงส์ได้ฟังเสียงของพวก เทพชน้ั จาตมุ หาราชแลว้ ...พวกเทพชน้ั ยามาไดฟ้ ังเสียงของ พวกเทพชน้ั ดาวดงึ สแ์ ลว้ ...พวกเทพชน้ั ดสุ ติ ไดฟ้ งั เสยี งของ พวกเทพช้นั ยามาแลว้ ...พวกเทพช้นั นมิ มานรดไี ดฟ้ งั เสยี งของ พวกเทพชนั้ ดสุ ติ แลว้ ...พวกเทพชัน้ ปรนมิ มิตวสวตั ดีได้ฟัง เสียงของพวกเทพชั้นนิมมานรดีแล้ว...พวกเทพทนี่ บั เนอื่ ง ในหมู่พรหมได้ฟังเสียงของพวกเทพชั้นปรนมิ มติ วสวัตดี แลว้ ไดป้ ระกาศวา่ นน่ั ธรรมจกั รอนั ยอดเย่ียม อนั พระผมู้ ี พระภาคเจา้ ทรงใหเ้ ปน็ ไปแลว้ ณ ป่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวัน ใกลพ้ ระนครพาราณสี อนั สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใคร ๆ ในโลกใหห้ มุนกลับ (ปฏเิ สธ) ไมไ่ ด้ 23
เพยี งครู่เดียวเท่านนั้ เสียงป่าวประกาศได้กระจายขึน้ ไปถึงพรหมโลกด้วยประการฉะนี้ ทงั้ หมืน่ โลกธาตุนีก้ ็สัน่ สะเทอื นเลือ่ นลัน่ ท้งั แสงสว่างอันเจิดจ้าหาประมาณมิได้ก็ ปรากฏในโลก ล่วงเทวานภุ าพของเทวดาทง้ั หลาย ครง้ั น้นั พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงเปลง่ อทุ านวา่ ผเู้ จรญิ ทงั้ หลาย โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ ผู้เจริญทัง้ หลาย โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ เพราะเหตุนั้น ค�าว่า อญั ญา- โกณฑญั ญะ น้จี งึ ไดเ้ ปน็ ช่อื ของทา่ นโกณฑญั ญะ ดว้ ยประการ ฉะนแ้ี ล 24
พระธรรมเทศนำของ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผูค้ ้นพบวิชชาธรรมกาย ธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๙๘ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ ำสมพฺ ุทฺธสฺส ฯ (๓ หน) เอวมเฺ ม สุต� ฯ เอก� สมย� ภควำ พำรำณสิย� วหิ รติ อิสิปตเน มคิ ทำเย ฯ ตตรฺ โข ภควำ ปญฺจวคคฺ ิเย ภกิ ฺขู อำมนฺเตสิ ฯ เทฺวเม ภิกฺขเว อนตฺ ำ ปพพฺ ชเิ ตน น เสวติ พฺพำ โย จำย� กำเมสุ กำมสขุ ลฺลิกำนโุ ยโค หโี น คมโฺ ม โปถชุ ชฺ นโิ ก อนรโิ ย อนตฺถสญหฺ ิโต โย จำย� อตฺตกิลมถำนุโยโค ทกุ โฺ ข อนริโย อนตถฺ สญหฺ โิ ต ฯ เอเต เต ภกิ ขฺ เว อโุ ภ อนเฺ ต อนุปคมฺม มชฌฺ ิมำ ปฏิปทำ ตถำคเตน อภิสมฺพทุ ฺธำ จกฺขกุ รณี ญำณกรณี อุปสมำย อภิญฺญำย สมฺโพธำย นพิ ฺพำนำย สว� ตตฺ ติ ฯ กตมำ จ สำ ภิกฺขเว มชฺฌมิ ำ ปฏิปทำ ตถำคเตน อภิสมพฺ ทุ ฺธำ จกขฺ กุ รณี ญำณกรณี อปุ สมำย อภิญญฺ ำย 25
สมโฺ พธำย นพิ ฺพำนำย สว� ตตฺ ติ ฯ อยเมว อรโิ ย อฏฺ งฺคโิ ก มคฺโค ฯ เสยฺยถที � ฯ สมมฺ ำทฏิ ฺ ิ สมฺมำสงกฺ ปโฺ ป สมมฺ ำวำจำ สมมฺ ำกมมฺ นฺโต สมฺมำอำชโี ว สมมฺ ำวำยำโม สมมฺ ำสติ สมมฺ ำสมำธิ ฯ อย� โข สำ ภิกฺขเว มชฺฌิมำ ปฏปิ ทำ ตถำคเตน อภสิ มฺพทุ ธฺ ำ จกฺขกุ รณี ญำณกรณี อุปสมำย อภิญฺญำย สมโฺ พธำย นพิ ฺพำนำย ส�วตฺตตตี ิ ฯ ส.� ม. (บาล)ี ๑๙/๑๖๖๔/๕๒๘ ณ บัดน้ี อาตมภาพจกั ไดแ้ สดงธรรมกิ ถา ในวนั ปณั ณรสี ที่ ๑๕ คา่� ในเดอื นยีน่ ี้ เป็นวันขึน้ ปีใหมข่ องทางสุรยิ คติ ผู้ เทศนก์ ต็ อ้ งดา� รหิ าเรอ่ื งท่จี ะตอ้ งแสดงใหส้ มกับวนั ขน้ึ ปใี หม่ เป็นวันแรกและเป็นวนั มงคลของพระพทุ ธศาสนิกชนทงั้ หลาย วันน้แี หละถือวา่ เปน็ วนั ขน้ึ ปใี หม่ เราจะทา� อยา่ งไรจงึ จะเปน็ คนดี เร่อื งน้ีเรอ่ื งท่ีเปน็ มงคลดไี มด่ นี ้นั พระองคท์ รง รับสงั่ ยืนยนั ตัดสิน ตั้งแต่ปีใหม่นี้เราต้องตัง้ ใจเด็ดขาดลง ไป สมกับท่ีพระองคจ์ อมปราชญแ์ สดงมงคลวา่ อเสวนำ จ พำลำน� ปณฺฑติ ำนญจฺ เสวนำ ปูชำ จ ปูชนียำน� เอตมมฺ งฺคลมตุ ฺตม� เราตอ้ งตดั สินใจเด็ดขาดลง ไปวา่ อเสวนำ จ พำลำน� ไม่เสพสมาคมคบหาคนพาลเด็ด 26
