การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 88 ภาพท่ี 94 สว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย สรปุ องค์ประกอบฝายแมล่ าว จังหวดั เชียงราย ดงั แสดงในภาพที่ 95 1. Protection 1.1 (Upstream Protection Section) 1.2 2. 2.1 (Upstream Concrete Section) 2.2 3.1 3. 3.2 (Control Section) 3.3 / 3.4 4.1 4. 4.2 (Downstream Section) 4.3 (End Sill) 5. Protection 5.1 (Downstream Protection Section) 5.2 ภาพท่ี 95 แสดงองคป์ ระกอบของฝายแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 89 (3) การตรวจสภาพฝายแมล่ าว จังหวัดเชียงราย การตรวจสภาพฝายแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ใช้วิธีการตรวจสภาพด้วยสายตา (Visual Inspection) จากการตรวจสภาพโดยทัว่ ไปของฝายแม่ลาว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2561 พบว่า ฝายแม่ลาวกำลัง ดำเนินการปรับปรุงบริเวณด้านท้ายฝาย ทำให้ในบางองค์ประกอบไม่สามารถดำเนินการได้ สรุปผลการตรวจ สภาพไดด้ งั น้ี (3.1) สว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) สภาพด้านเหนือน้ำพบว่ามีตะกอนทรายอยู่ในลำน้ำ ลาดด้านข้างของลำน้ำมีการกัดเซาะ หนิ เลก็ น้อย ทำให้บางสว่ นของตลิง่ มีการทรุดตวั เล็กน้อย ดังแสดงในภาพที่ 96 ภาพท่ี 96 สภาพสว่ น Protection เหนือน้ำ (3.2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) สภาพพื้นคอนกรีตด้านเหนือน้ำไม่สามารถมองเห็นได้ เนื่องจากมาตะกอนทรายตกทับ ถมเตม็ พ้ืนที่ โดยเฉพาะชว่ งก่ึงกลางลำนำ้ บริเวณหน้าฝาย ลาดด้านข้างคอนกรีตถูกกัดเซาะเป็นรูโพรง บริเวณฝ่ัง ขวาและฝั่งซ้ายและมกี ารแตกรา้ วบรเิ วณฝัง่ ซ้ายของลำนำ้ ดังแสดงในภาพที่ 97-99 ภาพท่ี 97 ตะกอนทรายบรเิ วณหน้าฝาย ภาพท่ี 98 ลาดดา้ นข้างถูกน้ำกดั เซาะ ฝา่ ยบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 90 ภาพที่ 99 ลาดด้านขา้ งแตกร้าว (3.3) สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) (3.3.1) ฝายควบคมุ น้ำ ฝายคอนกรตี มีการกดั เซาะผิวคอนกรีตเล็กนอ้ ย สภาพอ่นื ๆ ปกติ ดังแสดงใน ภาพท่ี 100 ภาพที่ 100 สภาพฝายคอนกรตี (3.3.2) กำแพงขา้ ง เกดิ การกดั เซาะและรอยรา้ วเล็กนอ้ ย สภาพอน่ื ๆ ปกติ (3.3.3) ประต/ู ชอ่ งระบายทราย (3.3.3.1) ประตรู ะบายทรายฝงั่ ซา้ ย เนื่องจากฝายแม่ลาวมีอายุการใช้งานมายาวนาน ประมาณ 55 ปี สภาพคอนกรีตบริเวณส่วนกำแพงทางน้ำเข้าของประตูระบายทราย เริ่มมีการเสื่อมสภาพ เกิดการกัดกร่อนและ หลุดร่อน ส่วนกำแพงทางน้ำออกกำลังดำเนินการปรับปรุงในปีงบประมาณ 2561 ลักษณะกำแพงไม่มีการทรุด ตัวหรือเคลื่อนตัว บานระบายของประตรู ะบายทราย ไม่สามารถปิดสนิทได้ พบว่ามีการรั่วของน้ำผ่านบานและมี สนิมเลก็ น้อย สภาพเครอื่ งกลสามารถทำงานได้ดี ดงั แสดงในภาพท่ี 101-104 ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 91 ภาพที่ 101 สภาพประตรู ะบายทรายฝงั่ ซา้ ย ภาพที่ 102 สภาพคอนกรีตของกำแพงฝ่งั ขวาของประตูระบายทรายฝั่งซา้ ย ภาพท่ี 103 การปรบั ปรุงกำแพงฝัง่ ขวาสว่ นทางนำ้ ออกของประตรู ะบายทรายฝั่งซ้าย ภาพที่ 104 สภาพบานระบายของประตูระบายทรายฝ่งั ซ้าย (3.3.3.2) ประตรู ะบายทรายฝงั่ ขวา เนื่องจากฝายแม่ลาวมีอายุการใช้งานมายาวนาน ประมาณ 55 ปี สภาพคอนกรีตบริเวณส่วนกำแพงทางน้ำเข้าของประตูระบายทราย เริ่มมีการเสื่อมสภาพ เกิดการกัดกร่อนและ หลุดร่อน ส่วนกำแพงทางน้ำออกกำลังดำเนินการปรับปรุงในปีงบประมาณ 2561 ลักษณะกำแพงไม่มีการทรุด ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 92 ตัวหรือเคล่ือนตัว บานระบายของประตรู ะบายทราย ไม่สามารถปิดสนิทได้ พบว่ามีการรัว่ ของนำ้ ผ่านบานและมี สนิทเลก็ น้อย สภาพเคร่ืองกลสามารถทำงานไดด้ ี ดงั แสดงในภาพที่ 105-108 ภาพที่ 105 สภาพประตรู ะบายทรายฝั่งขวา ภาพท่ี 106 สภาพคอนกรตี ของกำแพงฝ่ังซ้ายของประตูระบายทรายฝั่งขวา ภาพท่ี 107 การปรับปรงุ กำแพงฝั่งขวาสว่ นทางนำ้ ออกของประตรู ะบายทรายฝงั่ ขวา ภาพที่ 108 สภาพบานระบายของประตรู ะบายทรายฝ่ังขวา ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 93 (3.3.4) สะพาน ลักษณะของสะพาน เป็นสะพานโครงเหล็ก มไี มว้ างบนโครงสรา้ งเหล็กบนพนื้ ของสะพาน สภาพปกติ ดงั แสดงในภาพที่ 109 ภาพที่ 109 สภาพสะพาน (3.3.5) ฝายยาง ฝายยางของฝายแม่ลาว เป็นแบบอัดลม สามารถยกระดับน้ำได้เพิ่มขึ้นจาก เดิม 0.50 เมตร สามารถทำงานไดต้ ามปกติ ไมพ่ บการรั่ว ดังแสดงในภาพที่ 110 ภาพท่ี 110 สภาพฝายยาง (3.4) ส่วนท้ายน้ำ (Downstream Concrete Section) สว่ นสลายพลังงานที่พบปัญหามากท่สี ุดคือ แผงปะทะด้านทา้ ยนำ้ (End Sill) ทเี่ กดิ การ กดั เซาะคอนกรีตจนบางจุดเห็นเหล็ก ดังแสดงในภาพท่ี 111 ภาพท่ี 111 สภาพสว่ นสลายพลังงาน ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 94 (3.5) ส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ลาดดา้ นขา้ งมกี ลอ่ งลวดถักบรรจหุ ินทิ้ง (Gabion) เพอ่ื ป้องกนั ลาดด้านข้าง เกดิ การ ทรุด ตัวและกัดเซาะทางฝั่งซ้าย ปัจจุบันฝายแม่ลาวกำลังดำเนินการปรับปรุงส่วน Protection ท้ายน้ำ โดยได้รับ งบประมาณในปีงบประมาณ 2561 ดงั แสดงในภาพที่ 112 ภาพที่ 112 สภาพดา้ นท้ายน้ำฝายแม่ลาว (3.6) อ่นื ๆ - ปตร.ปากคลองสง่ น้ำสายใหญ่ฝงั่ ขวา เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ จุด ศูนย์กลางอย่บู ริเวณ อ.แมล่ าว สง่ ผลกระทบต่อกำแพงระหว่างประตูระบายทรายฝั่งขวาและปตร.ปากคลองส่งน้ำสาย ใหญ่ฝ่ังขวา ทำให้เกิดการเคลื่อนตัวของกำแพงรอต่อระหว่างกำแพงข้างประตูระบายทรายและกำแพงของปตร.ปาก คลองสง่ นำ้ สายใหญ่ฝ่ังขวา ทางดา้ นเหนือน้ำ แตโ่ ครงสร้างและการเปิด-ปิดบานยงั สามารถทำงานได้ตามปกติในวันท่ี ตรวจสภาพ ดงั แสดงในภาพท่ี 113-114 ภาพที่ 113 สภาพ ปตร.ปากคลองส่งน้ำสายใหญ่ฝั่งขวา ภาพท่ี 114 สภาพการเคลอื่ นตวั ของกำแพงระหวา่ งประตรู ะบายทรายฝ่งั ขวา และปตร.ปากคลองส่งนำ้ สายใหญ่ฝั่งขวา ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 95 (4) การประเมนิ สภาพฝายแมล่ าว จงั หวดั เชียงราย จากตารางที่ 26 พบวา่ ผลการประเมนิ สภาพของฝายแม่ลาว จังหวดั เชียงราย รวมท้งั 4 กรณี เท่ากบั 3.39 หมายถงึ สภาพองคป์ ระกอบ มคี วามเสียหาย เล็กน้อย (มแี นวโนม้ ไปในทางปกต)ิ ตารางที่ 26 สรุปผลการประเมนิ สภาพของฝายแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย แตล่ ะกรณี ของฝายแมล่ าว จังหวัดเชียงราย กรณี Piping กรณี กรณี กรณี (Weighted Creep Ratio) Sliding Stability Overturning Stability Bearing Capacity 3.38 3.40 3.41 3.34 เมื่อพิจารณาถึงคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบย่อยในแต่ละองค์ประกอบของ ฝายแม่ลาว จงั หวดั เชียงราย ในแตล่ ะกรณี ดงั แสดงในตารางท่ี 27-30 ตารางที่ 27 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Piping (Weighted Creep Ratio) ของฝายแม่ลาว จังหวดั เชียงราย ลำดบั ท่ี องคป์ ระกอบ 1 ค่าดัชนีสภาพ องค์ประกอบ 2 คา่ ดัชนี สภาพ 1 สว่ น Protection เหนอื นำ้ 2.63 พื้น 2.00 (Upstream Protection Section) ลาดดา้ นข้าง 3.44 2 สว่ นเหนือน้ำ 2.98 พ้ืน 0.00 (Upstream Concrete Section) ลาดดา้ นขา้ ง 2.98 3 สว่ นควบคมุ น้ำ 3.84 ฝาย 3.88 (Control Section) กำแพงขา้ ง 3.83 ประตู/ช่องระบายทราย 3.50 (Bottom Drain) สะพานรถยนต์ 3.84 ฝายยาง 4.00 4 ส่วนทา้ ยน้ำ (Downstream 3.29 พน้ื 3.56 Concrete Section) ลาดด้านขา้ ง 3.48 แผงปะทะด้านทา้ ยน้ำ 2.28 (End Sill) 5 ส่วน Protection ท้ายนำ้ 2.90 พน้ื 0.00 (Downstream Protection ลาดด้านข้าง 2.90 Section) ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 96 ตารางท่ี 28 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณข์ ององค์ประกอบย่อย กรณี Sliding ของฝายแมล่ าว จังหวดั เชียงราย ลำดับที่ องค์ประกอบ 1 คา่ ดัชนสี ภาพ องค์ประกอบ 2 ค่าดชั นี สภาพ 1 สว่ น Protection เหนอื นำ้ 2.94 พน้ื 2.00 (Upstream Protection Section) ลาดดา้ นข้าง 3.45 2 ส่วนเหนอื น้ำ 3.02 พน้ื 0.00 (Upstream Concrete Section) ลาดดา้ นข้าง 3.02 3 ส่วนควบคมุ น้ำ 3.83 ฝาย 3.86 (Control Section) กำแพงขา้ ง 3.80 ประตู/ช่องระบายทราย 3.61 (Bottom Drain) สะพานรถยนต์ 3.89 ฝายยาง 4.00 4 สว่ นทา้ ยนำ้ (Downstream 3.27 พืน้ 3.47 Concrete Section) ลาดด้านขา้ ง 3.39 แผงปะทะดา้ นทา้ ยนำ้ 2.18 (End Sill) 5 สว่ น Protection ท้ายน้ำ 2.91 พน้ื 0.00 (Downstream Protection ลาดด้านข้าง 2.91 Section) ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 97 ตารางท่ี 29 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององคป์ ระกอบย่อย กรณี Overturning ของฝายแม่ลาว จังหวัด เชียงราย ลำดับท่ี องค์ประกอบ 1 คา่ ดัชนสี ภาพ องค์ประกอบ 2 คา่ ดชั นี สภาพ 1 สว่ น Protection เหนอื น้ำ 2.70 พน้ื 2.00 3.47 (Upstream Protection Section) ลาดด้านขา้ ง 0.00 2.98 2 สว่ นเหนอื น้ำ 2.98 พืน้ 3.86 3.79 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านข้าง 3.58 3 สว่ นควบคมุ นำ้ 3.82 ฝาย 3.85 4.00 (Control Section) กำแพงข้าง 3.44 3.39 ประต/ู ช่องระบายทราย 2.09 (Bottom Drain) 0.00 สะพานรถยนต์ 2.89 ฝายยาง 4 สว่ นท้ายน้ำ (Downstream 3.18 พื้น Concrete Section) ลาดดา้ นข้าง แผงปะทะดา้ นท้ายน้ำ (End Sill) 5 สว่ น Protection ทา้ ยนำ้ 2.89 พืน้ (Downstream Protection ลาดดา้ นข้าง Section) ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 98 ตารางท่ี 30 สรปุ คะแนนสภาพความสมบรู ณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Bearing ของฝายแมล่ าว จังหวัด เชยี งราย ลำดับท่ี องค์ประกอบ 1 ค่าดชั นีสภาพ องคป์ ระกอบ 2 ค่าดัชนี สภาพ 1 ส่วน Protection เหนือนำ้ 2.68 พน้ื 2.00 (Upstream Protection Section) ลาดด้านขา้ ง 3.49 2 สว่ นเหนอื น้ำ 2.96 พนื้ 0.00 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านขา้ ง 2.96 3 ส่วนควบคุมน้ำ 3.82 ฝาย 3.88 (Control Section) กำแพงข้าง 3.81 ประตู/ชอ่ งระบายทราย 3.56 (Bottom Drain) สะพานรถยนต์ 3.87 ฝายยาง 4.00 4 สว่ นท้ายน้ำ (Downstream 3.28 พ้นื 3.52 Concrete Section) ลาดด้านขา้ ง 3.46 แผงปะทะดา้ นทา้ ยน้ำ 2.19 (End Sill) 5 สว่ น Protection ทา้ ยน้ำ 2.92 พนื้ 0.00 (Downstream Protection ลาดดา้ นข้าง 2.92 Section) จากคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบ พบว่า พื้นของ องค์ประกอบที่ 2 มีตะกอนทับถม ไม่สามารถตรวจสภาพได้ และพื้นของส่วนองค์ประกอบที่ 5 กำลังดำเนินการ ปรับปรงุ ยงั ไม่แล้วเสร็จ มอี ุปกรณ์กอ่ สร้าง ทำให้ไม่สามารถตรวจสภาพได้ (5) สรปุ ผลการตรวจและประเมนิ สภาพฝายแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย จากตารางท่ี 26-30 สามารถสรปุ ผลการตรวจและประเมนิ สภาพฝายแมล่ าว จงั หวัดเชียงราย ได้ดงั น้ี (5.1) ส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 2.70 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มี ความเสียหาย ควรวิเคราะห์และติดตามพฤติกรรมเป็นพิเศษเพื่อประเมินความปลอดภัย อาจสามารถ รอการ ซ่อมแซมได้ (มีแนวโน้มไปในทางไม่ปกติ)สภาพปัญหาที่พบคือ หินทิ้งลาดด้านข้างมีการทรุดตัวและเกิดการกัด เซาะเลก็ นอ้ ย ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 99 (5.2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของทงั้ 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.00 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) สาเหตุของปัญหาที่พบคือ พื้นพบตะกอนดิน/ทรายกีดขวางทางน้ำ และทำ ให้ไม่สามารถประเมินสภาพของพื้นได้ เช่น รอยร้าว การทรุดตัว เป็นต้น เพราะฉะนั้น ค่าที่สูงนั้นเป็นการ พิจารณาในเรื่องของสิ่งกีดขวางทางน้ำเพียงด้านเดียวเท่านัน้ ซึ่งต้องมีการพิจารณาขุดลอกตะกอนและทำความ สะอาดพ้ืน เพอื่ ตรวจสอบสิ่งผิดปกติอกี คร้ัง ในส่วนของกำแพงลาดดา้ นขา้ ง พบว่า มีความเสยี หายของคอนกรีตท่ี เกิดจากการกัดเซาะ และแตกร้าวจนเป็นรูโพรง ในอนาคตน้ำอาจจะกัดเซาะภายใน (Internal Erosion) จนทำ ใหก้ ำแพงลาดด้านข้างเสียหายท้ังหมดได้ (5.3) ส่ว นคว บคุมน้ำ (Control Section) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping Sliding Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.80 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) สภาพฝายควบคุมน้ำทั้งฝายคอนกรีตและฝายยางสามารถทำงานได้ดีและ สภาพปกติ ปญั หาท่ีตอ้ งมีการตรวจสอบและตดิ ตามคือ กำแพงระหว่างประตูระบายทรายฝั่งขวาและปตร. ปาก คลองสง่ น้ำสายใหญ่ฝ่ังขวา เกิดการเคลื่อนตวั และแตกร้าว เน่อื งมาจากการเกิดเหตกุ ารณ์แผน่ ดินไหว เมื่อวันท่ี 5 พฤษภาคม 2557 ขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ จุดศูนย์กลางอยู่บริเวณ อ.แม่ลาว ทางด้านเหนือน้ำ แต่ โครงสรา้ งและการเปดิ -ปดิ บานยงั สามารถทำงานได้ (5.4) ส่วนท้ายน้ำ ( Downstream Basin) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping Sliding Overturning Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.17-3.30 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่ แผงปะทะด้านท้ายน้ำ (End Sill) ถูกกัดเซาะ คอนกรีตจนเห็นเหลก็ (5.5) สว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของทง้ั 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 2.90 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มี ความเสียหาย ควรวิเคราะห์และติดตามพฤติกรรมเป็นพิเศษเพื่อประเมินความปลอดภัย อาจสามารถ รอการ ซ่อมแซมได้ (มีแนวโน้มไปในทางไม่ปกติ)สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่ มีการทรุดตัวและเกิดการ กัดเซาะของลาด ด้านข้าง ถึงแม้ว่าค่าดังกว่าจะมีค่าคะแนนค่อนข้างสูง แต่น้ำหนักความสำคัญที่จะทำให้ตัวฝายนั้นเกิดความ เสยี หายนั้น มีค่าน้อยมาก (5.6) สภาพโดยรวมของฝายแม่ลาว จะพบว่ามีค่าประมาณ 3.34 ในกรณี Bearing และใน อีก 3 กรณี Piping Sliding และ Overturning มีค่าประมาณ 3.38 3.40 และ 3.41 ตามลำดับ หมายถึง สภาพ องค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) จากค่าคะแนนดังกล่าว ฝายแม่ลาว จังหวัด เชยี งราย ควรดำเนินการดังน้ี (5.6.1) ควรมีการซ่อมแซมลาดด้านข้างด้านเหนือน้ำที่เกิดการกัดเซาะและแตกร้าว เป็นรโู พรง ซ่ึงเป็นปจั จัยทีจ่ ะสง่ ผลกระทบต่อความเสีย่ งของอาคารทีจ่ ะเกดิ ความเสียหายได้ (5.6.2) ควรมีการขุดลอกตะกอนด้านเหนือน้ำเป็นประจำทุกปี และตรวจสภาพเพ่ือ ประเมนิ สภาพของพืน้ อาคารด้านเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) อีกครง้ั ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 100 (5.6.3) ควรมกี ารซอ่ มแซมลาดฝายด้านทา้ ยนำ้ ฝั่งซา้ ยทเี่ กิดจากการทรุดตัว (5.6.4) จากการสังเกตจะพบว่าบริเวณฝั่งซ้ายและขวาของอาคาร จะมีประตูระบาย ทราย ทำใหไ้ มเ่ กิดการทบั ถมของตะกอนในบริเวณดงั กล่าว แต่ในขณะเดียวกัน บริเวณหนา้ ฝายจะพบตะกอนตก จมอยู่จำนวนมาก บางแห่งเกือบเท่าความสูงของฝาย วิธีการที่ลด/บรรเทาปัญหาที่เกิดขึ้นสามารถดำเนินการได้ 2 แนวทาง คอื - ควรตั้งงบประมาณเพื่อขุดลอกตะกอนเป็นประจำทุกปี (จากการสอบถาม โครงการส่งนำ้ และบำรุงรักษาแม่ลาว ได้รบั งบประมาณขดุ ลอกปเี วน้ ป)ี - เปลย่ี นแปลงรูปแบบของอาคารจากฝายเปน็ ประตรู ะบายนำ้ (5.6.5) ควรดำเนินการติดตามหรือในกรณีที่มีงบประมาณ ควรดำเนินการซ่อมแซม กำแพงด้านข้างระหว่างประตูระบายทรายฝั่งขวาและปตร.ปากคลองส่งน้ำฝั่งขวาที่เกิดการเคล่ือนตัวจากเหตุการณ์ แผ่นดินไหว 5.1.2 เขื่อนพระรามหก จังหวัดอยธุ ยา (1) ข้อมลู ทัว่ ไปของโครงการ (1.1) ทีต่ ง้ั เข่ือนพระรามหก ต้ังอยบู่ รเิ วณตำบลทา่ หลวง อำเภอท่าเรือ จ.อยธุ ยา พกิ ดั : E 690100 N 1609950 ประเภทโครงการ : ประตูระบายนำ้ /เขอ่ื นทดน้ำ เร่ิมก่อสรา้ ง ปี พ.ศ. 2457 แลว้ เสรจ็ ปี พ.ศ. 2467 (1.2) ระบบส่งน้ำ (1.2.1) หวั งาน ประกอบดว้ ย - หวั งาน ประกอบดว้ ย - ขนาดบานระบาย กวา้ ง 12.50 เมตร สงู 7.80 เมตร - จำนวนบานระบาย 6 ช่อง - ลักษณะบานประตูเหล็กเลื่อนขึ้นลงในแนวดิ่งใช้ระบบมอเตอร์ไฟฟ้า (แต่เดิมใช้ แรงงานคน) - ระบายนำ้ ได้สงู สดุ 1,800 ลกู บาศก์เมตร/วินาที ดงั แสดงในภาพที่ 115 และ 116 ภาพที่ 115 เขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 101 ภาพที่ 116 ฝายคอนกรตี และฝายยาง (1.2.2) ระบบสง่ นำ้ ประกอบด้วย - ประตูระบายน้ำพระนารายณ์ เปน็ ประตรู ะบายน้ำซ่ึงอยู่ทางซ้ายของเข่ือนพระรามหก เพื่อระบายน้ำแม่นำ้ ปา่ สักท่ีทดไว้เข้าสู่คลองระพีพัฒน์ ซงึ่ เปน็ คลองส่งน้ำสายใหญ่ ส่งน้ำลงมาทางใต้ถึงอำเภอหนอง แค จังหวัดสระบุรี รวมความยาว 32 กิโลเมตร ขนาดบานระบาย กว้าง 4.20 เมตร สูง 3.56 เมตร จำนวนบาน ระบาย 8 ช่อง ระบายนำ้ ได้สูงสดุ 150 ลกู บาศกเ์ มตร/วนิ าที ดังแสดงในภาพที่ 117 ภาพที่ 117 ประตรู ะบายนำ้ พระนารายณ์ - ปตน.พระณเรศน์ เป็นประตูเรือสัญจรซง่ึ อยูท่ างขวาของเขื่อนพระรามหกเพ่ือให้เรือ ในแม่น้ำป่าสักผ่านขึ้นล่องได้ตามปกติ ขนาดกว้าง 37.00 เมตร ยาว 40.00 เมตร ปากคันกว้าง 12.50 เมตร ขนาดบาน 6.00 เมตร ดงั แสดงในภาพที่ 118 ภาพท่ี 118 คลองสง่ น้ำสายใหญฝ่ ัง่ ขวา ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 102 (2) องคป์ ระกอบของเขื่อนพระรามหก จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา (2.1) สว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) มหี นา้ ท่ีในการป้องกนั การกัดเซาะของน้ำ วัสดุที่ใช้ในการทำส่วนของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวด ตาข่ายเหล็กถักเคลอื บสงั กะสี (Mattresses) หินทิ้ง หนิ เรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วสั ดทุ ่ีใช้ในการทำ สว่ นของพ้นื ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจหุ ินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หนิ ทงิ้ หนิ เรยี ง หินเรียงยาแนว เป็นต้น ประกอบไปด้วยสว่ นของพื้นและลาดด้านข้าง ดังแสดงในภาพที่ 119 และ 120 ภาพที่ 119 รูปตัดตามยาวส่วน Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) ของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา ภาพที่ 120 สว่ น Protection เหนอื นำ้ ของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา (2.2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) มีหน้าที่ยืดเสน้ ทางทางเดินของน้ำ หรือเพ่ิมความมั่นคง รวมไปถึงลดแรงดันใต้ตัวฝาย ซ่ึง ในหลักการคำนวณดังกล่าวจะพิจารณาถึงความหนาของพื้นประกอบไปด้วยพื้นและลาดด้านข้าง ลักษณะพื้นและ กำแพงของส่วนเหนือน้ำของเขื่อนพระรามหก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นหินก่อ ดังแสดงในภาพที่ 121 และ 122 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 103 ภาพที่ 121 รูปตดั ตามยาวสว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา ภาพที่ 122 สว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา (2.3) สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) เป็นส่วนที่ใช้ในการควบคุมน้ำ เพื่อกักเก็บน้ำ ทดน้ำ ระบายน้ำ/ทราย ดังแสดงใน ภาพที่ 123 และ 124 ภาพที่ 123 รูปตัดตามยาวสว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 104 ภาพท่ี 124 สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา สว่ นควบคุมนำ้ ประกอบดว้ ย - พื้นและตอม่อ (Floor and Pier) ฐานรากของพื้นได้ใช้คอนกรีตแกนมีเหล็กขนาดใหญ่ ฝังลึกลงไปใต้ดินตรงใตต้ วั เสา รองรบั โครงเคร่อื งประกอบของเขื่อน ดงั แสดงในภาพท่ี 125 ภาพที่ 125 ตอม่อของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา - กำแพงขา้ ง (Retaining wall) เปน็ กำแพงคอนกรีตที่อยูต่ ดิ กบั ตวั ส่วนควบคมุ น้ำ ดังแสดงในภาพที่ 126 ภาพที่ 126 กำแพงคอนกรีตของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 105 - ประตรู ะบายนำ้ เฉพาะตัวบาน (Gate) บานของประตูระบายน้ำเขื่อนพระรามหก เป็นบานเหล็กชนิดบานตรง ขนาดบาน ระบาย กวา้ ง 12.50 เมตร สงู 7.80 เมตร จำนวน 6 ช่อง ดังแสดงในภาพท่ี 127 ภาพที่ 127 บานของประตูระบายนำ้ ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา - อุปกรณ์เครื่องกล/อุปกรณ์ไฟฟ้า (Mechanical / Electrical Equipment) ดัง แสดงในภาพที่ 128 ภาพที่ 128 อุปกรณเ์ คร่ืองกล/อุปกรณ์ไฟฟา้ ของเข่อื นพระรามหก จ.อยธุ ยา - สะพานรถยนต์ (Bridge) พ้นื สะพานเป็นตะแกรงเหลก็ ดังแสดงในภาพที่ 129 ภาพที่ 129 สะพานรถยนต์ของเขื่อนพระรามหก จ.อยธุ ยา ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 106 - สะพานโครงยก (Operation Platform) ลักษณะเปน็ สะพานโครงเหล็ก ทัง้ เสาและพน้ื สะพาน ดงั แสดงในภาพท่ี 130 ภาพท่ี 130 สะพานโครงยกสำหรับใช้ติดต้ังอุปกรณใ์ นการเปิด-ปิดประตรู ะบายนำ้ ของเขอ่ื นพระรามหก จ.อยุธยา (2.4) ส่วนสลายพลงั งาน (Downstream Concrete Section) เป็นอาคารชลศาสตร์ที่ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่สลายพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) จากการไหลของน้ำด้วยความเร็วสูง จะทำการออกแบบให้อาคารสลายพลังงาน อยู่ด้านท้าย น้ำของอาคารดังกล่าวเสมอ อาคารสลายพลังงานท่ีดจี ะตอ้ งสามารถทำให้การไหลของน้ำที่เร็วน้ัน ช้าลง หรือทำ ให้พลังงานเนื่องจากความเร็วลดลง โดยไม่ทำให้อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารหรือคลองส่งน้ำเสียหาย ประกอบไปดว้ ยสว่ นของพ้ืน ลาดดา้ นข้าง และองคป์ ระกอบอืน่ ๆ ดงั แสดงในภาพที่ 131 และ 132 ได้แก่ ภาพท่ี 131 รปู ตัดตามยาวสว่ นสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา ภาพที่ 132 สว่ นสลายพลงั งาน (Downstream Concrete Section) ของเขอ่ื นพระรามหก จ.อยุธยา ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 107 (2.5) ส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) มหี นา้ ทใ่ี นการป้องกันการกดั เซาะของน้ำ วัสดุทใี่ ช้ในการทำสว่ นของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวดตาข่ายเหล็กถักเคลือบสังกะสี (Mattresses) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วัสดุที่ใช้ในการ ทำส่วนของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นตน้ ประกอบไปด้วยส่วนของพนื้ และลาดดา้ นข้าง ดังแสดงในภาพท่ี 133 และ 134 ภาพที่ 133 รูปตัดตามยาวส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา ภาพท่ี 134 ส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา สรุปองคป์ ระกอบเขื่อนพระรามหก จังหวดั อยุธยา ดังแสดงในภาพที่ 135 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 108 1. Protection 1.1 (Upstream Protection Section) 1.2 2. 2.1 (Upstream Concrete Section) 2.2 3.1 3.2 3.3 () 3.4 / 3. 3.5 (Control Section) (Chute Blocks) 3.6 (Floor Block) 3.7 3.8 4. 4.1 (Downstream Concrete Section) 4.2 4.3 (End Sill) 5. Protection 5.1 (Downstream Protection Section) 5.2 ภาพท่ี 135 แสดงองค์ประกอบของเข่อื นพระรามหก จ.อยุธยา ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บริหารจดั การนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 109 (3) การตรวจสภาพเข่ือนพระรามหก จงั หวัดอยธุ ยา การตรวจสภาพเขื่อนพระรามหก จังหวัดอยุธยา ใช้วิธีการตรวจสภาพด้วยสายตา (Visual Inspection) จากการตรวจสภาพโดยทั่วไปของเขื่อนพระรามหก เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2561 พบว่า เข่ือนพระรามหก จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยากำลงั ดำเนนิ การปรับปรงุ บรเิ วณด้านท้ายฝาย สรุปผลการตรวจสภาพ ไดด้ งั น้ี (3.1) สว่ น Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) สภาพด้านเหนือน้ำพบว่าลาดด้านข้างของลำน้ำมีการกัดเซาะเล็กน้อย เนื่องจากมีการ ปรับปรงุ ลาดดา้ นขา้ งเป็นคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ดังแสดงในภาพที่ 136 ภาพที่ 136 สภาพสว่ น Protection เหนอื น้ำ (3.2) ส่วนเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) สภาพพื้นด้านเหนือน้ำไม่สามารถมองเห็นได้ ลาดด้านข้างบริเวณฝั่งขวาและฝั่งซ้ายมี การกัดเซาะและมีการแตกร้าวบรเิ วณฝัง่ ขวาของลำน้ำ ดังแสดงในภาพท่ี 137-138 ภาพที่ 137 สภาพสว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ภาพที่ 138 ลาดดา้ นข้างถกู น้ำกัดเซาะ ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 110 (3.3) สว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) (3.3.1) พื้นและตอม่อ (Floor and Pier) พน้ื ของอาคารไมส่ ามารถมองเหน็ ได้ เน่อื งจากมีน้ำ ตอม่อมีการกดั เซาะผวิ คอนกรีตเลก็ นอ้ ย สภาพอืน่ ๆ ปกติ ดังแสดงในภาพที่ 139 ภาพท่ี 139 สภาพตอม่อ (3.3.2) กำแพงข้าง (Retaining wall) เกดิ การกัดเซาะและรอยรา้ วเลก็ น้อย สภาพอ่ืนๆ ปกติ (3.3.3) ประตรู ะบายน้ำ เฉพาะตวั บาน (Gate) พบการรั่วซึมของน้ำผ่านบานระบาย (ตัวบานระบาย, ยางกันซึมบริเวณ ขอบบาน) ดงั แสดงในภาพท่ี 140-141 ภาพที่ 140 สภาพบานระบาย ภาพท่ี 141 สภาพบานระบายและยางกันซึมมีการร่ัวซมึ ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 111 (3.3.4) อุปกรณ์เครอ่ื งกล/อุปกรณ์ไฟฟ้า (Mechanical / Electrical Equipment) อุปกรณ์เครอ่ื งกล/อุปกรณ์ไฟฟ้า ยงั ใชง้ านไดต้ ามปกติ ดงั แสดงในภาพที่ 142 ภาพที่ 142 สภาพอุปกรณเ์ คร่อื งกล/อุปกรณ์ไฟฟ้า (3.3.5) สะพานรถยนต์ (Bridge) สะพานรถยนต์ของเขื่อนพระรามหก เป็นสะพานโครงเหล็ก วางบนตอม่อ เดียวกบั บานระบายนำ้ สภาพปกติ ดงั แสดงในภาพท่ี 143 ภาพที่ 143 สภาพสะพานรถยนต์ (3.3.6) สะพานโครงยก (Operation Platform) สะพานโครงยกของเขื่อนพระรามหก เปน็ สะพานโครงเหล็ก สภาพปกติ ดัง แสดงในภาพท่ี 144 ภาพท่ี 144 สภาพสะพานโครงยก ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 112 (3.4) สว่ นทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) สว่ นสลายพลังงานที่พบปญั หามากทส่ี ุดคือ แผงปะทะด้านทา้ ยนำ้ (End Sill) ที่เกิดการ กัดเซาะคอนกรีตจนบางจุดเห็นเหล็ก ดังแสดงในภาพท่ี 145 และ 146 ภาพท่ี 145 สภาพลาดด้านข้างส่วนสลายพลงั งาน ภาพท่ี 146 รอยร้าวลาดดา้ นข้าง (3.5) ส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) พบว่ามีการกัดเซาะคอนกรีตและแตกร้าวบริเวณลาดด้านข้าง สภาพอื่นๆ ปกติ ส่วนพ้ืน ไมส่ ามารถตรวจสภาพได้ เนอ่ื งจากมีน้ำ ดังแสดงในภาพท่ี 147 ภาพท่ี 147 สภาพด้านท้ายน้ำ ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 113 (4) การประเมินสภาพเขือ่ นพระรามหก จ.อยธุ ยา จากตารางท่ี 31 ผลการประเมินสภาพของเขือ่ นพระรามหก จ.อยุธยา รวมท้ัง 4 กรณี เท่ากับ 3.54 หมายถึง สภาพองคป์ ระกอบ มคี วามสมบูรณ์ หรือทำหนา้ ท่เี ปน็ ปกติ หรือไม่ปรากฏสภาพความเสย่ี งนัน้ ตรางท่ี 31 สรปุ ผลการประเมินสภาพของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา แตล่ ะกรณี กรณี Piping กรณี กรณี กรณี (Weighted Creep Ratio) Sliding Stability Overturning Stability Bearing Capacity 3.52 3.53 3.54 3.56 เมอ่ื พจิ ารณาถึงคะแนนสภาพความสมบูรณข์ ององคป์ ระกอบย่อยในแต่ละองค์ประกอบของ เข่ือนพระรามหก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในแตล่ ะกรณี ดงั แสดงในตารางที่ 32-35 ตารางที่ 32 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Piping (Weighted Creep Ratio) ของเขอื่ นพระรามหก จ.อยุธยา ลำดบั ท่ี องคป์ ระกอบ 1 ค่าดชั นสี ภาพ องค์ประกอบ 2 คา่ ดชั นี สภาพ 1 ส่วน Protection เหนือนำ้ 3.87 พ้นื 0.00 3.87 (Upstream Protection Section) ลาดด้านขา้ ง 0.00 3.58 2 ส่วนเหนือน้ำ 3.58 พ้ืน 0.00 3.79 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านข้าง 1.70 3 ส่วนควบคมุ น้ำ 3.38 พืน้ และตอม่อ 4.00 (Control Section) กำแพงข้าง 3.66 4.00 ประตูระบายน้ำ เฉพาะตวั 0.00 3.58 บาน 0.00 อปุ กรณ์เครื่องกล/อปุ กรณ์ 0.00 ไฟฟา้ 3.46 สะพานรถยนต์ สะพานโครงยก 4 สว่ นท้ายนำ้ (Downstream 3.58 พน้ื Concrete Section) ลาดด้านข้าง แผงปะทะด้านท้ายนำ้ (End Sill) 5 ส่วน Protection ท้ายน้ำ 3.46 พน้ื (Downstream Protection ลาดด้านขา้ ง Section) ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 114 ตารางที่ 33 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Sliding ของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา ลำดับท่ี องคป์ ระกอบ 1 ค่าดชั นีสภาพ องคป์ ระกอบ 2 ค่าดชั นี สภาพ 1 ส่วน Protection เหนอื นำ้ 3.88 พื้น 0.00 3.88 (Upstream Protection Section) ลาดดา้ นข้าง 0.00 3.61 2 ส่วนเหนอื นำ้ 3.61 พื้น 0.00 3.79 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านข้าง 1.77 3 ส่วนควบคุมนำ้ 3.39 พื้นและตอม่อ 4.00 (Control Section) กำแพงข้าง 3.67 4.00 ประตรู ะบายน้ำ เฉพาะตวั 0.00 3.57 บาน 0.00 อปุ กรณ์เครื่องกล/อุปกรณ์ 0.00 ไฟฟา้ 3.48 สะพานรถยนต์ สะพานโครงยก 4 สว่ นทา้ ยนำ้ (Downstream 3.57 พน้ื Concrete Section) ลาดด้านข้าง แผงปะทะด้านท้ายน้ำ (End Sill) 5 สว่ น Protection ท้ายนำ้ 3.48 พื้น (Downstream Protection ลาดดา้ นข้าง Section) ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 115 ตารางท่ี 34 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององคป์ ระกอบย่อย กรณี Overturning ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา ลำดับท่ี องค์ประกอบ 1 ค่าดัชนสี ภาพ องคป์ ระกอบ 2 คา่ ดัชนี สภาพ 1 ส่วน Protection เหนือน้ำ 3.87 พน้ื 0.00 3.87 (Upstream Protection Section) ลาดด้านข้าง 0.00 3.58 2 ส่วนเหนอื นำ้ 3.58 พ้ืน 0.00 3.78 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านขา้ ง 1.72 3 ส่วนควบคมุ น้ำ 3.43 พน้ื และตอม่อ 4.00 (Control Section) กำแพงขา้ ง 3.63 4.00 ประตรู ะบายน้ำ เฉพาะตวั 0.00 3.59 บาน 0.00 อุปกรณ์เครอื่ งกล/อุปกรณ์ 0.00 ไฟฟ้า 3.44 สะพานรถยนต์ สะพานโครงยก 4 สว่ นทา้ ยน้ำ (Downstream 3.59 พน้ื Concrete Section) ลาดด้านข้าง แผงปะทะดา้ นท้ายนำ้ (End Sill) 5 สว่ น Protection ท้ายนำ้ 3.44 พืน้ (Downstream Protection ลาดด้านข้าง Section) ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 116 ตารางท่ี 35 สรปุ คะแนนสภาพความสมบรู ณข์ ององคป์ ระกอบย่อย กรณี Bearing ของเขอ่ื นพระรามหก จ.อยุธยา ลำดบั ท่ี องคป์ ระกอบ 1 คา่ ดัชนสี ภาพ องค์ประกอบ 2 คา่ ดชั นี สภาพ 1 สว่ น Protection เหนอื น้ำ 3.87 พน้ื 0.00 3.87 (Upstream Protection Section) ลาดดา้ นขา้ ง 0.00 3.56 2 สว่ นเหนอื น้ำ 3.56 พน้ื 0.00 3.80 (Upstream Concrete Section) ลาดด้านข้าง 1.76 3 สว่ นควบคมุ น้ำ 3.49 พน้ื และตอม่อ 4.00 (Control Section) กำแพงขา้ ง 3.68 4.00 ประตรู ะบายน้ำ เฉพาะตวั 0.00 3.58 บาน 0.00 อุปกรณ์เครอื่ งกล/อปุ กรณ์ 0.00 ไฟฟ้า 3.48 สะพานรถยนต์ สะพานโครงยก 4 ส่วนท้ายนำ้ (Downstream 3.58 พ้ืน Concrete Section) ลาดด้านข้าง แผงปะทะดา้ นทา้ ยน้ำ (End Sill) 5 ส่วน Protection ท้ายนำ้ 3.48 พ้ืน (Downstream Protection ลาดดา้ นข้าง Section) จากคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบ พบว่า พื้นของ องคป์ ระกอบที่ 1 2 4 และ 5 มนี ำ้ ขัง ทำให้ไมส่ ามารถตรวจสภาพได้ (5) สรุปผลการตรวจและประเมนิ สภาพเข่อื นพระรามหก จงั หวัดอยธุ ยา จากตารางที่ 31-35 สามารถสรุปผลการตรวจและประเมินสภาพเขื่อนพระรามหก จงั หวดั อยุธยา ได้ดงั น้ี (5.1) ส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.87 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มี ความเสียหาย เลก็ นอ้ ย (มแี นวโน้มไปในทางปกต)ิ มีการกัดเซาะบริเวณลาดด้านข้างเล็กน้อย ไม่ส่งผลกระทบต่อ ความมน่ั คงของตวั อาคาร ในส่วนของพื้นนน้ั ไมส่ ามารถประเมนิ สภาพได้ เนื่องจากมนี ำ้ ท่วมขัง ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 117 (5.2) สว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของทงั้ 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.58 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กนอ้ ย (มแี นวโนม้ ไปในทางปกต)ิ สาเหตขุ องปัญหาท่ีพบคอื พบการแตกรา้ วของลาดด้านข้าง บรเิ วณฝงั่ ขวา ไม่ ส่งผลกระทบตอ่ ความมนั่ คงของตัวอาคาร ในส่วนของพน้ื นั้นไมส่ ามารถประเมินสภาพได้ เนอ่ื งจากมนี ำ้ ท่วมขงั (5.3) ส่ว น คว บคุมน้ำ (Control Section) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping Sliding Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.40 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) ถึงแม้ว่าค่าดัชนีสภาพโดยส่วนของส่วนควบคุมน้ำจะมีค่าความเสียหาย เล็กน้อย แต่เมื่อพิจารณาองค์ประกอบย่อย พบว่า ปัญหาของส่วนควบคุมคือ ประตูระบายน้ำ เฉพาะตัวบานที่มี การรั่วซมึ ของนำ้ ผ่านบานระบาย (ตัวบานระบายและยางกันซึมบริเวณขอบบาน) มีค่าดัชนสี ภาพประมาณ 3.20 หมายถงึ สภาพองค์ประกอบ มคี วามเสยี หาย เลก็ น้อย (มแี นวโน้มไปในทางปกต)ิ ซ่งึ เป็นค่าเฉพาะในส่วนของตัว บานระบายดงั ที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ (5.4) ส่วนท้ายน้ำ ( Downstream Basin) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping Sliding Overturning Bearing มคี ่าดชั นีสภาพประมาณ 3.58 หมายถงึ สภาพองคป์ ระกอบ มคี วามเสียหาย เล็กนอ้ ย (มี แนวโน้มไปในทางปกติ) สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่ เกิดการร้าวทั้งสองฝั่งของลาดด้านท้ายน้ำ และพบการกัดเซาะ เลก็ นอ้ ย ในส่วนของพื้นนนั้ ไมส่ ามารถประเมินสภาพได้ เนอ่ื งจากมนี ำ้ ทว่ มขัง (5.5) สว่ น Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) ของทั้ง 4 กรณี ได้แก่ Piping, Sliding, Overturning และ Bearing มีค่าดัชนีสภาพประมาณ 3.45 หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มี ความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) สภาพปัญหาที่พบ ได้แก่ เกิดการร้าวทั้งสองฝั่งของลาดด้าน ทา้ ยน้ำ และพบการกัดเซาะเล็กน้อย ในสว่ นของพ้ืนนั้นไมส่ ามารถประเมินสภาพได้ เนือ่ งจากมีน้ำท่วมขัง (5.6) สภาพโดยรวมของเขื่อนพระรามหก จังหวัดอยุธยา จะพบว่ามีค่าประมาณ 3.56 ใน กรณี Bearing และในอีก 3 กรณี Piping Sliding และ Overturning มีค่าประมาณ 3.52 3.53 และ 3.54 ตามลำดับ หมายถึง สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทางปกติ) จากค่าคะแนน ดงั กลา่ ว เขือ่ นพระรามหก จังหวัดอยุธยา ควรดำเนนิ การดังนี้ (5.6.1) ควรมีการซ่อมแซมลาดด้านข้างด้านเหนือน้ำที่เกิดการกัดเซาะและแตกร้าว เป็นรูโพรง ซึง่ เป็นปัจจยั ทจี่ ะส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงของอาคารทจ่ี ะเกิดความเสียหายได้ (5.6.2) ควรมีการตรวจสภาพความแข็งแรงของคอนกรีต เนื่องจากมีการใช้งานมา ยาวนานมากกว่า 50 ปี (5.6.3) ควรมีการตรวจสอบสภาพของพื้นด้านเหนือน้ำและท้ายน้ำ อาจทำการ ก่อสรา้ งทำนบปิดกัน้ ลำนำ้ เพอื่ ตรวจสอบ ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 118 5.2 สรปุ ผลการประเมินสภาพอาคารหวั งาน จากการศึกษาแนวทางการตรวจสภาพและวิธีการประเมินสภาพอาคารหัวงานประเภท ประตู ระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ได้นำแนวทางดังกล่าวไปใช้ในการตรวจและประเมินสภาพ อาคารหัวงาน จำนวนทั้งสิ้น 66 แห่ง ทั่งประเทศ แบ่งประเภทเป็น ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ จำนวน 33 แหง่ และฝายทดน้ำ จำนวน 33 แหง่ ได้ผลแสดงดงั ตารางที่ 36 และ 37 ตามลำดับ ตารางที่ 36 แสดงผลการประเมินสภาพประตรู ะบายนำ้ /เขอื่ นระบายน้ำ/ทดน้ำ . ีิ ี ภ (CI) CI Piping Sliding Overtuning Bearing 1 เข่ือนนเรศวร 3 คบ.นเรศวร พษิ ณโุ ลก 3.59 3.59 3.58 3.59 3.61 2 ปตร.บ้านใหมโ่ พธ์ิทอง 3 คบ.ยมน่าน พษิ ณโุ ลก 3.44 3.46 3.42 3.44 3.46 3 ปตร.บางแกว้ 3 คบ.ยมน่าน พษิ ณโุ ลก 3.37 3.36 3.37 3.39 3.35 4 ปตร.ฉิมพลี 11 คบ.พระพมิ ล กทม. 3.58 3.60 3.62 3.57 3.55 5 ปตร.บางใหญ่ 11 คบ.พระพมิ ล นนทบุรี 3.68 3.69 3.68 3.69 3.67 6 ปตร.พระพมิ ล 11 คบ.พระพมิ ล นครปฐม 3.75 3.75 3.73 3.75 3.75 7 ปตร.ห้วยสาราญ 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 3.88 3.87 3.87 3.88 3.88 8 ปตน.-ปตร.ปลายคลองแมก่ ลอง 13 คป.สมทุ รสงคราม สมทุ รสงคราม 3.61 3.62 3.60 3.60 3.63 9 ปตร.บางหัวหญ้า 13 คป.สมทุ รสงคราม สมทุ รสงคราม 3.83 3.84 3.84 3.83 3.83 10 ปตร.ฝายเชียงราย 2 คป.เชียงราย เชียงราย 3.34 3.29 3.36 3.37 3.32 11 ปตร.สามพร้าว 5 คป.อดุ รธานี อุดรธานี 3.55 3.54 3.55 3.56 3.56 12 ปตร.ห้วยดาน 5 คป.อดุ รธานี อดุ รธานี 3.53 3.53 3.54 3.52 3.53 13 ปตร.หนองสาโรง 5 คป.อดุ รธานี อดุ รธานี 3.57 3.54 3.57 3.58 3.56 14 ปตร.เข่ือนนายก 9 คบ.นครนายก นครนายก 3.37 3.33 3.35 3.39 3.38 15 ปตร.ท่าช้าง 9 คบ.นครนายก นครนายก 3.69 3.67 3.69 3.69 3.71 16 ปตร.เข่ือนพระรามหก 10 คบ.ป่าสักใต้ พระนครศรีอยุธยา 3.54 3.52 3.53 3.53 3.56 17 ปตร.พระนารายณ์ 10 คบ.ป่าสักใต้ พระนครศรีอยุธยา 3.34 3.20 3.24 3.29 3.60 18 ปตร.อุทกวภิ าชประสทิ ธิ 15 คบ.ปากพนังลา่ ง นครศรีธรรมราช 2.87 2.83 2.83 2.89 2.93 19 ปตร.คลองลัด 15 คบ.ปากพนังล่าง นครศรีธรรมราช 2.74 2.76 2.73 2.75 2.74 20 ปตร.สุขุม 15 คบ.ปากพนังล่าง นครศรีธรรมราช 3.63 3.64 3.65 3.63 3.63 21 ปตร.ท่าจันทร์ 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 3.76 3.77 3.77 3.77 3.75 22 ปตร.เขื่อนทดนาบางปะกง 9 คบ.บางปะกง ฉะเชิงเทรา 3.67 3.67 3.69 3.67 3.67 23 ปตร.รัฐอานวย 9 คป.ระยอง ระยอง 3.35 3.31 3.33 3.37 3.36 24 ปตร.สายสาม 9 คป.ระยอง ระยอง 3.71 3.71 3.72 3.71 3.70 25 ปตร.คลองโพล้ 9 คป.ระยอง ระยอง 3.74 3.74 3.76 3.73 3.74 26 ปตร.ท่าโบสถ์ 12 คบ.ท่าโบสถ์ ชัยนาท 3.40 3.34 3.44 3.41 3.38 27 ปตร.คลองปะเหลยี น 16 คป.ตรัง ตรัง 3.82 3.81 3.82 3.82 3.82 28 ปตร.คลองกะลาเส 16 คป.ตรัง ตรัง 3.76 3.75 3.76 3.76 3.76 29 ปตร.แววพยัคฆ์ 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม 2.99 2.92 2.96 2.99 3.06 30 ปตร.แก่งเลงิ จาน 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม 3.84 3.84 3.85 3.84 3.84 31 ปตร.ท่าสองคอน 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม 3.84 3.84 3.84 3.83 3.84 32 ปตร.ท่าตมู 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม 3.38 3.35 3.38 3.39 3.39 33 ปตร.กดุ แดง 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม 3.30 3.30 3.31 3.30 3.27 จากผลการตรวจสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ พบว่า สภาพความสมบูรณ์ตาม ดัชนีสภาพ (CI) ของท้งั 4 กรณีสว่ นใหญ่อยูใ่ นเกณฑ์เสียหายเล็กน้อย ถงึ แมว้ า่ คา่ คะแนนสภาพในภาพรวมจะอยู่ ในเกณฑ์เสียหายเล็กน้อย แต่ในความเป็นจริง การนำเกณฑ์นี้ไปใช้ จำเป็นต้องพิจารณาค่าขององค์ประกอบใน ระดบั ยอ่ ยลงไป เพ่อื แยกองคป์ ระกอบท่ีไดร้ ับความเสยี หายจรงิ ๆ มาพิจารณาของบประมาณซ่อมแซม ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 119 ตารางท่ี 37 แสดงผลการประเมนิ สภาพฝายทดน้ำ . ีิ Weir ีภ (Condition Index : CI) Bearing 3.65 Piping Sliding Overturning 3.61 1 ฝายสมนุ 2 คป.น่าน น่าน 3.68 3.69 3.69 3.64 3.64 2 ฝายสา 3.54 3.71 3.69 3.68 3.48 3 ฝายนาย่าง 2 คป.น่าน น่าน 3.53 3.55 3.58 3.53 3.54 4 ฝายนาปัว 3.27 3.58 3.50 3.53 3.26 5 ฝายท่าช้าง 2 คป.น่าน น่าน 2.96 3.34 3.26 3.27 2.80 6 ฝายห้วยบาตร 2.94 3.03 3.01 2.97 2.76 7 ฝายทุ่งไผ่ 2 คป.น่าน น่าน 3.31 2.96 3.00 2.97 3.27 8 ฝายแมย่ ม 3.12 3.26 3.34 3.32 3.05 9 ฝายคลองตรอน 4 คป.แพร่ แพร่ 3.44 3.20 3.06 3.17 3.41 10 ฝายนาปาด 3.79 3.50 3.47 3.43 3.79 11 ฝายขุนยวม 4 คป.แพร่ แพร่ 3.04 3.81 3.82 3.77 3.01 12 ฝายนายวม 2.97 3.12 3.07 3.02 2.92 13 ฝายแมส่ ะเรียง 4 คป.แพร่ แพร่ 2.93 3.05 2.92 3.00 2.95 14 ฝายปางมะผา้ 3.14 3.01 2.97 2.89 3.04 15 ฝายบ้านห้วยขะยุง 4 คบ.แมย่ ม แพร่ 3.40 3.10 3.20 3.14 3.40 16 ฝายบ้านนาเย็น 3.52 3.32 3.41 3.42 3.54 17 ฝายบ้านเศวต 3 คป.อุตรดติ ถ์ อุตรดติ ถ์ 2.82 3.56 3.54 3.48 2.81 18 ฝายบ้านลุมพกุ 3.73 2.97 2.84 2.78 3.75 19 ฝายห้วยทับทัน 3 คป.อตุ รดติ ถ์ อุตรดติ ถ์ 3.50 3.77 3.73 3.71 3.52 20 ฝายยางลาเซบาย 3.32 3.44 3.55 3.47 3.34 21 ฝายชัยสมบัติ 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน 2.81 3.41 3.37 3.26 2.68 22 ฝายโป่งนก 3.39 2.77 2.80 2.88 3.34 23 ฝายแมล่ าว 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน 3.63 3.38 3.40 3.41 3.63 24 ฝายถาวอก 3.46 3.66 3.63 3.62 3.44 25 ฝายสามพร้าว 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน 3.52 3.50 3.47 3.46 3.54 26 ฝายคลองท่าทน 3.45 3.54 3.55 3.49 3.42 27 ฝายคลองคถู นน 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน 3.41 3.50 3.46 3.45 3.45 28 ฝายคลองอา้ ยเขียว 3.65 3.47 3.42 3.38 3.66 29 ฝายแมจ่ ะเรา 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 2.61 3.66 3.65 3.66 2.48 30 ฝายแมร่ ะมาด 3.92 2.59 2.69 2.61 3.91 31 ฝายบ้านคา่ ย 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 3.59 3.94 3.92 3.91 3.60 32 ฝายคลองนางน้อย 3.47 3.61 3.62 3.56 3.46 33 ฝายห้วยคะคาง 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 3.38 3.39 3.55 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ 7 คป.อุบลราชธานี อุบลราชธานี 2 คป.เชียงราย เชียงราย 2 คป.เชียงราย เชียงราย 2 คบ.แมล่ าว เชียงราย 2 คป.เชียงราย เชียงราย 5 คป.อุดรธานี อุดรธานี 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 4 คป.ตาก ตาก 4 คป.ตาก ตาก 9 คป.ระยอง ระยอง 16 คป.ตรัง ตรัง 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม จากผลการตรวจสภาพฝายทดน้ำ พบว่า สภาพความสมบูรณ์ตามดัชนีสภาพ (CI) ของท้ัง 4 กรณีส่วนใหญ่อย่ใู นเกณฑ์เสียหายเล็กน้อย ถงึ แม้วา่ คา่ คะแนนสภาพในภาพรวมจะอยใู่ นเกณฑ์เสียหายเล็กน้อย แต่ในความเป็นจริง การนำเกณฑ์นี้ไปใช้ จำเป็นต้องพิจารณาค่าขององค์ประกอบในระดับย่อยลงไป เพื่อแยก องค์ประกอบที่ได้รับความเสยี หายจรงิ ๆ มาพิจารณาของบประมาณซ่อมแซม ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 120 บทที่ 6 บทสรปุ 6.1 สรปุ การประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม การตรวจสภาพอาคารชลประทานประเภทหัวงานมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการเพื่อเป็น มาตรฐานในการตรวจสภาพอาคารหัวงาน ได้แก่ ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ให้กับ โครงการชลประทานและโครงการสง่ น้ำและบำรุงรักษา โดยนำเสนอแบบบันทึกการตรวจสภาพอาคารหวั งาน ค่า คะแนนน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และสภาพที่ใช้สำหรับตรวจ วิธีการตรวจ สภาพ และการประเมินสภาพอาคารหัวงาน ประเภท ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ในการประเมินสภาพอาคารหัวงานสามารถที่จะทราบถึงสภาพความสมบูรณข์ องอาคารแต่ละองค์ประกอบ เพื่อ มาใช้ในการเลือกองค์ประกอบที่จะต้องของบประมาณมาซ่อมแซม/ปรับปรุง นอกจากนั้น ยังนำคะแนนสภาพ ความสมบูรณม์ าเรียงลำดับงานเพ่อื ของบประมาณงานซอ่ มแซม/ปรบั ปรุงอาคารชลประทานหัวงานท้ังประเทศ ในสภาพปัจจุบันที่มีเทคโนโลยีทางการสื่อสารที่เปลี่ยนไป การนำเสนอข่าวหรือเนื้อหาที่ เกย่ี วข้องกับการบรหิ ารจัดการน้ำเป็นไปอย่างรวดเรว็ การเขา้ ถงึ ข้อมลู และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหาร จัดการน้ำของกรมชลประทานมีมากขึ้น การสร้างมาตรฐานและวิธีการตรวจและประเมินสภาพอาคาร ชลประทานยิง่ มคี วามจำเป็น เพื่อสามารถทจ่ี ะตอบใหก้ ับผทู้ สี่ นใจในเร่ืองของสภาพความพร้อมของอาคารใช้งาน ไดเ้ ปน็ อย่างดี เน่ืองจากเปน็ วธิ กี ารทต่ี รวจและประเมินสภาพอาคารโดยใชห้ ลกั การทางวิชาการ 6.2 การนำไปใชป้ ระโยชน์ (1) โครงการชลประทานและโครงการสง่ นำ้ และบำรุงรักษา ได้เรียนรู้แนวทางการตรวจสภาพ ด้วยสายตาและประเมินสภาพอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ที่เป็น มาตรฐานเดียวกนั (2) ช่วยให้โครงการชลประทานและโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาได้รู้สภาพของอาคาร หวั งาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดนำ้ ทอ่ี ย่ใู นความรบั ผดิ ชอบ ว่ามีองคป์ ระกอบใดอยู่ ในสภาพดีและมีองค์ประกอบใดที่ต้องติดตาม แก้ไข หรือปรับปรุง เพื่อนำไปของบประมาณในการซ่อมแซม/ ปรบั ปรงุ ได้ (3) ในภาพรวมของการงบประมาณทั้งประเทศ สามารถที่จะจัดลำดับในการของบประมาณ งานซ่อมแซม/ปรับปรงุ 6.3 ความยุง่ ยากในการดำเนินการ/ปญั หา/อปุ สรรค (1) ในการตรวจสภาพอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ พบปัญหาในเรื่องการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ มีตันไม้และวัชพืชขึ้น ปัญหาตะกอนทับถมด้านเหนือน้ำ ทำให้ยาก ตอ่ การตรวจสภาพ และบางองคป์ ระกอบไม่สามารถตรวจสภาพได้ ฝ่ายบำรุงรักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 121 (2) ขาดข้อมูลพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมและแบบก่อสร้าง เพื่อใช้ประกอบการตรวจและ ประเมนิ สภาพอาคาร (3) การถ่ายทอดความรู้ในการเรื่องการตรวจอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ได้รับความสนใจน้อยมาก ทำใหใ้ นการอธิบายในเรื่ององค์ประกอบ ยังมีความสับสนของผู้ ที่ดแู ลรบั ผิดชอบหัวงาน (4) ขั้นตอนการประเมินสภาพอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และ ฝายทดน้ำ ยังมคี วามซับซ้อน อาจจะเขา้ ใจยากสำหรบั ผู้ทยี่ งั ไม่ไดร้ ับการฝกึ อบรม 6.4 ข้อเสนอแนะ (1) ควรมีการถ่ายทอดความรู้ในการเรื่องการตรวจอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อน ระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดน้ำ (2) ควรมีการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ เพื่อใช้ในการตรวจและประเมินสภาพอาคารหวั งาน : ประตู ระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ด้วยสายตา โดยวิธีดัชนีสภาพ เพื่อให้สามารถตรวจและ ประเมนิ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ รวมถึงระบบการสง่ ข้อมลู เข้าสูร่ ะบบฐานข้อมูลของกรมชลประทาน (3) ควรมีการจัดสรรงบประมาณในส่วนของงบบำรุงรักษาหัวงานที่เป็นอาคารหัวงาน : ประตู ระบายน้ำ/เขือ่ นระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ เพิ่มเติม เพื่อให้หัวหน้าฝ่ายปรับปรงุ บำรุงรักษาของสำนักงาน ชลประทาน (ปบ.ชป.) ใช้ในการตรวจและประเมินสภาพอาคารชลประทาน (4) ควรมีการศึกษาปัจจัยที่ทำให้อาคารชลประทานหัวงานเกิดความเสียหาย เช่น อายุการใช้ งาน ขนาดของอาคาร รอยเลอื่ นแผน่ ดนิ ไหว การดแู ลบำรงุ รกั ษา เป็นต้น ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 122 เอกสารอา้ งองิ กรมชลประทาน. 2540. รายงานทางวิชาการ ฉบับที่ 1 หลักการประเมินความปลอดภัยของ เขื่อน โดยดัชนีสภาพ (Condition Index). งานที่ปรึกษาโครงการฐานข้อมูลเขื่อนเพื่อประเมินความปลอดภัย และบำรุงรกั ษาของสำนักงานชลประทานท่ี 9. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ กรมชลประทาน. 2553. อภิธานศัพท์เทคนิค ด้านการชลประทานและการระบายน้ำ. ฉบับ ปรบั ปรงุ . กลุ่มงานปรับปรุงโครงการชลประทาน. 2553. คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) กระบวนการขอตงั้ งบประมาณและการบริหารงานงบประมาณด้านปรับปรุงบำรุงรักษา. สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอทุ กวิทยาและบริหารนำ้ กรมชลประทาน. กลุ่มงานปรับปรุงโครงการชลประทาน. 2558. การพิจารณาแผนงานปรับปรุงโครงการ ชลประทาน (The Consideration of Plan for Improving the Irrigation Project). ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา กรมชลประทาน. คณะทำงานโครงการเพ่ิมพูนทักษะดา้ นความปลอดภยั เข่ือนเชิงปฏิบัตกิ ารการตรวจสภาพเขื่อน ด้วยสายตาและประเมินผลโดยดัชนีสภาพ. 2556. คู่มือการประเมินสภาพเขื่อนโดยวิธีดัชนีสภาพ. กรม ชลประทาน. ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหวั งาน. สิงหาคม 2560. แนวทางการตรวจสภาพฝาย ฉบบั พกพา. สว่ นปรบั ปรงุ บำรุงรกั ษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา กรมชลประทาน. ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน. ตุลาคม 2560. แนวทางการตรวจสภาพเขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และ ประตูระบายน้ำ ฉบบั พกพา. สว่ นปรบั ปรงุ บำรุงรักษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอุทกวทิ ยา กรมชลประทาน. วราวุธ วฒุ ิวณชิ ย์. 2546. การตัดสินใจโดยกระบวนการวเิ คราะห์ตามลำดบั ชั้น. ชลกรฉบับวันชู ชาต.ิ สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมชลประทานในพระบรมราชูปถัมภ.์ 4 มกราคม 2546. น. 57-76. สาธิต แสงโสภา. 2547. การออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการประเมินระบบแผ่นพ้ืน โดยใช้ AHPW. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมและการบริหารการก่อสร้าง คณะวิศวกรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี. สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์. 2555. วิศวกรรมความปลอดภัยเขื่อนเพื่อการออกแบบและบำรุงรักษา. สำนกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ สันติ ทองพำนัก. 2552. เอกสารประกอบการสอนประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพในการออกแบบ ฝายและประมวลหลักปฏิบัติวิชาชพี ในการออกแบบอาคารสลายพลังงาน. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะ วิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ http://www.plan.doae.go.th/myweb2/Eva.htm ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 123 ท่ีปรึกษา 1. นายไกรฤกษ์ อินท์ชยะนันท์ ทีป่ รึกษาสำนักออกแบบและสถาปัตยกรรม 2. นายพิเชษฐ์ รัตนประสาทกลุ ผ้เู ชยี่ วชาญด้านวศิ วกรรมโยธา (ด้านออกแบบและคำนวณ) 3. นางสาวพรทพิ ย์ ศรีสมญา หัวหน้าฝา่ ยออกแบบระบบชลประทานที่ 2 4. นายธำรงศักด์ิ นคราวงศ์ ผู้อำนวยการโครงการส่งนำ้ และบำรุงรกั ษาบางปะกง 5. นางสาวอรญา เขียวคณุ า ผู้อำนวยการสว่ นยทุ ธศาสตร์ 1. นายสมเดช ศรีวิเชยี ร คณะผจู้ ดั ทำ 2. นายธีรพงษ์ พนิ ทอง 3. นายสรุ ิยะ การสมชน ผ้อู ำนวยการสว่ นปรับปรงุ บำรงุ รักษา 4. นางสาวสุพัฒตรา เลาหนะ วศิ วกรชลประทานชำนาญการ 5. นางสาวนนั ทณฐั เยอื่ บางไทร วศิ วกรชลประทานปฏบิ ตั ิการ วศิ วกรชลประทานปฏบิ ตั กิ าร วิศวกรชลประทานปฏบิ ัติการ ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 124 ภาคผนวก ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 125 ภาพการตรวจสภาพฝายทดน้ำ ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
. ีิ ภ ิภ ี .ศ. ( )ี ษ ภ ( .) ( .) ี็ 40.00 3.00 1 ฝายสมนุ 2 คป.น่าน น่าน ภาคเหนือ 50 Ogee Crest คสล. 70.00 4.00 2 ฝายสา 2 คป.น่าน น่าน ภาคเหนือ 2511 22.00 2.50 3 ฝายนาย่าง 2 คป.น่าน น่าน ภาคเหนือ 2509 52 Ogee Crest คสล. 61.50 3.70 4 ฝายนาปัว 2 คป.น่าน น่าน ภาคเหนือ 2511 50.00 4.00 5 ฝายท่าช้าง 4 คป.แพร่ แพร่ ภาคเหนือ 2518 50 Broad Crest คอนกรีตลว้ น 71.00 4.70 6 ฝายห้วยบาตร 4 คป.แพร่ แพร่ ภาคเหนือ 2519 80.00 2.00 7 ฝายทุ่งไผ่ 4 คป.แพร่ แพร่ ภาคเหนือ 2525 43 Ogee Crest คสล. 350.00 7.50 8 ฝายแมย่ ม 4 คบ.แมย่ ม แพร่ ภาคเหนือ 2519 60.00 3.00 9 ฝายคลองตรอน 3 คป.อุตรดติ ถ์ อุตรดติ ถ์ ภาคเหนือ 2503 42 Ogee Crest หินกอ่ 80.00 2.50 10 ฝายนาปาด 3 คป.อตุ รดติ ถ์ อตุ รดติ ถ์ ภาคเหนือ 2529 25.00 1.20 11 ฝายขุนยวม 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน ภาคเหนือ 2519 36 Ogee Crest คอนกรีตลว้ นปนหินใหญ่ 110.00 2.50 12 ฝายนายวม 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน ภาคเหนือ 2516 85.00 4.20 13 ฝายแมส่ ะเรียง 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน ภาคเหนือ 2520 42 Ogee Crest คอนกรีตลว้ น 36.00 2.40 14 ฝายปางมะผ้า 1 คป.แมฮ่ ่องสอน แมฮ่ ่องสอน ภาคเหนือ 2537 75.00 4.50 15 ฝายบ้านห้วยขะยุง 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2524 58 Ogee Crest คสล. 50.00 6.00 16 ฝายบ้านนาเย็น 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2547 80.00 2.50 17 ฝายบ้านเศวต 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2548 32 Ogee Crest คสล. 80.00 2.50 18 ฝายบ้านลมุ พกุ 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2540 70.00 1.00 19 ฝายห้วยทับทัน 8 คป.ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2540 42 Ogee Crest คสล. 100.00 2.00 20 ฝายยางลาเซบาย การศกึ ษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 1267 คป.อุบลราชธานีอบุ ลราชธานีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ253650.002.70 21 ฝายชัยสมบัติ 2 คป.เชียงราย เชียงราย ภาคเหนือ 2556 45 Broad Crest หินกอ่ 44.00 3.10 22 ฝายโป่งนกฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา2 คป.เชียงรายเชียงรายภาคเหนือ2525 30.50 3.00 23 ฝายแมล่ าว 2 คบ.แมล่ าว เชียงราย ภาคเหนือ 2524 41 Broad Crest คสล. 60.00 2.10 24 ฝายถาวอก 2 คป.เชียงราย เชียงราย ภาคเหนือ 2506 60.00 3.80 25 ฝายสามพร้าว 5 คป.อุดรธานี อุดรธานี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2537 24 Ogee Crest คสล. 43.90 4.50 26 ฝายคลองท่าทน 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ภาคใต้ 2547 30.00 2.80 27 ฝายคลองคถู นน 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ภาคใต้ 2548 37 Ogee Crest หินกอ่ 26.00 2.70 28 ฝายคลองอา้ ยเขียว 15 คป.นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ภาคใต้ 2533 40.00 1.70 29 ฝายแมจ่ ะเรา 4 คป.ตาก ตาก ภาคตะวันตก 2521 14 Ogee Crest คสล. 45.00 2.50 30 ฝายแมร่ ะมาด 4 คป.ตาก ตาก ภาคตะวนั ตก 2519 48.00 2.00 31 ฝายบ้านคา่ ย 9 คป.ระยอง ระยอง ภาคตะวันออก 2519 13 Ogee Crest คสล. 30.00 3.50 32 ฝายคลองนางน้อย 16 คป.ตรัง ตรัง ภาคใต้ 2495 37.50 4.00 33 ฝายห้วยคะคาง 6 คป.มหาสารคาม มหาสารคาม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2521 21 Broad Crest คสล. 2521 21 Broad Crest คสล. 25 Ogee Crest คสล. 5 Broad Crest ฝายยาง 36 Ogee Crest คอนกรีตลว้ น 37 Broad Crest คสล. 55 Ogee Crest ฝายยาง 24 Ogee Crest หินทิง 14 Ogee Crest คสล. 13 Ogee Crest คสล. 28 Ogee Crest คสล. 40 Ogee Crest คสล. 42 Ogee Crest หินกอ่ 42 Ogee Crest หินก่อ 66 Ogee Crest หินก่อ 40 Ogee Crest คอนกรีต 40 Ogee Crest คสล.
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 127 1. ฝายสมุน จ.นา่ น โครงการทีร่ ับผิดชอบ : คป.น่าน (ตรวจสภาพวนั ที่ 28 พฤศจกิ ายน 2560) 2. ฝายสา จ.น่าน โครงการทรี่ บั ผิดชอบ : คป.น่าน (ตรวจสภาพวันที่ 28 พฤศจกิ ายน 2560) ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 128 3. ฝายนำ้ ย่าง จ.น่าน โครงการท่ีรับผดิ ชอบ : คป.น่าน (ตรวจสภาพวันที่ 29 พฤศจิกายน 2560) 4. ฝายน้ำปัว จ.น่าน โครงการทร่ี บั ผิดชอบ : คป.นา่ น (ตรวจสภาพวนั ท่ี 29 พฤศจกิ ายน 2560) ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 129 5. ฝายท่าชา้ ง จ.แพร่ โครงการทร่ี บั ผดิ ชอบ : คป.แพร่ (ตรวจสภาพวนั ที่ 19 ธนั วาคม 2560) 6. ฝายหว้ ยบาตร จ.แพร่ โครงการท่รี บั ผิดชอบ : คป.แพร่ (ตรวจสภาพวันที่ 20 ธนั วาคม 2560) ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 130 7. ฝายท่งุ ไผ่ จ.แพร่ โครงการท่ีรับผดิ ชอบ : คป.แพร่ (ตรวจสภาพวันที่ 20 ธันวาคม 2560) 8. ฝายแมย่ ม จ.แพร่ โครงการท่ีรับผดิ ชอบ : คบ.แม่ยม (ตรวจสภาพวันที่ 21 ธนั วาคม 2560) ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 131 9. ฝายคลองตรอน จ.อตุ รดติ ถ์ โครงการทีร่ ับผดิ ชอบ : คป.อุตรดติ ถ์ (ตรวจสภาพวนั ท่ี 16 มกราคม 2561) 10. ฝายนำ้ ปาด จ.อตุ รดติ ถ์ โครงการทร่ี ับผดิ ชอบ : คป.อุตรดติ ถ์ (ตรวจสภาพวนั ท่ี 16 มกราคม 2561) ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 132 11. ฝายขนุ ยวม จ.แมฮ่ ่องสอน โครงการทร่ี ับผดิ ชอบ : คป.แม่ฮ่องสอน (ตรวจสภาพวนั ที่ 28 กมุ ภาพันธ์ 2561) 12. ฝายนำ้ ยวม จ.แมฮ่ ่องสอน โครงการท่รี บั ผิดชอบ : คป.แม่ฮอ่ งสอน (ตรวจสภาพวนั ท่ี 28 กมุ ภาพันธ์ 2561) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 133 13. ฝายแมส่ ะเรียง จ.แม่ฮอ่ งสอน โครงการท่ีรับผดิ ชอบ : คป.แม่ฮ่องสอน (ตรวจสภาพวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2561) 14. ฝายปางมะผา้ จ.แม่ฮอ่ งสอน โครงการที่รับผดิ ชอบ : คป.แมฮ่ ่องสอน (ตรวจสภาพวนั ที่ 1 มนี าคม 2561) ฝ่ายบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 134 15. ฝายบา้ นห้วยขะยงุ จ.ศรีสะเกษ โครงการทรี่ ับผิดชอบ : คป.ศรีสะเกษ (ตรวจสภาพวนั ท่ี 13 มีนาคม 2561) 16. ฝายบ้านน้ำเยน็ จ.ศรสี ะเกษ โครงการทรี่ บั ผดิ ชอบ : คป.ศรสี ะเกษ (ตรวจสภาพวนั ที่ 13 มนี าคม 2561) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 135 17. ฝายบา้ นเศวต จ.ศรสี ะเกษ โครงการทร่ี บั ผดิ ชอบ : คป.ศรสี ะเกษ (ตรวจสภาพวันท่ี 14 มนี าคม 2561) 18. ฝายบ้านลุมพกุ จ.ศรีสะเกษ โครงการทีร่ บั ผิดชอบ : คป.ศรสี ะเกษ (ตรวจสภาพวนั ท่ี 14 มีนาคม 2561) ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 136 19. ฝายหว้ ยทบั ทัน จ.ศรสี ะเกษ โครงการท่รี บั ผดิ ชอบ : คป.ศรีสะเกษ (ตรวจสภาพวันที่ 14 มนี าคม 2561) 20. ฝายยางลำเซบาย จ.อบุ ลราชธานี โครงการที่รบั ผิดชอบ : คป.อบุ ลราชธานี (ตรวจสภาพวนั ท่ี 15 มนี าคม 2561) ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 137 21. ฝายชัยสมบัติ จ.เชียงราย โครงการท่รี บั ผดิ ชอบ : คป.เชยี งราย (ตรวจสภาพวันที่ 27 มนี าคม 2561) 22. ฝายโป่งนก จ.เชยี งราย โครงการท่ีรับผิดชอบ : คป.เชยี งราย (ตรวจสภาพวันที่ 28 มนี าคม 2561) ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวิทยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176