Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำหนังสือเรียนรายวิชาเลือกเสรี

การจัดทำหนังสือเรียนรายวิชาเลือกเสรี

Published by Bunchana Lomsiriudom, 2020-10-08 02:49:09

Description: หนังสือเรียนเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอน เพราะเนื้อหาในหนังสือเรียนนั้น ต้องถูกต้องและสอดคล้องกับหลักสูตร การทำหนังสือเรียนเริ่มจากการวิเคราะห์หลักสูตร คำอธิบายรายวิชา และขอบเขตเนื้อหา แล้วจึงจัดทำเค้าโครงเนื้อหา และเขียนโครงสร้างเนื้อหาของรายวิชา เพื่อนำมาจัดทำเป็นหัวข้อย่อยของเนื้อหาแต่ละบท โดยผู้จัดทำจำเป็นต้องศึกษาลักษณะสำคัญ วิธีการจัดทำหนังสือเรียนให้เข้าใจก่อน จากนั้นจึงยกร่างหนังสือเรียนตามรูปแบบหนังสือเรียนรายวิชาเลือก เมื่อยกร่างเสร็จแล้ว จึงนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญบรรณาธิการเพื่อตรวจเนื้อหาและอื่น ๆ ที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์ ตลอดจนพิสูจน์อักษรให้เสร็จสิ้นก่อน ที่จะนำหนังสือเรียนไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ แล้วนำมาแก้ไขข้อบกพร่อง จึงจะได้หนังสือเรียนที่มีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้จัดการเรียนการสอนได้

Keywords: หนังสือเรียน,กศน.,ครูกศน.,วิชาเลือกเสรี,พื้นฐาน

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการอบรม การจดั ทาหนงั สือเรียนรายวิชาเลือกเสรี สาหรับครูการศกึ ษานอกโรงเรยี น สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารประกอบการอบรม การจัดทาหนงั สอื เรยี นรายวิชาเลือกเสรี สาหรับครูการศกึ ษานอกโรงเรยี น สถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคเหนอื สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจัดทาหนังสือเรียนรายวิชาเลือกเสรี สาหรับครูการศึกษา นอกโรงเรียน จัดทาข้ึนด้วยความร่วมมือจากวิทยากรของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและสถาบัน กศน. ภาคเหนือ ประกอบด้วยเน้ือหา ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการจัดทาหนังสือเรียน การยกร่าง การบรรณาธิการ และการหาประสิทธิภาพหนังสือเรียน เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาและสามารถนาไป พัฒนาส่อื การเรยี นการสอนในสถานศึกษาได้ แม้จะเสร็จส้ินการอบรมไปแล้วก็ตาม สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทาเอกสารประกอบ การอบรม หลักสูตรการจัดทาหนังสือเรียนรายวิชาเลือกเสรี สาหรับครูการศึกษานอกโรงเรียน และหวังว่า เอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในการจัดอบรมครูการศกึ ษานอกโรงเรยี นใหม้ ปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป สถาบัน กศน. ภาคเหนือ มนี าคม 2562

สารบญั หนา้ คานา 1 สารบัญ 2 บทที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกบั การจัดทาหนังสือเรียน 4 7 หลักสูตรกับการจัดทาหนังสอื เรยี น 10 หนังสือเรียนในฐานะสื่อการเรียนรู้ 13 แนวทางการสรา้ งหนังสือเรียน 14 การเตรียมการเพ่ือจดั ทาหนังสอื เรียน 17 บทที่ 2 การยกรา่ งหนงั สือเรียนรายวชิ าเลือก 29 การจดั ทาส่วนประกอบตามรูปเล่มหนังสือเรยี น 31 การนาเสนอเนื้อหา 42 การนาเสนอกจิ กรรม 43 การจดั ทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น 44 บทที่ 3 การบรรณาธิการ 46 ความหมายและบทบาทของบรรณาธิการ 47 การอ่านกบั งานบรรณาธกิ าร 47 บทที่ 4 การประเมนิ หนังสือเรียน 52 ความหมายและความสาคญั ของการประเมนิ หนังสือเรียน 58 เกณฑ์การประเมินหนังสือเรยี น 60 วิธกี ารประเมนิ หนงั สือเรยี น บรรณานกุ รม คณะผจู้ ัดทา

บททย่ 1 คิามรู้เบ้ออ สต้ัเกน่ย ิกบั การจดั ทาหััสสออเรยนั สาระสาคญั 1. หลักสูตร หมายถงึ มวลประสบการณ์ ท่ีสถานศกึ ษาจัดใหก้ ับผู้เรียน ดงั น้นั จึงต้องมีวัสดุหลกั สตู ร ประเภทหนงึ่ ไดแ้ ก่ หนังสอื เรียน ซง่ึ จะนาเสนอเนอ้ื หาท่สี อดคลอ้ งกับจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร ทาให้ผสู้ อน สามารถจดั การเรยี นการสอนพัฒนาผเู้ รียนไดบ้ รรลุจดุ มงุ่ หมาย 2. หนังสือเรียนเป็นสื่อการเรียนรู้ประเภทหน่ึงที่มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเนื้อหาของหนังสอื เรยี นจะต้องถกู ตอ้ งและสอดคล้องกับหลกั สตู ร 3. แนวการสร้างหนังสือเรียน ผู้จัดทาหนังสือเรียนจะต้องศึกษาลักษณะสาคัญและวิธีการจัดทา หนังสอื เรียนให้เข้าใจ จึงจะสามารถจัดทาหนังสือเรียนท่มี ีคุณภาพได้ 4. การเตรียมการเพื่อจัดทาหนังสือเรียน จะเริ่มจากการวิเคราะห์หลักสูตร คาอธิบายรายวิชา และ ขอบเขตเน้ือหา จากนั้นจึงจัดทาเค้าโครงเนื้อหา และเขียนโครงสร้างเนื้อหาของรายวิชา เพ่ือนามาจัดทา เป็นเนือ้ หาแต่ละบท เพื่อนาไปเรียบเรยี งเปน็ หนังสือเรยี นต่อไป ผลการเรยนัร้ทู ่ยคาดหิสั 1. ระบุความสัมพันธร์ ะหวา่ งหลักสูตรกบั การจัดทาหนังสอื เรยี นได้ 2. อธบิ ายความหมายของหนงั สือเรยี นในฐานะที่เป็นสื่อการเรียนรู้ได้ถูกต้อง 3. ระบแุ นวทางการสร้างหนังสอื เรียนได้ 4. บอกวธิ ีเตรียมการเพื่อจัดทาหนังสือเรียนได้ ขอบขา่ นเัอ้อ หา เรอื่ งที่ 1 หลักสูตรกับการจัดทาหนงั สือเรียน เรื่องที่ 2 หนงั สอื เรียนในฐานะสือ่ การเรียนรู้ เรอื่ งท่ี 3 แนวทางการสร้างหนงั สือเรียน เรื่องท่ี 4 การเตรยี มการเพอ่ื จดั ทาหนังสอื เรยี น เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหััสสออ เรนย ัรานิาช าเลออกเสรย 1 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตรนั้น จาเป็นจะต้องมี สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้เป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพตามท่ี หลักสูตรตอ้ งการ ส่ือดังกลา่ ว ได้แก่ หนังสอื เรียน ซง่ึ เป็นส่ือสาคัญที่ครูจะต้องใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยปกติครูมักจะต้องจัดหาหนังสือเรียนที่จัดทาโดยกระทรวงศกึ ษาธิการ หรือสานักพิมพ์ของเอกชน เพื่อใช้ ในการเรยี นการสอน ซึ่งหนังสือดงั กลา่ ว หากนามาใชใ้ นหลกั สูตรรายวิชาเลอื กอาจมเี นื้อหาที่ไม่สอดคล้องกับ ผเู้ รียน และบริบทในท้องถ่ิน ดังน้ันครูจึงควรเป็นผู้สร้างหนังสือเรียนด้วยตนเองหรือกลุ่มเพ่ือนครู เพื่อจะได้ หนังสือเรียนที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับหลักสูตร และช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพให้ผู้เรียนอย่างแท้จริง ในท่ีน้ี จะกล่าวถงึ การสรา้ งหนังสอื เรยี นในประเด็นเรื่อง หลกั สูตรกับการจัดทาหนงั สือเรียน หนังสือเรียนในฐานะส่ือ การเรยี นรู้ แนวทางการสรา้ งหนังสอื เรียน และการเตรยี มการเพ่อื จัดทาหนงั สือเรียน ซงึ่ มีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. หลกั สตู รกับการจดั ทาหัสั สออ เรยนั ในการจัดการเรียนการสอนไม่ว่าจะเป็นการศึกษาประเภทใดก็ตามจะต้องจัดให้สอดคล้องกับ หลักสูตรที่กาหนดไว้ เน่ืองจากหลักสตู รน้ันหมายถึง มวลประสบการณ์ทง้ั หมดที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียน ดังนั้นก่อนที่จะจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องศึกษาหลักสูตรก่อนว่าเป็นหลักสูตร ประเภทใด เพ่อื จะได้เข้าใจจุดประสงคข์ องหลกั สตู ร และสามารถจดั การศกึ ษาไดบ้ รรลจุ ุดประสงคข์ องหลกั สตู ร ในที่นจ้ี ะกล่าวถงึ ประเภทของหลกั สตู ร และความสัมพนั ธ์ของหลักสตู รกับการจดั ทาหนงั สือเรยี น ดังนี้ 1.1 ประเภทขอสหลักสูตร การกาหนดประเภทของหลกั สตู รน้ัน ดวงเดือน พินสุวรรณ์ (2555 : 4-25 ถงึ 4-26) สรุปได้ว่า หลักสตู รมี 4 ประเภท ได้แก่ หลักสูตรท่เี นน้ เนอื้ หาวชิ า หลักสูตรท่ีเน้นสมรรถนะหรือคุณภาพผูเ้ รยี น หลกั สูตร ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี น และหลกั สูตรท่ีเน้นการแก้ปญั หาสงั คมและการปฏิรูปสงั คม ซง่ึ แต่ละประเภทมลี ักษณะเด่น ดังนี้ 1) หลกั สูตรทยเ่ ัั้ เั้ออ หาิชาา (subject matter) หลกั สตู รประเภทน้ีเน้นเนือ้ หาวิชาเป็นศูนยก์ ลาง เปน็ รูปแบบด้ังเดิม และมีอิทธิพลตอ่ การจัด การศกึ ษามายาวนาน หลกั สูตรลักษณะน้ีพัฒนาขึน้ จากฐานความเช่ือวา่ สงิ่ ท่ที าให้มนษุ ยแ์ ตกต่างจากสัตวอ์ น่ื ๆ คือ สติปัญญาและการค้นคว้าหาความรู้ ซึ่งเห็นว่าหลักสูตรควรประกอบด้วยวิชาท่ีสาคัญท่ีจะธารงไว้ ซง่ึ คณุ ลักษณะแห่งความเปน็ มนษุ ย์ โดยสิง่ ท่ีเลือกสรรเพื่อให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรนู้ ้ันได้รับการพิจารณากล่ันกรอง จากผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ ไม่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความรู้ที่กาหนดสาหรับผู้เรียนมักแยกเป็นส่วน ๆ ตามศาสตร์ตา่ ง ๆ โดยจดั เป็นวิชาหรอื รายวชิ า 2) หลกั สูตรทยเ่ ั้ัสมรรถัะหรออคุณภาพผเู้ รยนั (competencies) หลักสูตรประเภทนี้จะกาหนดสมรรถนะสาคัญท่ีต้องการให้เกิดแก่ผู้เรยี นเพ่ือเป็นเป้าหมาย ทีใ่ ชใ้ นการจัดการศกึ ษา และเปน็ เกณฑ์ในการเทยี บเคียง ตรวจสอบคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา มากกว่าการเน้น ด้านเน้ือหาสาระ เนื้อหาสาระเป็นเพียงส่ือในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุคุณภาพท่ีต้องการ ซึ่งบางคร้ัง เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจัดทาหััสสออ เรยนัรานิาช าเลออกเสรย 2 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรยนั

ในการบรรลคุ ุณภาพเดียวกันผา่ นการเรียนเนือ้ หา และวิธีการเรียนการสอนท่ีแตกตา่ งกันได้ การจัดการศึกษา ข้นั พื้นฐานในหลายประเภท หน่วยงานส่วนกลางได้มีการกาหนดสมรรถนะของผ้เู รียน เพื่อเป็นกรอบทศิ ทาง ให้สถานศึกษาใช้ในการสร้างหลักสูตร ออกแบบการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้ เยาวชนของชาติได้รับการพัฒนาอย่างมีคุณภาพเท่าเทียมกัน สมรรถนะที่กาหนดจึงถือเป็นมาตรฐานกลางท่ี ผเู้ รียนจะต้องได้รบั การพฒั นาไปใหถ้ ึง การพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษาก็จะมุ่งพฒั นาผ้เู รียนไปสูม่ าตรฐานท่ี กาหนด (standards-based curriculum) การออกแบบหลกั สตู ร จดั องค์ประกอบของหลกั สตู รลกั ษณะนจ้ี ะมี ความยืดหยนุ่ กว่าหลกั สูตรท่ีเน้นเน้ือหาวิชา และสามารถจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการได้สะดวกขน้ึ เพราะยึด คณุ ภาพของผู้เรียนที่เกิดขึน้ มากกว่ายึดเน้อื หาสาระตามรายวิชาทกี่ าหนด 3) หลกั สูตรทย่เัั้ ผู้เรนย ั (individual needs) หลักสูตรรูปแบบน้ีเน้นและใหค้ วามสาคัญท่ีตัวผู้เรยี นและความแตกต่างของผู้เรียนมากกว่า การเน้นเนื้อหาวิชา โดยดูความสนใจของผู้เรียนเป็นหลักในการออกแบบหลกั สูตร และจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ เป็นหลักสูตรทใ่ี ห้ความสาคญั แก่ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล บนพ้นื ฐานความเช่อื ที่ว่า คนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ท้ังด้านความต้องการ ความรู้ความสามารถ พื้นฐานของสั งคม ครอบครัว วฒั นธรรม การจัดหลักสูตรจึงต้องคานงึ ถงึ ความแตกตา่ งเหล่านี้ และมักจะมกี ารบรู ณาการเนือ้ หาให้เป็นหน่วย ของประสบการณ์หรอื สภาพสังคม ที่เน้นผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง และหลักสูตรรูปแบบนี้จะไมต่ ้ังจดุ มุ่งหมายไว้ ตายตวั เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีอิสรเสรี มีความคิดสร้างสรรค์ และให้เรยี นตามความตอ้ งการ และความสามารถ ของตัวเอง ส่งเสริมการวัดประเมนิ ผลตามสภาพจริง 4) หลักสตู รท่เย ัั้ การแก้ปัญหาสัสคมและการปฏชรูปสัสคม (social functions) หลกั สตู รลักษณะนี้ได้รบั การออกแบบเพื่อสนองความต้องการและแกป้ ัญหาที่เกิดขึ้นในสงั คม เพ่ือนาไปสกู่ ารพัฒนาสภาพสังคม ต้องการช่วยแก้ปญั หาและพฒั นาชวี ิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมให้ดีข้ึน การออกแบบหลกั สูตรจะเช่อื มโยงกับการพฒั นาสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ โดยเน้นสภาพชีวิตและปัญหา ในสังคมเป็นหลัก ไมถ่ อื วา่ เนื้อหาสาระ ประสบการณต์ ่าง ๆ ท่กี าหนดในหลักสูตรเป็นสง่ิ แนน่ อนตายตัว แตเ่ ปน็ สงิ่ ทต่ี ้องจดั ให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกับบริบทสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ไมไ่ ด้มุ่งเน้นให้ผู้เรยี นเรียนรู้ มรดกทางวฒั นธรรม แต่สนใจสภาพที่เกดิ ข้นึ ในปัจจุบนั มีการบรู ณาการเนอื้ หาจากหลายสาขาวชิ า เพอ่ื พัฒนา ผเู้ รยี นใหเ้ ป็นสมาชิกทดี่ ีของสังคมและประเทศชาติ สามารถปรบั ตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มและดารงชวี ิต อยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ซง่ึ ประกอบด้วย 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้ ความรู้พ้ืนฐาน การประกอบอาชีพ ทักษะการดาเนินชีวิต และ การพัฒนาสังคม เป็นหลักสูตรท่ีเน้นสมรรถนะหรือคุณภาพของผู้เรียน ดังน้ันจึงมีมาตรฐานและตัวช้ีวัดเป็น กรอบในการจัดการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนาผ้เู รียนให้มีศกั ยภาพตามมาตรฐานและตัวชวี้ ัดดงั กลา่ ว เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหัสั สออ เรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 3 สาหรบั ครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

1.2 คิามสมั พััธร์ ะหิ่าสหลกั สูตรกบั การจดั ทาหััสสออเรยนั หลักสูตรมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการจัดทาหนังสือเรียน เนื่องจากการนาหลักสูตรไปใช้น้ัน จะต้องมีการจัดทาวสั ดุหลกั สตู ร เพ่ือนามาใช้ในการนาหลักสตู รไปปฏิบัติไดจ้ รงิ และหนังสอื เรยี นจัดเป็นวสั ดุ หลกั สูตรประเภทหนึ่งที่จะนาเสนอเนื้อหาท่สี อดคลอ้ งกับจุดประสงค์ของหลักสูตร เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้ศึกษาและ ฝกึ ทักษะ เพื่อที่จะไดม้ คี วามสามารถตามท่ีจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รกาหนดไว้ ดังน้ัน หนังสือเรียนจึงเปรียบเสมือนสิ่งท่ีเป็นรูปธรรมของหลักสูตร เพราะจะบรรลุเนื้อหา สาคัญที่สอดคล้องกับหลักสูตร เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาหนังสือเรียนก็เท่ากับผู้เรียนกาลังได้รับการพัฒนาตาม เปา้ หมายของหลักสตู ร เนื่องจากหนังสือเรียนมีความสาคัญเช่นน้ี ในบทนี้เราจะได้ศึกษาเก่ียวกับหนังสือเรยี นและ การจัดทาหนังสอื เรียนในเร่ืองต่อไป 2. หััสสออ เรนย ัใัฐาัะสอ่อ การเรนย ัรู้ ดังที่กล่าวแล้วว่าหนังสือเรียนเป็นส่ือการเรยี นรู้ท่ีสาคัญต่อการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้เข้าใจ ในเรอื่ งน้ีไดด้ ีย่งิ ข้นึ จะขอกลา่ วถึงความหมาย และการกาหนดประเภทของสอื่ การเรียนรู้ประเภทหนังสือ ดงั นี้ 2.1 คิามหมานสอ่อการเรนย ัรู้ มนี ักวิชาการหลายทา่ นให้ความหมายของคาวา่ “สือ่ การเรียนรู้” ไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ กรมวิชาการ (2544 : 20) ให้ความหมายของ “สื่อการเรียนรู้” หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่าง รอบตวั ผู้เรยี นทีจ่ ะช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ เนน้ สื่อท่ีใช้สาหรับการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ท้ังผ้เู รียนและ ผู้สอน ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทา พัฒนาส่ือการเรียนรู้ข้ึนเอง หรือนาสื่อต่าง ๆ ท่ีมีอยู่รอบตัวมาใช้ ในการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (2555 : 15) กลา่ วว่า “สอ่ื การเรยี นรู้” มายถงึ แบบเรียน ตารา หนังสอื ทางวชิ าการ ส่งิ พมิ พอ์ ื่น ๆ วสั ดอุ ุปกรณ์ และเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาอน่ื ทจี่ ัดทาขน้ึ เพอื่ ใช้ในการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานและการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สุมาลี ชัยเจรญิ (2554 : 41) ได้กล่าวไว้วา่ “ส่อื การเรียนรู้” หมายถึง ทุกสิ่งทุกอยา่ งรอบตัว ผู้เรยี นท่ีชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ เช่น วัสดุ อปุ กรณ์ วิธีการ ตลอดจน คน สัตว์ ส่ิงของ ธรรมชาติ รวมถึง เหตุการณ์ หรอื แนวความคิด อาจอยู่ในลักษณะท่ีถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก เพิ่มพูนทักษะและ ประสบการณ์ หรือเป็นเครื่องมือที่กระตุ้นให้เกิดศักยภาพทางความคิด (cognitive tools) ตลอดจนสิ่งท่ี กระตุ้นให้เป็นผู้แสวงหาความรู้และมีทักษะในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เพื่อมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาส เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ดังน้ัน สื่อการเรียนรู้ จึงหมายถึง สิ่งที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน สามารถเรียนรูไ้ ดด้ ว้ ยตัวเอง เพอ่ื เพ่มิ เตมิ ความรทู้ มี่ ีอยูเ่ ดิมหรอื อาจสรา้ งความรู้ ความเข้าใจใหมไ่ ดอ้ กี วิธกี ารหน่งึ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหััสสออเรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 4 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

2.2 คณุ ลกั ษณะเฉพาะขอสสอ่อการเรนย ัรู้ ลกั ษณะการจดั ทาส่ือการเรยี นรูท้ ี่ดแี ละมปี ระโยชนต์ ่อ การศึกษานัน้ จะมีคณุ ลกั ษณะเฉพาะ ดงั ที่สุมาลี ชยั เจริญ (2554) ได้กล่าวถึง คณุ ลักษณะของสื่อการเรียนรู้ว่า “ต้องช่วยส่งเสริมการสร้างความรู้ของผู้เรียน ช่วยส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มุ่งเน้นการพัฒนา ความคิดของผู้เรียน เป็นสื่อทหี่ ลากหลาย ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ วิธีการ ตลอดจนส่ิงที่มตี ามธรรมชาติ และช่วย พัฒนาการทางานร่วมกันเป็นทีม” ซ่ึงหากพิจารณาถึงลักษณะการจัดทาสื่อการเรียนรู้ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2555 : 17) ได้กาหนดลักษณะการจัดทาส่ือการเรียนรู้ไว้ตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ โดยใหส้ ่วนราชการหรอื ผู้ได้รับมอบหมายแตง่ ต้ังหรอื มอบหมายผูจ้ ัดทา ดังน้ี 1) จัดทา หรอื เรียบเรยี งขึ้นเอง เป็นผลงานคน้ คว้าของตนเองหรอื สรา้ งสรรคข์ น้ึ ใหม่ 2) เรียบเรียงขนึ้ จากผลงานคน้ คว้า ของผู้อ่ืน หรือจากต้นฉบับของผู้อื่นหลาย ๆ ฉบับ 3) แปลหรือเรียบเรียงโดยอาศัยต้นฉบับของผู้อื่น 4) ปรบั ปรุง แก้ไขจากของเดิม ซงึ่ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอนุญาตให้ใชแ้ ล้ว และ 5) เป็นผลงานที่จดั พิมพ์เผยแพร่ แล้ว ซ่ึงส่วนราชการผู้รับผิดชอบเห็นว่ามีเน้ือหาสาระสอดคล้องกับหลักสูตร และพิจารณาเห็นชอบให้พิมพ์ เผยแพร่ได้ ท้ังนี้ “สือ่ การเรยี นรู้” น้ัน จะต้องเปน็ ประโยชน์ต่อการศึกษา มีคาอธบิ ายละเอยี ดชัดเจน มีความ ประณีต เรียบร้อย หากเป็นลิขสิทธ์ิของบุคคลหรือหน่วยงานใด ต้องได้รับอนุญาตและมีข้อตกลงกบั เจ้าของ ลิขสทิ ธ์ิ อน่ึง ส่ือการเรียนรู้ที่ได้รับการยอมรับต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ก็คือ “หนังสือเรียน” ท่ีต่อมา ก็ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันว่า เป็นหน่ึงในสื่อการเรียนรู้เช่นกัน ดังนั้นการให้ความสาคัญกับส่ือการเรียนรู้ ย่อมหมายถึง หนังสือเรียนอีกนัยหนึ่ง ซึ่งการสร้างส่ือการเรียนรู้หรือหนังสือเรียน จึงเป็นเร่ืองละเอียดและ พิถีพิถัน ท้ังนี้ก็เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสริมหรือพัฒนาทักษะและการเรียนรู้ทางวิชาการของผู้เรียนให้เกิด กระบวนการทางปัญญา (cognitive process) อยา่ งเต็มศักยภาพ 2.3 กาหัดประเภทขอสส่ออการเรยนัรู้ประเภทหัสั สออ กระทรวงศกึ ษาธิการ (2522) ได้มีคาสั่ง เรื่อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้และการควบคุมการใช้หนังสือสาหรับนักเรียนโรงเรียนป ระถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ซึ่งกาหนดประเภทของหนังสือท่ีใช้ในโรงเรียนไว้ ดังนี้ 1) หนังสือเรียน 2) หนังสือเสริม ประสบการณ์ ซ่งึ แบ่งไดเ้ ปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสืออ่านเพิ่มเตมิ หนังสืออุเทศ และ หนังสอื ส่งเสรมิ การอ่าน ซึ่งเปน็ ประเภทสดุ ท้ายของหนงั สือทใี่ ช้ในโรงเรียน และ 3) แบบฝึกหัด ต่อมา กระทรวงศกึ ษาธิการ (2544) ได้มคี าส่งั เร่อื ง แนวปฏบิ ตั เิ ก่ียวกับการใช้และการควบคุม การใช้ส่ือการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนในโรงเรียนประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา โดยยกเลิกคาสั่งข้างต้น แต่เน้อื หาสาระยังคงใกล้เคียง สอดคลอ้ งกบั เอกสารแนบท้ายคาส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการฉบบั เดิม กลา่ วเฉพาะ ประเภทของสื่อการเรียนการสอนที่ใช้ในโรงเรยี น แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 1) หนังสือเรียน 2) แบบฝึกหัด 3) คู่มือการเรียนการสอน 4) หนังสือเสริมประสบการณ์ ซึ่งแบ่งย่อยได้ 4 ประเภท ได้แก่ หนังสืออ่านนอก เวลา หนังสอื อา่ นเพิม่ เตมิ หนังสืออเุ ทศ และหนงั สอื สง่ เสรมิ การอ่าน โดยมรี ายละเอียดของแต่ละประเภท ดังน้ี เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหััสสออ เรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 5 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรนย ั

1) หนังสือเรียน คือ หนังสือที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ใช้สาหรับการเรียนการสอน มเี นอ้ื หาถูกต้องและสอดคลอ้ งกบั หลักสูตร ซง่ึ คาสัง่ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2522) ได้ระบุถงึ รปู เลม่ หนงั สือเรียน ว่าอาจจะมีลักษณะเปน็ เลม่ เปน็ แผน่ หรือเปน็ ชดุ กไ็ ด้ รวมท้ังบอกด้วยว่าอาจใชช้ ่ือเรยี กต่าง ๆ กันวา่ หนังสือเรยี น แบบเรยี น แบบสอนอ่าน หนังสืออ่าน หนังสือประกอบการเรียน ก็ได้ ทั้งน้ีในอดีตก่อนหลักสูตรพุทธศักราช 2521 และก่อนหลักสูตรพุทธศักราช 2524 มักเรียกชื่อหนังสือลักษณะน้ีว่า แบบเรยนั แต่เปลี่ยนมาใช้ว่า หััสสออเรยนั ตามหลักสูตร ตั้งแต่พุทธศักราช 2521 เป็นต้นมา เช่น หนังสือเรียนภาษาไทย ตามหลักสูตร ประถมศกึ ษา พุทธศักราช 2521 ท่เี รียกกนั ทัว่ ไปว่า ชุดมานะมานี เปน็ ต้น 2) แบบฝึกหัด คือ ส่ือการเรียนสาหรบั ให้ผเู้ รยี นได้ฝึกปฏิบัตเิ พื่อชว่ ยส่งเสริมให้เกดิ ทักษะและ ความแตกฉานในบทเรียน แบบฝกึ หัดทีจ่ ะใชใ้ นโรงเรียนไดน้ ั้น กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้กาหนด ซ่ึงคาอธิบาย เกยี่ วกับแบบฝึกหดั นี้ ไม่มรี ายละเอียดเปลย่ี นแปลงจากคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ (2522) เพยี งยา้ ยลาดบั จาก หนังสอื อ่านเพม่ิ เติมมาอยู่หลังจากประเภทหนงั สือเรียน เป็นขอ้ สงั เกตว่าให้ความสาคัญใกลเ้ คยี งหนังสือเรยี น ในปัจจุบันมีแบบฝึกหัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา เช่น แบบฝึกหัดรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพ่ือชีวิต ทักษะภาษา ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กลุ่มสาระ การเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) หรอื บางหนว่ ยงาน เชน่ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดทากิจกรรมวิทยาศาสตร์ จัดทาแบบฝึกเสริมทักษะรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาแต่ละช้ัน พิมพ์เผยแพร่จาหน่ายช่วยครูผู้สอนด้วย อย่างไรก็ตาม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเภททักษะ จาเป็นต้องให้นักเรียนฝึกหัดเพ่ือความชานาญ ครูผู้สอนจึงควรสร้างแบบฝึกหัดเพ่ิมเติม ให้สอดคลอ้ งกบั ผู้เรียนของตน 3) คู่มือการเรียนการสอน คือ หนังสือสาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนของครูและ นกั เรยี น หนงั สอื ประเภทนี้เรมิ่ มกี ลา่ วถึงในคาส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการ (2544) เป็นหนงั สือทีจ่ ะช่วยในการเรยี น การสอน ซง่ึ มิได้บังคับวา่ นักเรียนต้องมีใช้ประจาตวั แต่เป็นหนังสือท่ีครูและนักเรียนใช้รว่ มกันได้ เช่น คู่มือ การเรียนการสอนภาษาไทย เรื่อง สร้างเด็กไทยให้อ่านเก่ง อ่านเร็ว ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 คู่มือการเรียน การสอนภาษาไทย เรอ่ื ง คิดและเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ เรยี งความ ย่อความและสรปุ ความ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 4) หนงั สือเสริมประสบการณ์ คือ หนังสือท่ีจดั ทาข้ึนโดยมุ่งเน้นถึงประโยชน์ของการศึกษา หาความร้ดู ้วยตนเอง การเพิม่ พูนความรู้ความเขา้ ใจในสงิ่ ที่เรยี นรู้ตามหลักสูตรให้กว้างขวางข้ึน การเสรมิ สร้าง ทักษะและนิสัยรักการอ่าน ความซาบซ้ึงในคุณค่าของภาษาและความสนุกสนานเพลิดเพลิน จาแนกประเภทได้ ดงั น้ี (1) หนังสืออ่านนอกเวลา คือ หนังสือท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ใช้ในการเรียน วิชาใดวิชาหน่ึง ตามหลักสูตรนอกเหนือจากหนังสือเรียน สาหรับให้นักเรียนอ่านนอกเวลาเรียน โดยถือว่า กิจกรรมการเรียนรู้เกยี่ วกับหนังสอื นเ้ี ป็นส่วนหน่งึ ของการเรียนการสอนตามหลกั สตู ร เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหััสสออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 6 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

(2) หนังสืออ่านเพิ่มเติม คือ หนังสือท่ีมีสาระอิงหลักสูตร สาหรับให้นักเรียนอ่าน เพื่อศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เติมด้วยตนเองตามความเหมาะสมกบั วัย และความสามารถในการอ่านของแต่ละบคุ คล หนงั สือประเภทนเี้ คยเรียกว่า หนังสอื อา่ นประกอบ (3) หนังสืออุเทศ คือ หนังสือสาหรับใช้ค้นคว้าอ้างอิงเกี่ยวกับการเรียนการสอน การเรียบเรยี ง หนงั สือประเภทน้ีเปน็ หนงั สอื เชงิ วชิ าการ (4) หนังสือเสริมการอ่าน คือ หนังสือท่ีจัดทาขึ้นโดยมุ่งส่งเสริมให้ผู้อ่านเกิดทักษะ การอ่านและนิสัยรักการอ่านมากยิ่งข้ึน อาจเป็นหนังสือสารคดี นวนิยาย นิทาน ฯลฯ ท่ีมีลักษณะไม่ขัดต่อ ความมั่นคงของชาติ วฒั นธรรม ประเพณี และศีลธรรมอันดีงาม ใหค้ วามรู้ มคี ติและมสี าระประโยชน์ จะเห็นได้ว่าเกณฑ์ท่ีสาคัญในการจาแนกประเภทหนังสือ ก็คือวัตถุประสงค์ในการจัดทา หนังสือดงั กลา่ ว ทาใหค้ รแู ละผู้เรยี นสามารถเลือกใชห้ นังสือแต่ละประเภทไดต้ ามจดุ มุ่งหมายของตน การท่ีผ้ใู ช้ หนังสือจะได้ประโยชน์อย่างครบถ้วน ย่อมขึ้นอยู่กับผู้สร้างหนังสือด้วยว่าจะมีแนวการสร้างหนังสือแต่ละ ประเภทอย่างไร จงึ จะทาใหเ้ กดิ คณุ ภาพตามทตี่ อ้ งการ หนังสือท่ีครูจะใช้ในการเรียนการสอนโดยตรง คือ หนังสือเรียน จัดว่าเป็นส่ือการเรียนรู้ ที่สาคัญที่สุด ดังน้ันหากครูสามารถสร้างหนังสือเรียนได้สอดคล้องกับหลักสูตรท่ีตนสอน จะทาให้การเรียน การสอนบรรลุวัตถปุ ระสงค์ และทาให้ผเู้ รยี นได้รับประโยชน์จากการเรียนอยา่ งแท้จรงิ 3. แัิทาสการสรา้ สหัสั สออเรนย ั การสร้างหนังสือเรียนให้มคี ุณภาพน้ัน ผู้สรา้ งต้องศึกษาลักษณะสาคัญของหนังสือเรียน ความสาคัญ ของหนงั สอื เรียน สว่ นประกอบของหนังสือเรยี น และวธิ กี ารจัดทาหนังสือเรียน ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ 3.1 ลกั ษณะสาคญั ขอสหัสั สออเรยนั หนงั สอื เรยี นจะตอ้ งมลี กั ษณะสาคัญ ดงั ต่อไปน้ี 1) ดา้ นหลกั สูตร หนังสือเรียนตอ้ งมีเนื้อหาสาระครบถ้วนตามสาระการเรียนรทู้ ่กี าหนดไวใ้ น หลกั สูตรแต่ละชั้นเรียน ในแต่ละภาคเรียน หรือในแต่ละปี เนื้อหาสาระดังกล่าวจะต้องมีความสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีระบุไว้ และมีลักษณะท่ีน่าเชื่อได้ นอกจากน้ี หนังสือเรียนจะต้องมีเน้ือหาสาระเป็น จานวนมากน้อย เหมาะสมกบั จานวนชว่ั โมงท่ีกาหนดดว้ ย 2) ดา้ นเน้ือหาวิชา หนังสือเรียนจะตอ้ งนาเสนอเน้ือหาสาระท่ีถูกต้องตามหลักวิชา ในสาขา นั้น ๆ เน้ือหามีความทันสมัย มีปริมาณมากน้อยพอเหมาะสมแก่การท่ีจะให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และมี ความสามารถตามท่ีระบุไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ 3) ดา้ นการเสนอเนื้อหา หนังสือเรียนจะต้องเสนอเน้ือหาสาระโดยแบง่ เป็นหนว่ ย เปน็ ตอน หรือเป็นบทอยา่ งเหมาะสม การเรียงลาดับเนือ้ หาสาระจะต้องมีความเหมาะสมตามหลกั วชิ าและตามธรรมชาติ ของการเรียนรู้ นอกจากนี้ในการเสนอเน้ือหาแต่ละเรื่องจะต้องมีความสอดคล้องกันระหว่างหัวข้อเรื่องและ เน้ือหาดว้ ย เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหัสั สออ เรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 7 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรยนั

4) ด้านส่งเสริมความเข้าใจ เนื้อหาสาระท่ีเสนอในหนังสือเรียนจะต้องชัดเจนและผู้เรียน สามารถเขา้ ใจได้งา่ ย 5) ดา้ นสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน หนังสือเรยี นสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน โดยชแ้ี นะผู้เรยี นให้ ทาความเขา้ ใจขณะอ่าน และชว่ ยชี้แนะครูซึ่งเป็นสื่อกลางระหวา่ งผู้เขยี นหนังสือและผู้เรยี นในการจัดกจิ กรรม การเรยี นการสอนด้วย จะเหน็ ได้ว่าหนงั สือเรียนเป็นหนังสอื ทีม่ ีลักษณะเฉพาะท่ีนา่ ศึกษาและน่าสนใจเปน็ อย่างยง่ิ 3.2 คิามสาคัญขอสหััสสออเรยนั ดังที่ไดก้ ล่าวแล้ววา่ หนังสือเรียนเปน็ สือ่ การเรยี นรทู้ ี่มีบทบาท สาคัญในการจัดการศึกษา ศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์ และชลาภรณ์ สุวรรณสัมฤทธิ์ (2560 : 7-22) กล่าวถึง ความสาคัญของหนงั สือเรยี น สรปุ ไดด้ งั นี้ 1) เพื่อใช้เป็นแหล่งความรู้งานด้านวิชาการ เนื่องจากหนังสือเรียนมเี นื้อหาที่เน้นการเสนอ สาระทเี่ ปน็ วชิ าการโดยตรง การท่ผี เู้ รียนอ่านหนังสอื ประเภทน้ี ยอ่ มจะต้องได้รับความร้โู ดยตรง แต่หากจะให้มี ความรู้ทีล่ ึกซ้งึ เพ่ิมขนึ้ ควรอา่ นหนังสือวิชาการประเภทอนื่ เพิ่มเติมดว้ ย 2) เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ เพราะหนังสือเรียนรวบรวมเนื้อหาตามที่กาหนดไว้ใน หลักสูตร ทาใหผ้ ู้เรยี นไดค้ วามรูอ้ ยา่ งครบถว้ นตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร 3) เพือ่ ใหผ้ สู้ อนใช้ประกอบการสอน เพราะในการเรียนการสอน ผู้สอนจะใชห้ นงั สือเรยี นใน การจัดกิจกรรมให้ผูเ้ รยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จะเห็นได้ว่า หนังสือเรียนมีความสาคัญต่อท้ังผู้เรียนและผู้สอน ช่วยทาให้สามารถจั ด การศกึ ษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3.3 ส่ิัประกอบขอสหัสั สออเรยนั หนังสอื เรียนโดยทั่วไปจะมีสว่ นประกอบท่ีนา่ สนใจ ศันสนีย์ สังสรรคอ์ นันต์ และชลาภรณ์ สวุ รรณสัมฤทธิ์ (2560 : 7-23 ถึง 7-24) สรปุ ได้ว่าหนังสือเรยี นมีส่วนประกอบ 6 ส่วน ดงั น้ี 1) หั้าปก หน้าปกของหนังสือเรียน ประกอบด้วย ชื่อวิชา ช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้น ช่ือและตราของหน่วยงานท่ีจัดพิมพ์ ราคาของหนังสือเรียน และภาพประกอบซึ่งควรเป็นภาพที่มี ความเกีย่ วขอ้ งและตรงกบั เนอื้ หาวิชา โดยอาจใช้เปน็ ภาพถา่ ยหรือภาพวาดลายเสน้ ก็ได้ ข้นึ อยู่กบั วยั ของผู้เรียน 2) คาัา เป็นการกล่าวถงึ จดุ มุง่ หมายของผูเ้ ขียนทเี่ ขยี นหนังสอื เรียนเลม่ น้ี หรอื อาจกลา่ วถึง ประโยชนข์ องหนงั สือดงั กลา่ วก็ได้ 3) สารบัญ หน้าสารบัญจะบอกถึงช่ือบท ตอน หรือหัวเรื่อง โดยจะมีเลขหน้าบอกเพ่ือ สะดวกแก่ผอู้ า่ น ซ่งึ สามารถค้นหาหัวเร่ืองที่สนใจหรอื ต้องการอา่ น 4) เัอ้อหา เนื้อหาของหนังสือเรียนควรมีความถูกต้อง ตรงตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร สามารถนาไปใช้อา้ งอิงได้ ควรแบง่ เน้อื หาเปน็ บท และแต่ละบทแบ่งออกเป็นตอน ภาษาท่ีใช้เขยี นควรมีความ ยากงา่ ยทเี่ หมาะสมกบั วยั ของผู้เรยี น และเนอ้ื หาควรเปน็ ปัจจบุ ันและทันสมยั เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหััสสออ เรยนัรานิาช าเลออกเสรย 8 สาหรบั ครกู ารศึกษาัอกโรสเรนย ั

5) ภาพประกอบเัอ้อหา ภาพประกอบที่เลือกใช้ในหนังสือเรียน ควรเป็นภาพที่มีความ ชัดเจนและสือ่ ความหมายไดต้ รงกบั ในเรอื่ งทนี่ าเสนอ ถา้ เปน็ ภาพสีจะมีความชัดเจนและส่ือความหมายไดด้ ีมาก และควรจดั วางตาแหน่งของรูปภาพให้เหมาะสม แสดงลาดบั ของภาพ และคาอธบิ ายใต้ภาพ หากภาพประกอบ เนอ้ื หานามาจากเว็บไซดค์ วรแสดงทมี่ าของ URL และวนั ทส่ี ืบคน้ 6) บรรณาัุกรม ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงของข้อมูลที่นามาเขียนเป็นเน้ือหาในหนังสือเรียน นอกจากนี้ยงั ใชส้ าหรับสืบคน้ เนือ้ หาเพม่ิ เตมิ จากบรรณานุกรมก็ได้ สว่ นประกอบดังกลา่ ว เป็นส่วนประกอบหลักทห่ี นงั สอื เรยี นควรจะมใี ห้ครบถว้ น อย่างไรก็ตาม สว่ นประกอบของหนังสือดังกล่าวอาจมีการกาหนดเพ่ิมเติมได้ตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับวัยของ ผเู้ รียน 3.4 ิชธยการจัดทาหััสสออเรยนั ในการจัดทาหนังสือเรียนนั้น สมพร จารุนัฏ (2554 : 13-37) มีกระบวนการจดั ทาสรุปได้ ดังน้ี 1) ขั้นศึกษาหลกั สูตร ในขั้นนี้เปน็ การศึกษารายละเอยี ดอันเปน็ ข้อกาหนดเก่ียวกบั หลักสูตร โดยท่ัวไป เช่น หลักการ จุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การจัดเวลาเรียน สื่อการเรยี นรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ และเก่ียวกับหลักสูตรในระดับกลุม่ สาระ การเรียนรู้ การศึกษาส่วนประกอบต่าง ๆ ในหลักสูตรดังกล่าว ต้องอาศัยการวิเคราะห์ การเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ และผลกระทบที่มีต่อกัน นาไปสู่การตัดสินใจหรอื สังเคราะห์งานที่จะนาไปสู่การวางแผนและ เตรยี มการเพือ่ สร้างต้นฉบบั หนังสอื เรยี นตอ่ ไป 2) ข้ันศึกษาเกี่ยวกับตัวผู้เรียน ในข้ันน้ีเป็นการศึกษาพิจารณาเกี่ยวกับความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์พื้นฐาน ภูมิหลังของผู้เรียนในช้ันเรียนที่ผ่านมา และความพร้อมที่จะศึกษาเล่าเรียนใน ช้ันเรียนที่สูงข้ึนไป เพื่อนามาเป็นข้อมูลในการวางแผนเตรียมการสร้างต้นฉบับหนังสือเรียนสาหรับผู้เรียน ซึ่งเปน็ กลุม่ เปา้ หมาย 3) ขนั้ วางแผนเตรียมการจดั ทาตน้ ฉบบั การวางแผนการทาต้นฉบบั จะดาเนินการ ดังนี้ (1) ขอบข่ายเน้อื หาสาระเป็นเร่อื งหรอื หัวข้อใหญ่ และหวั ข้อยอ่ ยทีจ่ ะนาเสนอเป็นบท ๆ ในหนังสือเรียน (2) จุดประสงค์การเรียนรู้ หรือมาตรฐานการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะต้องแสดงความรู้ ความสามารถเกยี่ วกบั สาระความร้แู ต่ละเร่ือง แตล่ ะหัวข้อ (3) แนวทางการนาเสนอเนื้อหาสาระในแต่ละเร่อื ง แต่ละตอน แต่ละบท ท่ีมีความชัดเจน น่าสนใจ มตี วั อยา่ งภาพประกอบ อันจะเป็นแนวทางในการศกึ ษาทาความเขา้ ใจดว้ ยตนเองของผู้เรียน (4) การต้ังชื่อหัวข้อเร่ือง การเรียงลาดับเนื้อหา และหัวข้อเรื่อง ซึ่งจะส่งเสริม กระบวนการเรียน แนวทางช้ีแนะเกยี่ วกบั การจัดการเรยี นการสอนแกค่ รู พรอ้ มกบั ช่วยผู้เรียนให้ทาความเขา้ ใจ เนอื้ หาสาระ (5) รูปแบบของบทเรยี น แตล่ ะบทในหนงั สอื เรียนทง้ั เล่ม เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจัดทาหััสสออเรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 9 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

(6) เคา้ โครงเรอื่ งของหนงั สือเรยี น (7) แหลง่ ข้อมูลท้งั เกี่ยวกบั เนอ้ื หาและภาพประกอบ (8) กาหนดเวลาทใ่ี ช้เขยี นตน้ ฉบบั 4) ขน้ั เขียนตน้ ฉบบั ผู้เขียนเขียนต้นฉบบั เปน็ บท ๆ ตามเคา้ โครงเร่อื งที่กาหนด 5) ข้ันบรรณาธิการกิจต้นฉบับ เมื่อได้ต้นฉบับหนังสือเรียนแล้ว ต้องมีการตรวจพิจารณา ความถูกต้องของเน้ือหา ความกลมกลืนสอดคล้องในการนาเสนอเนื้อหา และการใชค้ าศัพท์ตา่ ง ๆ ตรวจแก้ไข การใชภ้ าษา ความชดั เจน ความถูกตอ้ งและเหมาะสมของภาพประกอบ และความสอดคลอ้ งกับหลักสตู รและ มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นต้น แล้วจงึ สง่ ต้นฉบับเขา้ ส่กู ระบวนการจัดพมิ พ์เป็นเลม่ ตอ่ ไป ข้ันตอนดังกล่าวเป็นข้ันตอนหลักท่ีนิยมใช้จัดทาหนังสือเรียน การดาเนินการจัดทาหนังสือเรียน บางลักษณะอาจเพมิ่ บางขนั้ ตอน เพื่อทาใหไ้ ดห้ นงั สือเรียนทม่ี ีประสิทธิภาพตามความต้องการของผู้จัดทา 4. การเตรยนมการเพอ่อจัดทาหัสั สออ เรนย ั ในการจัดทาหนังสอื เรียนรายวิชาเลือก จะต้องวเิ คราะห์หลกั สูตร พิจารณาคาอธบิ ายรายวชิ า แลว้ นา รายละเอียดดังกล่าวมาทาเป็นขอบเขตเน้ือหา เพื่อจัดทาเป็นเค้าโครงหนังสือเรียน เมื่อได้เค้าโครงแล้ว ก็นามาจัดทาเป็นโครงสรา้ งหนงั สอื เรยี นรายวชิ าเลือก ตัวอย่างเช่น หลักสูตรรายวิชาเลือก รายวิชาการจักสานผลิตภัณฑ์จากไม่ไผ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีขอบขา่ ยเน้อื หา ประกอบดว้ ย 1. ช่องทางการตัดสินใจเลอื กประกอบอาชพี การจักสานผลิตภณั ฑจ์ ากไม้ไผ่ 2. ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกับไมไ้ ผ่ 3. ความรทู้ ว่ั ไปเกีย่ วกับการจักสานไมไ้ ผ่ 4. การจักสานไม้ไผ่ 5. การบรหิ ารจดั การในการประกอบอาชีพ 6. การจัดทาโครงการประกอบอาชพี จากขอบเขตเนือ้ หาดังกล่าว สามารถทาเป็นเค้าโครงเน้ือหาของหนังสือ แลว้ กาหนดเป็นโครงสร้าง ของหนังสือเรยี นได้ ดงั น้ี เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหัสั สออเรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 10 สาหรบั ครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

เค้าโครสเัออ้ หา โครสสรา้ สขอสหัสั สออ 1. า่อสทาสการตดั สัช ใจเลออกประกอบอาายพ บทท่ย 1 การประกอบอาายพการจกั สาัผลตช ภณั ฑ์จาก การจักสาัผลตช ภณั ฑ์จากไมไ้ ผ่ ไมไ้ ผ่ เนื้อหา วิเคราะห์ความเปน็ ไปไดข้ องข้อมลู ดังน้ี 1.1 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตนเอง 1) ขอ้ มลู ตนเอง 1.2 การวิเคราะหข์ ้อมลู วิชาการ 2) ขอ้ มูลวิชาการ 1.3 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทางสงั คมสิ่งแวดล้อม 3) ข้อมลู ทางสังคมส่งิ แวดลอ้ ม บททย่ 2 คิามรู้ทั่ิไปเกนย่ ิกับไม้ไผ่ 2.1 ธรรมชาตขิ องไม้ไผ่ 2. คิามรทู้ ั่ิไปเก่นย ิกับไม้ไผ่ 2.2 ชนดิ ของไมไ้ ผ่ทใี่ ช้ในการจกั สาน เนือ้ หา 2.3 ข้อสงั เกตในการนาไมไ้ ผ่มาทาเคร่อื งจักสาน 2.1 ชนดิ ของไมไ้ ผ่ท่ีใช้ในการจักสาน 2.2 ข้อสังเกตในการนาไมไ้ ผม่ าทาเครือ่ งจกั สาน บทท่ย 3 คิามรทู้ ่ัิไปเกนย่ ิกับการจักสาัไมไ้ ผ่ 3.1 คาศัพทเ์ ฉพาะของชา่ งสาน 3. คิามรทู้ ั่ิไปเกน่ย ิกับการจักสาัไมไ้ ผ่ 3.2 ประเภทลายจักสาน เนื้อหา 3.3 อปุ กรณ์ในการจกั สานไมไ้ ผ่ 3.1 ศัพทช์ ่างสาน 3.2 ลายเครือ่ งสาน บทท่ย 4 การจกั สาัไม้ไผ่ 3.3 อปุ กรณ์ในการจักสานไมไ่ ผ่ 4.1 วธิ กี ารจกั ตอก 4.2 วธิ กี ารสาน การเข้าขอบ และการมดั ขอบ 4. การจักสาัไม้ไผ่ 4.3 วธิ ีการสานลายต่าง ๆ เนอื้ หา 4.1 การจกั สาน 1) ลายขัด 4.2 การสาน การเข้าขอบ และการมดั ขอบ 2) ลายชะลอม 4.3 วธิ กี ารสานลายตา่ ง ๆ 3) ลายวงพระจนั ทร์ (ลายหัวสมุ่ ) 1) ลายขดั 4) ลายเวยี นก้นหอย 2) ลายชะลอม 5) ลายตาหล่วิ 3) ลายวงพระจนั ทร์ (ลายหวั สมุ่ ) 4.4 การขนึ้ รปู เคร่ืองสานประเภทต่าง ๆ 4) ลายเวียนกน้ หอย 1) การสานตะกร้า 5) ลายตาหลิ่ว 2) การสานชะลอม 4.4 การข้นึ รปู เครอื่ งสานประเภทต่าง ๆ 3) การสานกระเป๋า 1) การสานตะกรา้ 4) การสานกลอ่ งใส่ทิชชู 2) การสานชะลอม 5) การสานถาดผลไม้แบบตา่ ง ๆ 3) การสานกระเป๋า 4) การสานกลอ่ งใส่ทิชชู 5) การสานถาดผลไมท้ รงสเี่ หล่ียม ทรงกลม และทรงรี เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจัดทาหััสสออเรยนัรานิชาาเลออกเสรย 11 สาหรับครูการศึกษาัอกโรสเรยนั

เค้าโครสเัออ้ หา โครสสร้าสขอสหััสสออ 4.5 การย้อมสผี ลิตภัณฑ์ 4.5 การยอ้ มสผี ลิตภณั ฑ์ 4.6 เทคนิคการเกบ็ รักษาผลติ ภัณฑ์ 4.6 เทคนคิ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ 5. การบรหช ารจัดการใัการประกอบอาายพ บททย่ 5 การบรชหารจดั การใัการประกอบอาายพ เนื้อหา 5.1 การบริหารจดั การการผลิต 5.1 การบริหารจัดการการผลิต 5.2 การบรหิ ารจดั การการตลาด 5.2 การบรหิ ารจัดการการตลาด 5.3 ปญั หา อุปสรรคในการประกอบอาชีพ 5.3 ปญั หา อุปสรรคในการประกอบอาชีพ 6. การจัดทาโครสการประกอบอาาพย บทท่ย 6 การจดั ทาโครสการประกอบอาาพย เน้อื หา 6.1 ความสาคัญของโครงการประกอบอาชพี 6.1 ความสาคัญของโครงการประกอบอาชีพ 6.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชพี 6.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชพี 6.3 องค์ประกอบของโครงการประกอบอาชีพ 6.3 องคป์ ระกอบของโครงการประกอบอาชพี 6.4 การเขียนโครงการประกอบอาชพี 6.4 การเขยี นโครงการ 6.5 การประเมนิ โครงการประกอบอาชพี 6.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้อง ของโครงการ จะเห็นได้ว่าการจัดทาโครงสร้างหนังสือเรียนรายวิชาเลือกน้ัน จะนาขอบเขตเน้ือหา มาจัดทาเป็น เค้าโครงของหนงั สือเรียน จากน้ันจะปรับเพอ่ื ทาเป็นโครงสรา้ งของหนงั สอื เรยี น ซึ่งโครงสรา้ งดังกล่าวสามารถ จะเพ่ิมเนื้อหาหรอื ปรบั ลดเน้อื หาไดต้ ามความเหมาะสม เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหััสสออ เรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 12 สาหรับครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

บททย่ 2 การนกร่าสหััสสออ เรนย ัรานิชาาเลออก สาระสาคญั 1. ส่วนประกอบของหนังสือเรยี นมีความสาคญั มาก ผจู้ ดั ทาจะต้องทาตามส่วนประกอบให้ครบถ้วนและ ถกู ตอ้ ง 2. การนาเสนอเนื้อหาในหนังสือเรียนต้องศึกษาวิธีการเรียบเรยี งเน้ือหา ภาษาท่ีใช้ และวิธีการในการ นาเสนอ เพอ่ื จะไดเ้ รียบเรียงเน้อื หาให้ชัดเจน เข้าใจงา่ ย 3. การนาเสนอกิจกรรมในหนังสือเรียน ผู้จัดทาควรมีการเสนอกิจกรรมให้หลากหลาย สอดคล้องกับ เนอ้ื หาและผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง 4. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีความสาคัญในการวัดพ้ืนฐานและความก้าวหน้าของผู้เรียน ผจู้ ัดทาตอ้ งศกึ ษาวธิ ีการสร้าง เพอ่ื จะไดจ้ ดั ทาแบบทดสอบดังกล่าวไดเ้ หมาะกับผูเ้ รียน ผลการเรนย ัรู้ท่คย าดหิสั 1. บอกวิธกี ารจัดทาส่วนประกอบตามรูปเลม่ ของหนงั สอื เรียนได้ 2. อธิบายวิธกี ารเสนอเนอื้ หาในหนังสือเรียนได้ 3. กาหนดกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี นได้ 4. ระบวุ ธิ ีการสร้างแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียนได้ ขอบข่านเัออ้ หา เรอ่ื งที่ 1 การจัดทาสว่ นประกอบตามรูปเลม่ หนังสอื เรยี น เรอื่ งท่ี 2 การนาเสนอเนอ้ื หา เร่ืองที่ 3 การนาเสนอกจิ กรรม เรื่องที่ 4 การจดั ทาแบบทดสอบกอ่ นและหลังเรียน เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหััสสออเรนย ัรานิาช าเลออกเสรย 13 สาหรับครูการศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

ในการจดั ทาหนงั สอื เรียนจาเปน็ ตอ้ งทาความเขา้ ใจกับสว่ นประกอบตามรูปเลม่ ของหนังสือเรียนดว้ ย เพ่ือจะได้สามารถยกร่างหนังสือดังกล่าวได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ในท่ีนี้จะขอกล่าวถึง การจดั ทาส่วนประกอบ ตามรูปเล่มหนังสือเรียน การนาเสนอเนือ้ หา การนาเสนอกิจกรรม และการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรยี น ซงึ่ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1. การจดั ทาสิ่ ัประกอบตามรปู เลม่ หัสั สออเรยนั ในการจัดทาหนังสือเรียนรายวิชาเลือกน้ัน เมื่อกาหนดโครงสร้างหนังสือเรียนแล้ว จะต้องศึกษา รูปแบบหนงั สือเรียนด้วยว่า มีองคป์ ระกอบอย่างไร เพอ่ื จะได้ดาเนนิ การจดั ทาไดถ้ กู ตอ้ ง หนังสือเรียน กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีรูปแบบท่ีกาหนดไว้ อย่างชดั เจนเชน่ กัน รูปแบบดงั กลา่ วอาจแบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดงั น้ี สว่ นที่ 1 ประกอบดว้ ย ปกหน้า ปกรอง คานา สารบญั คาแนะนาในการใช้หนังสือเรียน โครงสรา้ ง รายวิชา ส่วนท่ี 2 ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน แผนบท รายละเอียดของเนื้อหาที่แบ่งเป็นเรื่อง กจิ กรรม แบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลยของแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน แนวเฉลยกจิ กรรมทา้ ยบทแตล่ ะบท สว่ นท่ี 3 ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก คณะผจู้ ดั ทา และปกหลัง 1.1 รานละเอนย ดขอสการจัดทาสิ่ ัทย่ 1 ส่วนที่ 1 ประกอบด้วยสว่ นยอ่ ย ๆ ดังน้ี 1) ปกหน้า จะมีรายละเอียดที่ต้องระบุว่าเป็นหนังสือเรยี นสาระใด ช่ือรายวิชา รหัส ระดับ ของการศึกษาใด สังกดั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอใด และจงั หวดั ใด ในการให้ รายละเอยี ดของปกหน้า ข้อมูลจะตอ้ งตรงกบั ข้อมลู ในหลักสูตร 2) ปกรอง จะเป็นรายละเอยี ดเก่ยี วกับสาระ รายวิชา รหสั และระดบั ของการศึกษา และมี รายละเอยี ดของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ จังหวัด 3) คานา การเขียนคานา นิยมกล่าวถึงสาเหตุในการจัดทาหนังสือเรียน โดยอาจกล่าวถึง จุดประสงคข์ องการจดั ทา ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั และการแสดงความใจกวา้ งในการพรอ้ มรบั ฟังความคดิ เหน็ จากผใู้ ช้ หนงั สอื สว่ นน้ีนยิ มเขยี นเป็นขอ้ ความทีจ่ บในหนา้ เดยี ว หรอื ไม่เกนิ 2 หนา้ ใชภ้ าษาทกี่ ระชับ เข้าใจงา่ ย เมอ่ื จบ ขอ้ ความแล้วจะลงทา้ ยดว้ ยการระบวุ า่ เป็น กศน.อาเภอใด พรอ้ มท้งั เดือน พ.ศ. ทเี่ รยี บเรยี งหนังสอื 4) สารบัญ จะประกอบดว้ ยรายละเอียดของหนงั สือท้ังหมด พร้อมทั้งมเี ลขหน้ากากับ โดยเรม่ิ จาก คานา สารบัญ คาแนะนาในการใช้หนังสือเรียน โครงสร้างรายวิชา แบบทดสอบก่อนเรียน ชื่อบทแต่ละบท ซง่ึ ภายใต้ช่ือบทจะมีรายละเอียดว่า ประกอบดว้ ยกี่เรอื่ งย่อย แบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลยแบบทดสอบก่อนและ หลังเรียน แนวเฉลยกจิ กรรมทา้ ยบท บรรณานกุ รม ภาคผนวก (ถา้ ม)ี และรายชื่อคณะผ้จู ัดทา เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจัดทาหัสั สออเรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 14 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

5) คาแนะนาในการใช้หนังสือเรียน จะเป็นข้อความท่ีให้ข้อมูลแก่ผู้เรียนในการปฏิบัติตน ขณะท่ีศึกษารายวิชาน้ี รายละเอียดสาคญั ท่ีควรระบใุ นส่วนน้ี ได้แก่ ช่ือของหนังสือเรียน กลมุ่ เป้าหมายที่เป็น ผู้ใช้หนังสือเรียน ข้ันตอนที่ควรปฏิบัติ อาจรวมถึงกิจกรรมที่ต้องมีการฝึกปฏิบัติในลักษณะต่าง ๆ ตามผล การเรียนรู้ที่คาดหวัง โดยอาจจะเรียบเรียงเป็นข้อความหรือเขียนเป็นข้อ ๆ ส่วนท้ายของคาแนะนาควรกล่าวถึง ภาพรวมของหนังสอื วา่ มีกบี่ ท เพ่อื เปน็ การย้าเน้นผู้เรยี นเกี่ยวกบั เนอ้ื หาท่ีต้องศกึ ษาในรายวิชานี้ ในบางกรณีอาจเพ่ิมเรื่องการเตรียมตัวเพ่ือการสอบหรือการประเมินผลในรายวิชาดังกล่าว เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นเห็นภาพของการเรียนอยา่ งครบถ้วน และจะได้เตรยี มตัวให้พร้อมและวางแผนการเรยี นไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม 6) โครงสร้างรายวิชา ส่วนนี้จะเป็นการให้รายละเอียดเก่ียวกับโครงสร้างรายวิชา ซึ่งจะมี ช่ือรายวิชา รหัสวิชา สาระ และระดับกากับ จากน้ันจะมีสาระสาคัญ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง และขอบข่าย เน้อื หา ซึง่ มีวธิ ีเรยี บเรียง ดงั นี้ (1) สาระสาคญั หมายถึง ความคดิ ความเข้าใจของบุคคลเกยี่ วกบั สิ่งของหรือเหตุการณ์ ซงึ่ ทาให้สามารถสรปุ รวมลักษณะเหมือน หรอื แยกแยะลกั ษณะแตกตา่ งของคุณสมบัติของส่ิงของหรือเหตกุ ารณ์ น้ัน ๆ ได้ สาระสาคญั จะเปน็ แกน่ หรือแนวคิดหลักของสงิ่ ทีต่ ้องการถา่ ยทอดให้แก่ผเู้ รียน วิธีการเขียนสาระสาคัญ เร่ิมจากการศึกษาเน้ือหาที่จะสอนให้เข้าใจถ่องแท้ก่อน แล้วจงึ นาประเด็นสาคัญหรือแก่นของเร่ืองน้ันมาสรุปรวม โดยใช้ภาษาท่ีกระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย เพื่อเวลา ท่ีจดั การเรียนการสอนจะตอ้ งทาใหผ้ ู้เรยี นได้รับความรทู้ ่ีเป็นสาระหลกั ดงั กล่าว สาระสาคัญอาจเรยี บเรยี งเป็น ข้อความขนาดสน้ั หรืออาจเขยี นเป็นขอ้ ๆ กไ็ ด้ (2) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง หมายถึง การกาหนดความคาดหวังของการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ มีวิธีการเขียนเช่นเดียวกับการเขียนวัตถุประสงค์ ซ่ึงจะต้องครอบคลุม 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ความรู้ ทักษะ คา่ นยิ ม คณุ ธรรมและจริยธรรม ในการเขียนผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในแผนบทจะเขียนเป็นพฤติกรรมในภาพรวม ท่ีเปลย่ี นแปลงไปหลงั จากทีผ่ ู้เรยี นไดเ้ รียนเนอื้ หาน้ี ผลการเรยี นร้ดู งั กล่าวนยิ มเขียนเปน็ ขอ้ ๆ (3) ขอบข่ายเน้ือหา หมายถึง ขอบเขตของการให้ความรู้ที่ปรากฏในหนังสือเรียนน้ี ว่าต้องการเสนอความรู้ในเรื่องใดบ้าง การกาหนดเนื้อหาจะลาดับตามศาสตร์ของเนื้อหาในสาระการเรียนรู้ แต่ละสาระ หรืออาจลาดับก่อนและหลังตามความเหมาะสม เพ่ือให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาได้สะดวก และ เขา้ ใจง่าย การเขียนขอบข่ายเนื้อหา นิยมเขียนเป็นข้อ ๆ แล้วนามากาหนดเป็นช่ือบท การต้ัง ช่อื บทนอี้ าจมกี ารปรับจากท่ีกาหนดในขอบข่ายเน้ือหาบ้างตามความเหมาะสม เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจัดทาหััสสออ เรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 15 สาหรบั ครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

1.2 รานละเอนย ดขอสการจดั ทาสิ่ ัท่ย 2 สว่ นที่ 2 ประกอบดว้ ยส่วนยอ่ ย ๆ ดงั นี้ 1) แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบดังกล่าวจะต้องครอบคลุมเน้ือหาในหนังสือเรียน โดยรวม โดยมากนิยมสร้างเป็นข้อสอบปรนัย จานวนข้อไมค่ วรมากเกินไป และการเขียนคาถามตัวเลือกและ คาตอบท่ีถูกต้อง ควรใช้ภาษาที่อ่านงา่ ย ตรงไปตรงมา โดยจะมีเฉลยอยู่ในส่วนท่ี 3 เพื่อให้ผู้เรียนตรวจสอบ คาตอบได้ด้วยตนเอง 2) แผนบท จะประกอบด้วยลาดับบทท่ี 1- 2- ชื่อบท ซ่ึงนิยมใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ตรงกนั หรือสอดคล้องกับขอบเขตเน้ือหา ชื่อบทอาจเป็นวลีหรือประโยคส้ัน ๆ ก็ได้ นิยมต้ังชื่อให้ส้ัน กระชับ ส่อื ความชัดเจน สิ่งที่ต้องเขียนในแผนบท จะต้องมสี าระสาคัญท่ีเป็นการเขียนแก่นหรือแนวคิดสาคัญของ เนื้อหาเฉพาะบทเทา่ น้ัน เชน่ เดยี วกับการเขยี นผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง และขอบขา่ ยเนอ้ื หากจ็ ะเขยี นเฉพาะบท เชน่ เดียวกัน 3) เร่ือง หมายถึง เนื้อหาท่ีเป็นรายละเอียดของแต่ละบท ซึ่งในบทอาจจะกาหนดเนื้อหา ตั้งแต่ 2 เร่อื งข้นึ ไป แต่ไม่ควรเกิน 5 เรื่อง ยกเว้นเนือ้ หาทจี่ าเปน็ ตอ้ งแตกรายละเอียดเป็นเร่อื งย่อยจานวนมาก เพอื่ จะได้เสนอเนอ้ื หาได้อย่างชดั เจน ปรมิ าณเนอ้ื หาของแต่ละเร่อื งจะมีความเหมาะสมตามการพจิ ารณาของผจู้ ัดทาซึง่ ส่วนใหญ่ นิยมใช้ปรมิ าณเนือ้ หาทใ่ี กลเ้ คียงกนั ในสว่ นนจ้ี ะมวี ธิ กี ารนาเสนอเน้ือหา ซึ่งจะได้กลา่ วถงึ ต่อไป 4) กิจกรรม หมายถึง งานที่กาหนดให้ผู้เรียนทา หลังจากเรียนจบเนื้อหา ลักษณะของ กิจกรรมอาจเป็นการตอบคาถาม ซ่ึงอาจกาหนดเป็นปรนัย อัตนัย หรือคาถามในลักษณะอ่ืน ๆ กิจกรรมที่ กาหนดข้ึนจะต้องสอดคล้องหรือส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาได้ดีย่ิงข้ึน การนาเสนอกิจกรรมจะกล่าวถึง ต่อไป 5) แบบทดสอบหลังเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ีต้องการดูความก้าวหน้าของผู้เรียน หลังจากเรียนและทากิจกรรมครบถ้วนแล้ว วา่ มีความรู้ในเร่ืองดังกล่าว มากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับคะแนน แบบทดสอบก่อนเรียน การจัดทาแบบทดสอบดังกลา่ วจะไดใ้ หร้ ายละเอียดต่อไป 6) เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น จะเป็นการรวบรวมเฉลยแบบทดสอบ ท้ังกอ่ น และหลงั เรียน เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นตรวจสอบ ทง้ั พ้ืนความรเู้ ดมิ และความกา้ วหน้าในการเรยี น หากยังเข้าใจไม่ถกู ต้อง จะไดค้ ะแนนหลังเรยี นนอ้ ย ผู้เรียนควรอา่ นทบทวนเน้อื หาใหม่ 7) แนวเฉลยกิจกรรมท้ายบท จะเป็นการรวบรวมเฉลยกจิ กรรมทา้ ยบท ตง้ั แต่บทแรกจนถึง บทสดุ ทา้ ย เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้มาตรวจสอบคาตอบของกจิ กรรมที่ทาทา้ ยเรื่องต่าง ๆ เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหััสสออ เรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 16 สาหรบั ครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

1.3 รานละเอนย ดขอสการจัดทาสิ่ ัทย่ 3 สว่ นที่ 3 ประกอบด้วยสว่ นย่อย ๆ ดังนี้ 1) บรรณานกุ รม หมายถึง รายชื่อหนงั สอื และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีนามาใช้ในการเรยี บเรยี ง เนอ้ื หาของหนงั สือเรยี น การเขยี นบรรณานุกรมจะเขียนตามรูปแบบท่หี น่วยงานกาหนด 2) ภาคผนวก หมายถึง เนื้อหาที่ผู้เขียนพิจารณาว่าเป็นส่ิงท่ีผู้เรียนควรรู้ แต่หากจะนามา เรียบเรียงไว้ในเนื้อหาอาจทาใหย้ าวเกนิ ความจาเปน็ จงึ นามาไว้ในส่วนน้ี ภาคผนวกดงั กล่าวอาจมหี รอื ไม่มีก็ได้ ขน้ึ อยู่กบั การพิจารณาของผเู้ ขยี น ภาคผนวกอาจเป็นขอ้ มูลท่ีเปน็ เนื้อหา ภาพ แผนภูมิ ตาราง และอน่ื ๆ ตามทีผ่ ู้เขียนเห็นวา่ เหมาะสมและเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผ้เู รียน 3) คณะผู้จดั ทา หมายถงึ รายช่อื ของคณะบคุ คลที่จัดทาหนังสอื เรยี น เพื่อให้ทราบวา่ มีบุคคลใด เกีย่ วขอ้ งกับการจัดทาหนงั สือเรยี นบ้าง เน่ืองจากการจัดทาหนังสือเรียนนยิ มทาในรูปแบบของคณะบุคคลเพื่อ ความรอบคอบในการดาเนินการจัดทา จะเห็นได้ว่าหนังสือเรียนรายวิชาเลือกมีส่วนประกอบตามรูปเล่มท่ีผู้เขียนจะต้องศึกษา ใหเ้ ข้าใจ เพอื่ จะได้จัดทาหนงั สอื ดงั กล่าวไดอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ 2. การัาเสัอเัออ้ หา การจัดทาหนังสือเรียน หลังจากเข้าใจส่วนประกอบตามรูปเล่มแล้ว จะต้องศึกษาการนาเสนอ เน้ือหา ซึ่งประกอบด้วยวิธีการเรยี บเรียงเนื้อหาของหนังสือเรียน ภาษาวิชาการท่ีปรากฏในหนงั สือเรยี น และ วิธีการนาเสนอเน้ือหา ซง่ึ มีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 ิธช กย ารเรยนบเรยนสเัอ้อหาขอสหััสสออเรนย ั 1) นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษารายวิชาเลือกของ กศน./ผู้เรียน/บรบิ ทในท้องถิน่ มาวิเคราะห์ เพอื่ จะไดก้ าหนดขอบเขตเนอื้ หาที่เหมาะสม 2) รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น จากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตารา วารสาร การสัมภาษณ์บุคคลท่ีมีความรู้ในเรื่องที่จะเขียน อาจเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ผู้ประกอบการ หรือบุคคลที่ เกย่ี วขอ้ ง การเดินทางไปยงั สถานที่จริงเพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูลจากประสบการณ์ตรงของผู้เขยี น และการศกึ ษาจากสื่อ ออนไลน์ เปน็ ต้น การจะเลือกรวบรวมข้อมลู ด้วยวธิ ีการใดนั้น ข้ึนอยกู่ บั ลักษณะขอ้ มลู ที่ผ้เู ขียนต้องการ 3) ศึกษารปู แบบของหนงั สือเรียนทีจ่ ะเรยี บเรียงใหเ้ ขา้ ใจชดั เจน 4) ตง้ั วัตถปุ ระสงค์ของการจดั ทาหนงั สือเรียน ซึ่งจะต้องสอดคล้องกบั ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ของรายวิชาเลอื ก เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหัสั สออ เรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 17 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

5) นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการรวบรวม มาเขยี นโครงเรือ่ งโดยลาดบั เปน็ หวั ข้อใหญ่และหวั ขอ้ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1. ______________________ 1.1 _______________ 1.1.1 _______ 1.1.2 _______ 1.2 _______________ 6) นาโครงเร่ืองมาเขียนบทความในลักษณะของการเขียนย่อหน้า โดยอาจนาหัวข้อใน โครงเรื่องมาขยายความ ก่อนจะเร่ิมเขยี นรายละเอียดของเนอ้ื หา ควรเกริน่ นาเพ่ือสรา้ งความสนใจในการอ่าน กอ่ น จากนั้นจงึ นาเสนอข้อมลู ตามลาดบั หวั ข้อใหญ่ และหวั ขอ้ ย่อยของโครงเรอื่ งไปตามลาดบั จนครบ 7) การกาหนดกิจกรรมท้ายเร่ือง หลังจากนาเสนอเนื้อหาของแต่ละเรื่องแล้ว ผู้เขียนต้อง กาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนทาเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนด้วย กิจกรรมดังกล่าวสามารถกาหนดได้ หลายรูปแบบ เช่น การตอบคาถามแบบเขียนตอบสั้น ๆ แบบเลอื กตอบ แบบถูกผิด และแบบให้เขียนแสดง ความคิดเห็น เปน็ ตน้ พรอ้ มทงั้ มีเฉลยไวท้ า้ ยเล่ม 8) การอ้างอิง การเขียนหนังสือเรียน นิยมอ้างอิงไว้ท้ายเล่ม หากผู้เขียนสามารถทาได้ตาม วิธกี ารดงั กลา่ ว กจ็ ะสามารถสรา้ งหนงั สือเรยี นทมี่ คี ณุ ภาพไดร้ ะดับหนง่ึ ทเี ดยี ว 2.2 ภาษาิาช าการท่ปย รากฏใัหัสั สออเรยนั ภาษาท่ีใช้ในหนังสือเรียน มีลักษณะทางภาษาท่ีใช้แตกต่างจากการใช้ภาษาท่ัว ๆ ไป อย่างนา่ สังเกต ดังน้ี 1) การใช้ภาษาค่อนข้างเป็นทางการและถูกต้องตามหลักภาษา ภาษาท่ีใช้ในหนังสือเรยี น ส่วนใหญ่มลี ักษณะการเรียบเรียงถ้อยคาที่ระมัดระวังใหเ้ ป็นทางการ และถูกต้องตามหลักภาษามากท่สี ดุ ถงึ มี การใชภ้ าษาที่ไมเ่ ปน็ ทางการบา้ งก็จะใช้คาสุภาพ ติั อน่าส การใาภ้ าษาท่เย ขนย ัอน่าสเป็ัทาสการ ภาษาไทยเป็นภาษาของชนชาติไทย คนไทยท่ีดาเนินชีวิตอยู่ในภาคต่าง ๆ ของประเทศได้ใช้ ภาษาไทยสาหรับติดต่อสื่อสารกัน ตลอดจนทากิจการต่าง ๆ ท้ังที่เป็นส่วนตัวและส่วนรวม วิชาภาษาไทย มีความสาคัญในฐานะเป็นเคร่ืองมือส่ือสารของประชาชาติ และเป็นวิชาบังคับสาหรับทุกชั้นในหลักสูตร มธั ยมศึกษาตอนตน้ พ.ศ. 2521 โรงเรียนมหี นา้ ท่ีสอนภาษาไทย เพ่ือใหน้ กั เรียนเกิดทักษะในการสอื่ สาร อันจะ เปน็ การเสรมิ สรา้ งความเข้าใจอันดีต่อกันในหมู่ชนชาติเดยี วกัน การทีค่ นไทยในปัจจุบันมีภาษาไทยใชร้ ่วมกนั นี้ แสดงวา่ คนไทยดารงชวี ติ อยู่ในสงั คมท่ีรว่ มวัฒนธรรมเดยี วกัน เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหัสั สออเรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 18 สาหรบั ครกู ารศึกษาัอกโรสเรนย ั

การสอ่ื สารเปน็ หวั ใจของภาษาทกุ ภาษา ทกั ษะเพอื่ การสือ่ สาร ได้แก่ ทักษะการฟัง การพดู การอา่ น และการเขยี น การทีจ่ ะสอนภาษาไทยให้ได้ผลดีนั้น ครูจาเป็นต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับองคป์ ระกอบ และกระบวนการของการสอ่ื สารไว้บ้าง ท้ังจะตอ้ งคานงึ ถงึ หลักภาษาหรือระเบียบของภาษาด้วย จึงจะสามารถ สอนให้นักเรียนใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิผล ในชีวติ ประจาวนั ของคนไทยมีการส่งสารและ รบั สารระหว่างบคุ คลหรอื ฝ่ายท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั อยเู่ กอื บตลอดเวลา ในการนต้ี อ้ งอาศัยภาษาเปน็ สือ่ สาคัญ ตัิอนา่ ส การใา้ภาษาท่ยเขยนัอนา่ สไม่เป็ัทาสการแตส่ ภุ าพ ศาสตร์ทางการศึกษาสอนให้เรารู้ว่า ในการกาหนดจุดหมายของการศึกษานั้น เราจะ กาหนด จุดมุ่งหมายออกเป็น 3 ประการด้วยกัน คอื จดุ มุ่งหมายด้านความรู้ ซึ่งศัพท์ภาษาอังกฤษเรยี กวา่ cognitive domain ภาษาไทยเราใชก้ นั มานานแลว้ วา่ พทุ ธศิ ึกษา หรอื เราจะเรยี กสั้น ๆ วา่ “รู้” เฉย ๆ กไ็ ด้ อีกประการหนึ่งเป็นจุดมุ่งหมายด้านทัศนคติ เรียกเป็นศัพท์ภาษาอังกฤษว่า affective domain ซ่งึ เราเรียกกนั ว่า จรยิ ศกึ ษา หรอื เรียกส้นั ๆ เชน่ กันวา่ “รัก” เพราะทัศนคติยอ่ มเป็นพนื้ ฐานแหง่ ความรัก ส่วนประการท่ีสามเป็นจุดมุ่งหมายด้านการกระทา คือ ฝึกได้ ทาได้ ภาษาอังกฤษเรียกกันว่า psycho-motor domain เราใชค้ าภาษาไทยในความหมายใกลเ้ คยี งกนั ว่า พลศกึ ษา หรือพูดส้ัน ๆ วา่ “ทา” รู้-รัก-ทา สามคานี้ เป็นหัวใจของศาสตร์การศึกษา ซ่ึงจะขอเรียกส้ัน ๆ ไว้เช่นน้ีก่อน ถ้าอยากได้ คายาว ๆ และยาก ๆ ก็เปดิ ตาราทางการศกึ ษาเลม่ ใดดูก็ได้ 2) การเขยี นและการสะกดคา ยดึ พจนานกุ รมเป็นหลัก การสะกดคาที่ใชเ้ ขียน ผูเ้ ขียนจะยึดตามพจนานกุ รมเป็นหลัก ในบางครั้งจะพบว่า มกี าร เขียนคาบางคาแตกต่างไปจากท่ีเราเห็นอย่ใู นชีวิตประจาวนั เช่น ในพจนานุกรมราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 กาหนดใหใ้ ช้คาวา่ คลนิ ิก แทนคาว่า คลนิ ิค ละคร ไมใ่ ช้คาว่า ละคอน กะทันหนั ไม่ใชค้ าวา่ กระทันหัน การเขยี นตาราจะตอ้ งระมดั ระวังการสะกดคาใหถ้ ูกตอ้ งตามพจนานกุ รมเสมอ 3) การเขยี นคาภาษาตา่ งประเทศ นยิ มใสไ่ ว้ในวงเลบ็ ขา้ งหลังคาไทย มีคาต่างประเทศบางคา ท่ีแม้ว่าจะมีการบัญญัติคาภาษาไทยข้ึนมาใช้แล้ว ก็ยัง ไม่แพร่หลาย หรอื มีการบัญญัตคิ าภาษาไทยข้นึ มาแทนหลายคาตามความตอ้ งการของสถาบัน หรือบางครั้งก็ เป็นการคิดคาขึ้นมาแทน แล้วเกรงว่าคนจะไม่เข้าใจตรงกัน จึงใส่วงเล็บคาศัพท์ภาษาต่างประเทศกากับไว้ เพอื่ ให้เขา้ ใจตรงกนั เช่น มโนมติ (concept) อญั ประกาศ (quotation) บางครง้ั ก็มีการวงเล็บภาษาอังกฤษไว้ ท้ังที่ศัพท์คาน้ันก็เป็นที่เข้าใจกันดีอยู่แล้ว แต่เป็นความนิยมในการเขียนเพื่อให้ดูเป็นทางการ เช่น เชิงอรรถ (footnote) ตารางและภาพประกอบ (tables and illustrations) รายงาน (report) เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหัสั สออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 19 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

ตัิอน่าส คาว่า “สารละลาย” (solution) หมายถึง สารเน้อื เดียวซ่ึงเกิดจากการผสมอย่างกลมกลืนของสาร อยา่ งน้อย 2 ชนดิ ขึ้นไป ตวั อย่าง เช่น เราใส่ก้อนน้าตาลลงในน้า น้าตาลค่อย ๆ ละลายจนในที่สุดหายไปหมด ทจี่ ริงแล้วโมเลกลุ น้าตาลไม่ไดห้ ายไปไหน แต่ได้ละลายหรือกระจายตวั หลุดจากก้อนผลึกน้าตาลซง่ึ อย่ใู นรปู ของ ของแขง็ และผสมปนไปกบั โมเลกุลของน้าอยา่ งทัว่ ถงึ จนเกิดเป็นของผสม ซึ่งประกอบดว้ ยโมเลกลุ ของน้าและ น้าตาล น่เี ปน็ ตวั อยา่ งของสารละลายของแขง็ ในของเหลว จากตัวอย่างข้างต้น นา้ ทาหน้าที่เปน็ “ตัวทาละลาย” (solvent) และน้าตาลทาหนา้ ท่ีเป็น “ตวั ถูก ละลาย” (solute) ในทางทฤษฎี เราไม่อาจบอกว่าสารตัวหน่ึงตัวใดเป็นตัวถูกละลายหรือตัวทาละลายได้ เน่ืองจากทั้งคู่กระจายตัวปนอยู่อย่างกลมกลืน แต่เรามักจะเรียกสารท่ีมีปริมาตรสูงกว่าว่าเป็นตัวทาละลาย และสารท่มี ีปรมิ าตรน้อยกว่าว่าตวั ถูกละลาย แต่ในบางกรณีสารทัง้ สองมอี ยู่ในปรมิ าตรทีเ่ ท่ากัน เชน่ การผสม เอธิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) และน้าในอัตรา 1 ต่อ 1 เราอาจเรียกน้าหรือแอลกอฮอล์ว่าเป็นตัวทา ละลายก็ได้ 4) การใช้ภาษาท่ีเปน็ คาศัพทเ์ ฉพาะวงการวิชาการด้านนน้ั โดยตรง เม่ืออ่านหนังสือเรียน ก็จะได้พบกับคาศัพท์เฉพาะวิชาน้ัน ถ้าผู้อ่านไม่เข้าใจความหมาย กจ็ ะตคี วามคลาดเคลอื่ นได้ เชน่ ภาษาในวชิ าการศึกษา ได้แก่ การสอนระบบทางไกล การศกึ ษาพิเศษ พุทธพิสัย เจตพสิ ัย ทกั ษะพสิ ัย หลักสตู ร การประเมนิ ผล โสตทศั นูปกรณ์ ศกึ ษานิเทศก์ การศึกษานอกระบบ ภาษาในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ แรงมา้ ดาวเทียม ไฟฟ้าสถิตย์ ปรมาณู อนภุ าค แรงโนม้ ถว่ ง ปรซิ ึม การสังเคราะหแ์ สง ตกผลกึ ปีแสง ภาษาในวิชาจิตวิทยา ได้แก่ พฤติกรรมนิยม จิตใต้สานึก จิตวิทยา อปกติ โรคจิต โรคประสาท แรงจงู ใจ ส่งิ เร้า การเสรมิ แรง มะนาวหวาน การยา้ คดิ ยา้ ทา ภาษาในวชิ าสังคมศกึ ษา ได้แก่ ประชามติ เส้นรุง้ เสน้ แวง ไหลท่ วปี ประชาธิปไตย สังคม นยิ ม เสรนี ิยม ตรัสรู้ ไตรปิฎก ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ภาษาในวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ิ ได้แก่ รากท่ีสอง หารรว่ มมาก พจน์ พีชคณิต เลขคณิต เรขาคณติ ตรโี กณมติ ิ สมการ บญั ญตั ิไตรยางศ์ คา่ เฉลีย่ 5) การใช้ภาษาตา่ งประเทศทับศัพท์ที่เป็นคาเฉพาะทางวชิ าการ มีคาศัพท์เฉพาะบางคา ท่ียังไมส่ ามารถหาคาไทยมาแทนได้ หรือศัพท์ท่ีคิดขึ้นยงั ไม่เป็นที่ ยอมรับ จึงต้องใช้วิธีทับคาศัพท์ภาษาต่างประเทศ เช่น เซนติเมตร (centimetre) กิโลเมตร (kilometre) เทนนิส (tennis) โมเลกุล (molecule) ไมล์ (mile) เซลล์ (cell) เทอร์โมมิเตอร์ (thermometer) คารบ์ อนไดออกไซด์ (carbondioxide) ออกซเิ จน (oxzygen) อะตอม (atom) 6) การใช้ภาษาทีม่ สี านวนตา่ งประเทศหรอื วิธเี ขยี นแบบตา่ งประเทศ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจัดทาหัสั สออ เรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 20 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

ผู้เขยี นหนังสือบางคนมักจะเขียนโดยใช้ตาราจากต่างประเทศ ในการศึกษาและรวบรวม ขอ้ มูลในบางคร้งั ภาษาท่ีเขียนจึงมสี านวนต่างประเทศปะปนอยูด่ ว้ ย ตัิอนา่ ส คุณในฐานะท่เี ป็นครูมีอิทธิพลในการเริ่มต้นต่อนักเรียนของคณุ คุณจะเหน็ บทบาทของคุณอย่างไร คุณจะมีอิทธิพลทางบวกต่อทัศนคติในการอ่านของนักเรียนของคุณอย่างไร มีส่วนร่วมกับนักเรียนของคุณ อยา่ งไร มสี ่วนรว่ มกบั นกั เรยี นของคุณในสงิ่ ที่คุณสนใจ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ทเี่ ก่ยี วกับการอา่ น พจิ ารณาการอ่าน วา่ เป็นส่วนหนึ่งของขอบเขตหลักสูตรทั้งหมด อย่าจากัดเครื่องมือของตนเองด้วยตาราเรยี นและแบบฝึกหัด หรอื คิดว่าการอา่ นเป็นอีกวชิ าหนง่ึ ที่มีกาหนดไวแ้ ลว้ ในตารางสอนทเี่ จาะจง 7) การใชแ้ ผนภูมิตารางประกอบการเขียน บางครั้งผู้เขียนจาเป็นจะต้องใช้แผนภูมิและตารางมาประกอบการเขียนเพื่อให้ผู้อ่าน ได้ภาพท่ีชัดเจนขึ้น หรือได้เห็นข้อมูลท่ีกลั่นกรองหรือรวบรวมมาแล้วด้วยวิธีการทางสถิติ จะได้ยก ตัวอย่าง แผนภมู ิ ตารางลกั ษณะต่าง ๆ กันดงั ต่อไปนี้ ตัิอนา่ ส การใา้แผัภมู ชตาราสประกอบการเขนย ั ตัิอนา่ สท่ย 1 งานเขียนทางวิชาการ ที่ตัดตอนมานเ้ี ป็นตัวอยา่ งของการใช้ตารางประกอบการเขียน ทางวิชาการท่ีคัดเลือกมาจากเอกสารการสอนของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช ขณะท่ีเทคโนโลยี หรือเทคนิควิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าขึ้นนั้น ช่วงเวลาอายุของสินค้าท่ีจะอยู่ใน ตลาดจะส้ินสุดลง หรือล้าสมัยเร็วขึ้นนั่นเอง ดูจากตัวอย่างง่าย ๆ ที่เกิดในสหรัฐอเมริกาคือ สินค้าประเภท เครื่องใชใ้ นบ้าน ตามภาพ 1.1 ซึ่งแสดงถงึ วงจรชีวติ ของเครือ่ งใช้ภายในบ้าน 2 กลุ่ม ด้วยการให้ปที ่ีมียอดขาย สูงสดุ เทา่ กบั 100% ณ จุด 0 บนแกนนอน ขอให้สังเกตวา่ เคร่ืองใชภ้ ายในบ้าน 10 อย่างที่เคยมีก่อนปี ค.ศ. 1920 จะมี ระยะเวลาที่ยังขายได้ในตลาดเฉลย่ี ประมาณ 18 ปี ในขณะท่ีเครื่องใช้ภายในบ้านอีก 10 อยา่ งทผ่ี ลิตข้ึนมาในระหวา่ งปี ค.ศ. 1939 ถึง 1959 จะมีระยะเวลาเฉลยี่ เพียง 5 ปีเท่าน้ัน การผลติ ก็ถึงจุดสูงสุด แลว้ ตกลงหลังจากนั้น เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหัสั สออเรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 21 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

ตัิอน่าสทย่ 2 งานเขียนทางวิชาการที่ตัดตอนมาน้ี เป็นตัวอย่างของการใช้แผนภูมิประกอบ การเขยี นทางวชิ าการท่คี ัดเลือกมากจากเอกสารการสอนของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ตัิอน่าส การใาแ้ ผัภูมปช ระกอบการเขยนั รูปท่ี 1.2 แสดงโครงสร้างอายุและเพศของประชากรไทย ปี 2522 ในรูปปิรามิดประชากร โดยแสดงจานวนหรือสัดส่วนของผู้ชายและผู้หญิงในแต่ละกลุ่มอายุ ด้วยแผนภูมิแท่งที่วางซ้อนกัน ปิรามิด ประชากร จงึ ช่วยใหผ้ ู้ศกึ ษามองเหน็ ภาพของลักษณะประชากรไดอ้ ย่างชัดเจน จากภาพโครงสร้างทางอายุและ เพศของประชากรไทยปี 2522 จะเป็นแบบฐานแคบในอนาคต ภาพปิรามิดประชากรไทยปี 2522 แสดงว่า อัตราส่วนร้อยละของเพศชายและเพศหญิงใกล้เคียงกัน อัตราการเพมิ่ ของประชากรช่วงอายุ 0-4 ปี นอ้ ยกว่า ชว่ งอายุ 5-9 ปี และ 10-14 ปี คาดการณ์ได้ว่าอีก 10 ปีข้างหน้า จะมีประชากรช่วงอายุ 15-24 ปี จานวนมาก รฐั บาลมีภาระต้อง วางนโยบายด้านการศึกษา (โรงเรียน) การสาธารณสุข (โรงพยาบาล) สาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา) การจราจรและการสารวจปรมิ าณอาหารมากขึน้ ดว้ ย ติั อน่าสท่ย 3 งานเขียนทางวชิ าการที่ตัดตอนมานี้เป็นตัวอย่างของการใช้แผนภูมิประกอบการเขยี น ทางวชิ าการทค่ี ัดเลือกมากจากเอกสารการสอนของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ตัิอน่าส การใา้ตาราสประกอบการเขยนัทาสิาช าการ จากตารางท่ี 1.4 ปริมาณสัตว์น้าที่จับได้ท้ังประเทศ พ.ศ. 2514-2522 ปรากฏว่า ปริมาณสัตว์น้า ที่จับได้มีจานวนเพ่ิมมากขึ้นและลดลงเช่นกัน สัตว์น้าเค็มมีปริมาณท่ีจับได้สูงกว่าสัตว์น้าจืด ปริมาณสัตวน์ ้า ที่จับไดใ้ นปี พ.ศ. 2522 รวมทัง้ สิ้น 1,946,000 ตัน เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหัสั สออเรยนัรานิาช าเลออกเสรย 22 สาหรับครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

ตัิอน่าสท่ย 4 งานเขียนทางวิชาการท่ีตัดตอนมาน้ี เป็นตัวอย่างของการใช้แผนภูมิประกอบการ เขียนทางวชิ าการทคี่ ดั เลือกมากจากเอกสารการสอนของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ตัิอน่าส การใาแ้ ผัภมู ชประกอบการเขนย ั เม่ือเป็นดังน้ี ในกระบวนการของการสอน ครูจึงเป็นผู้ที่เตรียมการในด้านความรู้ ความคิด ความรู้สกึ และความตอ้ งการต่าง ๆ เกย่ี วกับเด็กไว้ และพยายามทีจ่ ะสอ่ื ความหมายไปถึงเดก็ ให้เกดิ ประโยชน์ และเกิดประสิทธภาพสูงสุด ในกระบวนการนี้ ครูจึงเป็นผู้ส่งสารและนักเรียนเป็นผู้รับสารโดยปริยาย ดังแผนภมู ทิ ี่ 3.1 การดาเนินการสอนของครูจะตอ้ งให้เกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ ด้วย การมเี นือ้ หาสาระอนั ได้แก่ ความรู้ ความคดิ ความตอ้ งการ ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง แล้วสือ่ (ดาเนินการสอน) ตอ่ ผู้เรียนใหไ้ ด้ผลเต็มที่ ผู้เรียนต้องการจะเรยี น รับรแู้ ลว้ สะทอ้ นกลับให้ครทู ราบ การเตรียมครูให้เปน็ ผสู้ ง่ สารท่ดี จี งึ จาเป็นอย่างยิ่ง เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจัดทาหัสั สออ เรนย ัรานิาช าเลออกเสรย 23 สาหรบั ครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

8) การใช้เชิงอรรถและบรรณานุกรมในการอา้ งแหลง่ ข้อมูล ในการเขียนหนังสือเรียนน้ันเน้นและย้าว่า การเรยี บเรียงหนังสือเรียนจะต้องเป็นการใช้ ภาษาและสานวนของผู้เขียนเองโดยตลอด หากจะยกข้อความจากหนังสือเล่มอ่ืนต้องอ้างอิงแหล่งท่ีมาของ ข้อมูลไว้ดว้ ย หากยกข้อความจากหนงั สือเล่มอ่ืนมาเขยี นไว้โดยไมไ่ ด้อ้างอิงเชิงอรรถและบรรณานุกรม ผู้เขยี น จะตอ้ งถูกดาเนินการตามกฎหมายเนอื่ งจากละเมดิ ลขิ สิทธิ์ 9) ภาษาวชิ าการในหนงั สอื เรยี นมักเปน็ การเรียบเรยี งโดยมุ่งเสนอแตข่ ้อเท็จจริงเปน็ สาคญั ภาษาวิชาการในหนังสือเรียนส่วนใหญ่ แล้วจะเขียนใน ลักษณะท่ีให้ ข้อเท็จจริง อย่างตรงไปตรงมา โดยจะไม่สอดแทรกความรู้สึกหรืออารมณ์ของผู้เขียนลงไปเลย หากตอนใดเป็นตอนท่ี ผเู้ ขียนต้องการแสดงความคิดเห็นมกั จะเขยี นบอกไว้อย่างชัดเจน ติั อนา่ ส ภาษาิชาาการใัตารา สาหรับผู้เขยี นมีความเหน็ ว่า ค่านิยมน้ัน หมายถึง การยอมรบั นับถอื และพร้อมทจี่ ะปฏิบัติตามคณุ ค่า ทค่ี นหรอื กล่มุ คนท่ีมีอยู่ตอ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ ซึง่ อาจเป็นวัตถุ มนุษย์ สง่ิ มชี วี ิตอ่ืน ๆ รวมทง้ั การกระทา ในด้านเศรษฐกิจ สังคม จริยธรรม และสุนทรียภาพ ทั้งนโ้ี ดยไดท้ าการประเมนิ ค่าจากทัศนะต่าง ๆ โดยถ่ีถ้วนและรอบคอบแล้ว (หากไม่มีการพิจารณาประเมินค่า เพียงแต่มีความรู้สึกนึกคิดต่อสิ่งต่าง ๆ ความรู้สึกนึกคิดเช่นนั้นก็มีฐานะ เปน็ เพียงเจตคติท่ีมตี ่อสง่ิ นน้ั เท่าน้นั ) จากที่กล่าวมาทง้ั หมดน้ี เราพอจะสรุปใจความได้วา่ ค่านิยมของแต่ละคนนั้นเกิดข้ึนจากประสบการณ์ ที่ไดร้ ับการตรวจสอบแลว้ ของเขา และเน่อื งจากประสบกาณ์ที่แตกต่างกันของแตล่ ะบคุ คล จงึ ทาให้ค่านยิ มของ แต่ละบุคคลผดิ แผกแตกต่างกันออกไป ถงึ แม้ว่าจะอยใู่ นวัฒนธรรมหรือสงั คมเดียวกันก็ตาม เมื่อประสบการณ์ แตล่ ะบุคคลเพิ่มมากขึ้น ก็จะมีผลกระทบกระเทือนทาให้เขาเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงคา่ นิยมเดมิ ของเขาข้ึน ดังน้ัน ค่านยิ มจงึ มีลักษณะไม่คงท่ี ในฐานะที่ค่านิยมเปน็ เครื่องมือนาทางพฤตกิ รรมของคน การเปล่ียนแปลง และวฒุ ภิ าวะของค่านิยมขึน้ อยู่กับการเปลีย่ นแปลงและวุฒภิ าวะของประสบการณ์ของบคุ คลนั้น ๆ 10) ภาษาวชิ าการมกี ารใชส้ ญั ลกั ษณ์ท่ใี ช้เฉพาะวิชาการสาขาใดสาขาหนึ่ง สัญลักษณ์ที่ใช้เฉพาะวิชาการ เช่น วิชาคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์ท่ีใช้เฉพาะและรู้จักกัน ทวั่ ไป เช่น + = บวก - = ลบ x = คูณ ÷ = หาร นอกจากสัญลักษณ์ดังกลา่ วแล้ว เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นตัวอย่างการเขียนภาษาทางวิชาการ ท่ใี ชส้ ัญลักษณใ์ ห้ชดั เจนขึ้น จะขอยกตัวอยา่ งข้อความจากหนงั สือสถติ ศิ าสตรส์ าหรับครมู าให้ผ้เู รียนสังเกต เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหัสั สออ เรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 24 สาหรับครูการศกึ ษาัอกโรสเรยนั

ตัิอน่าส การใาส้ ญั ลักษณ์ใัสาัเขนย ัิาช าการ 1. การคานวณมัชฌมิ เลขคณิตของคะแนนท่ีไมไ่ ดแ้ จกแจงความถ่ีสมมุตวิ ่า x1,x2,x3…………..xn เป็น คะแนนของข้อมูลชุดหน่ึง ซงึ่ มี N จานวน มัชฌมิ เลขคณติ ของขอ้ มลู นน้ั คือ จะเห็นไดว้ ่า X, , , N ต่างก็เปน็ สัญลักษณท์ ่ีใช้ในวิชาสถติ ิ มคี วามหมายดงั ที่กาหนดไว้ ลักษณะภาษาทางวิชาการท่ีกล่าวถึงท้ัง 10 ข้อนี้ เป็นแต่เพียงข้อสังเกตที่เสนอให้ลองพิจารณา ยงั มีลักษณะภาษาทางวชิ าการในรปู แบบอื่น ๆ อีก และถา้ พบก็ควรทจ่ี ะบนั ทกึ เก็บไว้เปน็ ตัวอย่าง เพอื่ จะไดฝ้ ึก ตนเองให้คุ้นเคยหรอื เข้าใจสานวนภาษาทางวชิ าการมากยิง่ ขนึ้ เพราะจะมีผลทาให้เข้าใจภาษาวิชาการที่อ่าน ไดด้ ีย่ิงขน้ึ การจัดทาหนังสือเรียนรายวิชาเลือกของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอ ควรใช้ภาษาในการเรียบเรยี งท่ีผเู้ รียนเขา้ ใจง่าย ซงึ่ มคี วามแตกต่างกนั ทง้ั วัยและประสบการณ์ ดงั นน้ั จึง ควรใช้ภาษาวชิ าการท่ไี ม่ยากจนเกินไป เหมาะกับผเู้ รียน เพ่ือให้ผ้เู รียนศกึ ษาหาความรู้ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ 2.3 ิธช กย ารัาเสัอเั้ออ หา ในการจดั ทาหนังสอื นิยมนาเสนอ 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ นริ นยั และอุปนัย ซง่ึ มีรายละเอียด ดงั นี้ 1) วิธีนิรนัย หมายถึง การนาเสนอเน้ือหาโดยนาเสนอข้อมูลท่ีเป็นทฤษฎี หลักการก่อน แล้วนาเสนอตัวอยา่ ง ซง่ึ วธิ ีการนีเ้ ปน็ วิธที ี่นยิ มมากในการเรยี บเรียงหนงั สือเรียน 2) อุปนัย หมายถึง การนาเสนอเนื้อหาโดยนาตัวอย่างมาให้ศึกษาก่อน จากน้ันจึงจะสรุป หลักการหรอื ทฤษฎี การนาเสนอทั้ง 2 วิธีนี้ขึ้นอยู่กับผู้เขียนพิจารณาว่าจะเลือกวิธีใด จึงจะเหมาะสมกับเน้ือหาที่จะ นาเสนอ วิธีดังกล่าว สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2542 : 195-197) ได้สรุปเปรียบเทียบ วธิ ีการนาเสนอเนือ้ หาและยกตวั อยา่ งประกอบ ดงั น้ี เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจดั ทาหััสสออเรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 25 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

การเขนย ัแบบัรช ันั การเขนย ัแบบอุปันั การนาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ จากหลายแหลง่ สถานการณห์ ลาย ๆ แบบ ปัญหาและแนวทางแกป้ ัญหา ตวั อยา่ งประกอบ ข้อมลู เพ่ิมเตมิ จากหลายแหล่ง การวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ข้อมลู การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ข้อมลู เหตผุ ลสนับสนนุ หรือขดั แย้ง เหตผุ ลสนบั สนุนหรือขัดแยง้ มโนมติ มโนมติ ประเด็นสาคัญ ประเดน็ สาคัญ ทฤษฎหี ลักการของความรู้ ทฤษฎีหลกั การของความรู้ แผัภูมชแสดสลกั ษณะการเขยนัสาัทาสิาช าการ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหัสั สออ เรยนัรานิชาาเลออกเสรย 26 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

ตัิอนา่ ส การเขยนัแบบอปุ ััน บคุ คล 2 คนน้ี เป็นผู้หญิงคนหนึง่ และผู้ชายคนหนงึ่ ทั้ง 2 ไดไ้ ปชมพิพธิ ภัณฑ์แห่งหนึ่งด้วยกนั เมื่อกลับ จากพพิ ิธภณั ฑ์แล้วก็ได้แยกกนั กลับบา้ น เม่ือผูช้ ายกลับถงึ บา้ นไดพ้ ดู คุยกับทางบ้าน ดงั น้ี “เป็นไง วันนไ้ี ปเทยี่ วทไี่ หนมาบา้ ง” “ไปพิพิธภณั ฑ์มาครบั ” “โอ้โฮ อย่ทู พ่ี พิ ิธภัณฑ์ตั้งครง่ึ วันเชียวหรือ” “ใช่ครับ แต่ตอนนี้ที่พิพิธภัณฑ์สวยมาก เขาจัดระบบแสง และทางระบายลมดีมาก มองเห็นสิ่งของ ท่ีตัง้ แสดงไวช้ ัดเจนมากครับ ภายในอาคารก็ทาสใี หม่ชว่ ยให้สว่างข้นึ ” “มีอะไรแปลก ๆ มาตั้งแสดงบา้ งละ่ ” “กไ็ ม่เห็นมีอะไรนี่ครับ ของเดมิ ๆ ทัง้ นั้น” ส่วนผู้หญงิ เมอื่ กลับถึงบา้ น ก็ไดร้ ับคาถามคลา้ ย ๆ กนั แต่ขอใหส้ ังเกตคาตอบว่าแตกตา่ งไปจากคาตอบ ของผ้ชู ายมาก “เปน็ ไง วันน้ไี ปเที่ยวไหนมา” “ไปพพิ ธิ ภณั ฑม์ าคะ่ ” “เออ้ ดี อยู่ทพี่ พิ ิธภัณฑ์ต้ังแต่เชา้ จนเท่ียงใช่ไหม” “ใช่ค่ะ มขี องแปลกๆ มาตงั้ ใหช้ มอีกเยอะเชียวคะ่ สวย ๆ ท้งั น้ันเลย สวยกว่าแตก่ ่อนมาก” “มีอะไรบ้างละ่ ” “มีพวกลูกปัดโบราณ ผ้าลายขิดของเก่าก็มีค่ะ มีป้ายบอกไว้ ดูเหมือนอายุจะกว่าร้อยปี สายสร้อย สยี งั สดอยู่เลย ดเู หมือนจะไดม้ าจากหลุมฝังศพคนโบราณยุคกอ่ นประวัตศิ าสตรจ์ ากทางจงั หวดั ยโสธร “ผ้าลายขิดเคยเห็นแสดงไว้นานแล้วนะ” “คงไมใ่ ชช่ ้ินเดยี วกนั หรอกคะ่ ช้ินนัน้ ลายไม่สวยเทา่ น้ี หมน่ ๆ อยา่ งไรพกิ ล คราวน้ีสสี ดเหน็ กระจา่ งมาก ตัวอย่างข้างต้นนี้ ชี้ให้เห็นว่าความไหวรู้สึกของบุคคลท้ัง 2 นี้ต่างกันมาก ทั้ง ๆ ที่ได้อยู่ในส่ิงแวดล้อม เดียวกัน ในเวลาเดียวกัน คนท่ีเป็นผู้ชายได้แลเห็นสีสันและลักษณะของผ้าลายขิด แต่ไม่ไหวรู้สึกต่อความงาม ท่ีปรากฏอยู่เลย เม่ือไม่ไหวรู้สึกก็ไม่สามารถรับรู้ความหมายของสิ่งท่ีตนเห็นนั้นได้ ไม่ได้รับความประทับใจ จากสิ่งนั้น ตรงข้ามกับคนที่เป็นผู้หญิงซึ่งมีความไหวรู้สึกต่อส่ิง ๆ เดียวกันนี้ได้ว่องไวและประจักษ์ชัดกว่ามาก ในทานองเดียวกันผู้ชายคนน้ันมีความไหวรู้สึกต่อความสว่างภายในอาคารสถานท่ีน้ันได้ดีกว่าผู้หญิง จนนาไปสู่ ความสงั เกตต่อไปได้ว่าเพราะมีการจัดระบบแสงสว่างได้ดยี ิ่งข้ึน ซ่ึงฝา่ ยหญิงนั้นประสาทตากค็ งจะไดร้ บั แสงสวา่ ง อย่างเดียวกัน แต่หาไดร้ บั ความประทับใจจนทาให้สังเกตเหน็ ความเปล่ยี นแปลงของสภาพอาคารน้นั แตอ่ ยา่ งใด ในการรบั สารจากการฟังและการอ่าน ความไหวรสู้ กึ ของผ้รู บั สารย่อมมคี วามสาคญั อย่างยงิ่ เพราะถ้าขาด ความไหวรู้สึกเสียแล้ว ผู้รับสารอาจได้ยินคาพูด ได้เห็นตัวหนังสือชัดเจนทุกคา แต่เสียงท่ีได้ยินหรือลายลักษณ์ อักษรที่อา่ นได้น้ัน จะไม่ทาใหเ้ กดิ ความหมายแก่ผ้นู ้นั เลยก็อาจเปน็ ได้ (สวนิต ยมาภัย การใชภ้ าษาไทย) เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหัสั สออเรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 27 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

จากตัวอย่างจะเหน็ ว่าเริ่มต้นดว้ ยบทสนทนา และลงทา้ ยดว้ ยหลกั การคือ ความสาคัญของความไหว รู้สึก การเขียนแบบอุปนัยเป็นวิธีท่ีน่าสนใจ แต่บรรณาธิการต้องพิจารณาว่าหลักการ หรือข้อสรุปนั้น ตรงประเดน็ สอดคลอ้ งกับตัวอยา่ งหรอื รายละเอียดที่ยกมาหรอื ไม่ สาหรับการเขียนแบบนิรนัย จะเริ่มต้นด้วยทฤษฎีหรือหลักการ แล้วขยายความด้วยเหตุผล รายละเอียดหรือตัวอย่าง การเขียนแบบน้ีนิยมใช้กันมากในงานวิชาการ เพราะเข้าใจประเด็นสาคัญได้ง่าย ดังตัวอยา่ ง ย่อหน้าที่ดีควรมีลักษณะทั้ง 3 ประการครบถ้วน กล่าวคือ มีทั้งเอกภาพ สัมพันธภาพ และ สารัตถภาพ อันจะทาให้ย่อหน้ามีใจความสมบูรณ์ชัดเจน มีการลาดับความต่อเนื่อง และเน้นใจความที่ควรเน้น หรอื อาจเรยี กวา่ ดีทัง้ ใจความและวิธีการเขียน ดังตวั อยา่ งต่อไปนี้ “หัวใจนักปราชญ์ “สุ. จ.ิ ปุ. ลิ.” ท่ีข้าพเจา้ จะนามาอธิบายให้ท่านฟังบัดน้ี ทา่ นคงทราบกนั มาแลว้ ว่า สุ. ไดแ้ ก่ สตุ คือการฟัง จิ. ได้แก่ จินตนะ คือการคดิ ปุ. ไดแ้ ก่ ปจุ ฉา คือการถาม และ ล.ิ ไดแ้ ก่ ลขิ ิต คือการเขยี น ทงั้ น้ถี ้าเพียงจะจาได้กพ็ อนาไปแสดงแววของนักปราชญ์เพียงใหเ้ ขาชมได้อยู่ แต่ตวั เราหาได้เป็นนักปราชญ์ข้ึนไม่ ถ้าจะใหเ้ ราเป็นนกั ปราชญ์จริง ๆ เราตอ้ งจาเรญิ ท้ังจาและปฏิบัตดิ ้วย การท่ีขา้ พเจ้านาหัวใจนักปราชญม์ าอธบิ ายน้ี ก็เพือ่ ขอร้องใหท้ ่านจาเริญจริง ๆ ซงึ่ เปน็ ว่าเปน็ หน้าท่ีของพวกเราโดยแท้ ถา้ ทา่ นจาเริญได้ครบบริบูรณก์ ็จะเปน็ ครู มคี วามร้บู ริบรู ณส์ มแกฐ่ านะครูเปน็ มั่นคง แต่ข้อท่ีท่านจะเป็นนักปราชญ์จริงหรอื ไม่นัน้ ไมใ่ ช่หน้าทท่ี ี่เราจะยกยอ กนั เอง เอาไวใ้ ห้ผู้อื่นเขาตดั สินเอาเองเถิด ขอให้ตั้งหน้าจาเรญิ จริง ๆ เถิด การท่ีท่านมาอบรมครง้ั นี้ก็ไมใ่ ช่อ่ืน คือ ท่านมาจาเริญหัวใจนักปราชญ์น้ีโดยตรงทีเดียว เพราะท่านจาเริญหัวใจนักปราชญ์ตามที่ว่าน้ีแล้ว ท่านก็จะเป็น นกั ปราชญส์ มประสงค์ ไมว่ า่ ปราชญท์ างใด ๆ ไดท้ ้งั น้ัน ดังจะอธิบายย่อ ๆ ต่อไปนี้ สุ. คือ สุต การฟัง ข้อนี้ได้แก่การแสวงหาความรู้ การเล่าเรียน สมัยโบราณต้องอาศัยการฟั งเป็นพื้น เพราะการใช้หนังสือยงั ไมม่ แี พร่หลาย ท่านจงึ จัดเอาการฟังเปน็ ขอ้ สาคัญ คนทจ่ี ะเปน็ ปราชญ์ไดก้ ต็ ้องได้ฟงั มามาก ซงึ่ เรียกว่า “พหูสตู ” คือ ผู้ฟังมาก แต่สมัยน้ีวชิ าหนังสือแพร่หลายทั่วไป จงึ ควรนับการอ่านเข้าในขอ้ พหูสูตน้ีด้วย คอื รวมความว่า ผทู้ ่เี ปน็ นกั ปราชญ์จะต้องฟังมากและอา่ นมากดว้ ย เพราะฉะนั้นจึงยดึ เอาการฟังการอา่ นเป็นองค์เบ้ืองต้นของเราและควรถือว่าเป็นหน้าท่ีของเราทีเดียว และให้ถือว่าการฟังการอ่านเหมือนการเดินชมสิ่งของต่าง ๆ เช่น พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น ย่อมเป็นการให้เราได้รับ ความรู้ท้ังนน้ั จิ. มาจาก จินตนะ แปลวา่ ความคิด ซง่ึ เป็นศัพทพ์ วกเดียวกบั “จติ ” ว่าเครอ่ื งคดิ คอื ใจเรานี้เอง คา จิ. คือความคิด ในท่ีนี้ท่านหมายความว่าให้ใช้ความคิด ซ่ึงเปน็ ข้นั ท่ี 2 รองจากการฟังหรอื การอา่ น ในสมัยน้ีด้วย กล่าวคือ เมื่อเราฟังหรืออ่านเรื่องราวใด ๆ เราต้องติดตามไปด้วยไม่ใช่ปล่อยจิตไปตามยถากรรม อย่างฟงั เสยี งนกเสยี งกา ถ้าพบขอ้ ความแมจ้ นคาพูดทีไ่ ม่เข้าใจหรือสงสัย กผ็ กู จติ ไว้ตรกึ ตรองภายหลงั เพราะถา้ จะ เอามาตรึกตรองเวลานนั้ ก็จะไมไ่ ด้ฟงั เรอื่ งตอ่ ไปหรือจะจดไว้ย่อ ๆ ก็ได้ จึงเป็นการควรอย่างยิ่ง ท่ีผู้ใฝ่ความรู้จะควรปฏิบัติข้อน้ีให้เป็นนิสัยของเราทีเดียว ดังจะนาวิธีปฏิบัติ ในการฟงั และอา่ น แลว้ ใช้ความคิดมาอธบิ ายไวพ้ อเป็นเค้า ดังน้ี (พระยาอุปกิตศลิ ปสาร หัวใจนักปราชญ์) เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจดั ทาหัสั สออ เรนย ัรานิชาาเลออกเสรย 28 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

จากตัวอย่างการเขียนแบบนิรนัยข้างต้นนี้ จะเห็นว่าเร่ิมต้นด้วยการอธิบายลักษณะของย่อหน้า แล้วจึงยกตัวอย่าง จะเห็นได้ว่าวิธีการนาเสนอเนื้อหาท้ังสองวิธีน้ีสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับ ความต้องการของผเู้ ขยี น 3. การัาเสัอกชจกรรม การนาเสนอกิจกรรม ในแต่ละบ ทจะต้องคานึงถึงความ เหมาะสมและสอดคล้ องกั บเนื้อห าแล ะ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวังด้วย กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน (2538 : 129-131) ได้กล่าวถึง การนาเสนอกิจกรรมท้ังในด้าน รูปแบบและลักษณะการนาเสนอ สรุปไดด้ ังนี้ 3.1 รูปแบบขอสกชจกรรม กิจกรรมในชุดวิชาอาจแบ่งตามลักษณะการจัดออกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี 1) กิจกรรมในหน้าหนังสือ (paper activity) เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนทาในกระดาษหรือ ในหนงั สือ เชน่ แบบฝึกหดั บันทกึ ข้อมลู ต่าง ๆ เขยี นรายงาน เขยี นบทความ คาขวญั ตอบคาถาม ฯลฯ เป็นต้น กิจกรรมประเภทน้ี จะอยู่หลังการนาเสนอเนื้อหาเพ่ือต้องการให้ผู้เรียนแสดงข้อมูลย้อนกลับว่ามีความรู้ ความเขา้ ใจในเนอ้ื หาสาระทน่ี าเสนอไปแล้วน้ันมากน้อยเพียงใด 2) กิจกรรมปฏิบตั ิ (operational activity) เปน็ กิจกรรมท่ีใหผ้ ู้เรียนไปปฏิบตั ิ เช่น การศกึ ษา ดูงาน ศึกษาจากผู้รใู้ นชุมชน สัมภาษณ์ สารวจข้อมูล อ่านเอกสารเพ่ิมเติม ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริง ฟังเทป ดูวีดิทัศน์ จัดนิทรรศการ เป็นต้น กิจกรรมประเภทน้ี ถ้ากาหนดเวลาไว้หลังจากการอ่านเนื้อหาวิชาแล้ว มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือตอ้ งการทดสอบความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน หรอื เพ่ือให้ผู้เรียนไดไ้ ปศกึ ษาค้นควา้ เนื้อหา ท่ีเป็นรายละเอียดเพิ่มเติมจากเนื้อหาท่ีกาหนด แต่ถ้ากิจกรรมประเภทนี้เป็นกิจกรรมอิสระไม่ได้นาเสนอ ต่อจากเน้ือหาวิชา จะมีจดุ มุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้แสวงหาเนื้อหาสาระท่ีเป็นองค์ความรู้ตามทีก่ าหนดไว้ใน ขอบข่ายเน้อื หา และจุดประสงคข์ องชุดวิชาด้วยตัวของผู้เรียนเอง 3) กิจกรรมกลุ่ม (oral activity) เป็นกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนทาร่วมกันในกลุ่ม เช่น อภิปราย โตว้ าที ระดมพลงั สมอง ประชุมกลุม่ ยอ่ ย แข่งขันตอบปญั หา เขา้ ค่าย ฟังเทปแล้วอภิปราย ดูวีดิทัศน/์ โทรทศั น์ แลว้ อภิปราย เป็นตน้ กิจกรรมประเภทนน้ี อกจากมจี ุดมงุ่ หมายเพื่อใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ ึกการทางานกลมุ่ กระบวนการ กล่มุ กระบวนการแกป้ ญั หาแลว้ ยังเป็นการฝึกการศึกษาคน้ ควา้ อกี ด้วย 3.2 ลักษณะขอสการัาเสัอกชจกรรมทดย่ ย ควรคานงึ ถงึ สิง่ ตอ่ ไปนี้ กิจกรรมต้องสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคท์ ก่ี าหนด ตวั อย่างเชน่ 1) จดุ ประสงค์ เพือ่ ให้ผู้เรียนทาปุย๋ หมักได้ กจช กรรม ให้ผู้เรียนฝกึ ปฏิบตั ิทาปุย๋ หมกั แล้วเขียนรายงานนาเสนอขัน้ ตอนการทา เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจดั ทาหััสสออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 29 สาหรบั ครกู ารศึกษาัอกโรสเรยนั

2) กิจกรรมต้องมคี วามเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิ ตวั อย่างเชน่ กชจกรรม ใหผ้ ้เู รียนไปศึกษาเรอื่ งวิธีการวางแผนครอบครัวกับเจา้ หน้าทอ่ี นามยั หรือ ผู้ส่ือข่าวสาธารณสุข (ผสส.) ในท้องถิ่นของผู้เรียน แล้วเสนอรายงานว่า วิธีการวางแผน ครอบครวั ทาได้อย่างไรบ้าง การนาเสนอกิจกรรมเช่นน้ี ผู้เขียนจะต้องมีความม่ันใจวา่ มีเจ้าหน้าท่ีอนามัย หรือ ผสส. ในทอ้ งถน่ิ ทผี่ ู้เรียนสามารถไปสอบถาม พูดคุยได้จริง 3) กจิ กรรมท่ีไมน่ า่ จะเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิ ไมค่ วรเสนอ ตัวอยา่ งเชน่ กชจกรรม หลังจากศึกษาเร่ืองอันตรายจากสารเคมีแล้ว ให้ผู้เรียนไปเจาะเลือดที่สถานี อนามัย เพอ่ื ตรวจหาสารเคมใี นเลือด การนาเสนอกิจกรรมเช่นน้ี มีความเป็นไปได้ยากในทางปฏบิ ัติ จึงไม่ควร นาเสนอ 4) กิจกรรมท่ีมที างเลอื กใหผ้ ูเ้ รียน ตวั อยา่ งเชน่ กชจกรรม ให้ผู้เรียนไปสัมภาษณ์แม่ท่ีมีลูกเล็ก ๆ หรือแม่ท่ีกาลังต้ังครรภ์ หรือแม่ของ ผ้เู รียนเองเกีย่ วกับ “ิธช ปย ฏชบตั ตช ัขอสแมร่ ะหิา่ สตั้สครรภ์” แล้วตอบคาถามตามหวั ข้อที่กาหนด การนาเสนอกิจกรรมเช่นน้ี กรณีที่ผู้เขียนไม่มั่นใจว่า ถ้ากาหนดให้ผู้เรียนไปสัมภาษณ์ เฉพาะแม่ท่ีกาลังตั้งครรภ์เท่านั้น ถ้าไม่มีผู้ตั้งครรภ์ในขณะนั้น กิจกรรมน้ีก็อาจไม่เกิดข้ึน จึงให้ทางเลือกว่า ผ้เู รียนอาจจะไปสมั ภาษณแ์ ม่ทม่ี ลี กู เล็ก ๆ หรอื แม่ของผเู้ รียนเอง เปน็ ต้น 5) กิจกรรมท่ีนาเสนอแล้ว ต้องกาหนดให้ผู้เรียนให้ข้อมูลย้อนกลับ เพื่อแสดงความรู้ ความเข้าใจ หรือแสดงวา่ ผ้เู รียนไดไ้ ปศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง ฝกึ ปฏบิ ัติ มาจรงิ ตวั อยา่ งเช่น กจช กรรม ใหผ้ ู้เรียนดวู ีดิทัศน์ เร่ือง “การเลออกต้ัสใัระบอบประาาธชปไตน” แล้วคาตอบ ตามหัวขอ้ ทกี่ าหนดตอ่ ไปน้ี คาถาม 1. ผู้แทนคือใคร ทาหนา้ ทอ่ี ะไร 2. เราเลอื กตง้ั ผแู้ ทนในระดบั ต่าง ๆ อะไรบ้าง 3. เราควรเลอื กผแู้ ทนที่มีคณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะอยา่ งไรบ้าง กจช กรรม ใหผ้ ู้เรยี นไปศึกษาวชิ าการขยายพันธ์ุพืช โดยการตอนจากเกษตรตาบล แล้วฝึก ปฏิบัติตอนต้นไม้มาส่งผู้สอน 1 ต้น พร้อมทั้งเสนอรายงานเร่ือง การขยายพันธุ์พืช โดยการตอนตามหัวข้อ ต่อไปนี้ 1. ลักษณะพชื ท่คี วรขยายพนั ธุด์ ว้ ยการตอน 2. ข้นั ตอนการตอนตน้ ไม้ การนาเสนอกิจกรรมดังกลา่ ว ผู้จดั ทาหนังสือเรียนสามารถกาหนดได้ตามความเหมาะสม ส่วนใหญ่ กจิ กรรมในหนังสอื เรยี นจะเน้นกิจกรรมประเภทกิจกรรมในหนา้ หนังสอื เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจัดทาหััสสออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 30 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

4. การจัดทาแบบทดสอบก่อัและหลัสเรนย ั ในการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จะต้องมีความรู้เก่ียวกับเครื่องมือประเมินผล การเรยี นการสอน ซึ่งโกศล มีคณุ และกัญจนา ลนิ ทรตั นศริ ิกลุ (2537 : 87-100) สรปุ ไดด้ ังน้ี การกาหนดเครื่องมือประเมินจะต้องสอดคลอ้ งกับพฤติกรรมท่ีจะประเมินว่า พฤติกรรมที่ต้องการ ประเมิน คืออะไร มีลักษณะอย่างไร หากใช้เครอ่ื งมือในการประเมินไม่เหมาะสม ผลทไ่ี ด้รับจากการประเมิน จะไม่สอดคลอ้ งกับจุดมงุ่ หมายของการประเมนิ การวดั ความก้าวหน้าทางการเรียนการสอนต้องพิจารณาจากจุดมุ่งหมายทางการศึกษา ซ่ึงจาแนก เป็น 3 พิสัย คอื พทุ ธพสิ ัย เจตพิสัย และทักษะพสิ ัย ผู้สอนจะต้องเลอื กเครื่องมือการประเมินผลให้สอดคล้อง กับจดุ มงุ่ หมายดงั กล่าว เคร่ืองมือการประเมินผลความก้าวหน้าผู้เรียนท่ีสาคัญ ซึ่งผู้สอนใช้กันมากเพ่ือประเมินความรู้และ ทักษะในการเรียนการสอน คอื แบบทดสอบ แบบทดสอบ หมายถึง เครือ่ งมือหรอื กระบวนการท่ีเป็นระบบเพอื่ ใชใ้ นการวดั ตวั แทนของพฤติกรรม ซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีนิยมใช้กันมากในการประเมินผลการเรียนการสอน ด้านสติปัญญาหรือการประเมิน ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาที่ผู้เรียนได้เรียนไปแล้วว่า ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถเพ่ิมข้นึ มากน้อยเพียงใด รูปแบบของแบบทดสอบที่ใช้ ไดแ้ ก่ ขอ้ สอบแบบถูก-ผดิ ข้อสอบแบบ จบั คู่ ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ ข้อสอบแบบเติมคา ข้อสอบแบบตอบสนั้ ๆ และขอ้ สอบแบบความเรียง 4.1 ข้อสอบแบบถูก-ผชด เป็นแบบข้อสอบท่ีประกอบด้วยข้อความหรือประโยคและให้ผู้สอบเลือกว่าถูกหรือผิด จริงหรือไม่จริง ใช่หรือไม่ใช่ ข้อสอบแบบถูก-ผิด เป็นข้อสอบท่ีใช้ในการวัดข้อเท็จจริง นิยาม คาจากัดความ หลักการต่าง ๆ นอกจากนี้ยังใช้ในการวัดขอ้ ความหรือประโยคที่แสดงความสัมพันธ์ในเชิงเหตแุ ละผล เพื่อให้ ผสู้ อนพิจารณาถึงความสัมพนั ธว์ ่าเปน็ จริงหรอื ไมจ่ ริง ขอ้ สอบแบบถูก-ผิด มีขอ้ จากดั คอื เป็นข้อสอบทผ่ี ู้สอบ สามารถคาดเดาคาตอบได้ เน่ืองจากมเี พียง 2 ตัวเลือก เพราะฉะน้ันโอกาสในการตอบถูกโดยการเดาในแต่ละ ข้อคาถามจะเท่ากับร้อยละ 50 วิธีการท่ีจะลดการตอบถูกโดยการเดา ก็คือ ผู้ออกข้อสอบจะต้องให้ผู้สอบ ขดี เส้นใต้หรือเปล่ียนข้อความในข้อคาถามที่ผู้สอบเห็นว่าไม่ถกู ต้อง น่ันคือ ผู้สอบจะต้องเขียนข้อความที่ถูก ลงไปเหนือคาที่ขีดเส้นใต้หรือในช่องว่างท่ีเว้นไว้ให้ วิธีการนี้จะทาให้ข้อคาถามมีความตรงและมีความเที่ยง มากกว่าการให้ผู้สอบตอบว่าถูกหรือผิดเท่าน้ัน การท่ีให้ผู้สอบตอบว่าถูกหรือผิด ผู้สอบจะทราบแต่เพียงว่า ขอ้ คาถามที่สร้างขึ้นมาน้ันไม่ถูก แตผ่ ู้สอบจะไมท่ ราบวา่ ข้อความท่ถี ูกตอ้ งควรเป็นอย่างไร ถึงแม้ว่าวิธีน้ีจะลด โอกาสในการตอบถกู โดยการเดาลงก็ตาม แต่ขอ้ สอบลักษณะน้เี ป็นข้อสอบที่ใช้เวลาในการตอบมาก การเขยี น ขอ้ สอบแบบถูก-ผดิ โดยทวั่ ไป มีดงั น้ี 1) คาช้ีแจงในการทาแบบทดสอบจะต้องชัดเจนว่าจะให้ผู้สอบตอบอย่างไร เชน่ ให้ตอบว่า ถกู -ผดิ ใช่-ไม่ใช่ ถกู -ไมถ่ ูก เปน็ ตน้ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจัดทาหัสั สออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 31 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

2) คาตอบจะต้องสอดคล้องกับคาถาม เช่น คาถามต้องการถามว่าจริงหรือเท็จ คาตอบที่ดี ทสี่ ุดคอื จริงหรอื เท็จ ถ้าคาถามตอ้ งการใหต้ อบว่า ใช่หรอื ไมใ่ ช่ ขอ้ คาถามก็ควรจะสอดคล้องกับคาตอบ แต่ถ้า คาตอบตอ้ งการใหผ้ สู้ อบตอบวา่ เปน็ จรงิ หรือเป็นความคิดเห็น คาถามก็ควรเป็นจรงิ หรอื ขอ้ คิดเหน็ เปน็ ตน้ 3) ในคาช้ีแจงควรอธิบายให้ชัดเจนว่าจะให้ผู้ตอบเขียนคาตอบอย่างไร เช่น ให้เขียนวงกลม ลอ้ มรอบตวั อักษรหรอื คา หรอื ใหเ้ ขียนลงไปท่ีขา้ ง ๆ ข้อคาถาม 4) ในแต่ละข้อคาถามควรถามประเด็นเดียว ข้อคาถามท่ีถามหลาย ๆ ประเด็นจะทาให้มี บางส่วนถูก ซ่ึงจะทาให้ผู้สอบสบั สนและมีผลตอ่ การเลือกคาตอบ การเขียนข้อความคาถามควรเขียนให้อ่าน เข้าใจงา่ ย ชัดเจน และใชค้ าศัพท์ใหเ้ หมาะสมกบั ระดับความสามารถของผู้สอบ 5) พยายามเลี่ยงประโยคท่เี ป็นปฏิเสธหรือปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ เพราะวา่ บางคร้ังผสู้ อบอาจจะ อ่านข้ามไป เช่น คาว่า ไม่ ไม่ใช่ และการใช้ประโยคปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ ทาให้เข้าใจยาก แต่ถ้าจาเป็นต้องใช้ ประโยคท่เี ปน็ ปฏิเสธกค็ วรจะขดี เสน้ ใตค้ าว่า “ไม่” 6) การเขียนข้อความที่เป็นข้อถูกและข้อผิด ควรมคี วามยาวพอ ๆ กัน โดยปกตแิ ลว้ การเขยี น ขอ้ คาถามท่ีถูก มักมคี วามยาวมากกว่าขอ้ คาถามที่ผดิ เน่อื งจากในการเขยี นขอ้ คาถามท่ีถูก ผู้เขียนจะพยายาม อธบิ ายให้เกดิ ความชัดเจนท่ีสดุ จงึ ทาให้ข้อคาถามท่ีถกู มีความยาวมากกว่า เพราะฉะนัน้ เพอ่ื มิให้เปน็ การชีแ้ นะ ว่าเปน็ ข้อถูกก็ควรจะพยายามปรบั ความยาวของข้อคาถามลงใหม้ ีความยาวพอ ๆ กบั ขอ้ ผดิ 7) จานวนของข้อคาถามท่ีให้ตอบว่า ถูกหรือผิด ควรมีจานวนใกล้เคียงกนั เนื่องจากในการ ตอบข้อสอบแบบถูก-ผิด โดยท่ัวไปผู้สอบที่ไม่แน่ใจว่า ถูกหรือผิด ผู้สอบกจ็ ะขีดเครื่องหมายถูกลงไป และใน ขณะเดียวกันผู้สอบบางคนที่ไม่แน่ใจในคาตอบว่าถูกหรือผิดก็จะขีดเครื่องหมายผิดลงไป เพราะฉะน้ันไม่ว่า ผู้สอบจะตอบในลักษณะใดกต็ าม จะทาใหค้ าตอบวา่ ถกู หรอื ผิดมีมากเกินไป ติั อนา่ ส ขอ้ สอบแบบถูก-ผดช คาชี้แจง จงอ่านข้อความตอ่ ไปน้ี ถ้าข้อความใดถกู ให้เขียนวงกลมลอ้ มรอบตัว “ถ” และถ้าข้อความ ใดผดิ ให้เขยี นวงกลมลอ้ มรอบตวั “ผ” ถ ผ ประเทศเขมร ลาว พมา่ มีลกั ษณะท่ไี ม่เหมือนกบั ประเทศไทย คือ นิสัยใจคอ 4.2 ขอ้ สอบแบบจบั คู่ เป็นข้อสอบท่ปี ระกอบด้วย 2 คอลัมน์ คอลัมน์หนึง่ จะประกอบด้วยคา ตัวเลข หรอื สญั ลักษณ์ เพื่อจับคู่กับอีกคอลัมน์หน่ึงซึง่ ประกอบด้วย คา ประโยคหรือวลี ข้อความในคอลมั น์หน่ึงจะเป็นคาถาม และ ขอ้ ความในอกี คอลมั น์หน่งึ ซ่ึงจะเลอื กมาตอบเรยี กว่า ตัวเลือก วธิ ีการจบั คู่จะต้องอธบิ ายในคาชแ้ี จงให้ชัดเจนว่า จะใหผ้ ู้สอบจับคู่อย่างไร และตัวเลอื กที่เลือกมาจับคู่กับคาถามนนั้ เลอื กได้ครง้ั เดยี ว หรอื เลือกได้มากกว่า 1 ครั้ง ในการประเมินผลการเรียนการสอน โดยทั่วไปแล้ว ขอ้ สอบแบบจบั คูเ่ ป็นขอ้ สอบทวี่ ัดความสามารถในการระบุ ความสัมพันธ์ของ 2 ส่ิง เช่น วัน เวลากับเหตุการณ์ ช่ือบุคคลกับผลงาน สาหรับการเขียนข้อสอบแบบจับคู่ โดยท่ัวไปมีดงั นี้ เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจดั ทาหัสั สออ เรยนัรานิชาาเลออ กเสรย 32 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

1) คาชแ้ี จงตอ้ งชดั เจน กล่าวคอื จะต้องอธิบายถึงรูปแบบของขอ้ คาถามในแตล่ ะคอลัมน์และ วิธีการจบั คู่ ว่าคาตอบแตล่ ะขอ้ สามารถเลือกตอบได้มากกวา่ 1 ครง้ั หรือไม่ 2) ข้อความที่จะนามาสร้างคาถามควรเป็นข้อความท่ีมีเนื้อหาเดยี วกัน เช่น ให้จับคู่ระหว่าง บุคคลสาคัญทางประวัติศาสตร์กับผลงาน ในการเขียนข้อคาถามถ้ามีข้อความหรือวลีที่ยาวควรนาไปไว้ใน คาถามมากกวา่ ท่จี ะนามาไวใ้ นคาตอบ 3) ข้อความท่ีจะนามาสร้างเป็นคาตอบก็ควรมีเนื้อหาอย่างเดียวกัน สั้น กะทัดรัด จัดเรียง ตามลาดับอย่างสมเหตุสมผล เช่นเดียวกับกลุ่มของคาถาม เนื้อหาที่ไม่มีความสัมพันธ์กับคาถามไม่ควรนามา เป็นตัวลวง กลุ่มของคาตอบควรมีมากกว่าคาถามอย่างน้อย 1 ข้อ เพื่อมใิ หผ้ สู้ อบเดาคาตอบได้ ในการจัดเรยี ง คาตอบ ถ้าคาตอบเป็นตัวเลข เช่น วนั เวลา เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ ควรจัดเรยี งตามความมาก น้อยของจานวน เพื่อชว่ ยใหผ้ สู้ อบเลอื กคาตอบไดง้ า่ ยข้ึน 4) พยายามหลีกเล่ียงการจับคู่คาถามกับคาตอบที่มีลักษณะ 1 ต่อ 1 เช่น คาถามมี 5 ข้อ และคาตอบก็มี 5 ข้อ เชน่ เดยี วกนั 5) พยายามเขียนคาถามและตอบให้อยู่ในหน้ากระดาษเดียวกัน เพื่อให้ผ้สู อบไมต่ ้องพลิกหน้า ของแบบทดสอบกลบั ไปกลับมา ซ่ึงจะทาใหเ้ สียเวลามาก ติั อนา่ ส ข้อสอบแบบจับคู่ คาชแี้ จง ให้เลอื กตวั อักษรในคอลมั น์ ข. มาเขยี นไว้ในชอ่ งว่างที่เว้นไว้ในคอลัมน์ ก. แต่ละตัวเลือก ในคอลมั น์ ข. สามารถเลอื กไดเ้ พยี งครง้ั เดยี ว คอลมั ั์ ก. คอลัมั์ ข. (ก) 1. ประดษิ ฐ์โทรศัพท์ ก. Alexander Graham Bell (ข) 2. ค้นพบอเมริกา ข. Christopher Columbus (ค) 3. นกั ดาราศาสตรช์ าวอเมริกากับคนแรกท่โี คจรรอบโลก ค. John Glenn (ง) 4. ประธานาธบิ ดคี นแรกของสหรัฐอเมริกา ง. Abraham Lincoln จ. Ferdinand Magellan ฉ. George Washington ช. Eli Whitney 4.3 ขอ้ สอบแบบเลออกตอบ เป็นข้อสอบที่มีข้อคาถามท่ีต้องการให้ผู้ตอบเลือกจากตวั เลือกหลาย ๆ ตัว การเลือกจะต้อง พิจารณาถึงข้อความในแต่ละข้อว่า ตัวเลือกใดเป็นตัวเลือกท่ีถูกที่สุดหรือดีที่สุด ลักษณะของข้อสอบ แบบเลือกตอบประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีเป็นคาถามจะอยู่ในรูปข้อความที่ไม่สมบูรณ์หรือข้อความท่ี เปน็ คาถาม และสว่ นที่เปน็ ตัวเลอื กจะมตี ัวเลอื กหนึ่งเปน็ ตัวเลือกที่ถูกทส่ี ุดหรอื ดที ส่ี ดุ และตวั เลือกอ่นื ๆ จะเปน็ ตวั เลอื กที่ไม่ถูกต้องหรอื ทีเ่ รยี กวา่ ตวั ลวง เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหััสสออ เรนย ัรานิาช าเลออกเสรย 33 สาหรบั ครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

ในบรรดาข้อสอบแบบปรนัยทั้งหมดนั้น ข้อสอบเลือกตอบเป็นข้อสอบท่ีมีความยืดหยุ่น มากท่ีสุดที่จะประเมินพฤติกรรมทุกระดับ ต้ังแต่ความรู้ตลอดจนการนาไปใช้และการวิเคราะห์ ซ่ึงลักษณะ ดังกล่าวจะดีกว่าข้อสอบแบบถูก-ผิด ย่ิงกว่านั้นโอกาสในการเดาก็จะมีน้อย แต่ข้อจากัดของข้อสอบ แบบเลือกตอบ คือ สร้างตัวลวงยาก โดยเฉพาะข้อสอบที่มีตัวเลือก 4 หรือ 5 ตัว สาหรับการเขียนข้อสอบ แบบเลือกตอบโดยทว่ั ไปมดี งั น้ี 1) ขอ้ ความที่ถามควรเขียนในรูปคาถาม ถึงแม้วา่ จะยงั ไม่มีงานวจิ ัยมาสนับสนุนว่าการเขียน ในรูปแบบคาถามจะดีกว่า การเขียนในรูปข้อความไม่สมบูรณก์ ็ตาม แตก่ ารเขยี นในรูปข้อความไม่สมบูรณจ์ ะมี ปญั หาคอื ผู้สอบจะตอ้ งนึกคาถามเองซง่ึ จะทาให้ผู้สอบเสยี เวลาในการตอบ ตัิอนา่ ส ขอ้ นไี้ ม่ดเี พราะไมไ่ ด้เน้นจดุ ที่จะถามใหช้ ัดเจนและ คาถามไมเ่ ป็นประโยคคาถามท่ีสมบรู ณ์ (ไม่ดย) กรุงเทพมหานคร (ดขย ัึ้ ) ทาไมกรุงเทพมหานครจงึ มีความสาคญั ต่อ ก. เป็นศูนย์กลางการศึกษา ข. เปน็ ศูนยก์ ลางส่วนราชการ การบรหิ าร ค. เปน็ เมอื งหลวงไดค้ รบ 200 ปี ง. เป็นเมอื งทไ่ี ด้รบั สมญาวา่ เวนชิ ตะวันออก 2) คาถามต้องชัดเจนและถามเพียงประเดน็ เดียว ติั อน่าส ถา้ จะให้ดีควรเป็นขอ้ ๆ เชน่ (ดขย ้ึั) พระประธานทพี่ ุทธมณฑลเป็นปางใด (ไมด่ )ย พระประธานที่พทุ ธมณฑลเปน็ ปางใดและอยู่ ในสกุลใด พระประธานท่ีพทุ ธมณฑลอยใู่ นสกลุ ใด ก. ปางโปรดสัตว-์ รตั นโกสินทรต์ อนต้น ข. ปางเสดจ็ จากสวรรค-์ อยธุ ยา ค. ปางลลี า-สโุ ขทัย ง. ปางประทบั ยืน-เชียงแสน เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจดั ทาหััสสออ เรยนัรานิชาาเลออกเสรย 34 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

3) ข้อความที่อยู่ในตัวเลือกซ้า ๆ กันควรนาไปเขียนไว้ในตัวคาถาม การเขียนในลักษณะนี้ จะทาใหผ้ ้สู อบไมต่ ้องเสียเวลาในการอา่ นขอ้ ความที่ซ้า ๆ กัน และทาใหข้ อ้ คาถามมีประสทิ ธิภาพมากขึ้นด้วย ตัิอน่าส ควรปรบั คาถามใหมโ่ ดยการนาขอ้ ความท่ซี ้ากนั ในตวั เลอื กไปไว้ในคาถาม (ไมด่ ย) ข้อใดเปน็ ลกั ษณะของกรุงสโุ ขทยั (ดขย ้ึั) การปกครองสมัยพอ่ ขนุ รามคาแหง สมยั พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ก. มกี ารปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก มหาราชมลี กั ษณะอยา่ งไร ข. มีการปกครองแบบจตุสดมภ์ ก. พ่อปกครองลกู ค. มีการปกครองแบบครูกับลูกศษิ ย์ ข. จตสุ ดมภ์ ง. มกี ารปกครองแบบนายกับบ่าว ค. ครปู กครองศษิ ย์ ง. นายปกครองบ่าว 4) ข้อคาถามควรเขยี นให้อ่านเขา้ ใจงา่ ยและหลกี เลีย่ งข้อความทฟ่ี ุ่มเฟือยหรือไมจ่ าเป็น ทั้งใน คาถามและตัวเลือก เนื่องจากการเพิ่มข้อความที่ไม่จาเป็นเข้ามาจะทาให้ผู้สอบเสียเวลาอ่าน และทาให้ ประสทิ ธภิ าพของข้อคาถามลดลง นอกจากน้ยี งั ทาให้มคี วามกากวมเกิดข้ึนด้วย ติั อน่าส (ดยข้ึั) การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาสงั คม โดยทั่วไปควรแก้ไขโดยวธิ ีใด (ไมด่ ย) การแก้ไขปญั หาสังคมจะต้องแกต้ ามปัญหา ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นเพราะแต่ละปัญหาก็มี ที่มาและสาเหตุต่าง ๆ กัน อยากทราบว่า การป้ องกั นและแก้ไขปัญ ห าสังคม ท่ัว ๆ ไปอาจแกโ้ ดยวิธใี ด ก. รัฐควรเปน็ ผแู้ กป้ ัญหาเอง ข. รัฐต้องใหส้ วสั ดิการทดี่ ีแกป่ ระชาชน ค. รัฐไมค่ วรใหม้ กี ารปฏริ ปู ทด่ี นิ ง. รฐั ควรส่งเสรมิ ใหน้ ายจ้างและลกู จา้ ง มีรายไดเ้ พมิ่ ขึน้ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหััสสออเรนย ัรานิาช าเลออ กเสรย 35 สาหรบั ครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

5) หลีกเลี่ยงข้อคาถามที่มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในบางคร้ังผู้เขียนข้อคาถามได้เขียน ข้อความท่มี ีความคาบเก่ียวกนั โดยไม่ต้ังใจ ซ่ึงจะเปน็ ผลทาให้คาถามหรือตัวเลือกในขอ้ หนึ่งชี้แนะคาตอบของ ขอ้ คาถามขอ้ อื่น ซง่ึ ลักษณะน้ีจะเกดิ เมอื่ แบบทดสอบประกอบด้วยขอ้ คาถามจานวนมาก ตัิอน่าส คาถามข้อท่ี 1 ถามว่า ใครเปน็ คนยา้ ยเมอื งหลวงไปต้งั ท่ีกรงุ ธนบุรี คาถามขอ้ ท่ี 15 ถามวา่ ทาไมพระเจา้ ตากสนิ มหาราชจึงยา้ ยเมืองหลวงไปตง้ั ทกี่ รงุ ธนบรุ ี จากคาถามข้อท่ี 1 และคาถามขอ้ ที่ 15 จะเหน็ ว่าคาถามขอ้ ที่ 15 แนะคาตอบใหแ้ ก่คาถามขอ้ ที่ 1 6) หลีกเลยี่ งขอ้ คาถามที่อยู่ในรูปปฏิเสธ เนื่องจากทาให้เขา้ ใจยาก แต่ถ้าต้องการใหอ้ ยู่ในรูป ปฏิเสธ ควรขีดเส้นใต้ข้อความท่ีเป็นปฏิเสธ เช่น คาว่า “ไม่” แต่วิธีที่ดีที่สุดก็คือพยายามเขียนให้อยู่ในรูป ขอ้ ความบอกเลา่ ตัิอนา่ ส (ดยขั้ึ ) เมอื งต่อไปนี้เมอื งใดเป็นเมอื งหลวง ก. ฮโิ รชิมา (ไมด่ ย) เมอื งตอ่ ไปน้ีไม่มเี มืองใดเปน็ เมอื งหลวง ข. โตเกียว นกเิั้ ค. เกยี วโต ก. ฮโิ รชิมา ง. นางาซากิ ข. โตเกยี ว ค. เกยี วโต ง. นางาซากิ 7) หลีกเล่ียงการเขียนตัวเลือกที่เป็นคาตอบถูกให้แตกต่างอย่างเป็นระบบจากตัวเลือกอ่ืน คาว่า “ตัวเลอื กท่ีเปน็ ตวั ถกู แตกตา่ งอย่างเปน็ ระบบ” หมายความว่า ตัวเลอื กทเี่ ปน็ ตัวถกู มคี วามยาวและความ ชดั เจนมากกว่าตัวเลือกอ่นื ๆ ติั อนา่ ส เน่อื งจากตัวเลือก ง. เป็นตวั ถกู และยาวกวา่ ตัวเลอื กอนื่ เพราะฉะน้ันควรปรบั ตวั เลือกใหม่ (ไมด่ )ย กรุงศรอี ยธุ ยาเสียกรงุ ครง้ั ที่ 1 เนือ่ งจาก ดังนี้ คนไทยขาดส่ิงใด (ดขย ึ้ั) ก. ขวัญและกาลังใจ ก. ขวญั ข. ผูน้ า ข. ผ้นู าทีเ่ ขม้ แขง็ ค. อาวุธ ค. อาวธุ ท่ที ันสมยั ง. ความสามคั คี ง. ความสามคั คี เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหััสสออเรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 36 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

8) ในการเขยี นตวั เลือกควรจะตอ้ งจดั เรยี งลาดบั ตามจานวนจากมากไปหานอ้ ย หรือจากน้อย ไปหามากหรือจดั เรียงลาดับอย่างเป็นระบบ ติั อน่าส ขอ้ นีไ้ ม่ดีเพราะตวั เลอื กไม่เรยี งตามลาดับ (ดยขึ้ั) ก. 2112 (ไม่ด)ย กรงุ ศรีอยธุ ยาเสียกรงุ คร้งั ที่ 2 เมอ่ื พ.ศ. ใด ก. 2112 ข. 2130 ข. 2310 ค. 2211 ค. 2130 ง. 2310 ง. 2211 9) ตวั เลอื กควรเปน็ อิสระจากกัน ตัิอน่าส ข้อนไ้ี มด่ ี เพราะตวั เลอื กไมเ่ ปน็ อสิ ระจากกนั กลา่ วคอื (ไมด่ )ย ประชาชนทาบตั รประจาตวั ประชาชนต้องมี ตัวเลอื ก ก. คลมุ ตัวเลอื ก ข. ค. ง. อายเุ ทา่ ไร ตวั เลอื ก ข. คลุมตวั เลือก ค. ง. ก. 15 ปขี ้นึ ไป ตัวเลอื ก ค. คลมุ ตัวเลือก ง. ข. 16 ปขี น้ึ ไป (ดยข้ึั) ก. 15 ปี ค. 17 ปีขึ้นไป ง. 18 ปขี น้ึ ไป ข. 16 ปี ค. 17 ปี ง. 18 ปี 10) ตวั เลือกทุกตัวควรจะเป็นตัวเลือกที่เป็นไปได้ และดึงดดู ผสู้ อบที่มีความรหู้ รอื ทักษะน้อย ให้เลือก นั่นคือ การเขียนตัวเลือกในข้อสอบแบบเลือกตอบ ควรเขียนลวงให้ผู้สอบท่ีไม่ได้มีการเตรียมตัวมา ใหส้ ามารถเลอื กได้ ติั อนา่ ส (ไมด่ )ย พันท้ายนรสงิ หม์ ีช่อื เสยี งเด่นทางใด ตัวเลอื ก ง. เป็นตวั เลือกทีไ่ ปคนละทางกบั ก. เป็นทหารทีก่ ล้าหาญ ตวั เลือก ก. ข. ค. และเป็นตัวเลอื กทเี่ ปน็ ไปไม่ได้ ข. มีความซื่อสตั ย์ (ดขย ึั้ ) ก. มคี วามกตัญญู ค. มรี ะเบยี บวินัยดี ง. เปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ ข. มีความยุตธิ รรม ค. มีความกล้าหาญ ง. มีความซื่อสัตย์ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหัสั สออ เรยนัรานิาช าเลออกเสรย 37 สาหรับครูการศกึ ษาัอกโรสเรยนั

11) ตัวเลือกท่ีเขียนว่า “ไม่มีข้อใดถูก” ควรจะระวังในการใช้ กล่าวคือ ถึงแม้ว่าตัวเลือก ทก่ี ลา่ ววา่ “ไมม่ ีขอ้ ใดถกู ” เปน็ ตัวเลือกทีถ่ กู ก็ตาม แต่ก็ไมไ่ ด้ประกนั วา่ ผสู้ อบรู้คาตอบจริง ๆ 12) ตัวเลือกแตล่ ะตัวสอดคล้องกับคาถาม ติั อน่าส ตัวเลอื กกบั คาถามไม่สอดคล้องกันจะเหน็ ว่า ตัวเลอื กมที ้งั ช่ือ แมน่ ้า ภูเขา และถนน (ไมด่ )ย แม่นา้ ทสี่ าคญั ท่สี ุดของไทยชือ่ อะไร (ดขย ั้ึ ) ก. โขง ก. โขง ข. อนิ ทนนท์ ข. มูล ค. มติ รภาพ ค. บางปะกง ง. เจ้าพระยา ง. เจา้ พระยา 4.4 ขอ้ สอบแบบเตชมคา เป็นข้อสอบท่ีให้ผู้สอบเขียนคาสาคัญ วลี หรือตัวเลขลงในช่องว่างท่ีเว้นไว้ให้ในประโยค สาหรับการเขยี นขอ้ สอบแบบเติมคาโดยทวั่ ไป มีดังนี้ 1) ประโยคทีใ่ ห้เตมิ ข้อความ ไมค่ ิรเิ้ัให้เติมคาตอบหลายแหง่ 2) ข้อความทเ่ี วน้ ให้เติม ควรอย่ทู ้ายประโยค โดยที่ความหมายของประโยคไมเ่ ปล่ียน เพราะ จะทาใหผ้ ู้สอบอ่านและตอบคาถามได้งา่ ยกวา่ 3) คาถามทถ่ี าม พยายามเลย่นสคาตอบทีส่ ามารถตอบไดห้ ลาย ๆ คาตอบ 4) คาถามในแต่ละขอ้ ไม่คิรมกี ารชี้แนะคาตอบ 5) การเขียนคาถาม ไมค่ ิรคดั ลอกขอ้ คิามจากในหนงั สือมาถามโดยตรง 6) ในการตอบเพอื่ ความสะดวกของผู้ตรวจใหค้ ะแนน ควรให้ตอบในกระดาษคาตอบ ซึ่งแยก จากตวั แบบทดสอบ วิธกี ารก็คอื ในกระดาษคาตอบใหม้ กี ารเวน้ ช่องว่างใหต้ อบ ช่องว่างท่เี วน้ ควรสอดคลอ้ งกับ คาถามในแบบสอบ ติั อน่าส ศาสนฑูตคนแรกของศาสนาอิสลาม คือ.................................................................................... แหล่งกาเนดิ ของศาสนาคริสต์ คอื ............................................................................................. 4.5 ขอ้ สอบแบบตอบสั้ั ๆ ข้อสอบแบบตอบส้ัน ๆ และข้อสอบแบบเติมคา เป็นข้อสอบที่ผู้สอบจะต้องหาคาตอบเอง โดยการเติมคา วลี จานวน และสัญลักษณ์ ข้อสอบท้ัง 2 แบบแตกต่างกันตรงวิธีการเขียนคาถาม กล่าวคือ ข้อสอบแบบตอบส้ัน ๆ จะอยใู่ นรปู คาถามโดยตรง ส่วนขอ้ สอบแบบเตมิ คาจะเป็นข้อความทไ่ี มส่ มบูรณ์ เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหััสสออเรยนัรานิชาาเลออกเสรย 38 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรยนั

ตัิอน่าส ข้อสอบแบบตอบสนั้ ๆ : นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย คือใคร ขอ้ สอบแบบเตมิ คา : นายกรฐั มนตรคี นแรกของไทย คอื .................... ขอ้ สอบแบบตอบส้ัน ๆ เปน็ ขอ้ สอบท่สี รา้ งไดง้ า่ ย และใช้วัดความรใู้ นเนื้อหาวชิ าที่เรยี นไปแล้ว เป็นข้อมูลท่ีผู้สอบจะต้องหาคาตอบมาตอบเอง เพราะฉะนั้นข้อสอบลักษณะนี้จะทาให้ผู้สอบไม่สามารถเ ดา คาตอบได้ แต่ข้อสอบแบบตอบสั้น ๆ กม็ ขี ้อจากัด คอื เปน็ ข้อสอบที่ไมเ่ หมาะกบั การวดั ผลการเรยี นรทู้ ่ซี ับซ้อน และตรวจให้คะแนนได้ยาก ตวั อย่างเชน่ ถ้าผู้ออกข้อสอบถามว่า “พระเจ้าอู่ทองเกดิ ท่ีไหน” คาถามนีส้ ามารถ ตอบไดท้ ัง้ ชือ่ อาเภอ จังหวดั ประเทศ ถึงแม้วา่ ผูอ้ อกขอ้ สอบจะมีคาตอบอยู่ในใจเวลาเขียนขอ้ คาถามแล้วกต็ าม แต่ก็ไม่สามารถขจัดคาตอบอื่น ๆ ที่ไม่ถูกต้องได้ นอกจากน้ัน การตรวจให้คะแนนก็ยังมีปัญหาคือ ถ้าผู้สอบ เขียนสะกดผิดจะให้คะแนนหรือไม่ ซ่ึงข้อจากัดดังกล่าวจะทาให้การตรวจให้คะแนนใช้เวลามาก สาหรับ การเขยี นขอ้ สอบแบบตอบส้ัน ๆ โดยทั่วไป มดี งั นี้ 1) คาตอบท่ีกาหนดให้ตอบจะต้องสั้นและเฉพาะเจาะจง ดังที่ไดก้ ล่าวมาแล้วว่าคาตอบของ คาถามแบบตอบส้ัน ๆ ควรจะใหเ้ ขยี นคา วลี จานวนหรอื สญั ลกั ษณ์ 2) อย่าเขียนคาถามโดยการคัดลอกข้อความจากหนังสือ เพราะจะทาให้ผู้สอบที่ตอบได้ เป็นเพราะจาข้อความจากในหนังสือมาตอบ เพราะฉะน้ันในการเขียนคาถามเพ่ือวัดเน้ือหาความรู้ที่สาคัญ ควรจะเขียนคาถามใหมเ่ พือ่ ใหผ้ ้ตู อบใชค้ วามเขา้ ใจในการตอบ 3) คาถามควรอยู่ในรูปคาถามโดยตรงมากกว่าการเขียนคาถามในรูปข้อความที่ไม่สมบูรณ์ ซงึ่ การเขียนให้อย่ใู นรปู คาถามโดยตรง จะทาให้ผสู้ อบอ่านแล้วเขา้ ใจไดง้ า่ ยว่าถามอะไร 4) ถ้าคาตอบทีต่ อ้ งการให้ตอบเป็นตวั เลข ควรจะระบุหนว่ ยที่ต้องการให้ตอบให้แน่ชัดดว้ ยว่า คาตอบต้องการใหอ้ ยใู่ นรปู หน่วยอะไร 5) ในกรณีที่ใหเ้ ขียนคาตอบไว้ทางขวามือของข้อคาถาม การเว้นช่องวา่ งให้เขยี นคาตอบควร จะเวน้ ไว้เทา่ ๆ กัน มฉิ ะนน้ั จะทาใหผ้ สู้ อบเดาคาตอบได้ 4.6 ข้อสอบแบบคิามเรนย ส ข้อสอบแบบความเรียง เป็นข้อสอบที่ให้ผู้ตอบเขียนคาตอบเองจากคาถามท่ีถาม ข้อสอบ แบบน้ีจะใช้วัดผลการเรียนรู้ ซึ่งไม่สามารถวัดโดยใช้ขอ้ สอบแบบปรนัยได้ เช่น วัดความสามารถในการอธิบาย การวเิ คราะห์ เปรียบเทียบในส่งิ ที่เหมือนกันและแตกต่างกนั ตลอดจนวัดการสังเคราะห์และการประเมินค่า เป็นต้น ข้อสอบแบบความเรียง แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ ข้อสอบท่ีจากัดคาตอบ และข้อสอบท่ีไม่จากัด คาตอบ ข้อสอบที่จากดั คาตอบ เป็นข้อสอบท่ีจากดั ท้ังเน้ือหาและรูปแบบการตอบ การจากัดเน้ือหา เปน็ การกาหนดขอบเขตที่จะใหต้ อบ สว่ นการจัดการรูปแบบการตอบจะกาหนดไว้ในคาถามแตล่ ะขอ้ เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรการจัดทาหััสสออ เรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 39 สาหรบั ครูการศึกษาัอกโรสเรยนั

ตัิอน่าส จงอธิบายโครงสรา้ งของสงั คมในประเด็นต่อไปนี้ ก. ความหมายโครงสรา้ งของสงั คม ข. องคป์ ระกอบของโครงสร้างทางสังคม สว่ นข้อสอบทไี่ มจ่ ากัดคาตอบ เป็นข้อสอบท่ีให้ผู้สอบใช้ความสามารถในการเลือกข้อความรู้ และนาข้อความรู้เหล่านน้ั มาจัดระบบให้ดที ่ีสุด แลว้ นามาเขยี นเปน็ คาตอบ ข้อสอบแบบความเรียงมีข้อดี คือ สามารถวัดผลการเรียนรู้ที่ซับซ้อนท่ีไม่สามารถวัดได้ โดยวิธีการอ่ืน นอกจากน้ีแล้ว ข้อสอบแบบความเรียงท่ีไม่จากัดคาตอบ ยังสามารถวัดในด้านการบูรณาการ ความรู้ ความคิดเห็น ตลอดจนทักษะในการแก้ปัญหาได้อีกด้วย แต่ข้อสอบแบบความเรียงก็มีข้อจากัด คือ การตรวจให้คะแนนขาดความเท่ียง ไม่ว่าจะเป็นผู้ตรวจต่างคนกัน หรือแม้แต่ผู้ตรวจคนเดียวตรวจในเวลา ตา่ งกันก็ตาม และจะต้องใชเ้ วลาในการตรวจใหค้ ะแนนมาก ส่วนข้อจากัดอีกประการหนึ่ง คือ การสุ่มเน้ือหา มาเขียน ข้อสอบจะครอบคลุมเพียงบางเนื้อหาเท่านั้น เพราะฉะน้ันข้อสอบแบบความเรียงจึงเป็นข้อสอบที่ ไม่เหมาะในการวัดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ผลการเรียนรู้ดังกล่าวควรใช้ข้อสอ บแบบปรนัย ส่วนข้อสอบ แบบความเรียง ควรใช้ในการวัดผลการเรียนรู้ท่ีซับซ้อน สาหรับการเขียนข้อสอบแบบความเรียงโดยท่ัวไป มดี ังนี้ 1) ควรใช้ข้อสอบแบบความเรียงในการวดั ผลการเรียนรู้ที่ไม่สามารถวัดได้ด้วยข้อสอบแบบ ปรนัย เน่ืองจากข้อสอบแบบความเรียงมีข้อจากัดในเร่ืองการตรวจให้คะแนน และการส่มุ เนื้อหาในการนามา เขียนคาถาม เพราะฉะนั้น ข้อสอบแบบความเรียงควรนามาใช้ในกรณีท่ีข้อสอบแบบปรนัยไม่สามารถวัดผล การเรยี นรู้ทต่ี อ้ งการไดอ้ ย่างเพียงพอ 2) เขียนคาถามให้สอดคล้องกับพฤติกรรมที่ระบุในผลการเรียนรู้ที่ต้องการวัด กล่าวคือ การเขียนคาถามของข้อสอบแบบความเรียงก็เขียนเช่นเดียวกับข้อสอบแบบปรนัย ซึ่งต้องวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นตามท่รี ะบุไวอ้ ยา่ งชัดเจนในจดุ ประสงคก์ ารสอน 3) กาหนดเวลาท่ีเหมาะสมในแต่ละข้อคาถาม ข้อสอบแบบความเรียงส่วนใหญ่ต้องใช้เวลา ในการเขียนตอบ เพราะฉะนั้น ในการเขียนข้อสอบควรจะกาหนดเวลาท่ีจะให้ผู้สอบเขียนตอบไว้ให้ชัดเจน รวมทัง้ คะแนนในแต่ละข้อคาถามดว้ ย 4) อย่าออกข้อสอบหลายขอ้ และให้ผู้สอบเลอื กตอบ ในการออกข้อสอบความเรียงบางคร้ัง จะออกหลายข้อ และให้เลือกทา เช่น ออก 6 ข้อ และให้เลือกทา 3 ข้อ การออกข้อสอบลักษณะนี้ ผู้สอบ จะเลือกทาข้อท่ีเขาทาได้ดีทส่ี ุด ซึ่งจะมีผลต่อการประเมินความรู้ความสามารถของผู้สอบ กล่าวคือ ถ้าผู้สอบ เลือกตอบขอ้ คาถามท่ีแตกตา่ งกัน ก็เหมอื นกบั ว่ามีแบบทดสอบหลาย ๆ ฉบบั และให้ผู้สอบเลือกสอบ วิธีการ เช่นนี้เปรียบเสมือนว่า มีข้อคาถามปรนัย 30 ข้อให้เลือกทา 20 ข้อ ทาให้ไม่สามารถประเมินความรู้ ความสามารถของผสู้ อบได้ เพราะว่าเนอื้ หาท่ีเลือกมาใหผ้ ู้สอบตอบใชเ้ นอ้ื หาเดียวกันทงั้ หมด เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจัดทาหััสสออ เรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 40 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรนย ั

จากรูปแบบของข้อสอบดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่า มีหลายประเภทด้วยกัน เพราะฉะนั้น ในการเลือกข้อสอบมาใช้ในการประเมินผลการเรียนการสอน ควรคานึงถึงข้อดีและข้อจากัด นอกจากน้ัน ในการกาหนดเครือ่ งมือประเมนิ ผลการเรยี นการสอน ผู้สอนจะต้องเลือกประเภทของเคร่อื งมอื ให้เหมาะสมกับ พฤติกรรมท่ีตอ้ งประเมิน โดยพิจารณาจากจุดประสงคข์ องรายวิชาและธรรมชาตขิ องเน้ือหาวิชา จะเห็นได้ว่าแบบทดสอบมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับผู้จัดทาหนังสือเรียนจะเลือกใช้ตาม ความเหมาะสม อาจจะใชท้ ัง้ เปน็ แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียนหรืออาจนาไปใช้เป็นกิจกรรมท้ายบทก็ได้ เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหััสสออเรยนัรานิาช าเลออ กเสรย 41 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรยนั

บททย่ 3 การบรรณาธกช าร สาระสาคญั 1. บรรณาธกิ าร หมายถงึ บคุ คลท่ีรบั ผิดชอบ จดั ทา ตรวจแก้ไข ควบคุมขอ้ เขยี น และส่งิ อน่ื ๆ ท่ีปรากฏ ในส่ิงพิมพ์ มีบทบาทสาคญั ในการรบั ต้นฉบับ จัดเตรยี มตน้ ฉบับ และพิสูจนอ์ ักษร 2. การอ่านมีบทบาทสาคัญตอ่ งานบรรณาธิการมาก เพราะจะต้องอ่านเพอ่ื ตรวจแก้ไขรูปแบบ เน้ือหา สานวนภาษา ภาษาและข้อความ ซ่ึงในการตรวจแก้ไขแต่ละเรื่องจะมีวิธกี ารอ่านที่แตกต่างกัน บรรณาธิการ จึงต้องมีทกั ษะในการอ่าน จงึ จะทาตามบทบาทได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ิัตถุประสสค์ 1. อธิบายความหมายของบรรณาธกิ ารได้ 2. ระบุบทบาทของบรรณาธิการได้ 3. บอกวิธกี ารอา่ นในงานบรรณาธิการในการตรวจแกไ้ ขต้นฉบบั ได้ ขอบข่านเั้ออหา เร่อื งที่ 1 ความหมายและบทบาทของบรรณาธิการ เรอ่ื งที่ 2 การอา่ นกบั งานบรรณาธิการ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจัดทาหัสั สออ เรนย ัรานิาช าเลออกเสรย 42 สาหรับครกู ารศกึ ษาัอกโรสเรยนั

เมอ่ื จัดทาหนงั สือเรียนแลว้ จะตอ้ งมกี ารมอบให้บุคคลในคณะผจู้ ัดทาทาหน้าท่ีบรรณาธิการ เพื่อจะ ไดช้ ่วยตรวจสอบความเรียบร้อยของต้นฉบบั ก่อนสง่ ไปจัดพมิ พ์ ดังนน้ั ผู้ทจี่ ะจดั ทาหนงั สอื เรยี นจะตอ้ งศกึ ษาและ ทาความเข้าใจกับความหมายและบทบาทของบรรณาธิการและการอา่ นกับงานบรรณาธิการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. คิามหมานและบทบาทขอสบรรณาธชการ 1.1 คิามหมานขอสบรรณาธกช าร คาว่า บรรณาธิการ มีคาท่ีเกี่ยวข้องอยู่ 3 คา ได้แก่คาว่า บรรณาธิการ บรรณาธิกร และ บรรณาธกิ ารกจิ ซ่ึงแตล่ ะคามคี วามหมายดงั น้ี บรรณาธิการ หมายถึง บุคคลซึ่งรับผิดชอบจัดทา ตรวจแก้ไข ควบคุมบทประพันธ์ ข้อเขียน หรือสิ่งอื่นท่ีปรากฏในส่ิงพิมพ์ เช่น สี ภาพ และคอลัมน์ เป็นต้น หรือบางตาราอาจกาหนดความหมายไว้ว่า ผเู้ ลอื กเฟ้น รวบรวม ปรบั ปรงุ และรบั ผดิ ชอบต้นฉบับเพ่อื ตีพมิ พห์ รอื ลงพิมพ์ บรรณาธกิ ร หมายถงึ การรวบรวมและเลือกเฟน้ เรอื่ งท่จี ะลงพมิ พ์ ส่วนบรรณาธิการกิจ หมายถึง การตรวจทานคาผิด แก้ไขข้อผิดพลาด การใช้ภาษา ตามหลกั เกณฑ์ รวมถงึ การเว้นวรรคตอน คาทค่ี นส่วนใหญร่ จู้ กั และนยิ มใช้ในปจั จบุ นั คอื คาว่า บรรณาธิการ 1.2 บทบาทขอสบรรณาธกช าร บรรณาธิการ มีบทบาทดังน้ี 1) รับต้นฉบับจากผู้เขียน บรรณาธิการจะต้องรับต้นฉบับจากผู้เขียนเพ่ือนามาพิจารณา ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและครบถ้วนของเอกสาร 2) จัดเตรยี มตน้ ฉบับ บทบาทขน้ั นี้ถือวา่ เปน็ บทบาททม่ี คี วามสาคัญมากท่ีสดุ ของบรรณาธกิ าร ซ่งึ จะต้องตรวจสอบตน้ ฉบับในเรือ่ งต่าง ๆ ดงั น้ี (1) ตรวจสอบความถกู ต้องของเนื้อหา (2) ตรวจความซ้าซ้อนของเน้ือหาแตล่ ะบท (3) ตรวจสอบและแกไ้ ขการใช้ภาษา โดยมงุ่ ให้ใช้ภาษาที่อา่ นเข้าใจงา่ ย ชัดเจน ตรวจการใช้ ศัพท์เฉพาะใหถ้ กู ต้อง รวมถงึ การสะกดคาและวรรคตอน (4) ตรวจสอบการอา้ งอิงขอ้ เขียนจากแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ (5) ตรวจแก้ไขความถกู ตอ้ งของการเขียนเชงิ อรรถ และบรรณานุกรม (6) ตรวจสอบความเหมาะสมของภาพประกอบ แผนภูมิ ตาราง และรายละเอยี ดอ่นื ๆ 3) พิสูจน์อักษร โดยกาหนดขนาดและรูปแบบของตัวอักษรก่อนส่งเข้าโรงพิมพ์เพื่อจัดทา อาร์ตเวริ ์ก เม่ือตรวจอารต์ เวริ ก์ แลว้ จึงจะให้โรงพมิ พด์ าเนนิ การพมิ พ์ บทบาทดังกล่าวจงึ เป็นส่ิงทบี่ รรณาธกิ ารจะต้องรบั ผิดชอบในการทาหนา้ ที่น้ี เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจดั ทาหััสสออเรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 43 สาหรับครกู ารศึกษาัอกโรสเรนย ั

2. การอา่ ักบั สาับรรณาธกช าร งานบรรณาธิการเป็นงานท่ีเกี่ยวข้องกับการอ่านเป็นอย่างมาก บรรณาธิการมีหน้าท่ีอ่านเพ่ือที่จะ ตรวจแก้ไขทัง้ รูปแบบ เนอื้ หา สานวนภาษา รวมถึงภาษาและข้อความ ซึง่ มรี ายละเอยี ดดังนี้ 2.1 การตริจแกไ้ ขรูปแบบ เป็นการตรวจเพ่ือแก้ไขรูปแบบที่เป็นส่วนประกอบของหนังสือโดยทั่วไป ได้แก่ ปก ปกใน คานา เนือ้ เร่อื ง เชิงอรรถ บรรณานกุ รม และภาคผนวก รวมถงึ รายละเอียดอื่น ๆ วา่ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ นหรอื ไม่ การอ่านเพื่อตรวจแก้ไขรูปแบบนี้ มักใช้วิธีการอ่านแบบคร่าว ๆ เพ่ือตรวจสอบว่าต้นฉบับ เขยี นตามรูปแบบท่ีกาหนดไวห้ รือไม่ ถ้ายงั ไมค่ รบถ้วนหรือขาดสว่ นใดกจ็ ะต้องดาเนินการใหต้ ้นฉบบั เรยี บรอ้ ย สมบรู ณ์กอ่ นส่งพมิ พ์ 2.2 การตริจแกไ้ ขเัอ้อ หา เปน็ การตรวจสอบการนาเสนอเนอ้ื หาโดยเน้นทีร่ ายละเอยี ด ดังนี้ 1) การเสนอข้อมูล แนวคิด และเหตุผล จะต้องพิจารณาการนาเสนอเน้ือหาว่าครอบคลุม ประเด็นท่ีสาคัญครบถ้วนหรือไม่ ข้อมูลที่นาเสนอถูกต้องหรือไม่ ครบถ้วนและเพียงพอหรือไม่ การแสดง ความคดิ เห็นสมเหตุสมผลหรอื ไม่ 2) การจัดหัวข้อ มีการกาหนดหัวข้อได้เหมาะสม มีการลาดบั ชดั เจน ตอ่ เนอ่ื ง และเป็นระบบ หรอื ไม่ 3) การเขยี นอา้ งองิ ต้องตรวจสอบว่าการเขยี นอ้างองิ ทง้ั การเขียนเชงิ อรรถและบรรณานกุ รม มีการเขยี นตามรูปแบบท่ีกาหนด ครบถ้วนถกู ตอ้ งหรอื ไม่ สง่ิ ทตี่ ้องคานงึ ถึงในการอ่านเพอ่ื ตรวจแก้ไขเน้อื หา คือจะต้องพจิ ารณาความถูกต้องของเนอื้ หา ความเหมาะสมของเนื้อหากับวัยและประสบการณ์ของผู้อ่าน และความถูกต้องในการอ้างอิงงานของผู้อื่น ตามพระราชบัญญัติลิขสทิ ธิ์ ดงั นั้น การอ่านเพอ่ื ตรวจแก้ไขเนอื้ หาจะตอ้ งอ่านอยา่ งละเอียด และพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ 2.3 การตริจแกไ้ ขสาัิัภาษา การอ่านเพอ่ื ตรวจแก้ไขสานวนภาษาจะต้องพิจารณารายละเอยี ด ดังน้ี 1) ความยากงา่ ย จะต้องมีความยากงา่ ยเหมาะกับพื้นฐานของผอู้ า่ น 2) ความชดั เจน ภาษาและลีลาสานวนในการเขียนมีความเหมาะสมหรอื ไม่ โดยบรรณาธิการ ต้องอา่ นในฐานะท่ีเป็นตัวแทนของผอู้ ่าน 3) ความคงเส้นคงวา จะต้องพจิ ารณาว่าการใชภ้ าษา คาศัพท์ และตัวเลขในหนังสอื เล่มเดยี วกัน จะต้องใชเ้ หมือนกนั ตลอดทัง้ เลม่ การเขยี นทบั ศัพทจ์ ะต้องยดึ ตามราชบัณฑิตยสถาน เอกสารประกอบการอบรม หลกั สตู รการจดั ทาหััสสออเรยนัรานิชาาเลออกเสรย 44 สาหรับครูการศึกษาัอกโรสเรนย ั

4) ความหลากหลาย ผเู้ ขียนควรใชค้ าท่ีไม่ซา้ ซอ้ น มีการหลากคาเพื่อให้นา่ อ่าน 5) ความถูกต้อง ต้องพิจารณาความถูกต้องตามหลักภาษา พจนานุกรม และสานวนไทย เน่ืองจากจะช่วยให้สื่อความหมายไดต้ รงตามวัตถุประสงค์และทาให้นา่ อา่ นดว้ ย 6) ความสละสลวย ต้องพิจารณาความสละสลวยของคาและประโยค รวมถึงการเว้น วรรคตอนทเี่ หมาะสม การอ่านเพ่ือตรวจแก้ไขสานวนภาษา จะต้องอ่านอย่างละเอียด โดยคานึงถึงการทางาน ในฐานะทีเ่ ปน็ ผูอ้ า่ นว่าจะสามารถเขา้ ใจเนือ้ หาได้มากนอ้ ยเพียงใด 2.4 การตริจแกไ้ ขภาษาและข้อคิาม ในการตรวจแกไ้ ขภาษาและขอ้ ความ จะพจิ ารณาในรายละเอยี ดต่อไปนี้ 1) ระดับภาษา จะต้องพิจารณาการใช้ภาษาในการเรียบเรียงว่า เป็นการใช้ภาษาในระดับ เดียวกัน โดยต้องระมดั ระวงั เร่อื งการใชค้ าสงู คาต่า คาเฉพาะกล่มุ และคาสแลง เปน็ ต้น 2) ศพั ทเ์ ทคนิคและการทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ จะต้องพจิ ารณาศัพท์บัญญัติ คาทับศัพท์ และคาแปลเทียบว่าถูกตอ้ งหรือไม่ 3) ขอ้ ความ จะต้องพจิ ารณาย่อหนา้ และวรรคตอนว่ามีความเหมาะสมหรอื ไม่ การอ่านในขั้นตอนนจ้ี ะต้องอา่ นละเอยี ดเช่นกัน และอาจตอ้ งอา่ นหลายคร้ัง เพอื่ จะได้ตรวจแก้ไข ได้ถกู ต้อง จะเห็นได้ว่าการเป็นบรรณาธิการน้ัน นอกจากจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการอ่านแล้ว ยังจะต้องมีความสามารถทางภาษาในระดับท่ีสามารถแก้ไขต้นฉบับท่ีอ่านได้ด้วย ดังน้ันหนังสือเรียนที่ผ่าน การตรวจแก้ไขจากบรรณาธิการ จึงเปน็ หนังสอื เรยี นที่มีคุณภาพพรอ้ มที่จะนาไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ในระดับหนง่ึ เอกสารประกอบการอบรม หลกั สูตรการจดั ทาหัสั สออ เรยนัรานิชาาเลออ กเสรย 45 สาหรับครูการศึกษาัอกโรสเรยนั

บทท่ย 4 การประเมัช หัสั สออ เรยนั สาระสาคัญ 1. การประเมินหนังสือเรียน หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพของหนังสือเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ ที่ มี ความสาคัญอย่างย่ิง โดยจะช่วยพิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมของคุณภาพหนังสือเรียน ทาให้ครูม่ันใจ ในการใช้หนงั สอื ทราบขอ้ ดแี ละข้อบกพร่อง และทาให้การจดั ทาหนังสือเป็นระบบ 2. เกณฑ์การประเมินหนังสือเรยี นจะพิจารณา 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านเนื้อหาและการนาเสนอ ด้านการใช้ ภาษาและคาศพั ท์ ดา้ นรปู เล่มและภาพประกอบ และด้านคณุ ค่า คณุ ธรรมและคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ 3. การประเมินหนังสอื เรยี นมีวธิ กี ารท่ีเป็นระบบชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ ทาให้หนังสือที่ผ่าน การประเมินมีความเหมาะสมทจ่ี ะนามาใช้จัดการเรยี นการสอนตรงเชิงเน้ือหา อนั ส่งผลตอ่ คุณภาพของหนงั สือ ดงั กลา่ ว ผลการเรนย ัรู้ท่คย าดหิัส 1. อธบิ ายความหมายของการประเมนิ หนังสือเรียนได้ 2. ระบุความสาคญั ของการประเมินหนังสอื เรียนได้ 3. บอกเกณฑ์การประเมนิ หนังสอื เรยี นได้ ขอบข่านเัอ้อ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของการประเมนิ หนงั สือเรยี น เรอ่ื งท่ี 2 เกณฑก์ ารประเมินหนงั สือเรยี น เร่ืองท่ี 3 วธิ กี ารประเมนิ หนังสอื เรยี น เอกสารประกอบการอบรม หลักสตู รการจัดทาหัสั สออเรนย ัรานิชาาเลออ กเสรย 46 สาหรบั ครูการศกึ ษาัอกโรสเรยนั