การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 38 ภาพที่ 52 ตัวอย่างประตูเรือสัญจร (Navigation Lock) (3.11) บนั ไดปลา (Fish Ladder) บันไดปลาเป็นอาคารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นทางให้ปลาผ่านในทางน้ำที่มีอาคารปิดกั้น ดังแสดงใน ภาพที่ 53 ภาพที่ 53 ตัวอยา่ งบนั ไดปลา (Fish Ladder) ของประตูระบายน้ำ ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 39 (4) ส่วนทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) เป็นอาคารชลศาสตร์ที่ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่สลายพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) จากการไหลของน้ำด้วยความเร็วสูง จะทำการออกแบบให้อาคารสลายพลังงาน อยู่ด้านท้ายน้ำของ อาคารดังกล่าวเสมอ อาคารสลายพลังงานที่ดีจะต้องสามารถทำให้การไหลของน้ำที่เร็วนั้นช้าลง หรือทำให้ พลังงานเนื่องจากความเร็วลดลง โดยไม่ทำให้อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารหรือคลองส่งน้ำเสียหาย ประกอบไปดว้ ยสว่ นของพืน้ ลาดด้านขา้ ง และองคป์ ระกอบอืน่ ๆ ดงั แสดงในภาพท่ี 54 และ 55 ไดแ้ ก่ (4.1) พนื้ และกำแพงข้าง (4.2) แผงปะทะด้านท้ายน้ำ (End Sill) หมายถึง แท่งหรือแผงคอนกรีตที่ติดกับพื้นตรงปลาย สดุ ดา้ นทา้ ยนำ้ ของอาคารชลประทาน ทำหน้าทปี่ ะทะน้ำเพ่ือสลายพลงั งาน เรยี กอีกอย่างหน่งึ วา่ End Baffle ภาพท่ี 54 ส่วนทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) ของประตูระบายน้ำ ภาพท่ี 55 ตวั อย่างสว่ นทา้ ยน้ำ ของประตรู ะบายนำ้ (5) สว่ น Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) มีหน้าที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดุที่ใช้ในการทำส่วนของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่อง ลวดตาขา่ ยเหลก็ ถกั เคลือบสังกะสี (Mattresses) หินทง้ิ หินเรยี ง หินเรยี งยาแนว เปน็ ตน้ วัสดุทใี่ ช้ในการทำส่วน ของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น ประกอบไปดว้ ยส่วนของพื้นและลาดดา้ นขา้ ง ดังแสดงในภาพท่ี 56 และ 57 ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 40 ภาพที่ 56 สว่ น Protection ทา้ ยน้ำ (Downstream Protection Section) ของประตรู ะบายน้ำ ภาพท่ี 57 ตวั อย่างส่วน Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream7 Protection Section) ของประตรู ะบายนำ้ รายละเอียดขององคป์ ระกอบประตูระบายนำ้ /เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ดงั แสดงในภาพที่ 58 ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 41 1. Protection 1.1 / (Upstream Protection Section) 1.2 2. 2.1 (Upstream Concrete Section) 2.2 3.1 3.2 3.3 () 3.4 / 3. 3.5 (Control Section) (Chute Blocks) 3.6 (Floor Block) 3.7 3.8 3.10.1 3.10.2 3.9 (Bulkhead Gate, Stoplogs) 3.10 3.10.3 () 3.10.4 / 3.11 4. 4.1 3.11.1 (Downstream Concrete Section) 4.2 4.3 3.11.2 (End Sill) 3.11.3 (Floor Blocks) 5. Protection 5.1 (Downstream Protection Section) 5.2 ภาพที่ 58 แสดงองคป์ ระกอบของเขื่อนระบายนำ้ /ทดนำ้ และประตูระบายน้ำ ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 42 4.4 การแบ่งสภาพทใ่ี ชใ้ นการตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน นอกจากองค์ประกอบของประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดนำ้ ที่เราจะตอ้ ง ทราบเพ่ือทำการตรวจสภาพได้อย่างถกู ต้องแล้ว เราตอ้ งร้วู า่ องค์ประกอบท่เี ราจะทำการตรวจนั้น ต้องตรวจสอบ อะไร โดยปกตแิ ลว้ การตรวจสภาพด้วยสายตาเราจะตรวจสอบสภาพ (Condition) ในการกำหนดสภาพประตูน้ำ และฝายทดน้ำที่จะต้องตรวจนัน้ ขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังจะตรวจองค์ประกอบของประตูระบายน้ำ และฝายทดน้ำ อะไร สภาพที่ใช้ในการตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ และประตูระบายน้ำนั้น ประกอบด้วย 10 สภาพ เชน่ การตรวจสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำและฝายทดน้ำ ท่ีใช้สำหรับตรวจวัสดุส่วนที่เป็นดิน คอนกรีต และเหล็ก องค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบจะมีสภาพที่ต้องทำการตรวจแตกต่างกันออกไป เช่น ส่วน ควบคุมน้ำ (พื้นและตอม่อของประตูระบายน้ำ) มีสภาพที่ต้องทำการตรวจ 7 สภาพ จากทั้งหมด 10 สภาพ เป็น ต้น (คณะทำงานโครงการเพิ่มพูนทักษะด้านความปลอดภัยเขื่อนเชิงปฏิบัติการการตรวจสภาพเขื่อนดว้ ยสายตา และประเมินผลโดยดัชนสี ภาพ, 2556) ในส่วนของเกณฑ์การให้คะแนนเป็นส่วนที่สำคัญในการกำหนดระดับคะแนนของสภาพว่าตรง ตามสภาพทเ่ี กดิ ขึน้ จรงิ สามารถทำงานไดต้ ามปกตหิ รือไม่ ในกรณที ี่สภาพความเสย่ี งอยู่ในระดับที่ต้องดำเนินการ แก้ไข ให้ดำเนินการซ่อมแซม หรือปรับปรุงเพื่อให้สภาพดีขึ้น พร้อมใช้งานและสามารถทำงานได้ตาม วตั ถปุ ระสงค์ ระดบั คะแนนได้กำหนดให้คะแนนตั้งแต่ 1 ถงึ 4 โดยคะแนนระดับ 1 ถอื วา่ อาคารชลประทานอยู่ใน สภาพแยท่ สี่ ุด จนถงึ คะแนน ระดับ 4 ถือว่าสภาพปกติ เกณฑก์ ารให้คะแนนสภาพแบงอออกเปน็ 4 ระดับ ดังตอ่ ไปน้ี ระดับที่ 1 (CI>=1.00-1.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหายมาก มีผลต่อการพิบัติอย่าง เห็นได้ชดั จำเปน็ ท่ตี ้องการซอ่ มแซม/ปรับปรงุ โดยทันที ระดับที่ 2 (CI>=2-2.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย ควรวิเคราะห์และติดตาม พฤตกิ รรมเป็นพิเศษเพื่อประเมนิ ความปลอดภยั อาจสามารถรอการซอ่ มแซมได้ (มแี นวโนม้ ไปในทางไม่ปกติ) ระดับที่ 3 (CI>=3-3.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทาง ปกติ) ระดับที่ 4 (CI=4.00) สภาพองค์ประกอบ มีความสมบูรณ์ หรือทำหน้าที่เป็นปกติ หรือไม่ ปรากฏสภาพความเสยี่ งนน้ั รายละเอียดสภาพทตี่ อ้ งทำการตรวจ มีดังนี้ การกดั เซาะ การทรดุ ตวั การแตกรา้ ว สิ่งกีดขวางทางน้ำ รโู พรง การรวั่ การเคลื่อนตวั การระบายน้ำ ต้นไม/้ วชั พชื สภาพการใช้งาน ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 43 คำนยิ ามสภาพ (Condition Definition) (1) การกัดเซาะ (Erosion) ความหมาย : กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการที่ทำให้ผิวหน้าดิน หิน หลุด หรือ กร่อนไปโดยทางธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ น้ำ ลม สภาพภูมิอากาศ การครูดถู โดยรวมถึง การกัดกร่อนในคอนกรีต เสริมเหล็ก และการเกิดสนิมในเหลก็ สาเหตุ : เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น วัสดุหรืออาคารผ่านการใช้งานเป็นเวลานาน วัสดุต่ำ กว่ามาตรฐาน ฯลฯ โดยเฉพาะเมื่อวัสดมุ ีการสัมผัสกบั นำ้ บอ่ ยๆ หรือมีกระแสน้ำมากระทำ เช่น ส่วนทางน้ำเข้า ด้านเหนอื น้ำ สว่ นทางนำ้ ออก อาคารประกอบตา่ งๆ รวมท้งั ดนิ ถมข้างกำแพง ผล : ทำให้เกิดน้ำไหลกัดเซาะและพัดพาดินถมของอาคารเหนือ/ท้ายน้ำ ด้านข้างกำแพง ออกไป จนทำใหอ้ งคป์ ระกอบอาคารเสียหาย รวมถึงกัดเซาะผิวคอนกรตี และเหลก็ ผุกรอ่ น วสั ดุที่พจิ ารณา : ดนิ ถม คอนกรีตและเหล็ก รายละเอียดนิยามของการให้คะแนนสภาพ : การกัดเซาะ ดงั แสดงในตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การกัดเซาะ คะแนน สภาพ ตัวอยา่ ง 1 กัดเซาะมากกว่า 50% หรือกัดเซาะจนเป็นพื้นที่กว้าง เป็นรู/กัด กรอ่ นเหน็ เน้อื เหลก็ /เกิดสนิมกดั กรอ่ นถึงเน้ือใน 2 กัดเซาะระหว่าง 25-50% ของพื้นที่/กัดกร่อนเห็นเป็นรูหรือเป็น รอยยบุ /เกดิ สนมิ กัดกรอ่ นจนเกอื บเสียรูป 3 กัดเซาะเล็กน้อย/กดั กรอ่ นบรเิ วณผวิ เลก็ นอ้ ย/เกดิ สนิมทผ่ี ิวเหล็ก 4 สภาพปกติ ไมเ่ กิดการกดั เซาะ/กัดกรอ่ น/ไม่เกิดสนิม หมายเหตุ ในช่องสภาพ วัสดุแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ส่วนแรกสำหรับดิน ส่วนที่สองสำหรับ อาคารที่เป็นคอนกรีต และส่วนที่สามสำหรับอาคารที่เป็นเหล็ก เป็นอุปกรณ์เครื่องกล เครื่องกว้านบานระบาย ตามลำดับ ตวั อยา่ งภาพการกัดเซาะ ดงั แสดงในภาพที่ 59 และ 60 ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 44 ภาพท่ี 59 การกดั เซาะคอนกรีตจนเหน็ เน้ือเหลก็ ภาพที่ 60 การกัดเซาะบริเวณสว่ นท้ายนำ้ (2) การทรดุ ตัว (Settlement) ความหมาย : การเคล่ือนตัวทแี่ ตกต่างกันในแนวด่งิ มผี ลทำใหพ้ ื้นผวิ เกิดระดบั ต่ำลง สาเหตุ : เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น การที่น้ำระหว่างอนุภาคเม็ดดินค่อยๆ ไหลซึม ออกไป (Consolidated Drain) หรือเกิดการกดั เซาะภายในและพัดพาเม็ดดินออกไป ผล : ทำให้เกิดช่องว่างระหว่างเม็ดดิน หรือฐานรากเกิดการทรุดตัว ฯลฯ ทำให้ดินหรือ อาคารท่ีอย่เู หนือขนึ้ ไปเกิดการทรดุ ตวั วสั ดุที่พิจารณา : ดินถม และคอนกรตี รายละเอยี ดนิยามของการให้คะแนนสภาพ : การทรดุ ตัว ดงั แสดงในตารางที่ 6 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 45 ตารางที่ 6 นยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การทรดุ ตวั คะแนน สภาพ ตวั อย่าง 1 ทรุดตวั ประมาณเอว/ >เอว, ทรุดตวั มากกว่า 5 ซม. 2 ทรุดตัวลึกประมาณเข่า/ >แต่ไม่ถึงเอว, ทรุดตัวอยู่ระหว่าง 2-5 ซม. 3 ทรดุ ตวั ลึกประมาณขอ้ เท้า/ >แต่ไมถ่ งึ เขา่ , ทรดุ ตวั น้อยกวา่ 2 ซม. 4 สภาพปกติ ไม่เกดิ การทรุดตัว หมายเหตุ ในช่องสภาพ วัสดุแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ส่วนแรกสำหรับดิน และส่วนที่สอง สำหรบั อาคารที่เปน็ คอนกรีต ตามลำดับ (3) การแตกร้าว (Cracking) ความหมาย : การเกิดรอย หรือร่องที่มีความลึก ความกว้าง และความยาวที่ผิวขององค์ อาคาร สาเหตุ : เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น เนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง การสูญเสีย ความช้ืน การทรุดตวั แผ่นดนิ ไหว ฯลฯ รอยแตกรา้ วเกดิ ข้ึนไดท้ ั้งตามขวาง และตามยาว ผล : ทำให้เกดิ การกัดเซาะภายใน และสูญเสยี กำลังของอาคาร วัสดทุ ีพ่ ิจารณา : คอนกรีต รายละเอียดนยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การแตกรา้ ว ดงั แสดงในตารางท่ี 7 ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 46 ตารางที่ 7 นยิ ามของการให้คะแนนสภาพ : การแตกร้าว คะแนน สภาพ ตวั อยา่ ง 1 เกิดรอยรา้ วมคี วามกว้างและความลึกเปน็ ทางยาว 2 เกดิ รอยร้าวมีความกว้างและความลึกบางจุด 3 เกดิ รอยรา้ ว 4 สภาพปกติ ไม่เกิดการแตกร้าว (4) สงิ่ กดี ขวางทางนำ้ (Floating Debris) ความหมาย : การทม่ี ขี ยะ วัชพชื กิง่ ไม้ ตน้ ไม้ กอ้ นหิน ฯลฯ ปิดก้ันทางเดินน้ำ สาเหตุ : เกดิ จากมนุษย์ ธรรมชาติ และขาดการบำรุงรกั ษา ผล : ทำให้การระบายน้ำไม่สะดวกหรือกรณีที่มีบานประตูอยู่ด้วย อาจทำให้บานประตู ติดขัด ไมส่ ามารถเปดิ -ปิดได้ อาคารท่ีพิจารณา : แม่น้ำ คลอง บานประตู รายละเอยี ดนิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : สิ่งกดี ขวางทางนำ้ ดังแสดงในตารางที่ 8 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 47 ตารางที่ 8 นยิ ามของการให้คะแนนสภาพ : ส่งิ กดี ขวางทางนำ้ คะแนน สภาพ ตัวอยา่ ง - 1 นำ้ ไมส่ ามารถไหลผ่านได้ 2 นำ้ สามารถไหลได้เลก็ น้อย 3 กดี ขวางเล็กนอ้ ย นำ้ ยงั สามารถไหลได้ 4 สภาพปกติ ไม่มสี ่งิ กดี ขวางทางน้ำ (5) รโู พรง (Hole) ความหมาย : การเกิดเป็นหลุมลึกลงไปจากผิวของวัสดุมาก โดยที่ก้นหลุมมีขนาดความ กว้างมากกวา่ ปากหลุม สาเหตุ : เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น สัตว์ที่ทำรัง ดินที่มีการกระจายตัว (Dispersive Soil) หรือการยอ่ ยสลายของรากตน้ ไม้ ฯลฯ บริเวณเขอ่ื น ดินถมข้างกำแพง ผล : ทำให้เกดิ รโู พรง หากรูโพรงน้นั ลึกไปทางดา้ นเหนอื นำ้ อาจทำใหเ้ กดิ Piping ขึ้นได้ วัสดทุ ี่พจิ ารณา : ดิน คอนกรีต รายละเอยี ดนิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : รโู พรง ดังแสดงในตารางที่ 9 ตารางที่ 9 นิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : รูโพรง คะแนน สภาพ ตัวอย่าง 1 มีรูโพรงลึกมากกวา่ เขา่ 2 มีรูโพรงลกึ นอ้ ยกว่าเข่า 3 มีรโู พรงลึกนอ้ ยกว่าขอ้ เทา้ 4 สภาพปกติ ไมม่ รี โู พรง ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 48 (6) การรั่ว (Leakage) ความหมาย : การไหลของนำ้ ผ่านชอ่ ง รู หรอื รอยแตกทไ่ี ม่ไดก้ ำหนดไว้เพื่อการระบายนำ้ สาเหตุ : อาจเกดิ จากการแตก ฉกี ขาด เสือ่ มสภาพ ขององคอ์ าคาร หรอื การหลดุ ของวัสดุ อดุ รอยต่อ หรือเกดิ จากการพัดพาเมด็ ดินออกจากตัวเข่ือนหรือฐานราก ผล : ทำใหอ้ งคป์ ระกอบอาคารเสียหาย วสั ดทุ ่พี จิ ารณา : คอนกรตี เหลก็ รายละเอียดนยิ ามของการให้คะแนนสภาพ : การรัว่ ดังแสดงในตารางท่ี 10 ตารางที่ 10 นยิ ามของการให้คะแนนสภาพ : การรว่ั คะแนน สภาพ ตัวอยา่ ง 1 เกิดการรวั่ และมีน้ำไหลพ่งุ ออกมา 2 เกดิ การร่วั และมนี ้ำไหล 3 เกิดการรัว่ และมีนำ้ ไหลซมึ 4 สภาพปกติ ไมม่ ีการรั่ว (7) การเคลอ่ื นตวั (Movement) ความหมาย : การทอ่ี งคป์ ระกอบอาคารคอนกรีตขยับหรือเลอ่ื นออกจากตำแหน่งเดมิ สาเหตุ : เกิดจากแรงดันดิน น้ำ แรงกระทำจากมนุษย์ การถล่มของไหล่เขา และ แผ่นดินไหว เกินกวา่ ท่ีกำหนดไว้ การเคลอ่ื นตัวสามารถตรวจสอบได้โดยเปรยี บเทียบกบั บรเิ วณข้างเคยี ง ผล : ทำใหเ้ กิดการเคลื่อนตวั ของอาคารไปจากตำแหนง่ เดมิ อาคารทีพ่ จิ ารณา : กำแพง/พื้นคอนกรตี รายละเอยี ดนิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การเคล่ือนตวั ดังแสดงในตารางท่ี 11 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 49 ตารางที่ 11 นิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การเคลื่อนตัว คะแนน สภาพ ตวั อย่าง 1 มีการเคลอื่ นตวั จนอาคารเสยี หาย 2 มีการเคลือ่ นตวั เห็นอย่างชัดเจน 3 มกี ารเคลื่อนตวั เล็กน้อย 4 สภาพปกติ ไม่มีการเคลอ่ื นตัว (8) การระบายน้ำ (Drainage) ความหมาย : สภาพองค์อาคารของระบบระบายน้ำ เช่น รางระบายน้ำ ท่อลดแรงดันน้ำ (Weep Hole) ฯลฯ ที่มีความสามารถทำให้น้ำจากผิวดนิ หรือใต้ดินไหลออกไปจากพืน้ ที่โดยสะดวก เป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงค์ สาเหตุ : การระบายน้ำที่บกพร่องเกิดจากการอุดตัน การขวางทางน้ำ การรั่ว การแตก การทรุดตวั ระบบการระบายน้ำ ถกู ออกแบบไว้เพื่อให้สามารถระบายน้ำส่วนเกินออกจากตัวอาคาร หรือกำแพง และพืน้ ของอาคารตา่ งๆ ซึง่ เป็นการลดแรงดัน ระบบการระบายน้ำจะตอ้ งสามารถระบายน้ำได้ดีไม่มกี ารอุดตนั ผล : เกดิ การอดุ ตนั ของทอ่ ระบายน้ำ ข้อสังเกต : การที่น้ำไม่ไหลออกจากรูระบายน้ำ ไม่ได้หมายความมีความสามารถในการ ระบายนำ้ ไดด้ ี อาจจะมสี ง่ิ อุดตันภายในท่อ ทำให้นำ้ ระบายออกไม่ได้ ซึ่งจะต้องพิจารณาเป็นกรณีไป อุปกรณท์ พ่ี ิจารณา : ทอ่ ลดแรงดันน้ำ (Weep Hole) รายละเอยี ดนิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การระบายน้ำ ดังแสดงในตารางท่ี 12 ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 50 ตารางท่ี 12 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การระบายน้ำ คะแนน สภาพ ตัวอย่าง 1 ทอ่ ระบายน้ำ/รางระบายอุดตันไม่สามารถระบายน้ำได้โดยสิ้นเชงิ 2 ระบายได้ไม่สะดวก มีการอดุ ตนั 3 นำ้ ไหลมตี ะกอน แต่ไม่เกดิ การอดุ ตนั - 4 สภาพปกติ สามารถระบายน้ำไดส้ ะดวก (9) ต้นไม้/วัชพืช (Tree/Weed) ความหมาย : ต้นไม้ - พืชยืนต้นทีม่ ีอายุยืนยาว ที่มีลำต้นแข็งแรง แตกกิ่งก้านสาขา มีราก หยั่งลึกและแผ่กว้าง เช่น กระถิน ต้นสัก งิ้ว ต้นโพธิ์ มะขาม ก้ามปู พุทรา รวมถึง มะละกอ ไมยราบยักษ์ หญ้า แฝก เพราะมรี ากหยั่งลึก ซ่ึงอาจจะเป็นอนั ตรายต่อตัวอาคาร วชั พืช - ไมพ้ ุ่ม ไม้ล้มลกุ ทม่ี ลี ำต้นอ่อน เช่น ไม้พุ่ม เชน่ ดอกรกั สาบเสือ หญา้ คา ต้นกก ธูปฤาษี สาเหตุ : เกิดจากธรรมชาติ หรือเกดิ จากมนษุ ย์ ผล : ทำให้กีดขวาง ไม่สามารถเข้าไปตรวจสภาพของอาคารได้อย่างละเอียด ต้นไม้ที่ เกิดขึ้น หากรากของต้นไม้แห้งตายจะเป็นสาเหตุทำให้เกิดทางเดินของน้ำผ่านตัวอาคาร ทำให้เกิดการกัดเซาะ ภายในได้ รายละเอียดนิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : ต้นไม/้ วชั พชื ดังแสดงในตารางท่ี 13 ตารางที่ 13 นยิ ามของการให้คะแนนสภาพ : ต้นไม้/วัชพชื คะแนน สภาพ ตวั อย่าง 1 ตน้ ไม/้ วชั พืชปกคลุมเต็มพืน้ ท/ี่ มากกวา่ 75% ของพ้ืนที่ 2 ต้นไม/้ วชั พชื ขึน้ ปกคลมุ 25-75% ของพ้ืนท่ี 3 ต้นไม/้ วัชพชื ขึ้นเลก็ นอ้ ย/นอ้ ยกวา่ 25% ของพืน้ ที่ 4 สภาพปกติ ไม่มีต้นไม้/วัชพชื ขน้ึ ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 51 (10) สภาพการใช้งาน (Mechanical/Electrical Condition) ความหมาย : ความพร้อมการใช้งานของระบบไฟฟ้า เครื่องกล และบานระบายสามารถ ทำงานได้ตามปกติ สาเหตุ : สภาพการใช้งานที่ไม่พร้อมเกิดจากความบกพร่องของอุปกรณ์ต่างๆ ขาดการ บำรงุ รกั ษา และเกดิ จากการไมใ่ ช้งานเป็นเวลานาน ผล : ทำให้ระบบไฟฟ้า เคร่อื งกล และบานระบายต่างๆ ไม่สามารถทำงานได้ อุปกรณ์ทพี่ ิจารณา : อุปกรณ์เคร่อื งกล (เหลก็ /ลวดสลงิ ) รายละเอยี ดนยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : สภาพการใชง้ าน ดงั แสดงในตารางที่ 14 ตารางที่ 14 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : สภาพการใช้งาน คะแนน สภาพ ตวั อยา่ ง 1 ใช้งานไมไ่ ดเ้ ลย 2 สภาพเรมิ่ ใชง้ านไมไ่ ด้ 3 สภาพใช้งานไดบ้ างส่วน 4 สภาพปกติ 4.5 แบบบันทกึ การตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน ในการตรวจสภาพอาคารชลประทาน จำเป็นต้องมีแบบบันทึกการตรวจสภาพอาคารชลประทาน เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และง่ายต่อการตรวจสภาพ ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีแบบบันทึกที่เป็นมาตรฐาน ฝ่าย บำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา ได้จัดทำข้ึนโดยพิจารณาจาก ประเภท ลกั ษณะ วัสดขุ องอาคารชลประทานที่กรมชลประทานได้ก่อสร้างขึ้น สว่ นประกอบของแบบบนั ทึกการตรวจสภาพอาคารชลประทาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคอื ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 52 4.5.1 ฝาย ส่วนประกอบของแบบบันทึกการตรวจสภาพฝาย ประกอบไปดว้ ย 5 สว่ นหลกั ๆ คอื (1) ข้อมลู ทวั่ ไปของฝาย ประกอบดว้ ย ขอ้ มูลทวั่ ไปของท่ตี ้ังฝายทดน้ำ และข้อมูลด้านวิศวกรรม ถือว่าเป็น ข้อมูลที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องกรอกในรายละเอียด เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการพิจารณา เช่น ปีที่ก่อสร้าง แล้วเสร็จ จะแสดงอายุของอาคาร มีผลต่อสภาพของคอนกรีต รวมไปถึงใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำฐานข้อมูล อาคารชลประทานของกรมชลประทาน ดงั แสดงในภาพท่ี 61 (2) ตารางตรวจสภาพฝายทดน้ำ ประกอบด้วย องค์ประกอบของฝายทดน้ำ สภาพที่จะต้องทำการตรวจสอบ และ หมายเหตุ (2.1) องคป์ ระกอบฝายทดน้ำ การแบ่งองค์ประกอบของฝายทดน้ำ มีวัตถุประสงค์เพื่อใหก้ ารตรวจสภาพ ฝายแตล่ ะแห่งอยใู่ นมาตรฐานและรูปแบบเดยี วกัน โดยแบง่ ออกเป็น 5 ส่วนใหญ่ๆ ดงั แสดงในภาพท่ี 61-64 (2.2) สภาพ สภาพที่จะทำการตรวจ จะขนึ้ อยูก่ บั องค์ประกอบที่พจิ ารณาทำการตรวจ ซ่ึงองคป์ ระกอบฝาย ไม่จำเป็นต้องตรวจในทุกสภาพ จากตารางการตรวจสภาพฝาย จะเห็นแถบที่ระบายสเี ปน็ สี ดำ หมายถึง องค์ประกอบนนั้ ไม่ต้องพจิ ารณาตรวจสภาพนั้นๆ (2.3) หมายเหตุ ในช่องตารางหมายเหตุ ประกอบด้วยกล่องข้อความให้พจิ ารณา 2 ส่วน เพ่มิ เติมคือ ไม่มีองคป์ ระกอบสว่ นนี้ ฝายบางแห่งอาจจะไม่มีองค์ประกอบครบทุกองค์ประกอบตามแบบ บนั ทกึ การตรวจสภาพฝาย เช่น ฝายขนาดเลก็ เป็นตน้ และ ไมส่ ามารถมองเหน็ องคป์ ระกอบน้นั ได้ เชน่ ถูก ปกคลมุ ด้วยต้นไม้และวัชพชื หรือจมนำ้ ไม่สามารถตรวจสภาพได้ (3) สภาพปญั หาอ่นื ๆ ทพ่ี บ เป็นรายละเอยี ดเพม่ิ เติมที่สามารถอธิบาย เชน่ เกดิ ปัญหานำ้ ทว่ มเม่ือปี พ.ศ.ใด หรือปัญหาอน่ื ๆ ทพี่ บ ดังแสดงในภาพท่ี 61 (4) รายละเอียดผู้ตรวจและผู้ตรวจสอบ ในการตรวจสภาพแต่ละครั้ง ผทู้ ำการตรวจสภาพจะต้องระบชุ อื่ พร้อมตำแหน่ง ของตนเองหรือผู้รว่ มงาน และวันที่ทำการตรวจสภาพ เพื่อใชเ้ กบ็ เป็นฐานข้อมูล ดังแสดงในภาพท่ี 63 (5) คำอธบิ ายระดบั คะแนนของสภาพ สภาพแต่ละองค์ประกอบจะถกู แบ่งระดบั การให้คะแนน ออกเป็น 4 ระดับ โดย คะแนนระดบั 4 สภาพถอื ว่าเปน็ ปกติ และเรยี งลำดับความเสียหายเพ่มิ ข้นึ จนถึงระดับที 1 แต่ละระดบั คะแนน ของสภาพ จะมคี ำอธิบายความหมาย เพื่อใหผ้ ้ทู ่ีทำการตรวจสภาพทำความเข้าใจและตรวจสอบกอ่ นทจี่ ะให้ คะแนนทกุ คร้ัง ดังแสดงในรูปที่ 64 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 53 ภาพท่ี 61 ตารางตรวจสภาพฝายแผ่นที่ 1 ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 54 ภาพที่ 62 ตารางตรวจสภาพฝายแผ่นท่ี 2 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 55 ภาพที่ 63 ตารางตรวจสภาพฝายแผ่นท่ี 3 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 56 ภาพที่ 64 สว่ นรายละเอยี ดผู้ตรวจสภาพและผูต้ รวจสอบ ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 57 4.5.2 เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายนำ้ ในการตรวจสภาพอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำและฝายทดนำ้ จำเป็นต้องมีแบบบันทึกการตรวจสภาพอาคาร เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และง่ายต่อการตรวจสภาพ ซึ่งใน ปัจจุบันยังไม่มีแบบบันทึกที่เป็นมาตรฐาน ซึ่งได้จัดทำขึ้นโดยพิจารณาจากประเภท ลักษณะ วัสดุของอาคาร ชลประทานทีก่ รมชลประทานได้ออกแบบและก่อสรา้ งขน้ึ ส่วนประกอบของแบบบันทึกการตรวจสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ประกอบไปด้วย 5 ส่วน คอื (1) ข้อมูลท่วั ไปของประตรู ะบายนำ้ /เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดน้ำ ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของที่ตั้งประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และ ขอ้ มูลดา้ นวศิ วกรรม ถือวา่ เปน็ ข้อมูลทมี่ ีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องกรอกในรายละเอียด เพ่ือใช้เป็นพื้นฐานใน การพิจารณา เช่น ปีที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ จะแสดงอายุของอาคาร มีผลต่อสภาพของคอนกรีต รวมไปถึงใช้เป็น ขอ้ มูลในการจดั ทำฐานขอ้ มูลอาคารชลประทานของกรมชลประทาน ดังแสดงในภาพที่ 65 (2) ตารางตรวจสภาพประตูระบายนำ้ /เขอ่ื นระบายน้ำ/ทดน้ำ ประกอบด้วย องค์ประกอบของประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ สภาพท่ี จะต้องทำการตรวจสอบ และหมายเหตุ (2.1) องคป์ ระกอบประตรู ะบายน้ำ/เขื่อนระบายนำ้ /ทดน้ำ การแบ่งองค์ประกอบของประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ มี วตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ให้การตรวจสภาพประตูระบายนำ้ /เข่ือนระบายนำ้ /ทดน้ำแตล่ ะแห่งอยู่ในมาตรฐานและรูปแบบ เดียวกัน โดยแบ่งออกเป็น 5 สว่ นใหญ่ๆ ดงั แสดงในภาพที่ 65-69 (2.2) สภาพ สภาพที่จะทำการตรวจ จะขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่พิจารณาทำการตรวจ ซึ่งองค์ประกอบประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ไม่จำเป็นต้องตรวจในทุกสภาพ จากตารางการตรวจ สภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ จะเห็นแถบที่ระบายสีเป็นสีดำ หมายถึง องค์ประกอบนั้นไม่ต้อง พจิ ารณาตรวจสภาพนัน้ ๆ (2.3) หมายเหตุ ในช่องตารางหมายเหตุ ประกอบด้วยกล่องข้อความให้พิจารณา 2 ส่วน เพิ่มเติมคือ ไม่มีองค์ประกอบส่วนนี้ เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำบางแห่งอาจจะไม่มี องค์ประกอบครบทุกองค์ประกอบตามแบบบันทึกการตรวจสภาพเขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ เช่น เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำขนาดกลางหรือเล็ก เป็นต้น และ ไม่สามารถมองเห็น องคป์ ระกอบนนั้ ได้ เชน่ ถกู ปกคลมุ ด้วยต้นไมแ้ ละวชั พชื หรอื จมนำ้ ไมส่ ามารถตรวจสภาพได้ (3) สภาพปญั หาอน่ื ๆ ทพี่ บ เป็นรายละเอียดเพิ่มเติมที่สามารถอธิบาย เช่น เกิดปัญหาน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ.ใด หรอื ปญั หาอ่ืนๆ ทพี่ บ ดงั แสดงในภาพที่ 65 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 58 (4) รายละเอยี ดผ้ตู รวจและผตู้ รวจสอบ ในการตรวจสภาพแต่ละครั้ง ผู้ทำการตรวจสภาพจะต้องระบุชื่อ พร้อมตำแหน่ง ของตนเองหรอื ผรู้ ่วมงาน และวันท่ีทำการตรวจสภาพ เพอื่ ใชเ้ กบ็ เป็นฐานข้อมลู ดงั แสดงในภาพที่ 68 (5) คำอธบิ ายระดบั คะแนนของสภาพ สภาพแต่ละองค์ประกอบจะถูกแบ่งระดับการให้คะแนน ออกเป็น 4 ระดับ โดย คะแนนระดับ 4 สภาพถือว่าเป็นปกติ และเรียงลำดับความเสียหายเพิ่มขึ้นจนถึงระดับที่ 1 แต่ละระดับคะแนน ของสภาพ จะมีคำอธิบายความหมาย เพื่อให้ผู้ที่ทำการตรวจสภาพทำความเข้าใจและตรวจสอบก่อนที่จะให้ คะแนนทกุ คร้งั ดังแสดงในภาพที่ 69 ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 59 ภาพท่ี 65 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายน้ำ แผ่นที่ 1 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 60 ภาพท่ี 66 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายน้ำ แผ่นที่ 2 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 61 ภาพที่ 67 ตารางตรวจสภาพเขอ่ื นระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ แผ่นท่ี 3 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 62 ภาพท่ี 68 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายน้ำ แผ่นที่ 4 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 63 ภาพท่ี 69 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายน้ำ แผ่นที่ 5 ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 64 4.6 การประเมินสภาพอาคารหัวงานชลประทาน สภาพผิดปกติ เช่น การทรุดตัว รอยแตกร้าว น้ำซึม ฯลฯ ที่เกิดขึ้นกับอาคารหัวงาน ทำให้อาคาร ชลประทานเกิดความเสยี หาย จะมาก หรอื นอ้ ย ข้นึ อย่กู บั ความรุนแรงของสภาพที่เกิดข้ึน ดังนน้ั การใช้งานอาคาร ชลประทานอยู่ตลอดเวลา จึงต้องทำการตรวจสอบ และบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอด้วยเช่นกัน วิธีการตรวจสอบที่ ได้รับความนิยมทั้งจากภายในประเทศ และต่างประเทศ คือ การตรวจสภาพเขื่อนด้วยสายตา (Visual Inspection) และการประเมนิ สภาพเขื่อนโดยวิธีดชั นสี ภาพ (Condition Index : CI) การประเมนิ สภาพที่ใช้ในปัจจบุ ัน ไดน้ ำแนวความคิดมาจากการประเมินสภาพดา้ นความปลอดภัย และการบำรุงรักษาของเขื่อน มีพื้นฐานมาจากระบบ “REMR” ของหน่วยงานทหารช่างประเทศสหรัฐอเมริกา (US. Crops of Engineers) ซึง่ จะแตกต่างไปจากการประเมินความปลอดภัยเขื่อนเพียงอย่างเดยี ว เนื่องจากวิธีการนี้ จะมีฐานข้อมูลของทุกองค์ประกอบย่อยของเขื่อน และมีการจดบันทึกรายละเอียดของสภาพองค์ประกอบย่อย เหล่านั้นไว้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนั้นในการประเมินยังพิจารณาน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบ นน้ั ๆ ที่มตี อ่ สภาพการใช้งานและความปลอดภัยของตัวเข่ือนโดยรวมอีกด้วย เมื่อประมวลในระดับสุดท้ายจะออกมา เป็นค่าดัชนีสภาพ (Condition Index) ซึ่งเป็นตัวเลขที่มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 เพื่อใช้บ่งบอกถึงสภาพเขื่อนนั้นๆ โดย เขอ่ื นทีม่ ีความสมบูรณ์และสภาพดีทสี่ ุด จะมคี า่ CI=100 ทั้งนีเ้ ข่ือนท่อี ยู่ในสภาพปลอดภัยและใชง้ านได้ตามปกติ จะ มีค่าดัชนีสภาพอยู่ในช่วง 70 ถึง 100 สำหรับสภาพเขื่อนที่มีค่า CI ต่ำกว่า 70 จะต้องได้รับการซ่อมแซมและ บำรุงรักษาต่อไป ซึ่งสามารถใช้ค่า CI=100 ที่ประเมินนี้เพื่อการจัดลำดับความเร่งด่วนในการซ่อมแซมในระหว่าง เขอื่ นต่างๆได้อีกด้วย ในการประเมนิ สภาพอาคารหัวงาน สามารถประเมนิ ไดจ้ ากสมการที่ (8) CIIS =WF1*SC1 + WF2*SC2 + WF3*SC3 +…+WFn*SCn (8) เมอ่ื CIIS = ดชั นีสภาพของอาคารชลประทาน WF1 = นำ้ หนักความสำคัญขององคป์ ระกอบท่ี 1 SC1 = คะแนนของสภาพท่ี 1 WF2 = น้ำหนักความสำคัญขององคป์ ระกอบที่ 2 SC2 = คะแนนของสภาพที่ 2 WF3 = น้ำหนกั ความสำคัญขององคป์ ระกอบท่ี 3 SC3 = คะแนนของสภาพที่ 3 WFn = นำ้ หนกั ความสำคัญขององคป์ ระกอบท่ี n SCn = คะแนนของสภาพที่ n ในการประเมินสภาพอาคารหัวงาน : ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ดังแสดงในสมการที่ (8) ในส่วนของค่า SC เกิดจากการที่เจ้าหน้าที่ไปตรวจสภาพในพื้นที่ ตามแบบบันทึกการ ตรวจสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ และค่า WF เป็นค่าน้ำหนักในแต่ละ องคป์ ระกอบและสภาพท่ีทำการตรวจ ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 65 การหาค่าน้ำหนกั ขององค์ประกอบและสภาพ ในการกำหนดค่าน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบและสภาพที่พิจารณา ใช้หลักการของ กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Decision Making by Analytic Hierarchy Process : AHP) ในการค่า น้ำหนัก ในแบ่งคะแนนค่าน้ำหนัก จะแบ่งตามกรณีของการออกแบบประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดนำ้ ท่ีอาจจะทำใหอ้ าคารเสียหายหรอื พิบตั ิ (Failure Modes) ไดแ้ ก่ (สนั ติ, 2552) - ความมน่ั คงปลอดภยั ตอ่ การเกดิ Piping (Weighted Creep Ratio : WP) - ความมั่นคงปลอดภัยตอ่ การเลื่อนตวั (Sliding : SL) - ความมน่ั คงปลอดภัยต่อการพลิกคว่ำ (Overturning : OT) - ความมนั่ คงตอ่ ปลอดภยั การรบั น้ำหนักกดของดนิ ใตฐ้ าน (Bearing : BR) แผนภูมิลำดับชั้นของการตัดสินใจของประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ดงั แสดงในภาพที่ 70 // Piping (Sliding : SL) (Overturning : OT) (Bearing : BR) (Weighted Creep Ratio : WP) Protection (Upstream Concrete Section) (Control Section) (Downstream Concrete Basin) Protection (Upstream Protection Section) (Downstream Protection Section) ภาพที่ 70 แผนภมู ลิ ำดับช้ันของการตัดสินใจของประตูระบายน้ำ/เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดน้ำและฝายทดน้ำ การหาค่าคะแนนนำ้ หนกั ความสำคญั ของประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดน้ำ ให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบระบบชลประทาน จำนวน 9 คน ได้แก่ ผู้อำนวยการส่วนออกแบบระบบ ชลประทาน และหัวหน้าฝ่ายออกแบบระบบชลประทานที่ 1-8 สำนักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ดัง แสดงในตารางที่ ผ1 ประวัติและประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบระบบชลประทาน เป็นผู้ให้ค่า คะแนนน้ำหนักความสำคัญ โดยอาคารแต่ละประเภทได้แบ่งออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ ความมั่นคงต่อการเกิด Piping (Weighted Creep Ratio : WP) ความมั่นคงต่อการเลื่อนตัว (Sliding : SL) ความมั่นคงต่อการพลกิ ควำ่ (Overturning : OT) และความมนั่ คงตอ่ การรบั น้ำหนกั กดของดนิ ใตฐ้ าน (Bearing : BR) 4.6.1 ผลการให้ค่าคะแนนน้ำหนักความสำคัญของประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำและ ฝายทดน้ำ ดงั น้ี (1) ฝายทดน้ำ (1.1) คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) ดงั แสดงในตารางที่ 15 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 66 (1.2) คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิดการ เลื่อนตัว (Sliding : SL) ดังแสดงในตารางท่ี 16 (1.3) คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การพลิกคว่ำ (Overturning : OT) ดงั แสดงในตารางท่ี 17 (1.4) คะแนนน้ำหนกั ความสำคญั ของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทยี บกับเกณฑ์การรับน้ำหนัก กดของดนิ ใต้ฐาน (Bearing : BR) ดังแสดงในตารางที่ 18 (1.5) คะแนนนำ้ หนักความสำคญั รวม (Combined Weight) ทง้ั 4 กรณี จากการศึกษาครั้งนี้ทำให้ทราบว่าเกณฑ์ความมั่นคงของอาคารหัวงาน ชลประทาน ประเภทฝาย ทั้ง 4 กรณี กลุ่มผู้ตัดสินใจให้ความสำคัญกับเกณฑ์กรณีความมั่นคงต่อการพลิกคว่ำ (Overturning) เป็นอันดับที่หนง่ึ ไดค้ า่ น้ำหนัก 0.541 เกณฑ์กรณคี วามมัน่ คงต่อการรับน้ำหนักกดของดินใต้ฐาน (Bearing Capacity) เปน็ อันดบั ทส่ี อง ได้ค่าน้ำหนกั 0.212 เกณฑก์ รณีความม่ันคงต่อการเลือ่ นตวั (Sliding) เป็น อันดับที่สาม ได้ค่าน้ำหนัก 0.184 เกณฑ์กรณีความมั่นคงต่อการเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) เป็น อันดับที่สี่ ได้ค่าน้ำหนัก 0.063 และในแต่ละกรณีประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักของอาคารหัวงาน ชลประทาน ประเภทฝาย กลุ่มผู้ตัดสินใจให้ความสำคัญกับส่วนที่ 3 ส่วนควบคุมน้ำ (Control Section) มาก ที่สุดเป็นอันดับที่หนึ่ง ส่วนที่ 4 ส่วนท้ายน้ำ (Downstream Concrete Section) มีค่าน้ำหนักความสำคัญเป็น อันดับที่สอง ส่วนที่ 2 ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ส่วนที่ 5 ส่วน Protectionท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) และส่วนที่ 1 ส่วนProtectionเหนือน้ำ (Upstream Protection Section) มีค่าน้ำหนักความสำคัญรองลงมาตามลำดับ ซึ่งหมายถึง ถ้าส่วนที่ 3 ส่วนควบคุมน้ำ (control Section) เกิดความเสยี หาย พังทลาย จะสง่ กระทบตอ่ องคป์ ระกอบส่วนอน่ื ๆ มากทส่ี ดุ ดังแสดงในตารางที่ 19 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 67 ตารางที่ 15 คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) ของฝายทดน้ำ ี Piping (Weighted Creep Ratio) Piping (Weighted Creep Ratio) 1 Upstream Protection Section 0.057 2 Upstream Concrete Section Floor 0.564 3 Control Section Side Slope 0.436 0.191 4 Downstream Concrete Section Floor 0.593 Side Slope 0.407 5 Downstream Protection Section 0.389 Weir Crest and Fish Ladder 0.355 Retaining Wall 0.226 Sluice Gate/Sand Sluice 0.116 Chute Blocks 0.076 Bridge 0.069 Stoplogs/Rubber Weir/Flap Weir 0.158 0.296 Floor 0.427 Side Slope 0.268 Floor Blocks 0.146 End Sill 0.159 0.067 Floor 0.627 Side Slope 0.373 ตารางที่ 16 คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิดการเลื่อนตัว (Sliding : SL) ของฝายทดนำ้ ี Sliding Stability Floor Sliding Stability 1 Upstream Protection Section 0.072 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.137 0.352 3 Control Section 0.394 Floor 0.648 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.308 0.431 Weir Crest and Fish Ladder 0.569 5 Downstream Protection Section 0.089 Retaining Wall Sluice Gate/Sand Sluice 0.327 Chute Blocks 0.251 Bridge 0.140 Stoplogs/Rubber Weir/Flap Weir 0.074 0.098 Floor 0.110 Side Slope Floor Blocks 0.452 End Sill 0.311 0.119 Floor 0.118 Side Slope 0.511 0.489 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 68 ตารางท่ี 17 คะแนนนำ้ หนักความสำคัญของเกณฑย์ ่อยเม่ือเทยี บกบั เกณฑ์การพลิกควำ่ (Overturning : OT) ของฝายทดน้ำ ี Overturning Stability Floor Overturning Stability 1 Upstream Protection Section 0.071 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.141 0.523 3 Control Section 0.496 Floor 0.477 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.209 0.461 Weir Crest and Fish Ladder 0.539 5 Downstream Protection Section 0.083 Retaining Wall Sluice Gate/Sand Sluice 0.345 Chute Blocks 0.266 Bridge 0.129 Stoplogs/Rubber Weir/Flap Weir 0.066 0.100 Floor 0.094 Side Slope Floor Blocks 0.364 End Sill 0.330 0.157 Floor 0.149 Side Slope 0.524 0.476 ตารางท่ี 18 คะแนนน้ำหนกั ความสำคัญของเกณฑย์ ่อยเมื่อเทยี บกบั เกณฑ์การรับน้ำหนักกดของดนิ ใตฐ้ าน (Bearing : BR) ของฝายทดน้ำ ี Bearing Capacity Floor Bearing Capacity 1 Upstream Protection Section 0.088 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.183 0.545 3 Control Section 0.390 Floor 0.455 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.231 0.708 Weir Crest and Fish Ladder 0.292 5 Downstream Protection Section 0.108 Retaining Wall Sluice Gate/Sand Sluice 0.325 Chute Blocks 0.216 Bridge 0.140 Stoplogs/Rubber Weir/Flap Weir 0.071 0.159 Floor 0.089 Side Slope Floor Blocks 0.382 End Sill 0.322 0.156 Floor 0.140 Side Slope 0.473 0.527 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 69 ตารางที่ 19 คะแนนน้ำหนักความสำคัญรวม (Combined Weight) ท้ัง 4 กรณี ของฝายทดนำ้ ลำดบั ท่ี Failure Modes Weight 1 Piping (Weighted Creep Ratio) 0.063 2 Sliding Stability 0.184 3 Overturning Stability 0.541 4 Bearing Capacity 0.212 (2) ประตูระบายน้ำ/เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดน้ำ (2.1) คะแนนนำ้ หนักความสำคญั ของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) ดงั แสดงในตารางที่ 20 (2.2) คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การเกิดการ เล่ือนตัว (Sliding : SL) ดังแสดงในตารางที่ 21 (2.3) คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การพลิกคว่ำ (Overturning : OT) ดงั แสดงในตารางที่ 22 (2.4) คะแนนนำ้ หนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเมื่อเทียบกับเกณฑ์การรับน้ำหนัก กดของดนิ ใต้ฐาน (Bearing : BR) ดงั แสดงในตารางท่ี 23 ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 70 ตารางท่ี 20 แสดงค่าคะแนนความสำคญั ของเกณฑ์ยอ่ ย กรณีการเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) ของ ประตรู ะบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ ี Piping (Weighted Creep Ratio) Piping (Weighted Creep Ratio) 1 Upstream Protection Section 2 Upstream Concrete Section 0.099 3 Control Section Floor 0.489 4 Downstream Concrete Section 5 Downstream Protection Section Side Slope 0.511 0.180 Floor 0.640 Side Slope 0.360 0.351 Floor and Pier 0.223 Retaining Wall 0.130 Gate 0.089 Mechanical/Electrical Equipment 0.066 Chute Blocks 0.066 Floor Blocks 0.074 Bridge 0.069 Operation Platform 0.064 Bulkhead Gate and Stoplogs 0.058 Navigation Lock 0.081 Floor 0.397 Side Walls 0.280 Mitering Gate 0.171 Mechanical/Electrical Equipment 0.152 Fish Ladder 0.080 Floor 0.445 Side Walls 0.326 Floor Blocks 0.229 0.266 Floor 0.531 Side Slope 0.291 End Sill 0.178 0.104 Floor 0.598 Side Slope 0.402 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 71 ตารางที่ 21 แสดงค่าคะแนนความสำคัญของเกณฑ์ย่อย กรณีการเกิดการเลื่อนตัว (Sliding : SL) ของประตู ระบายนำ้ /เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ี Sliding Stability Floor Sliding Stability 1 Upstream Protection Section 0.091 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.177 0.394 3 Control Section 0.361 Floor 0.606 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.264 0.436 5 Downstream Protection Section 0.107 Floor and Pier 0.564 Retaining Wall Gate 0.177 Mechanical/Electrical Equipment 0.143 Chute Blocks 0.097 Floor Blocks 0.070 Bridge 0.070 Operation Platform 0.073 Bulkhead Gate and Stoplogs 0.072 Navigation Lock 0.072 0.064 Floor 0.082 Side Walls Mitering Gate 0.330 Mechanical/Electrical Equipment 0.265 Fish Ladder 0.204 0.201 Floor 0.080 Side Walls 0.426 Floor Blocks 0.322 0.252 Floor Side Slope 0.314 End Sill 0.443 0.243 Floor Side Slope 0.530 0.470 ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 72 ตารางท่ี 22 แสดงคา่ คะแนนความสำคัญของเกณฑ์ยอ่ ย กรณีการพลกิ ควำ่ (Overturning : OT) ของประตู ระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ี Overturning Stability Floor Overturning Stability 1 Upstream Protection Section 0.079 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.173 0.489 3 Control Section 0.366 Floor 0.511 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.277 0.494 5 Downstream Protection Section 0.105 Floor and Pier 0.506 Retaining Wall Gate 0.177 Mechanical/Electrical Equipment 0.135 Chute Blocks 0.084 Floor Blocks 0.076 Bridge 0.073 Operation Platform 0.076 Bulkhead Gate and Stoplogs 0.081 Navigation Lock 0.075 0.063 Floor 0.082 Side Walls Mitering Gate 0.299 Mechanical/Electrical Equipment 0.300 Fish Ladder 0.210 0.191 Floor 0.078 Side Walls 0.359 Floor Blocks 0.382 0.259 Floor Side Slope 0.275 End Sill 0.451 0.274 Floor Side Slope 0.463 0.537 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 73 ตารางท่ี 23 แสดงค่าคะแนนความสำคัญของเกณฑย์ ่อย กรณกี ารรับน้ำหนักกดของดินใต้ฐาน (Bearing : BR) ของประตรู ะบายนำ้ /เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ี Bearing Capacity Floor Bearing Capacity 1 Upstream Protection Section 0.091 Side Slope 2 Upstream Concrete Section 0.140 0.533 3 Control Section 0.366 Floor 0.467 Side Slope 4 Downstream Concrete Section 0.291 0.564 5 Downstream Protection Section 0.112 Floor and Pier 0.436 Retaining Wall Gate 0.171 Mechanical/Electrical Equipment 0.148 Chute Blocks 0.075 Floor Blocks 0.070 Bridge 0.069 Operation Platform 0.069 Bulkhead Gate and Stoplogs 0.088 Navigation Lock 0.083 0.065 Floor 0.082 Side Walls Mitering Gate 0.354 Mechanical/Electrical Equipment 0.290 Fish Ladder 0.183 0.173 Floor 0.080 Side Walls 0.431 Floor Blocks 0.329 0.240 Floor Side Slope 0.384 End Sill 0.377 0.239 Floor Side Slope 0.444 0.556 (2.5) คะแนนน้ำหนักความสำคญั รวม (Combined Weight) ทง้ั 4 กรณี จากการศึกษาครั้งนี้ทำให้ทราบว่าเกณฑ์ความมั่นคงของอาคารหัวงาน ชลประทาน ประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ ทั้ง 4 กรณี กลุม่ ผ้ตู ดั สินใจให้ความสำคัญกับเกณฑ์ กรณีความมั่นคงต่อการพลิกคว่ำ (Overturning) เป็นอันดับที่หนึ่ง ได้ค่าน้ำหนัก 0.346 เกณฑ์กรณีความมั่นคง ต่อการเล่ือนตัว (Sliding) เปน็ อนั ดับท่สี อง ได้คา่ นำ้ หนัก 0.242 เกณฑ์กรณีความม่ันคงต่อการรับน้ำหนักกดของ ดนิ ใต้ฐาน (Bearing Capacity) เป็นอนั ดับทสี่ าม ไดค้ ่านำ้ หนัก 0.241 เกณฑ์กรณคี วามมั่นคงต่อการเกิด Piping (Weighted Creep Ratio) เป็นอันดับที่สี่ ได้ค่าน้ำหนัก 0.171 และในแต่ละกรณีประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ หลักของอาคารหัวงานชลประทาน ประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ กลุ่มผู้ตัดสินใจให้ ความสำคัญกับส่วนที่ 3 ส่วนควบคุมน้ำ (Control Section) มากที่สุดเป็นอันดับที่หนึ่ง ส่วนที่ 4 ส่วนท้ายน้ำ ฝ่ายบำรุงรักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 74 (Downstream Concrete Section) มีค่าน้ำหนักความสำคัญเป็นอันดับที่สอง ส่วนที่ 2 ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ส่วนที่ 5 ส่วนProtectionทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) และ ส่วนที่ 1 ส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) มีค่าน้ำหนักความสำคัญรองลงมา ตามลำดับ ซึ่งหมายถึง ถ้าสว่ นที่ 3 ส่วนควบคมุ นำ้ (Control Section) เกิดความเสยี หาย พงั ทลาย จะส่งกระทบ ต่อองค์ประกอบสว่ นอ่นื ๆ มากที่สุด ดังแสดงในตารางท่ี 24 ตารางท่ี 24 ผลรวมคะแนนนำ้ หนกั ความสำคัญทงั้ 4 กรณี ของประตูระบายนำ้ /เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ลำดบั ท่ี Failure Mode Weight 1 Piping (Weighted Creep Ratio) 0.171 2 Sliding Stability 0.242 3 Overturning Stability 0.346 4 Bearing Capacity 0.241 เมื่อทำการเปรียบเทียบค่าคะแนนน้ำหนักความสำคัญของอาคารหัวงานทั้งสอง ประเภท ได้แก่ ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ดังแสดงในตารางท่ี 25 พบว่า อาคารหัว งานทั้งสองประเภท ให้ความสำคัญของอาคารเสียหายหรือพิบัติ (Failure Modes) ในกรณีของการพลิกคว่ำ (Overturning) มากที่สุด รองลงมาได้แก่กรณี การรับน้ำหนักกดของดินใต้ฐาน (Bearing) การเลื่อนตัว(Sliding) และ Piping (Weighted Creep Ratio) ตามลำดับ สอดคลอ้ งกันท้งั สองประเภทอาคารหัวงาน ตารางท่ี 25 การเปรียบเทยี บค่าคะแนนน้ำหนกั ความสำคญั ของอาคารหัวงาน ลำดบั ที่ Failure Modes อาคารชลประทาน ฝาย ประตรู ะบายน้ำ/เขื่อนระบายนำ้ /ทดนำ้ 0.063 1 Piping (Weighted Creep Ratio) 0.184 2 Sliding Stability 0.171 0.541 3 Overturning Stability 0.242 0.212 4 Bearing Capacity 0.346 0.241 4.6.2 สมการสำหรับการประเมินสภาพอาคารหวั งานชลประทาน ประเภทประตูระบายน้ำ/ เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดน้ำ (1) ฝายทดนำ้ (1.1) ความม่ันคงต่อการเกดิ Piping (Weighted Creep Ratio : WP) การประเมนิ สภาพฝายทดนำ้ กรณีการเกดิ Piping (Weighted Creep Ratio : WP) สามารถประเมินสภาพดังแสดงในสมการท่ี (9) CIWWP = WFWWP1*SC1 + WFWWP2*SC2 + WFWWP3*SC3 + … + WFWWPn*SCn (9) ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 75 เม่ือแทนคา่ คะแนนน้ำหนักความสำคญั จะไดด้ ังสมการท่ี (10) CIWWP = 0.057*SC1 +0.191*SC2 +0.389*SC3 +0.296*SC4+ 0.067*SC55 (10) เม่อื CIWWP = Weir Condition Index of Weighted Creep Ratio SC1 = คะแนนของสภาพส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) SC2 = คะแนนของสภาพส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพสว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพส่วนทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) (1.2) ความม่ันคงต่อการเล่ือนตัว (Sliding : SL) การประเมินสภาพฝายทดน้ำ กรณีการเกิดการเลื่อนตัว (Sliding : SL) สามารถประเมนิ สภาพดงั แสดงในสมการท่ี 11 CIWSL = WFWSL1*SC1 + WFWSL2*SC2 + WFWSL3*SC3 + … + WFWSLn*SCn (11) เม่ือแทนคา่ คะแนนน้ำหนักความสำคญั จะได้ดงั สมการท่ี (12) (12) CIWSL = 0.072*SC1+0.137*SC2+0.394*SC3+0.308*SC4+0.089*SC5 Section) เมอ่ื CIWSL = Weir Condition Index of Sliding SC1 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection SC2 = คะแนนของสภาพส่วนเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพสว่ นควบคมุ นำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพสว่ นท้ายนำ้ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) (1.3) ความม่นั คงต่อการพลิกควำ่ (Overturning : OT) การประเมินสภาพฝายทดน้ำ กรณีการเกิดการพลิกคว่ำ (Overturning : OT) สามารถประเมินสภาพดังแสดงในสมการที่ (13) CIWOT = WFWOT1*SC1 + WFWOT2*SC2 + WFWOT3*SC3 + … + WFWOTn*SCn (13) เมื่อแทนคา่ คะแนนน้ำหนกั ความสำคัญ จะไดด้ ังสมการท่ี (14) CIWOT = 0.071*SC1+0.137*SC2+0.394*SC3+0.209*SC4+0.083*SC5 (14) เม่ือ CIWOT = Weir Condition Index of Overturning SC1 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) SC2 = คะแนนของสภาพส่วนเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 76 SC3 = คะแนนของสภาพส่วนควบคมุ นำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพสว่ นทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) (1.4) ความมั่นคงต่อการรบั นำ้ หนกั กดของดินใต้ฐาน (Bearing : BR) การประเมนิ สภาพฝายทดนำ้ กรณกี ารเกิดการรับนำ้ หนกั กดของดนิ ใตฐ้ าน (Bearing : BR) สามารถประเมนิ สภาพดงั แสดงในสมการท่ี 15 CIWBR = WFWBR1*SC1 + WFWBR2*SC2 + WFWBR3*SC3 + … + WFWBRn*SCn (15) เมอื่ แทนค่าคะแนนน้ำหนักความสำคญั จะไดด้ ังสมการที่ (16) CIWBR = 0.088*SC1+0.183*SC2+0.390*SC3+0.231*SC4+0.108*SC5 (16) Section) เมอ่ื CIWBR = Weir Condition Index of Bearing SC1 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) สมการท่ี 17 SC2 = คะแนนของสภาพสว่ นเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพสว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพส่วนทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection (1.5) ความมนั่ คงตอ่ การเกิดท้งั 4 กรณี การประเมนิ สภาพฝายทดน้ำ ท้งั 4 กรณี สามารถประเมินสภาพ ดังแสดงใน CIWEIRT = CIWWP*SCWWP + CIWSL*SCWSL + CIWOT*SCWOT + CIWBR*SCWBR (17) เมอ่ื แทนค่าคะแนนนำ้ หนักความสำคัญ จะได้ดังสมการที่ (18) CIWEIRT = 0.063CIWWP + 0.184CIWSL + 0.541CIWOT + 0.212CIWBR (18) เม่ือ CIWEIRT (Condition Index of Weir Total) = ดัชนีสภาพของฝายโดยรวม CIWWP = Weir Condition Index of Weighted Creep Ratio CIWSL = Weir Condition Index of Sliding CIWOT = Weir Condition Index of Overturning CIWBR = Weir Condition Index of Bearing ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 77 (2) ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายนำ้ /ทดน้ำ (2.1) ความมั่นคงตอ่ การเกดิ Piping (Weighted Creep Ratio : WP) การประเมินสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ กรณีการเกิด Piping (Weighted Creep Ratio : WP) สามารถประเมินสภาพดงั แสดงในสมการท่ี (19) CIHWP = WFHWP1*SC1 + WFHWP2*SC2 + WFHWP3*SC3 + … + WFHWPn*SCn (19) เม่อื แทนค่าคะแนนน้ำหนกั ความสำคญั จะไดด้ ังสมการท่ี (20) CIHWP = 0.099*SC1+0.180*SC2+0.351*SC3+0.266*SC4+0.104*SC5 (20) เม่ือ CIHWP = Head Regulator Condition Index of Weighted Creep Ratio SC1 = SC2 = คะแนนของสภาพส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) SC3 = คะแนนของสภาพส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) SC4 = คะแนนของสภาพส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) SC5 = คะแนนของสภาพส่วนท้ายนำ้ (Downstream Concrete Section) คะแนนของสภาพส่วน Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) (2.2) ความม่นั คงต่อการเลอ่ื นตวั (Sliding : SL) การประเมินสภาพประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ กรณีการเกิดการ เลอื่ นตวั (Sliding : SL) สามารถประเมนิ สภาพดงั แสดงในสมการที่ 21 CIHSL = WFHSL1*SC1 + WFHSL2*SC2 + WFHSL3*SC3 + … + WFHSLn*SCn (21) เมอ่ื แทนคา่ คะแนนน้ำหนักความสำคัญ จะไดด้ งั สมการท่ี (22) CIHSL = 0.091*SC1+0.177*SC2+0.361*SC3+0.264*SC4+0.107*SC5 (22) เมอ่ื CIHSL= Head Regulator Condition Index of Sliding SC1 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection เหนอื น้ำ (Upstream Protection Section) SC2 = คะแนนของสภาพส่วนเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพส่วนควบคุมนำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพสว่ นท้ายน้ำ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) (2.3) ความมนั่ คงต่อการพลิกควำ่ (Overturning : OT) การประเมินสภาพประตรู ะบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ กรณีการเกิดการ พลกิ คว่ำ (Overturning : OT) สามารถประเมนิ สภาพดงั แสดงในสมการท่ี (23) CIHOT = WFHOT1*SC 1 + WFHOT2*SC 2 + WFHOT3*SC 3 + … + WFHOTn*SC n (23) ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 78 เมอ่ื แทนคา่ คะแนนน้ำหนักความสำคัญ จะไดด้ งั สมการท่ี (24) CIHOT = 0.079*SC1+0.173*SC2+0.366*SC3+0.277*SC4+0.105*SC5 (24) เมือ่ CIHOT = Head Regulator Condition Index of Overturning SC1 = คะแนนของสภาพส่วน Protection เหนอื น้ำ (Upstream Protection Section) SC2 = คะแนนของสภาพสว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพสว่ นท้ายนำ้ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) (2.4) ความมัน่ คงตอ่ การรบั นำ้ หนักกดของดนิ ใต้ฐาน (Bearing : BR) การประเมนิ สภาพประตูระบายนำ้ /เข่อื นระบายน้ำ/ทดน้ำ กรณีการเกิดการ รับน้ำหนกั กดของดินใตฐ้ าน (Bearing : BR) สามารถประเมนิ สภาพดังแสดงในสมการท่ี 25 CIHBR = WFHBR1*SC 1 + WFHBR2*SC 2 + WFHBR3*SC 3 + … + WFHBRn*SC n (25) เมื่อแทนค่าคะแนนนำ้ หนักความสำคญั จะไดด้ ังสมการท่ี (26) CIHBR = 0.091*SC1+0.140*SC2+0.366*SC3+0.291*SC4+0.112*SC5 (26) เม่ือ CIHBR = Head Regulator Condition Index of Bearing SC1 = คะแนนของสภาพส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) SC2 = คะแนนของสภาพสว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) SC3 = คะแนนของสภาพสว่ นควบคมุ นำ้ (Control Section) SC4 = คะแนนของสภาพสว่ นทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) SC5 = คะแนนของสภาพสว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) (2.5) ความม่ันคงตอ่ การเกิดทงั้ 4 กรณี การประเมินสภาพประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ ทั้ง 4 กรณี สามารถประเมนิ สภาพ ดงั แสดงในสมการที่ 27 CIHEADT = CIHWP*SCHWP + CIHLL*SCHLL + CIHOT*SCHOT + CIHBR*SCHBR (27) เม่ือแทนคา่ คะแนนนำ้ หนกั ความสำคัญ จะไดด้ ังสมการท่ี (28) CIHEADT = 0.171*SCHWP+0.242*SCHLL+0.346*SCHOT+0.241*SCHBR (28) เมื่อ CIHEADT (Condition Index of Head Regulator Total) = ดัชนีสภาพของประตูระบายน้ำ โดยรวม ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 79 CIHWP = Head Regulator Condition Index of Weighted Creep Ratio CIHSL = Head Regulator Condition Index of Sliding CIHOT = Head Regulator Condition Index of Overturning CIHBR = Head Regulator Condition Index of Bearing ข้อสังเกต : ในการพิจารณาถึงสภาพต่างๆ ขององค์ประกอบนั้น ควรจะต้องพิจารณาใน ทุกๆ องค์ประกอบ ในบางครั้งค่าคะแนนของฝายทดน้ำ อาจจะมีค่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่เมื่อพิจารณาถึง องค์ประกอบในระดบั ย่อยลงไป จะทำใหท้ ราบวา่ มอี งคป์ ระกอบใดบา้ งท่ตี ้องซ่อมแซม/ปรบั ปรุง การแบง่ ชั้นของสภาพความสมบูรณ์ตามดัชนสี ภาพ (CI) ระดับที่ 1 (CI>=1.00-1.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหายมาก มีผลต่อการพิบัติอย่าง เห็นได้ชดั จำเป็นที่ตอ้ งการซ่อมแซม/ปรับปรงุ โดยทันที ระดับที่ 2 (CI>=2-2.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย ควรวิเคราะห์และติดตาม พฤติกรรมเปน็ พเิ ศษเพ่อื ประเมินความปลอดภัย อาจสามารถรอการซอ่ มแซมได้ (มแี นวโนม้ ไปในทางไม่ปกต)ิ ระดับที่ 3 (CI>=3-3.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย เล็กน้อย (มีแนวโน้มไปในทาง ปกต)ิ ระดับที่ 4 (CI=4.00) สภาพองค์ประกอบ มีความสมบูรณ์ หรือทำหน้าที่เป็นปกติ หรือไม่ ปรากฏสภาพความเสย่ี งน้ัน ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 80 บทท่ี 5 ผลการตรวจสภาพและประเมนิ สภาพ 5.1 ผลการตรวจสภาพและประเมินสภาพ (กรณศี กึ ษา) 5.1.1 ฝายแมล่ าว จังหวัดเชยี งราย (1) ขอ้ มลู ทว่ั ไปของโครงการ (1.1) ท่ีตัง้ ฝายแม่ลาว ตั้งอยู่บริเวณหมู่ที่ 6 ตำบลดงมะดะ อำเภอแม่ลาว และบ้านสันมะแฟน ตำบลธารทอง อำเภอพาน จงั หวดั เชยี งราย พกิ ดั : 47 QNB 697-702 แผนท่ีระวาง 4948 III ประเภทโครงการ : ฝายทดนำ้ เร่ิมก่อสร้าง ปี พ.ศ. 2493 แลว้ เสรจ็ ปี พ.ศ. 2506 (1.2) ระบบสง่ น้ำ (1.2.1) หวั งาน ประกอบดว้ ย - ตัวฝายเปน็ แบบ Ogee Weir สูง 2.50 เมตร ยาว 30.50 เมตร - ฝายยางสูง 0.50 เมตร ยาว 30.50 เมตร ดังแสดงในภาพที่ 71 และ 72 ภาพที่ 71 ฝายแม่ลาว จ.เชียงราย ภาพที่ 72 ฝายคอนกรีตและฝายยาง ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 81 - ปตร. ระบายทรายฝัง่ ซ้าย ขนาด 3.50 x 6.00 เมตร จำนวน 1 ชอ่ ง ดงั แสดงในภาพที่ 73 ภาพที่ 73 ประตูระบายทรายฝั่งซ้าย - ปตร. ระบายทรายฝั่งขวา ขนาด 3.50 x 6.00 เมตร จำนวน 1 ช่อง ดงั แสดงในภาพท่ี 74 ภาพที่ 74 ประตูระบายทรายฝัง่ ขวา - ปตร. ปากคลองส่งนำ้ สายใหญ่ฝั่งซ้าย ขนาด 2.50 x 2.50 เมตร จำนวน 1 ช่อง ส่งน้ำได้ สงู สุด 8.532 ม3 /วินาที ดงั แสดงในภาพที่ 75 ภาพที่ 75 ปตร.ปากคลองสง่ น้ำสายใหญฝ่ ่ังซา้ ย - ปตร. ปากคลองสง่ น้ำสายใหญฝ่ ั่งขวา ขนาด 2.50 x 3.50 เมตร จำนวน 2 ช่อง ส่งนำ้ ได้ สงู สดุ 26.317 ม3 /วินาที ดงั แสดงในภาพท่ี 76 ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 82 ภาพท่ี 76 ปตร.ปากคลองสง่ น้ำสายใหญฝ่ ่งั ขวา (1.2.2) ระบบส่งนำ้ ประกอบดว้ ย คลองส่งน้ำสายใหญ่ฝัง่ ซา้ ย ความยาว 24.390 กโิ ลเมตร ดงั แสดงในภาพท่ี 77 - คลองซอย 14 สาย รวมความยาว 32.866 กิโลเมตร - คลองแยกซอย 2 สาย รวมความยาว 2.500 กโิ ลเมตร ภาพที่ 77 คลองส่งนำ้ สายใหญฝ่ ั่งซา้ ย คลองส่งนำ้ สายใหญฝ่ งั่ ขวา ความยาว 49.480 กิโลเมตร ดังแสดงในภาพที่ 78 - คลองซอย 22 สาย รวมความยาว 70.260 กโิ ลเมตร - คลองแยกซอย 9 สาย รวมความยาว 4.510 กิโลเมตร ภาพที่ 78 คลองสง่ นำ้ สายใหญ่ฝั่งขวา ฝ่ายบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 83 (2) องคป์ ระกอบของฝายแมล่ าว จังหวดั เชียงราย (2.1) สว่ น Protection เหนอื น้ำ (Upstream Protection Section) มหี นา้ ที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดทุ ่ีใชใ้ นการทำสว่ นของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวด ตาข่ายเหล็กถักเคลอื บสังกะสี (Mattresses) หินท้ิง หินเรยี ง หนิ เรียงยาแนว เปน็ ตน้ วัสดุที่ใช้ในการทำ สว่ นของพืน้ ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจหุ ินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หนิ เรยี ง หินเรยี งยาแนว เปน็ ต้น ประกอบไปด้วยส่วนของพ้ืนและลาดด้านข้าง ดงั แสดงในภาพท่ี 79 และ 80 ภาพที่ 79 รปู ตดั ตามยาวสว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย ภาพท่ี 80 สว่ น Protection เหนอื นำ้ ของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย (2.2) สว่ นเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) มหี น้าทย่ี ืดเส้นทางทางเดินของน้ำ หรือเพ่ิมความม่ันคง รวมไปถึงลดแรงดันใต้ตัวฝาย ซ่ึง ในหลักการคำนวณดังกล่าวจะพิจารณาถึงความหนาของพื้นประกอบไปด้วยพื้นและลาดด้านข้าง ลักษณะพื้นและ กำแพงของส่วนเหนือน้ำของฝายแม่ลาว จังหวัดเชียงราย เป็นหินก่อ ซึ่งปัจจุบัน ณ วันที่ตรวจสภาพไม่สามารถ มองเหน็ ได้ เนอ่ื งจากมีตะกอนดินทรายทับถม ดังแสดงในภาพท่ี 81 และ 82 ภาพที่ 81 รูปตัดตามยาวสว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 84 ภาพท่ี 82 สว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย (2.3) ส่วนควบคุมนำ้ (Control Section) เปน็ สว่ นทีใ่ ช้ในการควบคุมน้ำ เพ่ือกักเก็บน้ำ ทดน้ำ ระบายน้ำ/ทราย ดังแสดงในภาพ ท่ี 83 และ 84 ภาพที่ 83 รูปตัดตามยาวส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชียงราย ภาพที่ 84 สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย สว่ นควบคุมน้ำ ประกอบดว้ ย - ฝายควบคุมนำ้ (Weir) ฝายควบคุมน้ำของฝายแม่ลาว ประกอบไปด้วยสองส่วนคือ ฝายคอนกรีตและฝายยาง (ติดตัง้ บนฝายคอนกรตี ) ดังแสดงในภาพท่ี 85 ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 85 ภาพที่ 85 ฝายคอนกรีตและฝายยางของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย - กำแพงคอนกรีต (Concrete Wall) เปน็ กำแพงคอนกรีตท่ีอยตู่ ิดกบั ตัวฝายควบคมุ น้ำ ดังแสดงในภาพรูปที่ 86 ภาพที่ 86 กำแพงคอนกรีตของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย - ประตู/ชอ่ งระบายทราย (Sand Sluice/Bottom Drain) เป็นช่องเปิดพร้อมบานบังคับน้ำในอาคารประเภทฝาย ประกอบไปด้วย บานประตู ช่องใส่บานประตู อุปกรณ์เครื่องกลและอุปกรณ์ไฟฟา้ ใช้สำหรับระบายตะกอนทรายทีท่ ับถมอยู่หน้าฝายออกไป ทางด้านท้ายนำ้ โดยให้นำ้ ไหลผา่ นด้วยความเร็วสูงพร้อมกับพดั พาตะกอนออกไป ประตรู ะบายทรายส่วนใหญ่จะ ก่อสร้างบริเวณด้านข้างของฝาย หรือทำทางน้ำแยกจากตัวฝาย ระดับธรณีของบานจะอยู่ทีร่ ะดับท้องลำน้ำ และ จะมสี ะพานใช้ในการเดินไปเปิด-ปิดประตู ฝายแม่ลาว จังหวดั เชยี งราย ประกอบไปด้วย ประตรู ะบายทรายฝั่งซ้าย และฝงั่ ขวา ดงั แสดงในภาพที่ 87 และ 88 ภาพที่ 87 ประตรู ะบายทรายฝง่ั ซ้ายของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 86 ภาพที่ 88 ประตูระบายทรายฝ่ังขวาของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย - สะพาน (Bridge/Access Bridge) เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับในการเดินเข้าไปเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ ประตู/ช่องระบาย ทราย หรือใชส้ ำหรับขา้ มไปยังอกี ฝั่งของฝาย ดงั แสดงในภาพท่ี 89 ภาพที่ 89 สะพานสำหรบั ใชใ้ นการเปดิ -ปิดประตรู ะบายทรายของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย (2.4) ส่วนสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) เป็นอาคารชลศาสตร์ที่ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่สลายพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) จากการไหลของน้ำด้วยความเร็วสูง จะทำการออกแบบให้อาคารสลายพลังงาน อยู่ด้านท้าย น้ำของอาคารดังกล่าวเสมอ อาคารสลายพลังงานที่ดีจะต้องสามารถทำให้การไหลของน้ำที่เรว็ นั้น ช้าลง หรือทำ ให้พลังงานเนื่องจากความเร็วลดลง โดยไม่ทำให้อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารหรือคลองส่งน้ำเสียหาย ประกอบไปดว้ ยส่วนของพน้ื ลาดด้านขา้ ง และองคป์ ระกอบอน่ื ๆ ดงั แสดงในภาพที่ 90 และ 91 ได้แก่ ภาพท่ี 90 รปู ตดั ตามยาวส่วนสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 87 ภาพที่ 91 ส่วนสลายพลงั งาน (Downstream Concrete Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย - แผงปะทะด้านท้ายน้ำ (End Sill) หมายถึง แท่งหรือแผงคอนกรีตที่ติดกับพื้นตรง ปลายสุดด้านท้ายน้ำของอาคารชลประทาน ทำหน้าที่ปะทะน้ำเพื่อสลายพลังงาน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า End Baffle ดงั แสดงในภาพท่ี 92 ภาพท่ี 92 แผงปะทะด้านท้ายนำ้ (End Sill) ของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย (2.5) สว่ น Protection ทา้ ยน้ำ (Downstream Protection Section) มหี น้าที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดุท่ีใชใ้ นการทำส่วนของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวดตาข่ายเหล็กถักเคลือบสังกะสี (Mattresses) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วัสดุที่ใช้ในการ ทำส่วนของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เปน็ ต้น ประกอบไปดว้ ยส่วนของพ้นื และลาดดา้ นขา้ ง ดังแสดงในภาพที่ 93 และ 94 ภาพที่ 93 รูปตัดตามยาวสว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176