ขาดทีเดยี ว ต้งั แตว่ ันนเี้ ป็นตน้ ไปตั้งแตไ่ ดอ้ รุณวนั น้ี ไม่เสพ คบหาสมาคมกับคนพาลเปน็ เดด็ ขาด จะเสพสมาคมคบหา แต่บัณฑิตเท่านนั้ จะบชู าสิง่ ทีค่ วรบูชา ปูชำ จ ปูชนียำน� เอต� วภิ ตตฺ ย� ๓ ขอ้ นีแ้ หละเป็นมงคลอันสงู สดุ คอื จะไม่ คบคนพาล คบแตบ่ ณั ฑติ บชู าแตส่ ง่ิ ท่คี วรบชู า ตง้ั ใจใหเ้ ดด็ ขาดลงไปอยา่ งน้ี อยา่ ลอ่ กแลก่ ไมเ่ สพสมาคมกบั คนพาลนะ่ ในตัวของตัวเองมหี รือ ซีกทางโลกเป็นซีกของ โลภ โกรธ หลง นนั่ เปน็ เหตุของคนพาล เปน็ เหตุใหเ้ กดิ พาล ซกี ของ ไมโ่ ลภ ไมโ่ กรธ ไม่หลง เปน็ ซกี ของบัณฑติ เปน็ เหตุใหเ้ กดิ บณั ฑิต บชู าสิ่งทีค่ วรบชู า มัน่ ลงไปอย่างนี้นะ นีว่ ันนี้ปีใหม่ เราตอ้ งตง้ั ใจใหเ้ ดด็ ขาดลงไปอยา่ งน้ี เม่อื เดด็ ขาดลงไปดงั น้ี ละก็ตัดสินใจว่าเราดีแน่ นีว่ ันนีป้ ีใหม่เราต้องตั้งใจให้เด็ด ขาดลงไปอยา่ งนี้ เม่ือเด็ดขาดลงไปดงั น้ี ไม่มที ุจรติ ไม่มชี ่วั เข้าไปเจือปนเลย เป็นซีกบณั ฑิตแท้ๆ เหตุนีแ้ ล เมอื่ เป็น บณั ฑติ แล้วสมควรจะฟงั ธรรมเทศนา ในวันใหมป่ ใี หมใ่ นทางสรุ ยิ คตนิ ้ี พระจอมไตรอุบัตขิ น้ึ ในโลก ยังไมไ่ ดแ้ สดงธรรมเทศนากับบุคคลใดบุคคลอ่ืนเลย ได้แสดงปฐมเทศนาเป็นครัง้ แรกโปรดพระปัญจวัคคีย์ 27
วันนีจ้ ะแสดงปฐมเทศนาทีพ่ ระองค์โปรดปัญจวัคคีย์ทงั้ ๕ ท่ปี า่ อสิ ิปตนมฤคทายวนั แควน้ เมอื งพาราณสี บดั นเ้ี ราจะฟงั ปฐมเทศนา ซ่งึ เปน็ ธรรมอนั ลมุ่ ลกึ สขุ มุ นกั ไมใ่ ชธ่ รรมพอดี พอร้าย และธรรมนเี้ ป็นต�ารับต�าราของพทุ ธศาสนกิ ชนสืบ ตอ่ ไปดว้ ย ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งแตว่ า่ เปน็ ปฐมเทศนาเทา่ นน้ั เปน็ ต�ารับต�าราของพุทธศาสนิกชนทเี ดียว ทีผ่ ู้ปฏิบัติจะเอาตัว รอดไดใ้ นธรรมวนิ ยั ของพระบรมศาสดา เร่มิ ตน้ แหง่ ปฐมเทศนาวา่ เอวมฺเม สตุ � น่ีเปน็ พระสตู ร ทพี่ ระอานนท์เอามากล่าวปฏิญาณตนเพอื่ ให้พ้นจากความ เปน็ สัพพญั ญูวา่ ตวั ไมไ่ ดร้ เู้ อง เพราะไดย้ ินไดฟ้ งั มาจากสา� นกั ของสมเด็จพระผมู้ ีพระภาคเจ้า เอว� อำกำเรน ดว้ ยอาการ อย่างน้ี เอก� สมย� ในสมัยคร้งั หนึ่ง สมเดจ็ พระผูม้ ีพระภาค ผเู้ ปน็ ท่พี ่งึ ของสัตวโ์ ลกท้งั หลาย ทรงประทับสา� ราญอริ ยิ าบถ ณ สา� นักมิคทายวนั แควน้ เมอื งพาราณสี ครัง้ น้นั พระองค์ ทรงรับสั่งหาพระภกิ ษปุ ญั จวัคคียท์ ั้ง ๕ มา รบั ส่งั วา่ เทวฺ เม ภกิ ขฺ เว อนตฺ ำ ปพพฺ ชิเตน น เสวติ พพฺ ำ ดกู อ่ น ภกิ ษทุ ้งั หลาย ท่ีสดุ ท้ัง ๒ อยา่ งน้นี น้ั อนั บรรพชติ ไมค่ วรเสพ โย จำย� กำเมสุ กำมสขุ ลลฺ กิ ำนโุ ยโค การประกอบตนให้ 28
พัวพนั ดว้ ยกามในกามทัง้ หลายนใ้ี ด หีโน เปน็ ของตา�่ ทราม คมโฺ ม เปน็ เหตใุ ห้ตงั้ บ้านเรอื น โปถชุ ชฺ นโิ ก เปน็ คนมกี เิ ลส หนา อนรโิ ย ไม่ไปจากข้าศึกคอื กเิ ลสได้ อนตฺถสญฺหิโต ไม่เป็นประโยชน์ นคี่ ืออย่างหน่งึ โย จำย� อตฺตกิลมถำนุโยโค ทุกฺโข อนรโิ ย อนตฺถสญฺหิโต การประกอบความล�าบากให้แก่ตนเปล่า กลบั เปน็ ทุกขแ์ กผ่ ปู้ ระกอบดว้ ย ไมไ่ ปจากขา้ ศกึ คอื กิเลสได้ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ นี้อย่างหนึ่ง เป็น ๒ อย่างนี้ กามสุขัลลกิ านโุ ยค อตั ตกิลมถานุโยค นีเ่ ป็นตัวกาม- สขุ ลั ลกิ านุโยค อตั ตกิลมถานุโยคทเี ดียว เอเต เต ภิกฺขเว อุโภ อนฺเต อนุปคมฺม มชฌฺ ิมำ ปฏปิ ทำ ตถำคเตน อภิสมฺพทุ ฺธำ ข้อปฏิบตั ิอนั เป็นสาย กลาง ดกู อ่ นภิกษุท้งั หลาย ข้อปฏิบัติเปน็ กลาง ไมแ่ วะเขา้ ใกลซ้ ่งึ ท่สี ุดท้งั ๒ อยา่ งนน้ี ่นั น้นั อันพระตถาคตเจา้ ไดต้ รสั รู้ แล้วด้วยปัญญายิง่ และท�าความเหน็ ให้เป็นปรกติเรียกว่า จกขฺ กุ รณี ญำณกรณี สว� ตตฺ ติ ยอ่ มเปน็ ไปพรอ้ ม อปุ สมำย เพือ่ ความเข้าไปสงบระงับ อภิญฺญำย เพอื่ ความรู้ยงิ่ สมฺโพธำย เพอ่ื ความรู้พร้อม 29
นพิ ฺพำนำย เพอื่ ความดับสนิท กตมำ จ สำ ภิกขฺ เว มชฌฺ ิมำ ปฏปิ ทำ ตถำคเตน อภสิ มพฺ ทุ ฺธำ ดกู อ่ นภิกษทุ ง้ั หลาย ข้อปฏิบตั ิเป็นกลางนัน้ ทีพ่ ระตถาคตเจ้าตรัสรู้แล้ว ด้วยปญั ญาอนั ยิง่ เปน็ ไฉน อยเมว อริโย อฏฺ งคฺ ิโก มคฺโค หนทางทอี่ งค์ ๘ ประการไปจากขา้ ศกึ คอื กิเลสได้ เสยฺยถีท� คอื สมมฺ ำทิฏฺิ ความเห็นชอบ สมมฺ ำสงกฺ ปฺโป ความ ด�าริชอบ สมมฺ ำวำจำ กล่าววาจาชอบ สมฺมำกมฺมนฺโต ทา� การงานชอบ สมฺมำอำชโี ว เลยี้ งชีพชอบ สมฺมำวำยำโม ทา� ความเพียรชอบ สมมฺ ำสติ ระลกึ ชอบ สมมฺ ำสมำธิ ตง้ั ใจ ชอบ น่ปี ระกอบดว้ ยองค์ ๘ ประการ อย� โข สำ ภิกฺขเว มชฺฌิมำ ปฏิปทำ ตถำคเตน อภสิ มพฺ ุทฺธำ จกฺขกุ รณี ญำณกรณี อปุ สมำย อภิญญฺ ำย สมฺโพธำย นพิ ฺพำนำย สว� ตตฺ ติ อยา่ งน้แี หละ ภกิ ษทุ ้ังหลาย อย่างนีแ้ หละข้อปฏิบตั ิอนั เป็นกลางท่พี ระตถาคตเจ้าตรัสรู้ ด้วยปัญญาอนั ยงิ่ กระท�าความเห็นให้เป็นปรกติ กระทา� ความรใู้ หเ้ ปน็ ปรกติ ยอ่ มเปน็ ไปเพ่อื ความออกไปสงบระงับ เพ่ือความรยู้ ่งิ รพู้ ร้อมซึง่ พระนพิ พาน 30
น้ีหลักประธานปฐมเทศนา ทรงรบั ส่งั ใจความพระพทุ ธ- ศาสนาบอกปัญจวคั คีย์ทงั้ ๕ โดยตรงๆ ไม่มวี กไปทางใด ทางหนง่ึ เลย บอกตรงๆ ทีเดยี ว แตว่ า่ ผฟู้ งั พอเปน็ วิสัยใจคอ เปน็ ฝา่ ย ขปิ ปฺ ำภญิ ญฺ ำ เทา่ น้กี เ็ ขา้ ใจแลว้ วา่ ธรรมของศาสดา นลี้ ึกจริง ถ้าวา่ ไมเ่ ปน็ ขิปฺปำภญิ ฺญำ เป็น ทนฺธำภญิ ฺญำ จะ ต้องชี้แจงแสดงขยายออกไปอกี จึงจะเข้าใจปฐมเทศนา พระองค์ทรงรบั สั่งบอกพระปัญจวคั คีย์ท้งั ๕ วา่ ท่ีสุดท้งั ๒ อย่างน่ันนนั้ อันบรรพชิตไม่ควรเสพ ท่สี ุด ๒ อย่างน่ะอะไร เอาใจไปจรดในรูป ในเสยี ง ในกล่ิน ในรส ในสมั ผสั ท่ี ชอบใจน้ันแหละ หรอื ยนิ ดรี ปู เสยี ง กล่นิ รส สมั ผัส ท่ชี อบใจ น้นั แลตวั กามสุขัลลิกานุโยค ถ้าวา่ เอาไปจรดรูปนน้ั เขา้ แลว้ จะเป็นอยา่ งไร ทกุ ฺโข เป็นทุกข์แก่ผู้เอาใจไปจรดนั้น หีโน ถ้าเอาใจไปจรดเขา้ รูป เสยี ง กล่นิ รส สัมผัส ทีช่ อบใจน้นั ใจต่�า ไมส่ งู ใจต่า� ทเี ดยี ว ใจมืดทเี ดียว ไมส่ วา่ ง เพราะเอา ไปจรดกบั อ้ายท่ชี อบใจ ท่ีมวั ซวั เช่นนนั้ ถ้าไปจรดท่ีมืดมนั ก็แสวงหาทมี่ ืดทีเดียว ไม่ไปทางสว่างละ นัน่ น่ะจับตัวได้ เอาใจเข้าจรดกับรูป เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั ทีช่ อบใจ ชวนไป ทางมืดเสียแลว้ ไมช่ วนไปทางสวา่ ง ปดิ ทางสวา่ งเสียแล้ว 31
เม่ือเปน็ อย่างนนั้ ทา่ นจึงได้ยืนยนั หโี น ต�า่ ทราม ไมไ่ ป ทางนักปราชญ์ราชบัณฑิต ไปทางโลกไปทางปถุ ุชนคนพาล เสียแล้ว หีโน ตา่� ทรามลงไปอยา่ งนี,้ คมฺโม ถา้ ไปจรดมนั เข้าไม่สะดวก ทา� ให้ต้องปลูกบ้านปลูกเรือนให้เหมาะเจาะ มีฝารอบขอบชดิ ใหด้ จี งึ จะสมความปรารถนาน้ัน ไปเสียทาง โนน้ อกี แลว้ น้นั ใจมันชกั ชวนเสียไปทางน้ันแลว้ น้ัน คมฺโม, โปถุชฺชนโิ ก ก็หมักหมมสั่งสมกิเลสให้หนาขน้ึ ทุกที ไม่บาง สักทีหน่งึ นนั่ แหละ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส เข้ามาๆๆ เป็นตึกร้านบ้านเรือนกนั ยกใหญ่เชยี วคราวน้ี แนน่ หนากัน ยกใหญ่เชียว, อนรโิ ย ออกไมไ่ ด้ ไมไ่ ปจากข้าศกึ คอื กเิ ลส ได้ ไม่หลุดจากรปู เสียง กลิ่น รส สัมผัส ไมห่ ลุดจากความ ยนิ ดีในรปู เสยี ง กลิ่น รส สมั ผสั ตดิ อยู่น่นั เอง พระองคท์ รงรบั ส่งั วา่ น่ๆี พวกน้กี ามสุขลั ลิกานุโยค ไป จากข้าศกึ คือกิเลสไม่ได้ ไปไม่ได้ทีเดียว อนตฺถสญฺหิโต แลว้ เปน็ อย่างไรบ้าง ไม่มปี ระโยชน์เลย ถามคนแก่ดูก็ได้ ท่ี ครอบครองเรอื นมาแลว้ ท่ีตดิ อยใู่ นรปู เสยี ง กล่ิน รส สมั ผัส มาแล้ว ติดจนกระทงั่ ถึงแก่เฒ่าชรา ไปถามเถอะ ร้อยคน พันคนมายนื ยัน บอกตรงทุกคน ท�าไมจึงบอกตรงล่ะ 32
แกวางก้าม๑ เสยี แล้วนะ บอกตรงซิ ถ้ายงั ไม่วางก้ามยัง กระมดิ กระเมีย้ นอยู่ ยังจะนิยมชมชื่นอยู่ นั่นพระองค์ทรง รับสงั่ วา่ กามสุขัลลิกานุโยคไม่มปี ระโยชนอ์ ะไร อยา่ เข้าไป ตดิ ถ้าเข้าไปติดแล้วไปไมไ่ ด้ นั่นวา่ โย จำย� อตฺตกิลมถำนโุ ยโค ทุกฺโข ประกอบ ความล�าบากให้แก่ตนเปล่า ไร้ประโยชน์ นี่ อตฺต- กลิ มถำนโุ ยโค เปน็ ทกุ ขแ์ กผ่ ปู้ ระกอบ ไปจากขา้ ศึกคอื กิเลสน้นั ไมไ่ ด้ ไมม่ ปี ระโยชนอ์ กี เหมือนกนั อตั ตกิลมถานุโยคน่ันทา� อยา่ งไร ประกอบความล�าบากใหแ้ กต่ น พวกประกอบความ ล�าบากให้น่ันทา� อยา่ งไร นอนหนาม ตากแดด ย่างไฟ ไม้ เคาะหน้าแข้ง หาบทราย น่ีพวกประพฤติดับกิเลส นอน หนาม ตากแดด ยา่ งไฟ ไมเ้ คาะหน้าแขง้ หาบทราย นอน หนาม หนามน่นั เจบ็ เสีย ความสงัดยินดีก็หายไปได้ เขา้ ใจ วา่ หมดกเิ ลส เป็นทางหมดกิเลส ตากแดดละ่ เม่อื ตากแดด แดดรอ้ นเขา้ กไ็ มม่ ีความกา� หนดั ยินดเี ขา้ นะซิ เขา้ ใจวา่ กเิ ลส ดับแล้ว นัน่ ความเข้าใจของเขา เข้าใจอย่างนนั้ ย่างไฟล่ะ ๑ คา� วา่ วำงกำ้ ม ในท่นี ้ใี ชใ้ นเชิงวา่ ปล่อยวาง คอื ทอดธรุ ะไม่เอาใจใส่ หรอื ไมช่ งิ ดชี ิงเดน่ อกี ต่อไปแล้ว 33
ยา่ งไฟมาจากแดด แดดไมส่ ะดวกกเ็ อาไฟยา่ ง มากอ่ ไฟ กอ่ ไฟถ่าน อยู่ข้างบนเข้าให้ นอนบนกองไฟ นอนบนไฟย่าง นอนบนไฟ นอนข้างบนร้อนรุ่มเหมอื นอย่างกับไฟย่างนั้น ได้ชื่อว่าย่างไฟ ไม้เคาะหน้าแข้งล่ะ มคี วามกา� หนดั ยินดีขึ้นมาไม่รู้จะทา� อย่างไร มันเดินก็ ไม่ถนัดขาแข็งไปหมด ไม้เคาะหน้าแข้งเปกเข้าไปให้ เงยี บ หาย ความก�าหนดั ยนิ ดดี บั ไป เอ้อ น่ีดีน่ี ไดอ้ ย่างทัน อกทนั ใจ ทหี ลงั ก�าหนดั ยนิ ดเี วลาไหนกเ็ อาไมเ้ คาะหนา้ แขง้ เปกๆ เข้าไปให้อย่างหนัก นีค้ วามกา� หนัดยินดีกห็ ายไป อยา่ งน้ีเปน็ หมเู่ ปน็ พวกตอ้ งทา� เหมือนกัน เปน็ หนทางดที าง ถกู ของเขา พวกไม้เคาะหน้าแข้ง หาบทราย หาบทราย เหน่อื ยเตม็ ท่หี มดความกา� หนดั ยนิ ดี ควายเปล่ียวๆ ยังสยบ เลย ถงึ อย่างน้นั หาบทราย ไอท้ รายกองใหญท่ พ่ี วกอตั ต- กิลมถานุโยคประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยนู่ านเข้ามาอาศัย กองใหญ่ มหมึ าทีเดียว หาบมาเอามากองเข้าไว้ หาบเข้ามากองไว้ ใหญม่ หมึ า นนั่ เพ่อื จะทา� ลายกเิ ลส ดบั กเิ ลส นเี่ ขาเรยี กวา่ อตั ตกลิ มถานุโยคทั้งน้ัน ลักษณะอัตตกิลมถานุโยคมี มากมายหลายประการ ทผี่ ิดทางมรรคผล ปฏิบตั ิตนให้ เหน่ือยเปลา่ ไมม่ ปี ระโยชน์ น่นั แหละอัตตกลิ มถานโุ ยคท้ังน้นั 34
ยนิ ดใี น รปู เสยี ง กลนิ่ รส สมั ผสั อตั ตถลิ มถำนโุ ยค เหมอื นกนั เอำดไี มไ่ ด้ เดอื ดรอ้ นร่ำ� ไป น่นั อตั ตกลิ มถำนโุ ยค เหมือนกัน อัตตกลิ มถานโุ ยคเป็นอย่างไรล่ะ ร่างกาย ทรุดโทรมไปตามกนั ฆา่ ตวั เอง ทา� ลายกา� ลังตัวเอง ตัดแรง ตวั เอง น่งี มงายอวดวา่ ฉลาด นึกดทู ี เออ้ เราไมร่ ู้เท่าทนั ถ้า รู้เท่าทนั ไม่ถึงขนาดนีเ้ ลย เพราะไม่ได้ยนิ ได้ฟังธรรมของ พระพุทธเจ้าพระอรหันต์ ไม่ได้ฝึกฝนใจทางพระพทุ ธเจ้า เลย ความรู้ไม่เท่าทนั จึงได้เป็นอตั ตกลิ มถานุโยคอยู่เช่นนี้ นีเ่ รยี กวา่ อัตตกลิ มถานโุ ยค ๒ อยา่ งนี้ กามสขุ ลั ลิกานโุ ยค อตั ตกลิ มถานุโยค เลิก เสีย ไม่เสพ อย่าเสพ อย่าเอาใจไปจรด อย่าเอาใจไปติด ปลอ่ ยทีเดยี ว ปลอ่ ยเสียใหห้ มด เม่อื ปลอ่ ยแลว้ เดนิ มชั ฌมิ า ปฏิปทา ขอ้ ปฏบิ ตั ิอนั เปน็ กลาง ไมแ่ วะวงเข้าไปใกล้ซงึ่ ทาง ทั้ง ๒ อยา่ งนนั้ อนั พระตถาคตเจ้าตรัสรแู้ ลว้ ดว้ ยพระญาณ อันยงิ่ นขี่ ้อปฏิบตั ิเป็นกลางซึง่ เราควรรู้ กลางน่ีลกึ ซึง้ นัก ไมม่ ใี ครรใู้ ครเขา้ ใจกันเลย ธรรมท่เี รยี กวา่ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ันเปน็ กลางนะ่ ปฏบิ ัตแิ ปลวา่ ถงึ เฉพาะซ่งึ กลาง อะไรถงึ ตอ้ งเอาใจ เข้าถึงซึ่งกลางซิ เอาใจเข้าไปถึงซึ่งกลาง กลางอยู่ตรงไหน กลางมแี ห่งเดียวเทา่ นน้ั แหละ 35
เม่ือเราเกิดมาเปน็ มนษุ ยใ์ จเรากห็ ยดุ อยกู่ ลาง เมอื่ เวลา เราจะหลับใจเราก็ต้องไปหยุดกลาง ผดิ กลางหลับไม่ได้ ผิดกลางเกดิ ไมไ่ ด้ ผดิ กลางตายไมไ่ ด้ ผดิ กลางตน่ื ไมไ่ ด้ ตอ้ ง เขา้ กลางถูกกลางละกเ็ ปน็ เกิด เปน็ หลับ เปน็ ต่นื กนั ทีเดยี ว อยู่ตรงไหน ในมนุษย์นมี่ ีแห่งเดียวเท่านัน้ ศูนย์กลางกาย มนุษย์ สะดือทะลุหลังขึงด้ายกลุ่มเส้นหนึง่ ตึง ได้ระดับ กรอบปรอททเี ดียว สะดือทะลุหลงั ขึงด้ายกลุ่มเส้นหนงึ่ ตึง ขวาทะลุซ้ายขึงด้ายกลุ่มอกี เส้นตึงอยู่ในระดับแค่กัน ได้ ระดบั กนั ทเี ดยี ว ไดร้ ะดบั กนั เหมอื นแมน่ ้�าทเี ดยี ว ระดบั นา้� หรือระดับปรอทแบบเดียวกนั เมอื่ ได้ระดับเช่นนนั้ แล้ว ดึงท้งั ๒ เส้น ข้างหน้าข้างหลังตึง ตรงกลางจรดกัน ตรง กลางจรดกันน่ันแหละเขาเรยี กวา่ กลางก๊กั ทเ่ี สน้ ดา้ ยคาดกนั ไปน่นั กดลงไปน่นั กลางกก๊ั กลางก๊ักน่ันแหละถูกกลางดวง ธรรมท่ที �าใหเ้ ปน็ กายมนษุ ย์ ใสบรสิ ทุ ธ์ิ เทา่ ฟองไขแ่ ดงของไก่ กลางดวงธรรมท่ที า� ใหเ้ ปน็ กายมนษุ ยน์ ่นั แหละ แรกเรามาเกิด เอาใจหยดุ อยตู่ รงน้ัน ตายไปกอ็ ยตู่ รงน้นั หลบั กไ็ ปอยตู่ รงนน้ั ตน่ื ก็ไปอยตู่ รงน้ัน น่ันแหละเปน็ ท่ีดบั ท่หี ลับ ท่ตี ่นื กลางแทๆ้ เทยี ว กลางดวงธรรมทที่ �าให้เป็นกายมนษุ ย์ ใสบริสทุ ธิ์ เทา่ ฟองไขแ่ ดงของไก่ กลางน่นั แหละ ตรงกลางนน่ั แหละ 36
ไปหยดุ อยู่ทีศ่ ูนย์กลำงนั่นแหละได้ชอื่ ว่ำมชั ฌิมำ มชั ฌิมำนะ่ พอหยดุ กห็ มดดี หมดชว่ั ไม่ดีไมช่ ่ัวกัน หยดุ ทเี ดยี ว พอหยดุ จัดเปน็ บญุ กไ็ ม่ได้ พอหยุดจดั เปน็ บำปก็ ไม่ได้ จัดเปน็ ดีกไ็ ม่ได้ ช่ัวกไ็ ม่ได้ ต้องจดั เป็นกลำง ตรง นนั้ แหละกลำง ใจหยุดกเ็ ปน็ กลำงทีเดยี ว น้ที พี่ ระองคใ์ ห้ นัยไวก้ ับองคุลิมาลวา่ สมณะหยดุ สมณะหยดุ พระองคท์ รง เหลยี วพระพกั ตร์มา สมณะหยดุ แล้ว ท่านก็หยดุ นี้ต้อง เอาใจไปหยุดตรงน้ี หยดุ ตรงนนั้ ถกู มัชฌมิ าปฏปิ ทาทเี ดียว พอหยดุ แล้วกต็ ัง้ ใจอันนัน้ ทหี่ ยดุ นัน้ อย่าให้กลับมาไม่หยดุ อีกนะ ใหห้ ยดุ ไปทา่ เดยี วน่นั แหละ พอหยุดแลว้ กถ็ ำมซวิ ำ่ หยดุ ลงไปแล้วยงั ตำมอัตตกิลมถำนุโยคมไี หม ยินดีใน รูป เสยี ง กลิ่น รส สัมผสั ตัวรูป เสยี ง กลิ่น รส สัมผัส ยนิ ดไี หม ไมม่ ี นน่ั กำมสุขลั ลกิ ำนโุ ยคไมม่ ี ล�ำบำกยำกไร้ ประโยชนไ์ มม่ ี หยดุ ตำมปรกติ ของเขำไมม่ ี ทำงเขำไมม่ ี แลว้ เม่อื ไมม่ ที างดงั กลา่ วแลว้ น่ีตรงน้ีแหละท่ีพระองคท์ รง รบั ส่งั วา่ ตถำคเตน อภสิ มพฺ ทุ ธฺ ำ พระตถาคตเจา้ รแู้ ลว้ ดว้ ย ปญั ญายงิ่ ตรงนแี้ หง่ เดียวเทา่ นั้น ต้งั ตน้ นแ้ี หละจนกระท่ัง ถงึ พระอรหตั ผล ทนี ีจ้ ะแสดงวิธตี รัสรู้เป็นอนั ดับไป ถ้า 37
ไมแ่ สดงตรงไมร่ ู้ ฟงั ปฐมเทศนาไมอ่ อกทเี ดยี ว อะไรละ่ พอ หยุดกกึ เขา้ คอื อะไร หยุดกึกเขา้ นน่ั ละเขาเรยี กใจ เปน็ ปรกติ ละ่ หยดุ นิ่งอยา่ ขยบั ไป หยุดนิ่งพอถูกส่วนเข้าเท่านั้นแหละ กลางของนิง่ นัน้ แหละ จะไปเห็นดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เท่าดวง จนั ทรด์ วงอาทติ ย์ บรสิ ทุ ธ์สิ นทิ ดงั กระจกคันฉอ่ งสอ่ งเงาหนา้ อยใู่ นกลางหยุดกลางนง่ิ น่นั แหละ กลางนนั่ แหละ พอเขา้ ถึง กลางดวงธมั มานปุ ัสสนาสติปัฏฐานก็หยุดนิง่ อยู่กลางดวง ธมั มานปุ ัสสนาสติปัฏฐานอีกแบบเดียวกัน พอถูกส่วนเข้า จะเขา้ ถงึ ดวงศีล เทา่ ดวงจันทรด์ วงอาทิตย์เหมอื นกนั หยดุ อยู่กลางดวงศลี อีก เข้าถกู ส่วน เข้ากลางดวงศีลนั่นเองจะ เขา้ ถึงดวงสมาธิ หยุดอย่กู ลางดวงสมาธินั่นแหละ ดวงเทา่ กนั พอถกู ส่วนเข้าเท่านั้นจะเข้าถึงดวงปัญญา ดวงเท่ากนั หยดุ อยู่กลางดวงปัญญานัน่ แหละ พอถกู ส่วนเข้าเท่านัน้ แหละ เขา้ ถงึ ดวงวมิ ตุ ติ หยดุ อยกู่ ลางดวงวมิ ตุ ติ พอถูกสว่ น เขา้ กเ็ ขา้ ถงึ ดวงวมิ ุตตญิ าณทสั สนะ หยดุ อยกู่ ลางดวงวมิ ตุ ต-ิ ญาณทัสสนะนัน่ แหละ พอถูกส่วนเข้า เห็นกายมนุษย์ ละเอียด เหน็ แจม่ 38
แปลกจรงิ กายน้เี ราเคยฝนั ออกไป เวลาฝนั มนั ออกไป เมอื่ ไม่ฝันมนั อยูต่ รงนี้เองหรือ ใหเ้ หน็ แจม่ อยู่ในกลางดวง วมิ ตุ ติญาณทสั สนะ กลางตัวของตวั น่ัน เหน็ ชดั เชยี ว อกี ช้นั หน่งึ ละนะ เขา้ มาถงึ น้ีละ น่พี ระพทุ ธเจา้ เดนิ อยา่ งน้ี พกั อยา่ ง น้ีทเี ดียว เอา เราเดนิ เข้ามาชนั้ หน่งึ แลว้ เขา้ มาอีกชั้นหน่ึง แลว้ ตอ่ ไปนไ้ี มใ่ ชห่ นา้ ท่ขี องกายมนษุ ยห์ ยาบละ เปน็ หนา้ ท่ี ของกายมนุษย์ละเอียดทา� ไป ใจกายมนษุ ยล์ ะเอยี ดกห็ ยดุ นงิ่ อยศู่ นู ยก์ ลางดวงธรรม ทเี่ ปน็ กายมนษุ ย์ละเอยี ด แบบเดียวกันทีเดียว พอถูกสว่ น กเ็ ห็นดวงธมั มานุปสั สนาสตปิ ฏั ฐาน หยุดอยกู่ ลางดวงธมั มาน-ุ ปสั สนาสตปิ ฏั ฐาน ถกู สว่ นเขา้ เขา้ ถงึ ดวงศลี หยดุ อยกู่ ลาง ดวงศีล ถูกสว่ นเขา้ เขา้ ถงึ ดวงสมาธิ หยดุ อยกู่ ลางดวงสมาธิ ถูกสว่ นเขา้ เขา้ ถงึ ดวงปญั ญา หยุดอยกู่ ลางดวงปญั ญาแบบ เดยี วกัน เข้าถึงดวงวิมตุ ติ หยุดอยกู่ ลางดวงวิมุตติ ถกู ส่วน เขา้ เขา้ ถงึ ดวงวิมตุ ตญิ าณทสั สนะ หยุดอยกู่ ลางดวงวิมุตต-ิ ญาณทสั สนะ ถกู ส่วนเข้ากเ็ ข้าถึงกายทิพย์ ทีน่ ีห่ มดหน้าที่ ของกายมนุษยล์ ะเอยี ดไปแลว้ 39
ใจกายทิพยห์ ยดุ นิง่ อยศู่ นู ยก์ ลางกายทิพย์อีก ถกู ส่วน เข้า เห็นดวงธัมมานปุ ัสสนาสติปัฏฐาน หยดุ อยู่กลางดวง ธัมมานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน ถูกส่วนเข้า เหน็ ดวงศลี หยุดอยู่ กลางดวงศีล ถกู สว่ นเขา้ เหน็ ดวงสมาธิ หยดุ อยกู่ ลางดวง สมาธิ ถูกส่วนเขา้ เห็นดวงปญั ญา หยุดอยกู่ ลางดวงปัญญา ถูกส่วนเข้า เห็นดวงวิมตุ ติ หยุดอยู่ศูนย์กลางดวงวิมุตติ ถูกส่วนเข้า เห็นดวงวมิ ตุ ติญาณทสั สนะ หยุดอยู่กลางดวง วมิ ุตตญิ าณทัสสนะ ถูกสว่ นเขา้ ก็เหน็ กายทพิ ยล์ ะเอยี ด ใจกายทพิ ย์ละเอียดหยดุ น่ิงอยู่ศนู ย์กลางกายทิพย์ ละเอียดอีก ถูกสว่ นเข้า เห็นดวงธมั มานปุ สั สนาสติปัฏฐาน แบบเดียวกัน หยุดอยู่กลางดวงธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน พอถกู ส่วนเขา้ เหน็ ดวงศลี ดวงเท่ากนั หยดุ อยู่ศนู ยก์ ลาง ดวงศลี ถกู ส่วนเข้า เหน็ ดวงสมาธิ หยุดอยู่ศูนย์กลางดวง สมาธิ ถูกส่วนเข้า เหน็ ดวงปัญญา หยดุ อยู่ศูนย์กลางดวง ปญั ญา ถูกสว่ นเขา้ เหน็ ดวงวิมุตติ หยุดอยู่ศูนยก์ ลางดวง วิมุตติ ถูกส่วนเข้า เหน็ ดวงวมิ ุตติญาณทัสสนะ หยดุ อยู่ ศนู ย์กลางดวงวิมตุ ติญาณทสั สนะ ถกู ส่วนเข้า เหน็ กาย รปู พรหม 40
ใจกายรปู พรหมหยดุ น่งิ อยศู่ ูนยก์ ลางดวงธรรมท่ที �าให้ เป็นกายรูปพรหม ถูกสว่ นเข้า เห็นดวงธัมมานปุ ัสสนาสต-ิ ปัฏฐาน หยุดศนู ย์กลางดวงธมั มานปุ ัสสนาสติปัฏฐาน ถูก ส่วนเขา้ เห็นดวงศลี หยุดอยกู่ ลางดวงศีล ถูกส่วนเข้า เห็น ดวงสมาธิ หยุดอยศู่ ูนยก์ ลางดวงสมาธิ ถูกสว่ นเขา้ เห็นดวง ปัญญา หยดุ อยศู่ นู ยก์ ลางดวงปญั ญา ถกู ส่วนเขา้ เหน็ ดวง วิมตุ ติ หยุดอยู่ศนู ย์กลางดวงวมิ ุตติ ถูกส่วนเข้า เห็นดวง วิมุตติญาณทัสสนะ หยดุ อยู่ศูนย์กลางดวงวิมุตติญาณ- ทัสสนะ ถูกส่วนเข้า เหน็ กายรปู พรหมละเอียด ใจกายรปู พรหมละเอียดหยดุ นง่ิ อยศู่ นู ยก์ ลางดวงธรรม ที่ทา� ให้เปน็ กายรปู พรหมละเอยี ด นเี้ ปน็ กายท่ี ๖ แลว้ พอ ถกู สว่ นเขา้ เหน็ ดวงธัมมานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน หยุดอยศู่ นู ย์ กลางดวงธมั มานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน พอถูกสว่ นเขา้ เห็นดวง ศลี หยดุ อยศู่ ูนยก์ ลางดวงศีล พอถกู สว่ นเขา้ เหน็ ดวงสมาธิ หยดุ อยู่ศนู ย์กลางดวงสมาธิ ถกู ส่วนเข้า เห็นดวงปัญญา หยดุ อยู่ศูนย์กลางดวงปัญญา ถูกส่วนเข้า เห็นดวงวิมตุ ติ หยดุ อยู่ศูนย์กลางดวงวมิ ุตติ ถกู ส่วนเข้า เห็นดวงวมิ ตุ ติ- ญาณทัสสนะ หยุดกลางดวงวิมตุ ติญาณทัสสนะ ถูกส่วนเขา้ เห็นกายอรูปพรหม 41
ใจกายอรูปพรหมหยดุ นิง่ อยู่ศนู ย์กลางดวงธรรมที่ ท�าให้เป็นกายอรูปพรหม ถูกส่วนเข้า เห็นดวงธัมมานุ- ปัสสนาสติปัฏฐาน หยุดนิง่ อยู่ศนู ย์กลางดวงธัมมานุ- ปสั สนาสตปิ ฏั ฐาน ถกู สว่ นเขา้ เห็นดวงศีล หยุดอยศู่ ูนยก์ ลาง ดวงศีล ถกู ส่วนเข้า เห็นดวงสมาธิ หยุดอยู่ศูนย์กลางดวง สมาธิ ถูกส่วนเข้า เหน็ ดวงปัญญา หยดุ อยู่ศนู ย์กลางดวง ปญั ญา ถกู สว่ นเขา้ เห็นดวงวมิ ุตติ หยุดอย่ศู ูนยก์ ลางดวง วมิ ตุ ติ ถกู ส่วนเข้า เหน็ ดวงวมิ ุตติญาณทัสสนะ หยดุ อยู่ ศนู ย์กลางดวงวมิ ตุ ติญาณทสั สนะ ถกู ส่วนเข้า เหน็ กาย อรปู พรหมละเอียด หยุดนงิ่ อยู่ศูนย์กลางดวงธรรมทที่ �าให้เป็นกายอรูป- พรหมละเอียด ถกู ส่วนเข้า เหน็ ดวงธัมมานุปัสสนาสติ- ปฏั ฐาน หยดุ อยศู่ นู ยก์ ลางดวงธมั มานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน ถกู สว่ นเข้า เห็นดวงศลี หยดุ อยู่ศนู ย์กลางดวงศลี ถูกส่วนเข้า เห็นดวงสมาธิ หยุดอยศู่ ูนยก์ ลางดวงสมาธิ ถกู สว่ นเขา้ เหน็ ดวงปัญญา หยดุ อยูศ่ นู ย์กลางดวงปัญญา ถกู สว่ นเขา้ เหน็ ดวงวมิ ตุ ติ หยุดอยู่ศูนย์กลางดวงวิมุตติ ถูกส่วนเข้า เหน็ ดวงวิมตุ ตญิ าณทัสสนะ หยดุ อยศู่ ูนยก์ ลางดวงวิมตุ ตญิ าณ- 42
ทัสสนะ ถกู ส่วนเข้า เห็นกายธรรม รูปเหมือนพระพุทธ- ปฏิมากรเกตดุ อกบัวตมู ใสเปน็ กระจกคนั ฉอ่ งส่องเงาหน้า หน้าตกั โตเล็กตามสว่ น ไมถ่ ึง ๕ วา หยอ่ นกวา่ ๕ วา น่เี รียก วา่ กายธรรม กายธรรมน่ีเรียกวา่ พทุ ธรตั นะ น่พี ระพุทธเจ้า ท่านตรสั รูไ้ ด้อย่างน้ี นปี่ ฐมยามตรัสรู้เป็นพระพทุ ธเจ้าอย่างนี้ทเี ดียว เป็นตัวพระพุทธรัตนะอย่างนี้ นีพ่ ระพุทธเจ้าท่านตรัสรู้ขึ้น อย่างนี้ นี่ปฐมยามได้ตรัสรู้เป็นพระพทุ ธเจ้าอย่างนีท้ เี ดียว เป็นตัวพระพุทธเจ้าทเี ดียว รูปเหมอื นพระปฏิมากรเกตุ ดอกบวั ตมู ใสเปน็ กระจกคันฉอ่ งสอ่ งหนา้ ท่ีท�ารปู ไวน้ ่ีแหละ น่ีแหละตวั พระพทุ ธเจ้าทเี ดยี ว แต่ว่ากายเป็นที่ ๙ กายท่ี ๙ เปน็ กายนอกภพไมใ่ ชก่ ายในภพ ทา� ไมรวู้ า่ เปน็ พระพุทธเจา้ กท็ า� รปู ไวท้ ุกวดั ทุกวาจะไมร่ วู้ า่ เปน็ พระพุทธเจา้ อยา่ งไร ทา� ต�าราไว้อย่างนี้ ก่อนเราเกิดมาเป็นไหนๆ กท็ �าไว้อย่างนี้ ปรากฏอย่างนแี้ หละตัวพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าทเี ดียว ตวั พุทธรตั นะทเี ดยี ว ออ้ นเ่ี ขา้ ถึงพทุ ธรตั นะเปน็ พระพุทธเจา้ แล้ว 43
ทีท่ า่ นรับรองว่า ตถำคเตน อภิสมฺพทุ ธฺ ำ ตถำคเตน แปลว่า ตถาคต ธรรมกายน่ะ แต่วา่ ธรรมกายนั้นทา่ นทรง รับสงั่ ว่า ธมมฺ กำโย อห� อิติปิ เราพระตถาคตผู้เป็น ธรรมกาย ตถำคตสฺส เหต� วำเสฏฺ ำ อธวิ จน� ธมมฺ กำโย อิติปิ ค�าว่า ธรรมกายน่ะตถาคตแท้ๆ ทรงรับสงั่ อย่างนี้ เข้าถึงธรรมกายแลว้ นี่ตถาคตทเี ดียว ร้ขู ้ึนแลว้ เปน็ ข้ึนแล้ว ปรากฏข้ึนแล้ว ต่อไปนี้เรามาเป็นธรรมกายดังนี้ รู้จักทาง แลว้ ใจธรรมกายกห็ ยดุ นง่ิ ท่ีศนู ยก์ ลางดวงธรรมทท่ี า� ใหเ้ ปน็ ธรรมกาย ดวงธรรมของธรรมกายวัดผ่าเส้นศูนย์กลางเท่า หนา้ ตกั ธรรมกาย กลมรอบตวั ใสเกนิ กว่าใส ใจธรรมกายกห็ ยุดนิง่ อยู่ทศี่ ูนย์กลางดวงธรรมทที่ �าให้ เปน็ ธรรมกาย หยดุ นง่ิ พอถกู สว่ นถึงดวงธมั มานปุ สั สนาสต-ิ ปฏั ฐาน เทา่ ดวงธรรมนน้ั หยดุ อยกู่ ลางดวงธัมมานปุ สั สนา- สติปัฏฐาน ถูกส่วนเข้ากเ็ ห็นดวงศีล หยดุ อยู่กลางดวงศีล พอถูกส่วนเข้ากเ็ ห็นดวงสมาธิ หยดุ นิ่งอยู่กลางดวงสมาธิ เห็นดวงปญั ญา หยุดนง่ิ อยกู่ ลางดวงปญั ญา ก็เหน็ ดวงวมิ ตุ ติ หยุดนิง่ อยู่กลางดวงวิมตุ ติ ถูกส่วนเข้าก็เห็นดวงวิมุตติ- ญาณทัสสนะ หยดุ นิ่งอยู่กลางดวงวิมุตติญาณทัสสนะ 44
ถกู สว่ นเข้าก็เห็นธรรมกายละเอียด หน้าตัก ๕ วา สูง ๕ วา เกตุดอกบัวตูม ใสหนกั ขึน้ ไป ธรรมกายหยาบเป็นพทุ ธ- รัตนะ ดวงธรรมท่ที �าใหเ้ ปน็ ธรรมกาย วัดผ่าเสน้ ศนู ย์กลาง เทา่ หนา้ ตกั ธรรมกาย เปน็ ธรรมรตั นะ ธรรมกายละเอียดอยู่ ในกลางดวงธรรมรตั นะน่ันแหละเปน็ สงั ฆรตั นะ ดงั น้ี อยใู่ น ตวั ทอ่ี นื่ ไมม่ ี ทุกคนมอี ยูใ่ นตวั ของตัว ผู้หญิงกม็ ผี ู้ชายก็มี เช่นเดยี วกนั ทุกคน นีแ่ หละพุทธรตั นะ ธรรมรัตนะ สงั ฆ- รัตนะ เม่ือรูจ้ กั ดังนี้ เมอ่ื ทา่ นเป็นพระพุทธเจ้าข้นึ เชน่ นี้แล้ว นีเ่ ปน็ โคตรภูแลว้ ทา่ นก็ส�าเรจ็ ขึน้ ไปอกี ๘ ชนั้ ท่านก็เป็น พระอรหนั ต์ไปอยูก่ บั พระพุทธเจ้าทีเดียว พอเปน็ สพั พัญญูพุทธเจา้ ก็ทา่ นเอาเรอ่ื งน้ีมาแสดงกบั พระปัญจวคั คีย์ทงั้ ๕ ให้พระปัญจวัคคยี ์ทัง้ ๕ ฟัง ท่าน แสดงเรื่องของท่านว่า อันเราตถาคตเจ้าตรัสรู้แล้วด้วย ปญั ญาอันย่ิง ทา่ นทา� ความเห็นเปน็ ปรกติ เห็นอะไร ตาอะไร ตาพระพุทธเจ้า ตาธรรมกาย มีตา ตาดีนัก เห็นด้วยตา ธรรมกายนนั่ แหละ จกฺขุกรณี ท�าให้เห็นเป็นปรกติ เห็น ความจรงิ หมด ญำณกรณี กระทา� ความรใู้ หเ้ ปน็ ปรกตญิ าณ ของท่าน 45
Search