Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาพประกอบ

ภาพประกอบ

Published by ผาสุข ไขยสุรินทร์, 2021-07-20 03:06:58

Description: ภาพประกอบ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชาเขียนแบบเครืองมือกล 2 เรอื ง ภาพประกอบ นายผาสุข ไชยสุรินทร์ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคสตูล

จุดประสงค์การเรียนรู้ หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ หัวข้อเรื่อง (Topics) 1 ความหมายของแบบภาพประกอบ 2 ประโยชนข์ องภาพประกอบ 3 สว่ นประกอบของแบบงานภาพประกอบ 4 ประเภทของภาพประกอบ 5 ตัวอย่างการเขียนภาพประกอบสลกั และรูควา้ น 6 ตวั อยา่ งการเขยี นภาพประกอบสลักเกลียวและเกลียวในทะลุ 8.7 ตวั อย่างการเขียนภาพประกอบซี แคลมป์ แนวคิดสาํ คญั (Main Idea) ในการผลติ ช้นิ สว่ นเครือ่ งจักรกลในโรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปนน้ั แบบสงั่ งานการผลิตจะเป็นแบบ แยกชนิ้ ส่วน ฉาย 3 ด้าน จะถูกวางแผนการผลิต และผลิตโดยเครอ่ื งจักรต่าง ๆ ตามลักษณะของงาน เมอ่ื แตล่ ะ ชิน้ ส่วนทีผ่ ลิตเสรจ็ แลว้ จะถูกนาํ มาประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ ปน็ ตวั เครอ่ื งจกั ร ดงั น้นั ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น จงึ มคี วามสําคัญที่แสดงรูปรา่ งลักษณะโครงสร้างของเคร่ืองจกั รวา่ แต่ ละชน้ิ ส่วน ประกอบกันอยู่อย่างไร สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 1. แสดงความร้เู กยี่ วกับการเขียนแบบภาพประกอบ 2. เขียนแบบภาพประกอบตามหลกั การ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายความหมายของภาพประกอบได้ 2. บอกประโยชนข์ องภาพประกอบได้ 3. บอกส่วนประกอบของแบบภาพประกอบได้ 4. บอกประเภทของภาพประกอบได้ 5. เขียนแบบสัง่ งานภาพประกอบได้ 6. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบงานภาพประกอบทุกครั้ง และส่งแบบงานตรงตามเวลากําหนด 7. เพ่อื ใหม้ กี จิ นิสัยในการทำงานดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ เป็นระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลา และรับผดิ ชอบ

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เรื่อง ภาพประกอบ หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ (Assembly) 3.1 ความหมายของแบบภาพประกอบ แบบภาพประกอบ คือ แบบงานที่เขียนข้ึนเพอ่ื แสดงรูปร่าง ลกั ษณะโครงสร้างสดั ส่วนของ เคร่ืองจกั รที่มกี าร ประกอบช้ินส่วน 2 ช้ินข้ึนไป และบอกรายละเอียดของช้ินส่วนต่าง ๆ ประกอบกนั อยใู่ น ตาแหน่งใด 3.2 ประโยชนข์ องภาพประกอบ 1. แสดงรายละเอียดใหท้ ราบว่าชิ้นส่วนต่าง ๆ ประกอบกนั อยอู่ ยา่ งไร 2. การถอดชิ้นส่วนหรือการประกอบชิ้นส่วนเขา้ ดว้ ยกนั ทาใหง้ านสาเร็จ 3. ใชเ้ ป็นค่มู อื ในการซ่อมบารุงเคร่ืองจกั ร และเป็นเอกสารประจาเครื่องจกั ร 3.3 ส่วนประกอบของแบบงานภาพประกอบ การเขียนแบบงานภาพประกอบน้นั จะตอ้ งแสดงรายละเอยี ดของแบบงานชิ้นส่วนประกอบเขา้ ดว้ ยกนั ดงั น้ี 1. ภาพประกอบฉาย 1-3 ดา้ น 2. หมายเลยชิ้นส่วน แต่ละชิ้นส่วน 3. ตารางรายการวสั ดุ แสดงรายละเอียดตามมาตรฐาน 4. ช้ินส่วนมาตรฐาน 3.4 ประเภทของภาพประกอบ การเขียนแบบภาพประกอบน้นั สามารถเขียนไดห้ ลายแบบ ข้ึนอยกู่ บั วตั ถปุ ระสงค์ ความเหมาะสม ความตอ้ งการ ของผอู้ อกแบบเขียนแบบ แบบภาพประกอบน้นั แบ่งออกไดด้ งั น้ี 1. แบบภาพประกอบเลยเ์ อาท์ (Layout Assembly) เป็นภาพประกอบที่ผอู้ อกแบบใชเ้ ขียนแบบร่าง ของช้ินส่วน หรือออกแบบตามจินตนาการสเกต็ ภาพร่างเพอื่ หาขนาดต่าง ๆ และหาระยะห่าง ระยะ เคลอ่ื นไหว เป็นตน้ 2. แบบภาพประกอบเอาทไ์ ลน์ (Outline Assembly) หรือภาพประกอบแบบติดต้งั เป็นภาพประกอบ ที่แสดง รูปร่างภายนอกและความสมั พนั ธข์ องผวิ ภายนอกเท่าน้นั แบบภาพประกอบประเภทน้ีใชก้ นั มากใน หนงั สือ แจง้ รายการสินคา้ เช่น บอกขนาดหลกั ความสูง ความกวา้ ง ระยะห่างระหวา่ งศนู ยก์ ลางของชิ้นงาน ดงั รูปที่ 3.1

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เร่ือง ภาพประกอบ รูปที่ 3.1 ภาพประกอบเอาทไ์ ลน์ 3. แบบภาพประกอบทว่ั ไป (General Assembly) ภาพประกอบประเภทน้ีเขียนเป็นภาพภายนอก ภาพตดั หรือตดั บางส่วนก็ได้ โดยไมต่ อ้ งกาหนดขนาดในแบบ แต่จะมีหมายเลขชิ้นส่วนอยใู่ นวงกลมนอก แบบงานมเี สน้ เตม็ บาง จากวงกลมช้ีมายงั ชิ้นส่วนน้นั ที่ปลายของเสน้ ตอ้ งแสดงจุดดว้ ย และตอ้ งมีตาราง รายการชน้ิ ส่วนประกอบ หรือตาราง รายการวสั ดุท่ีแสดงชื่อช้ินส่วนหมายเลขชิ้นส่วน จานวนช้ินส่วน วสั ดุ ท่ีใชท้ าชิ้นส่วน ดงั รูปที่ 3.2 รูปที่ 3.2 ภาพประกอบดา้ นหนา้ สกรูแจ็ค

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เร่ือง ภาพประกอบ ตารางที่ 3.1 ตารางรายการวสั ดุ สกรู แจค๊ 5 สกรู ลอ็ ค  25 x 29 St-37 5 1  47 x 17 4 นตั ปรับระดบั  37 x 89 St-37 4 1  42 x 73 3 สกรู รับน้าหนกั 73 x 73 x 21 St-37 3 1 2 เสาหลกั ขนาดวสั ดุ St-37 2 1 1 ฐานรับน้าหนกั St-37 1 1 ช้ินที่ รายงาน ผเู้ ขียน วสั ดุ หมาเลยแบบ จานวน ผตู้ รวจ วทิ ยาลยั เทคนิคสตลู ผตู้ รวจ ม.ช. ผอู้ อกแบบ มาตราส่วน ช่ือช้ินงาน หมายเลขแบบ 1:1 สกรู แจ็ค 21022101-0 4. แบบภาพประกอบภาพตดั (Sectioned Assembly) เป็นภาพประกอบท่ีใชก้ บั ช้ินส่วนประกอบที่มี รูป ซบั ซอ้ น มีรายละเอียดภายในมาก และตอ้ งการใหเ้ ห็นรายละเอยี ดภายในใหช้ ดั เจนข้นึ โดยไมต่ อ้ งแสดง เสน้ ประในแบบงาน ดงั รูปท่ี 3.3 รูปที่ 3.3 ภาพประกอบดา้ มตา๊ ป 5. แบบภาพประกอบย่อย (Sub-Assembly) เป็นภาพประกอบที่แสดงใหเ้ ห็นเฉพาะหน่วยหน่ึงของ ส่วนประกอบดว้ ยหลายหน่วยใชใ้ นกรณีหน่วยน้นั มคี วามซบั ซอ้ น แบบภาพประกอบประเภทน้ีจะมี ประโยชนต์ ่อผทู้ าการประกอบ และซ่อมบารุงรักษา และจะมปี ระโยชน์เป็นพิเศษถา้ มรี ายละเอยี ดอื่น ๆ ท่ี มากกว่าแสดงในแบบภาพประกอบ ทว่ั ไป รูปที่ 3.4 เป็นภาพประกอบยอ่ ยก่อนนาไปประกอบรวมกบั ตวั

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เร่ือง ภาพประกอบ เรือนกอ๊ กนา้ํ ดงั รูปที่ 3.5 รูปท่ี 3.4 ภาพประกอบภายในส่วนหวั กอ๊ กน้า รูปท่ี 3.5 ก๊อกน้าธรรมดาแบบกา้ นยก 3.5 ตวั อยา่ งการเขียนภาพประกอบสลกั และรูควา้ น ตวั อยา่ งการเขียนภาพประกอบสลกั และรูควา้ น มดี งั น้ี ตวั อยา่ งท่ี 3.1 การเขียนภาพประกอบ สลกั และรูควา้ น ควา้ นมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางโตกว่าเสน้ ผา่ น ศนู ยก์ ลางสลกั (สวมคลอน) รูปที่ 3.6 ภาพประกอบสลกั และรูควา้ น (สวมคลอน) จากรูปที่ 3.6 เป็นภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น สลกั และรูควา้ น ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของรูควา้ น โตกวา่ สลกั เมอื่ แสดงภาพตดั ก็จะเห็นขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของสลกั และรูควา้ นแยกกนั ดงั รูปท่ี 3.6 ตวั อยา่ งที่ 3.2 การเขียนภาพประกอบสลกั และรูควา้ นที่มขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางเท่ากนั (สวมอดั )

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เรื่อง ภาพประกอบ รูปที่ 3.7 ภาพประกอบสลกั และควา้ น (สวมอดั ) จากรูปท่ี 3.7 เป็นภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น สลกั และรูควา้ นท่ีมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางเท่ากนั สวมอดั กนั อยู่ เมื่อแสดงภาพตดั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของสลกั และรูควา้ นเขยี นเป็นเสน้ เดียวกนั ดงั รูปท่ี 3.7 3.6 ตวั อยา่ งการเขียนภาพประกอบสลกั เกลยี วและเกลยี วในทะลุ รูปที่ 3.8 ภาพประกอบสลกั เกลยี วและเกลยี วในทะลุ จากรูปท่ี 3.8 เป็นภาพประกอบฉาย 3 ดา้ นสลกั เกลยี วและเกลียวในทะลเุ มอ่ื แสดงภาพตดั จะอธิบายไดด้ งั น้ี 1. เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลียวสลกั เท่ากบั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางโคนเกลยี วในเมือ่ ประกอบกนั แลว้

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เร่ือง ภาพประกอบ เสน้ ทบั กนั เขียนแสดงเสน้ เต็มหนา ส่วนโคนเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางสลกั เท่ากบั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลยี วใน เสน้ ทบั กนั เขียนแสดงดว้ ยเสน้ เตม็ บาง ส่วนเสน้ ลายตดั (เสน้ เตม็ บางเอยี ง 45 ) จากขอบงานถึงเสน้ ผา่ น ศนู ยก์ ลางยอดเกลยี วสลกั ดงั รูปท่ี 3.8 2. ปลายสุดของสลกั เกลยี วมีการกลงึ ลบคมก่อนกลึงเกลียว เขียนแสดงดว้ ยเสน้ เตม็ หนา ดงั รูปท่ี 8.8 3. ปลายเกลียวในท่ีประกอบกบั สลกั เหลียวไดไ้ ม่หมด เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางโคนเกลียวเขียนแสดง ดว้ ย เสน้ เต็มบาง ส่วนเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลยี วเขียนเสน้ เตม็ หนา เสน้ ลายตดั (เสน้ เต็มบางเอียง 45 ) จากขอบ งาน ถึงเสน้ ชยั อดเกลียวใน ดงั รูปท่ี 8.8 4. ภาพประกอบท่ีไม่แสดงภาพตดั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลียว เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางโคนเกลยี ว ของ สลกั เกลยี วและเกลยี วในปลายสุดของสลกั เกลียว ปลายสุดเกลยี วในที่ไมไ่ ดป้ ระกอบกนั เกลียวนอกเขียน แสดงดว้ ย เสน้ ประ ดงั รูปท่ี 3.8 ตวั อยา่ งที่ 3.3 การเขียนแบบภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น สลกั เกลียวและเกลียวในไมท่ ะลุ รูปที่ 3.9 ภาพประกอบสลกั เกลยี ว และเกลียวในไม่ทะลุ จากรูปที่ 3.9 เป็นภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น สลกั เกลยี วประกอบกบั เกลยี วระธรรมกาย ดงั น้ี 1. เสน้ สุดเกลยี วใน เขียนแสดงดว้ ยเสน้ เตม็ หนา ดงั รูปท่ี 3.9 2. เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลยี วใน เขียนแสดงดว้ ยเสน้ เต็มหนา ส่วนเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของโคน เกลียวใน เขียนแสดงดว้ ยเสน้ เต็มบาง ดงั รูปท่ี 3.9 3. รูเจาะก่อนทาเกลียว ซ่ึงมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางเท่ากบั ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยอดเกลยี วใน และปลายรูเจาะดอกสว่านเขยี น แสดงดว้ ยเสน้ เต็มหนา

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เร่ือง ภาพประกอบ 3.7 ตวั อยา่ งการเขียนภาพประกอบซีแคลมป์ ในการเขียนแบบภาพประกอบน้นั จะไมแ่ สดงขนาดในแบบงานก่อนท่ีจะเขียนภาพประกอบฉาย 3 ดา้ นของ แบบ งาน จะตอ้ งมีแบบสง่ั งานเป็นภาพฉาย 3 ดา้ นของแต่ละช้ินส่วนพร้อมขนาด ดงั รูปที่ 3.10 รูปท่ี 3.10 ภาพแยกชน้ิ ส่วน ซีแคลมป์

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เรื่อง ภาพประกอบ รูปท่ี 3.10 (ต่อ) ภาพแยกชิ้นส่วน ซีแคลมป์ ตารางท่ี 3.2 ตารางรายการวสั ดุชีแคลมป์ 5 สกรู ลอ็ คมือหมุน M4 x 5 DIN913 5 1  9 x 45 St-37 4 1 4 มือหมมุ น  17 x 9 St-37 3 1  17 x 71 St-37 2 1 3 แป้ นยดึ 73 x 51 x 19 St-37 1 1 ขนาดวสั ดุ วสั ดุ หมาเลยแบบ จานวน 2 สกรู ยดึ 1 โครง ช้ินที่ รายงาน ผเู้ ขียน ผตู้ รวจ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล ผตู้ รวจ ม.ช. ผอู้ อกแบบ มาตราส่วน ช่ือช้ินงาน หมายเลขแบบ 21022101-0 1 : 1 ซีแคลมป์ ข้นั ตอนการเขียนภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น ซีแคลมป์ มีดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 เขียนช้ินส่วนหลกั ๆ ฉาย 3 ดา้ น ชิ้นส่วนที่ 1 คือ โครงสร้างซีแคลมป์ พร้อมเขียน หมายเลขตาแหน่ง ช้ินส่วน ดงั รูปที่ 3.12

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เร่ือง ภาพประกอบ รูปที่ 3.11 ภาพฉาย 3 ดา้ น ชิ้นส่วนที่ 1 โครงซีแคลมป์ ข้นั ตอนท่ี 2 นาชิ้นส่วนที่ 2 คือ สกรูยดึ ประกอบเขา้ กบั โครงซีแคลมป์ แสดงภาพตดั เฉพาะส่วน พร้อมหมายเลข ตาแหน่งชิ้นส่วน ดงั รูปท่ี 3.13 รูปที่ 3.12 ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น ช้ินส่วนที่ 1 และ 2 ข้นั ตอนท่ี 3 นาชิ้นส่วนท่ี 3 คือ แป้ นลอ็ ค ประกอบเขา้ ท่ีปลายช้ินส่วนที่ 2 คือ สกรูยดึ พร้อมแสดง หมายเลข ตาแหน่งช้ินส่วน ดงั รูปที่ 3.14

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เรื่อง ภาพประกอบ รูปที่ 3.13 ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น ช้ินส่วนท่ี 1, 2 และ3 ข้นั ตอนที่ 4 นาช้ินส่วนท่ี 4 คือ ดา้ มมอื หมนุ ประกอบเขา้ ท่ีปลายอีกดา้ นหน่ึงของช้ินส่วนท่ี 2 คือ สกรูยดึ พร้อม หมายเลขตาแหน่งชิ้นส่วน ดงั รูปท่ี 3.15 รูปท่ี 3.14 ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น ชิ้นส่วนที่ 1, 2, 3 และ 4 ข้นั ตอนท่ี 5 นาชิ้นส่วนที่ 5 คือ สกรูลอ็ กมอื หมนุ ประกอบเขา้ กบั ช้ินส่วนที่ 2 คือ สกรูยดึ เพอ่ื ลอ็ ก

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3 เร่ือง ภาพประกอบ ชิ้นส่วนที่ 4 คือ ดา้ มมอื หมนุ พร้อมหมายเลขตาแหน่งช้ินส่วน ดงั รูปท่ี 3.16 รูปที่ 3.15 ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น ชิ้นส่วนที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ข้นั ตอนที่ 6 เขียนแบบตารางรายการวสั ดุ ดงั ตารางที่ 3.3 ตารางที่ 3.3 ตารางรายการวสั ดุ ซีแคลมป์ (ภาพประกอบ) 5 สกรู ลอ็ คมอื หมุน M4 x 5 DIN913 5 1  9 x 45 St-37 4 1 4 มอื หมมุ น  17 x 9 St-37 3 1  17 x 71 St-37 2 1 3 แป้ นยดึ 73 x 51 x 19 St-37 1 1 ขนาดวสั ดุ วสั ดุ หมาเลยแบบ จานวน 2 สกรู ยดึ 1 โครง ชิ้นท่ี รายงาน ผเู้ ขียน ผตู้ รวจ วทิ ยาลยั เทคนิคสตูล ผตู้ รวจ ม.ช. ผอู้ อกแบบ มาตราส่วน ช่ือช้ินงาน หมายเลขแบบ 21022101-0 1 : 1 ซีแคลมป์

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 3 เร่ือง ภาพประกอบ

ใบสั่งงานที่ 1 (Job Sheet No.1) ช่ือรายวชิ า : เขียนแบบเคร่ืองมอื กล 2 แผน่ ท่ี 1 ช่ืองาน : เขียนภาพประกอบ คาํ สั่ง จงเขียน ภาพประกอบฉาย 3 ดา้ น และเขียนตารางรายการวสั ดุ กาํ หนดให้ ภาพฉาย 3 ดา้ น บลอ็ กแคม ช้ินส่วนท่ี 1 คือ ลาํ ตวั ช้ินส่วนท่ี 2 คือ โครง ช้ินส่วนที่ 3 คือ สกรูยดึ ช้ินส่วนท่ี 4 คือดา้ มมอื หมุน พร้อมขนาด ชื่อนักเรียน : .......................................... ผู้ควบคุม : .................................................... ช้ัน/ห้อง : ............................................... วนั ท่ี : ....................................................

ใบส่ังงาน ที่ 1 (Job Sheet No.1) ชื่อรายวชิ า : เขียนแบบเครื่องมือกล 2 แผน่ ที่ 2 ชื่องาน : เขียนภาพประกอบ ชื่อนักเรียน : .......................................... ผ้คู วบคุม : .................................................... ช้ัน/ห้อง : ............................................... วนั ที่ : ....................................................

ใบส่ังงาน ที่ 1 (Job Sheet No.1) ชื่อรายวชิ า : เขียนแบบเครื่องมือกล 2 แผน่ ที่ 3 ชื่องาน : เขียนภาพประกอบ ชื่อนักเรียน : .......................................... ผ้คู วบคุม : .................................................... ช้ัน/ห้อง : ............................................... วนั ที่ : ....................................................

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3.1 ความหมายของแบบภาพประ แบบภาพประกอบ คอื แบบง แสดงรปู รา่ ง ลักษณะโครงสรา้ งสดั สว่ การ ประกอบช้ินส่วน 2 ช้ินข้ึนไป แล ของชนิ้ ส่วนต่าง ๆ ประกอบกันอยใู่ น

(Assembly) ะกอบ งานท่เี ขียนขึ้นเพอ่ื วนของเคร่ืองจักรที่มี ละบอกรายละเอียด นตาแหนง่ ใด

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3.2 ประโยชน์ของภาพประกอบ 1. แสดงรายละเอยี ดใหท้ ราบวา่ ชนิ้ สว่ นต อยา่ งไร 2. การถอดช้ินสว่ นหรอื การประกอบช้นิ งานสาเร็จ 3. ใชเ้ ป็นค่มู อื ในการซ่อมบารงุ เคร่ืองจัก ประจาเครอ่ื งจักร

(Assembly) ตา่ ง ๆ ประกอบกนั อยู่ นส่วนเข้าดว้ ยกนั ทาให้ กร และเป็นเอกสาร

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3.3 ส่วนประกอบของแบบงานภาพประกอบ การเขยี นแบบงานภาพประกอบนน้ั จะตอ้ ง แบบงานชิ้นสว่ นประกอบเข้าดว้ ยกนั ดังนี้ 1. ภาพประกอบฉาย 1-3 ด้าน 2. หมายเลยชิ้นสว่ น แตล่ ะชิ้นส่วน 3. ตารางรายการวสั ดุ แสดงรายละเอียดตา 4. ชนิ้ ส่วนมาตรฐาน

(Assembly) บ งแสดงรายละเอยี ดของ ามมาตรฐาน

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3.3 ส่วนประกอบของแบบงานภาพประกอบ การเขยี นแบบงานภาพประกอบนน้ั จะตอ้ ง แบบงานชิ้นสว่ นประกอบเข้าดว้ ยกนั ดังนี้ 1. ภาพประกอบฉาย 1-3 ด้าน 2. หมายเลยชิ้นสว่ น แตล่ ะชิ้นส่วน 3. ตารางรายการวสั ดุ แสดงรายละเอียดตา 4. ชนิ้ ส่วนมาตรฐาน

(Assembly) บ งแสดงรายละเอยี ดของ ามมาตรฐาน

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3.4 ประเภทของภาพประกอบ การเขยี นแบบภาพประกอบนัน้ สามารถเขยี นไ วตั ถปุ ระสงค์ ความเหมาะสม ความต้องการ ของผู้อ ภาพประกอบน้ันแบง่ ออกได้ดงั นี้ 1. แบบภาพประกอบเลยเ์ อาท์ (Layout Asse ผอู้ อกแบบใช้เขียนแบบรา่ งของชน้ิ สว่ น หรือออกแบ เพื่อหาขนาดต่าง ๆ และหาระยะหา่ ง ระยะเคลอ่ื นไ 2. แบบภาพประกอบเอาทไ์ ลน์ (Outline Ass ตดิ ตั้ง เป็นภาพประกอบทีแ่ สดง รูปรา่ งภายนอกแล เท่าน้นั แบบภาพประกอบประเภทน้ใี ช้กนั มากในห บอกขนาดหลกั ความสูง ความกว้าง ระยะห่างระห

(Assembly) ไดห้ ลายแบบ ข้ึนอย่กู บั ออกแบบเขยี นแบบ แบบ embly) เป็นภาพประกอบท่ี บบตามจนิ ตนาการสเก็ตภาพรา่ ง ไหว เป็นต้น sembly) หรอื ภาพประกอบแบบ ละความสมั พนั ธ์ของผิวภายนอก หนังสอื แจง้ รายการสินค้า เช่น หว่างศนู ย์กลางของชิน้ งาน

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 3. แบบภาพประกอบท่ัวไป (General A ประเภทนเ้ี ขยี นเป็นภาพภายนอก ภาพต ไมต่ อ้ งกาหนดขนาดในแบบ แต่จะมหี มายเลข แบบงานมเี ส้นเตม็ บาง จากวงกลมชีม้ ายงั ชนิ้ แสดงจดุ ดว้ ย และต้องมีตารางรายการช้ินส่วน รายการวัสดทุ แี่ สดงช่ือช้นิ ส่วนหมายเลขชน้ิ ส ทาชน้ิ ส่วน

(Assembly) Assembly) ภาพประกอบ ตดั หรอื ตดั บางส่วนกไ็ ด้ โดย ขชน้ิ สว่ นอยู่ในวงกลมนอก นสว่ นนนั้ ทปี่ ลายของเสน้ ตอ้ ง นประกอบ หรือตาราง ส่วน จานวนช้ินส่วน วสั ดทุ ่ีใช้

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 4. แบบภาพประกอบภาพตดั (Section เปน็ ภาพประกอบทีใ่ ช้กับชิน้ สว่ นปร รายละเอียดภายในมาก และตอ้ งการให ให้ชัดเจนข้นึ โดยไม่ตอ้ งแสดงเส้นประใน

(Assembly) ned Assembly) ระกอบทีม่ รี ปู ซบั ซอ้ น มี ห้เห็นรายละเอียดภายใน นแบบงาน

หน่วยท่ี 3 ภาพประกอบ 5. แบบภาพประกอบย่อย (Sub-Asse เป็นภาพประกอบท่แี สดงใหเ้ หน็ เฉพ สว่ นประกอบดว้ ยหลายหน่วยใช้ในกรณ แบบภาพประกอบประเภทนจ้ี ะมีประโย และซ่อมบารงุ รกั ษา และจะมีประโยชน รายละเอียดอื่น ๆ ทีม่ ากกวา่ แสดงในแบ

(Assembly) embly) พาะหนว่ ยหนง่ึ ของ ณีหนว่ ยน้ันมคี วามซบั ซอ้ น ยชนต์ อ่ ผ้ทู าการประกอบ น์เปน็ พิเศษถา้ มี บบภาพประกอบ ท่วั ไป






























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook