Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Published by ธนกร สีลัดดา, 2020-11-18 15:53:41

Description: พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Keywords: ดิจิทัล

Search

Read the Text Version

พลเมอื งดิจทิ ลั และควำมฉลำดทำงดิจทิ ลั จดั ทำโดย นำย ธนกร สีลดั ดำ ม.6/9 เลขท่ี 11 เสนอ คณุ ครู วชิ ยั สิงห์น้อย

83.52% ของคนไทย สามารถเข้าถงึ อนิ เตอร์เน็ตได้ ● คิดจากจานวนประชากร 57 ล้านคน ใน 68 ล้านคน

คนไทยใช้เวลาเฉลีย่ กบั อนิ เตอร์เนต็ 6 ชว่ั โมง 24 นาที ● คดิ เป็ น 1 ใน 4 ของเวลาแตล่ ะวนั เลยทีเดยี ว

สถติ ปิ ี 60 ของคนไทย : การเข้าถงึ และใช้อนิ เทอร์เน็ต ● คนไทยเองก็เข้าถึงและใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นส่ วนหน่ึ งของ ชีวติ ประจาวนั มากข้ึนเรื่อยๆ ● นอกจากน้นั กิจกรรมต่างๆ ท่ีเราทาลว้ นเก่ียวพนั กบั อินเทอร์เน็ต ○ การแบ่งปันหว้ งเวลาดีๆ กบั เพ่อื นในโซเชียลมีเดีย ○ การติดตามข่าวสารบา้ นเมือง ○ การคน้ หาขอ้ มลู สุขภาพ ○ การดูทีวแี ละฟังเพลงออนไลน์ ○ การซ้ือสินคา้ ออนไลน์ ○ การมีส่วนร่วมทางการเมืองในฐานะพลเมือง

ผลกระทบโลกยุคดจิ ทิ ลั ● สร้างโอกาสและความทา้ ทายใหม่ๆ ใหก้ บั พลเมืองในศตวรรษท่ี 21 ● ใชอ้ ินเทอร์เน็ตราวกบั มนั เป็นส่วนหน่ึงของชีวติ ไปแลว้ ● คนจานวนมากยงั ขาดทกั ษะและความรู้ที่จาเป็นต่อการใชป้ ระโยชน์ จากโอกาสดงั กล่าว ● ยงั ไม่รู้วธิ ีลดผลกระทบจากความเสี่ยงในโลกออนไลน์ ● ขาดความเขา้ ใจเรื่องสิทธิและความรับผดิ ชอบในโลกยคุ ดิจิทลั

ความฉลาดทางดิจิทลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลุ่มของความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรับรู้ ท่ีจะทาใหค้ นคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายบนเสน้ ทางของชีวิตในยคุ ดิจิทลั และสามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชีวติ ดิจิทลั ได้ ความฉลาดทางดิจิทลั ครอบคลุมท้งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและคา่ นิยมที่จาเป็นต่อการใชช้ ีวิตใน ฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่ึงคือ ทกั ษะการใชส้ ่ือและการเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์

ดงั น้นั พลเมืองดิจิทลั จึงหมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ ท่ีใชเ้ ครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึงมีความ หลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม ดงั น้นั พลเมืองดิจิทลั ทุกคนจึงตอ้ งมี ‘ความเป็นพลเมือง ดิจิทลั ’ ที่มีความฉลาดทางดิจิทลั บนพ้ืนฐานของความรับผดิ ชอบ การมีจริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเห็นอก เห็นใจและเคารพผอู้ ่ืน โดยมุ่งเนน้ ความเป็นธรรมในสงั คม ปฏิบตั ิและรักษาไวซ้ ่ึงกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความสมดุล ของการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข การเป็นพลเมืองดิจิทลั น้นั มีทกั ษะสาคญั 8 ประการ ท่ีควรบ่มเพาะใหเ้ กิดข้ึนกบั พลเมืองดิจิทลั ทุก คนในศตวรรษท่ี 21 ดงั น้ี 1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทดี่ ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจดั การ รักษาอตั ลกั ษณ์ท่ีดี ของตนเองไวใ้ หไ้ ด้ ท้งั ในส่วนของโลกออนไลน์และโลกความจริง โดยตอนน้ีประเดน็ เรื่องการสร้างอตั ลกั ษณ์ออนไลน์ถือเป็ นปรากฏการณ์ใหม่ ท่ีทาให้บุคคลสามารถ แสดงออกถึงความเป็ นตวั ตนต่อสังคมภายนอก โดยอาศยั ช่องทางการสื่อสารผ่าน เวบ็ ไซตเ์ ครือขา่ ยสงั คมในการอธิบายรูปแบบใหม่ของการส่ือสารแบบมีปฏิสมั พนั ธ์ทาง อินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นการแสดงออกเกี่ยวกบั ตวั ตนผา่ นเวบ็ ไซตเ์ ครือข่ายสงั คมต่างๆ

2. ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) ดุลพินิจในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลน์เพ่ือ ป้ องกนั ความเป็นส่วนตวั ท้งั ของตนเองและผอู้ ่ืนเป็นส่ิงสาคญั ท่ีตอ้ งประกอบอยใู่ นพลเมืองดิจิทลั ทุก คน และพวกเขาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเท่าเทียมกนั ทางดิจิทลั เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงตอ้ งมีวิจารณญาณในการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลตนเองในสงั คมดิจิทลั รู้ว่าขอ้ มูลใด ควรเผยแพร่ ขอ้ มูลใดไม่ควรเผยแพร่ และตอ้ งจดั การความเส่ียงของขอ้ มูลของตนในสื่อสงั คมดิจิทลั ไดด้ ว้ ย 3. ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณทดี่ ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหว่างขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งและขอ้ มูลท่ีผิด ขอ้ มูลที่มีเน้ือหาดีและข้อมูลท่ีเขา้ ข่ายอนั ตราย รู้ว่าขอ้ มูลลกั ษณะใดท่ีถูกส่งผ่านมาทาง ออนไลนแ์ ลว้ ควรต้งั ขอ้ สงสยั หาคาตอบใหช้ ดั เจนก่อนเชื่อและนาไปแชร์ ดว้ ยเหตุน้ี พลเมือง ดิจิทลั จึงตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และ สื่อสารขอ้ มูลข่าวสารผา่ นเครื่องมือดิจิทลั ซ่ึงจาเป็นตอ้ งมีความรู้ดา้ นเทคนิคเพ่ือใช้เคร่ืองมือ ดิจิทลั เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แทบ็ เล็ต ไดอ้ ยา่ งเช่ียวชาญ รวมถึงมีทกั ษะในการรู้คิด ข้นั สูง เช่น ทกั ษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ท่ีจาเป็ นต่อการเลือก จดั ประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเขา้ ใจขอ้ มูลข่าวสาร มีความรู้และทกั ษะในสภาพแวดลอ้ มดิจิทลั การรู้ดิจิทลั โดย มุ่งให้เป็ นผู้ใช้ท่ีดี เป็ นผู้เข้าใจบริ บทท่ีดี และเป็ นผู้สร้างเน้ื อหาทางดิจิทัลที่ดี ใน สภาพแวดลอ้ มสงั คมดิจิทลั

4. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) ทกั ษะในการบริหารเวลากบั การใชอ้ ุปกรณ์ยุคดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือให้เกิดสมดุล ระหว่างโลกออนไลน์และโลกภายนอก นบั เป็นอีกหน่ึงความสามารถที่บ่งบอกถึง ความเป็นพลเมืองดิจิทลั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพราะเป็นท่ีรู้กนั อยแู่ ลว้ วา่ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศที่ขาดความเหมาะสมยอ่ มส่งผลเสียตอ่ สุขภาพโดยรวม ท้งั ความเครียดต่อสุขภาพจิตและเป็นสาเหตุก่อใหเ้ กิดความเจบ็ ป่ วยทางกาย ซ่ึงนาไปสู่การ สูญเสียทรัพยส์ ินเพื่อใชร้ ักษา และเสียสุขภาพในระยะยาวโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ 5. ทกั ษะในการรับมอื กบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) จากขอ้ มลู ทางสถิติล่าสุด สถานการณ์ในเร่ือง Cyber bullying ในไทย มีค่าเฉล่ียการกลนั่ แกลง้ บนโลกออนไลนใ์ นรูปแบบต่างๆ ที่สูงกวา่ คา่ เฉลี่ยโลกอยทู่ ่ี 47% และเกิดในรูปแบบท่ีหลากหลาย อาทิ การ ด่าทอกนั ดว้ ยขอ้ ความหยาบคาย การตดั ต่อภาพ สร้างขอ้ มูลเทจ็ รวมไปถึงการต้งั กลุ่มออนไลน์กีดกนั เพ่ือน ออกจากกลุ่ม ฯลฯ ดงั น้นั วา่ ที่พลเมืองดิจิทลั ทุกคน จึงควรมีความสามารถในการรับรู้และรับมือการคุกคาม ข่มขู่บนโลกออนไลน์ได้อย่างชาญฉลาด เพ่ือป้ องกันตนเองและคนรอบข้างจากการคุกคามทางโลก ออนไลน์ใหไ้ ด้

6. ทกั ษะในการบริหารจดั การข้อมูลที่ผู้ใช้งานทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) มีรายงานการศึกษาวิจยั ยนื ยนั วา่ คนรุ่น Baby Boomer คือ กลุ่ม Aging ที่เกิดต้งั แต่ปี พ.ศ. 2487 – 2505 มกั จะใชง้ านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ีของผอู้ ่ืน และเปิ ดใชง้ าน WiFi สาธารณะ เสร็จแลว้ มกั จะละเลย ไม่ลบรหสั ผา่ นหรือประวตั ิการใชง้ านถึง 47% ซ่ึงเสี่ยงมากท่ีจะถูกผอู้ ่ืนสวมสิทธิ ขโมยตวั ตนบนโลก ออนไลน์ และเขา้ ถึงขอ้ มูลส่วนบุคคลไดอ้ ยา่ งง่ายดาย ดงั น้นั ความเป็นพลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ งมีทกั ษะความสามารถ ท่ีจะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวิตในโลกดิจิทลั ว่าจะหลงเหลือร่องรอยขอ้ มูลทิ้งไวเ้ สมอ รวมไปถึงตอ้ งเขา้ ใจ ผลลพั ธท์ ่ีอาจเกิดข้ึน เพ่ือการดูแลส่ิงเหล่าน้ีอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ 7. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) ความสามารถในการป้ องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ที่เขม้ แข็งและป้ องกนั การ โจรกรรมขอ้ มลู ไม่ใหเ้ กิดข้ึนได้ ถา้ ตอ้ งทาธุรกรรมกบั ธนาคารหรือซ้ือสินคา้ ออนไลน์ เช่น ซ้ือเส้ือผา้ ชุดเดรส เป็น ตน้ ควรเปลี่ยนรหสั บ่อยๆ และควรหลีกเล่ียงการใชค้ อมพิวเตอร์สาธารณะ และหากสงสยั วา่ ขอ้ มูลถกู นาไปใชห้ รือ สูญหาย ควรรีบแจง้ ความและแจง้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งทนั ที

8. ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยอี ย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความสามารถในการเห็นอกเห็นใจและสร้างความสัมพนั ธ์ที่ดีกบั ผูอ้ ื่นบนโลกออนไลน์ พลเมืองดิจิทลั ท่ีดีจะตอ้ งรู้ถึงคุณคา่ และจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ท่ีเกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต การกดไลก์ กดแชร์ ขอ้ มูล ข่าวสาร ออนไลน์ รวมถึงรู้จกั สิทธิและความรับผดิ ชอบออนไลน์ อาทิ เสรีภาพในการพูด การเคารพทรัพยส์ ินทาง ปัญญาของผอู้ ่ืน และการปกป้ องตนเองและชุมชนจากความเส่ียงออนไลน์ เช่น การกลน่ั แกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเดก็ สแปม เป็นตน้ กล่าวโดยสรุป การจะเป็นพลเมืองดิจิทลั ที่ดีน้นั ตอ้ งมีความฉลาดทางดิจิทลั ซ่ึงประกอบข้ึน ดว้ ยชุดทกั ษะและความรู้ท้งั ในเชิงเทคโนโลยีและการคิดข้นั สูง หรือที่เรียกว่า “ความรู้ดิจิทลั ” (Digital Literacy) เพ่ือใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มูลข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้วิธีป้ องกนั ตนเองจากความเส่ียง ต่างๆ ในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมที่สาคญั ในยุคดิจิทัล และใช้ ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม ท่ีเกี่ยวกบั ตนเอง ชุมชน ประเทศ และพลเมืองบนโลก ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook