Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Lab15

Lab15

Published by kowit, 2018-04-02 11:42:12

Description: ใบงานการทดลองที่ 15 การสื่อสารไร้สารด้วย XBee

Search

Read the Text Version

ใบงานการทดลองท่ี 15 การสอื่ สารไร้สายด้วย XBeeวตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมเพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษาสามารถ 1. ตดิ ต้งั โปรแกรมสาหรบั ตัง้ ค่า XBee ได้อย่างถกู ต้อง 2. ตง้ั ค่าพนื้ ฐานเพื่อใช้งาน XBee ในการรับและส่งข้อมลู ได้อยา่ งถูกต้อง 3. เชื่อมตอ่ XBee เขา้ กบั อปุ กรณ์เพ่มิ เตมิ เพอ่ื ใชท้ ดสอบในการรบั และสง่ ข้อมลู ได้อย่างถกู ต้อง 4. อา่ นคา่ และควบคมุ สถานะเอาต์พตุ บน XBee ผา่ น AT Command ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 5. อ่านค่าและควบคมุ สถานะอนิ พุตและเอาต์พุตบน XBee ผา่ น API Command ได้อย่างถูกตอ้ งอุปกรณ์ประกอบการทดลอง 1 เครอื่ ง 1 บอร์ด 1. คอมพิวเตอรท์ มี่ ชี อ่ งเสียบ USB 1 บอร์ด 2. บอร์ด Arduino Mega 2560 10 เส้น 3. บอรด์ One the all 1 ตวั 4. สายเชื่อมตอ่ 1 ตวั 5. XBee Application Module 1 เสน้ 6. USB to Serial Module 1 เส้น 7. สาย USB type A to mini USB 8. สาย USB type A to USB type Bลงชือ่ ผู้ทดลอง 1. _____________________________ 2.__________________________________ทฤษฎที เี่ กยี่ วขอ้ ง การใช้งาน XBee เพื่อสื่อสารและส่งข้อมูลไร้สาย จาเป็นที่จะต้องมีการต้ังค่าพารามิเตอร์ รวมถึงเช่ือมต่อฮาร์ดแวร์ของตัวอุปกรณ์เข้ากับส่วนท่ีจาเป็นต่างๆ ให้ถูกต้อง ซึ่งในใบงานน้ีจะกล่าวถึงการใช้งานอุปกรณ์และโปรแกรมการตั้งค่าโดยใช้โปรแกรม X-CTU ต้ังแต่พ้ืนฐานการติดต้ังซอฟต์แวร์ ไปจนถึงการตั้งค่าอุปกรณจ์ นสามารถทางานได้อย่างถูกตอ้ ง โดยเน้อื หาและการทดลองมรี ายละเอียดดังนี้ หนังสอื ชดุ ฝกึ ดา้ นดิจิทลั 299

เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการต้ังคา่ XBee การต้ังคา่ XBee โดยใช้โปรแกรม X-CTU น้ัน จาเป็นทจ่ี ะต้องใช้เคร่ืองมือ เพ่ือใช้ในการสื่อสารกับตัวXBee ทั้งนี้อุปกรณ์ที่ว่านี้จะมีคุณสมบัติคล้ายกับ USB to Serial น่ันเอง แต่ข้อควรระวังก็คือหากนาโมดูลแปลงทั่วไปมาใช้งาน ตอ้ งระวังในส่วนของแรงไฟที่จ่ายออกมาท่ีขา Tx ด้วย เพราะตัว XBee นั้นใช้ไฟแค่เพียง3.3V เท่าน้ัน แต่โมดูลที่รวมอยู่ในชุดทดลองนี้ ก็พร้อมต่อการตั้งค่า XBee ท้ังบนบอร์ด และบนโมดูลรีโมทเรยี บร้อยแล้ว ดังนี้1. การเชอื่ มตอ่ เพอ่ื ตัง้ ค่า XBee บนบอร์ดทดลอง One the all โดยใชโ้ มดลู USB to Serial วิธีการน้ี เป็นวิธีที่ใช้โมดูล USB to Serial บนบอร์ด เพื่อให้สามารถเข้าถึงการ Monitor และการตั้งค่าการใช้งาน XBee ได้ โดยผู้ใช้งานจะต้องเลือกจัมพ์เปอร์ไปที่ 3V3 เพื่อให้แรงไฟท่ีจ่ายออกมาจากโมดูลนั้นสามารถใชง้ านรว่ มกบั XBee ได้ แลว้ เช่อื มตอ่ สาย โดยวธิ ีการเช่ือมตอ่ สาย ดังตารางใบงานที่ 15-1ตารางใบงานที่ 15-1 การเชอ่ื มตอ่ ขาบนบอรด์ ทดลองSerial Module XBee Dongle Moduleขา Tx ขา Rxขา Rx ขา Txขา RTS ขา CTSขา CTS ขา RTSโดยแสดงตวั อยา่ งการเชอ่ื มต่อสายได้ ดังรปู ใบงานท่ี 15-1 รูปใบงานที่ 15-1 การเชื่อมต่อโมดูล XBee บนบอรด์ ทดลอง300 หนงั สอื ชุดฝึกด้านดิจิทัล

ซึ่งหลังจากเชื่อมต่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะเป็นข้ันตอนของการต้ังค่าภายในตัว XBee โดยใช้ โปรแกรม X-CTU ซ่งึ จะได้กล่าวถึงในการทดลองต่อไป 2. การเชอ่ื มตอ่ เพื่อตง้ั ค่า XBee บนบอร์ดรีโมท (WSN Application Board) โมดูล XBee บน WSN Application Board นั้น ได้ถูกต่ออยู่กับส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น LED แสดงผลสวติ ช์แบบกดติดปลอ่ ยดับ โมดูล RFID และ Buzzer ซ่ึงส่วนตา่ งๆ น้นั สามารถควบคุมไดโ้ ดยผ่าน DIP Switchท้งั 2 ตวั ซง่ึ สว่ นตา่ งๆ นนั้ แสดงได้ดงั รูปใบงานที่ 15-2 รูปใบงานท่ี 15-2 สว่ นต่างๆบน WSN Application Board โดยในส่วนของ DIPSW Remote Setting สามารถนามาใช้ต้ังค่าสาหรับใช้ในงานต่างๆ โดยสามารถตง้ั ค่าผา่ นทาง DIPSW ท้ังสองตวั ดังรปู ใบงานที่ 15-3 และการตงั้ คา่ ในโหมดตา่ งๆ ดงั ตารางที่ 15-2 รูปใบงานท่ี 15-3 ภาพจาลอง DIPSW ท่ีใช้ในการตงั้ ค่า หนังสอื ชุดฝกึ ด้านดิจทิ ลั 301

ตารางท่ี 15-2 การตงั้ ค่าการใช้งานดว้ ย DIPSW DIPSW Setting ModeX-CTU Software ConfigLM35 Temperature SensorID12 RFID 125kLED OutputButton Inputหมายเหตุ รูปแบบการสบั สวิตช์ คอื เม่อื ดันสวิตช์ขึน้ =ON และ เมอื่ ดนั สวิตช์ลง = OFF ดงั รปู302 หนังสือชดุ ฝกึ ด้านดจิ ทิ ัล

การต้ังค่า DIPSW เพ่ือควบคุมการทางานของ XBee จะใช้การตั้งค่าในโหมดของ X-CTU SoftwareConfig ดงั ตารางท่ี 15-2 และเสยี บตัว USB to Serial เข้าท่ีจดุ เช่อื มต่อ ดงั รูปใบงานท่ี 15-4 รูปใบงานท่ี 15-4 ภาพการเชื่อมตอ่ เพ่ือตั้งค่า XBee บน WSN Application Board จะเห็นได้ว่า การเชื่อมต่อเพ่ือต้ังค่า XBee นั้น สามารถเช่ือมต่อได้ทั้งบนบอร์ดหลัก และตัวบอร์ดรีโมท (WSN Application Board) โดยในการทดลองท่ีจะเป็นการทดลองเพ่ือตั้งค่าเบ้ืองต้นในการส่งข้อมูลไรส้ าย ซ่ึงจะได้กล่าวถงึ ในการทดลองตอ่ ไป หนังสือชุดฝึกด้านดจิ ิทลั 303

การทดลองยอ่ ยท่ี 1 การต้ังค่า XBee เพ่อื ใช้ส่งขอ้ มลู แบบไร้สาย การใช้งาน XBee บนบอร์ดชุดทดลอง One the All จะแบ่งการใช้งานเป็น 2 ส่วน โดยส่วนท่ี 1คือส่วนที่อยู่บนบอร์ดหลัก และส่วนที่ 2 คือส่วนท่ีเป็นบอร์ดรีโมท ดังรูปใบงานท่ี 15-5 ซึ่งในการทดลองส่งและรับข้อมูลไร้สายเบอื้ งตน้ จะใช้งานทั้งสองส่วน โดยดาเนนิ การทดลองดงั นี้ รปู ใบงานที่ 15-5 ภาพการเชอ่ื มต่อเพื่อต้งั ค่า WSN Application Boardขัน้ ตอนการทดลองการตง้ั ค่า XBee บนบอรด์ หลัก (One the All Board)1.1 เช่ือมต่อในส่วนของบอร์ดหลัก โดยเช่ือมต่อขา Rx และ Tx รวมถึง CTS และ RTS จากโมดูล XBeeDongle เขา้ กับโมดลู USB to Serial ดงั รปู ใบงานท่ี 15-1 และอ้างองิ การเชอื่ มตอ่ ไดด้ งั ตารางใบงาน ท่ี 15-11.2 เชื่อมตอ่ โมดูล USB to serial เขา้ กับคอมพวิ เตอร์ แล้วติดต้ังไดรเวอรใ์ ห้เสร็จเรยี บรอ้ ย1.3 ตรวจสอบหมายเลขคอมพอร์ต โดยเข้าไปตรวจสอบใน Device Manager แล้วเลือกหวั ข้อ Port (Com &LPT) หากไดรเวอร์ติดตั้งถูกต้องเรียบร้อย จะปรากฏหมายเลขของคอมพอร์ตข้ึนมา ดังรูปใบงานท่ี 15-6โดยจากตัวอย่างจะปรากฏหมายเลขเปน็ COM9304 หนังสอื ชดุ ฝึกด้านดิจิทลั

รปู ใบงานที่ 15-6 การดูหมายเลขของคอมพอร์ต1.4 เมือ่ ทราบคอมพอร์ตแล้ว ให้เปดิ โปรแกรม X-CTU ขึ้นมา โดยเลอื กทแี่ ท็บ PC Setting จะปรากฏหนา้ ตา่ งทมี่ ีหมายเลขคอมพอร์ตให้เลอื ก (โดยเลือกหมายเลขใหต้ รงกับคอมพอรต์ ท่ีไดต้ รวจสอบใน ขั้นตอนท่ี 1.3) และตง้ั คา่ สว่ นตา่ งๆ ดังรูปใบงานท่ี 15-7 รูปใบงานท่ี 15-7 การเลือกคอมพอร์ต และตั้งค่าสว่ นตา่ งๆ หนังสอื ชุดฝกึ ด้านดจิ ิทลั 305

1.5 เมื่อตั้งค่าต่างๆเสร็จแล้ว คลิกที่แท็บ Modem Configuration ซึ่งเป็นหน้าต่างท่ีไว้สาหรับอัพเกรดและตั้งค่า firmware โดยแสดงดงั รูปใบงานที่ 15-81.6 คลกิ เลือกชนิดโมเด็ม เปน็ รุ่น XB24 จะปรากฏหัวข้อการตั้งค่าต่างๆ โดยในเบื้องต้น จะใช้ Function Setที่ช่ือว่า XBEE 802.4 ดังรปู ใบงานท่ี 15-8เลือก Modem เลือกแทบ็เป็น XB24 Modem Configuration รูปใบงานที่ 15-8 การเลือกชนดิ ของโมเดม็1.7 ตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ให้เป็นค่ามาตรฐานแล้วเขียนลงบน XBee ดังรูปใบงานท่ี 15-10 โดยทาตามข้นั ตอนดงั นี้ 1) กดปุ่ม Clear Screen เพื่อรีเซตการตั้งคา่ เดมิ ออกจากหน้าจอการตงั้ คา่ 2) กดปุ่ม Show Defaults เพื่อตั้งค่าให้เป็นค่ามาตรฐาน ซ่ึงในข้ันตอนน้ีจะเห็นว่า ค่าต่างๆ ในพารามเิ ตอรน์ ั้นเปน็ อย่างไร โดยจะกล่าวถึงพารามิเตอรท์ ่มี ีปัจจยั ในการใช้งานพ้ืนฐานดังน้ี 2.1) (C) CH – Channel -> เป็นการกาหนด Channel ท่ใี ช้งาน306 หนังสือชดุ ฝึกด้านดจิ ิทัล

2.2) (3332) ID – PANID -> เปน็ การกาหนดหมายเลขของ Personal Area Network ID 2.3) DH และ DL เป็นการกาหนดหมายเลยของผู้รบั ปลายทาง ซึ่งสามารถดูได้จากหมายเลขSH และ SL ซึ่งของ XBee ปลายทางโดยถอด XBee บน WSN Application Board มาเพื่อดูหมายเลข ดงั รูปใบงานที่ 15-9 หมายเลข SH หมายเลข SLรปู ใบงานท่ี 15-9 ตาแหนง่ หมายเลข SH และ SL ของ XBee แตล่ ะตัว2.4) MY – 16 bit Source Address โดยเปน็ การต้งั ชือ่ XBee ซ่ึงมขี นาด 16 bit 3) กดปมุ่ Write เพ่ือเขียนการตงั้ ค่าตา่ งๆ ลงบน XBee 1) กดป่ ุม Clear Screen3) กดป่ ุม Write 2) กดป่ ุม Show Defaults 2.1) ใชง้ าน CH C 2.2) กาหนด PAN ID 2.3) ใส่ค่า DH และ DL ของ XBee ตวั รับ 2.4) กาหนด MY address โดย จากตวั อยา่ งกาหนดชื่อ AAAAรปู ใบงานที่ 15-10 การตัง้ ค่าพารามิเตอร์ให้เปน็ ค่ามาตรฐานและเขียนลงบน XBee หนังสือชดุ ฝกึ ด้านดจิ ิทลั 307

โดยปัจจัยหนึ่งท่ีมีผลต่อการใช้งาน XBee ในการต้ังค่าเบื้องต้นน้ัน คือการตั้งค่าพารามิเตอร์ ในข้อที่ 2.1,ข้อ 2.2 และข้อ 2.3 นั่นคือ PAN ID, CH และ DH DL นั้น ท้ังตัวรับและตัวส่งจะต้องตรงกันน่ันเอง แต่จะมีข้อยกเว้นว่าหากต้องการให้การรับและการส่งเป็นแบบ broadcast คือให้ทุกตัวท่ีอยู่ใน CH เดียวกันรบั ข้อมูลได้ ให้เปลี่ยนหมายเลข DH เป็น 0000 และ DL เป็น FFFF ก็จะสามารถใช้งานได้ โดยเมื่อโปรแกรมคา่ พารามเิ ตอรต์ ่างๆ ลงบน XBee เรียบร้อยแลว้ จะปรากฏข้อความบริเวณ status box ดังรูปใบงานที่ 15-11 รปู ใบงานที่ 15-11 ลักษณะของข้อความที่แสดงหลังจากการโปรแกรมเสรจ็ ส้นิ เรียบร้อยการตั้งค่า XBee บนบอร์ด WSN Application Board1.8 ตง้ั ค่า DIP SW แลว้ เช่ือมตอ่ เข้ากบั โมดูล USB to Serial ดังรูปใบงานที่ 15-12 รปู ใบงานที่ 15-12 ลกั ษณะการเชื่อมต่อเพื่อต้งั ค่า XBee บน Application Module308 หนงั สอื ชดุ ฝกึ ด้านดิจิทัล

1.9 เชื่อมต่อโมดลู USB to serial เขา้ กบั คอมพวิ เตอร์ แลว้ ตดิ ต้งั ไดรเวอร์ใหเ้ สร็จเรยี บร้อย1.10 ตรวจสอบหมายเลขคอมพอร์ตเช่นเดียวกับข้ันตอนในส่วนของการตั้งค่าบนบอร์ด One the all โดยเข้าไปตรวจสอบใน Device Manager แล้วเลือกหัวข้อ Port (Com & LPT) หากไดรเวอร์ติดตั้งถูกต้องเรียบร้อยจะปรากฏหมายเลขของคอมพอร์ตขึ้นมา ดังรูปใบงานท่ี 15-13 โดยจากตัวอย่างจะปรากฏหมายเลขของคอมพอร์ตจานวน 2 ช่อง คือ ช่องที่เชื่อมต่อสาหรับโมดูลบนบอร์ด One the all คือ COM9 และช่องที่เชื่อมตอ่ ล่าสดุ คอื COM7 .รูปใบงานที่ 15-13 ลักษณะการปรากฏหมายเลขคอมพอรต์ 2 ช่อง1.11 เมื่อทราบหมายเลขของคอมพอร์ตแลว้ ให้เปิดโปรแกรม X-CTU ขึ้นมา โดยเลือกท่ีแท็บ PC Setting จะปรากฏหน้าต่างที่มีหมายเลขคอมพอร์ตให้เลือก โดยเลือกหมายเลขให้ตรงกับคอมพอร์ตที่ได้ตรวจสอบในขนั้ ตอนท่ี 1.10 และตงั้ ค่าสว่ นต่างๆ ดงั รปู ใบงานท่ี 15-14รปู ใบงานท่ี 15-14 การเลอื กคอมพอร์ต และตั้งค่าสว่ นต่างๆ หนงั สือชุดฝกึ ดา้ นดจิ ทิ ัล 309

1.12 เมื่อตั้งค่าต่างๆ เสร็จแล้ว คลิกท่ีแท็บ Modem Configuration ซ่ึงเป็นหน้าต่างท่ีไว้สาหรับอัพเกรดและต้ังค่า firmware เช่นเดียวกับข้ันตอนในการต้ังค่าบนบอร์ด One the all และคลิกเลือกชนิดโมเด็มเป็นรุ่น XB24 จะปรากฏหัวข้อการตั้งค่าต่างๆ โดยในเบ้ืองต้น จะใช้ Function Set ท่ีชื่อว่า XBEE 802.15.4โดยแสดงดังรูปใบงานท่ี 15-15 โดยจะเห็นได้ว่า หมายเลขคอมพอร์ตที่ status bar นั้นได้เปล่ียนไปเป็นCOM7 แล้วเลือก Modem เลือกแทบ็เป็น XB24 Modem Configuration หมายเลข COM เปลี่ยนไป รปู ใบงานท่ี 15-15 การเลอื กชนิดของโมเด็ม1.13 ตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ให้เป็นค่ามาตรฐาน แล้วเขียนลงบน XBee ดังรูปใบงานที่ 8-23 โดยทาตามขั้นตอนดงั นี้ 1) กดปมุ่ Clear Screen เพอ่ื รเี ซตการตงั้ ค่าเดิมออกจากหน้าจอการตั้งคา่ 2) กดปุม่ Show Defaults เพื่อตงั้ คา่ ให้เป็นคา่ มาตรฐาน 2.1) (C) CH – Channel -> เป็นการกาหนด Channel ทใี่ ชง้ าน 2.2) (3332) ID – PANID -> เป็นการกาหนดหมายเลขของ Personal Area Network ID310 หนงั สอื ชุดฝึกด้านดจิ ิทลั

2.3) DH และ DL เป็นการกาหนดหมายเลยของผู้รับปลายทาง ซ่ึงสามารถดูได้จากด้านใต้ของ XBee ปลายทาง ดังรูปใบงานที่ 15-16 โดยจากภาพจะเป็นการนา XBee 2 ตัวมาเปรียบเทียบ โดยในขน้ั ตอนของการต้งั คา่ บนบอรด์ หลกั น้นั จะใส่ DH และ DL เปน็ หมายเลขของตัวปลายทาง ซึ่งในขณะเดียวกัน เมื่อเราต้ังค่าบนบอร์ด WSN เราก็จะต้องนาหมายเลขของตัวปลายทางมาเช่นเดี ยวกัน กล่าวคือ Serial Number ของตัวหน่ึง จะเป็นDestination Number ของอีกตัวหนง่ึ นั่นเองรูปใบงานท่ี 15-16 เปรียบเทียบหมายเลขของ XBee ทัง้ 2 ตวัจากรูปใบงานที่ 15-16 จะเห็นได้ว่า การต้ังค่า DH และ DL นั้น จะสัมพันธ์กันกับค่า SH และ SLของ XBee ตวั รับ จงดูใตต้ ัว XBee แลว้ บันทกึ คา่ ต่างๆ ลงในช่องดังนี้XBee บนบอร์ด WSN Module XBee บน Board หลัก ค่า SH = ………………………….. คา่ SH = ……………………………คา่ SL = ………….……………….. คา่ SL = …………….………………ค่า DH = ………………………….. ค่า DH = ……………………………ค่า DL = ………….……………….. ค่า DL = …………….………………คา่ MY = ………….……………….. คา่ MY = …………….……………… หนงั สอื ชุดฝึกดา้ นดจิ ิทลั 311

2.4) MY – 16 bit Source Address เปน็ การตงั้ ชื่อ XBee ซงึ่ มขี นาด 16 bitโดยลกั ษณะการตั้งค่าจะคล้ายกบั ในส่วนการตัง้ คา่ บนบอร์ดทดลอง แสดงดังรปู ใบงานที่ 15-17 และ15-183) กดป่ ุม Write 1) กดป่ ุม Clear Screen 2) กดป่ ุม Show Defaults 2.1) ใชง้ าน CH C 2.2) กาหนด PAN ID 2.3) ใส่คา่ DH และ DL ของ XBee ตวั รับ 2.4) กาหนด MY address โดย จากตวั อยา่ งกาหนดชื่อ BBBB รปู ใบงานท่ี 15-17 การต้ังคา่ พารามเิ ตอร์ให้เป็นค่ามาตรฐานและเขียนลงบน XBee3) กดป่มุ Write เพอื่ เขยี นการตง้ั ค่าตา่ งๆ ลงบน XBee แลว้ จะปรากฏข้อความดังรูปใบงานท่ี 15-18 รปู ใบงานท่ี 15-18 ลกั ษณะของข้อความที่แสดงหลงั จากการโปรแกรมเสร็จสิน้ เรียบรอ้ ย312 หนงั สือชุดฝึกด้านดจิ ทิ ัล

1.14 ขั้นตอนต่อไป จะเป็นการทดสอบการส่งข้อมูล จาก XBee บนบอร์ด ไปยัง XBee บน WSN Boardซึง่ ทาตามขนั้ ตอนดงั น้ี 1) เปิดโปรแกรม X-CTU ข้ึนมา แลว้ เข้าไปยัง Terminal ทั้ง 2 สว่ น โดยจากตัวอย่าง COM9 จะเป็น XBee ในส่วนของบอร์ดหลัก และ COM7 จะเป็นในส่วนของ WSN Board แล้วจัดหน้าต่างทั้ง 2 ให้ อยู่ในลักษณะดงั รปู ใบงานท่ี 15-19 ท้งั สองหนา้ ต่าง คอมพอร์ตจะตอ้ งไม่เหมือนกนั แตก่ ารต้งั ค่า Baudrate และรูปแบบ อ่ืนๆ จะตรงกนั รปู ใบงานท่ี 15-19 ลกั ษณะการเปิดหน้าต่างของโปรแกรมเพือ่ ทดสอบการส่งข้อมลู 2) ทดสอบส่งข้อมูล โดยเข้าไปที่หน้าต่างของส่วนบอร์ดหลัก แล้วทดสอบพิมพ์ข้อความ ซ่ึงข้อความที่ ส่งออกไปจะเป็นสีน้าเงิน และข้อความท่ีรับเข้ามา จะเป็นสีแดง ซ่ึงจะปรากฏในหน้าต่างของอีกโมดูล แสดงดังรูปใบงานท่ี 15-20 รปู ใบงานท่ี 15-20 ทดสอบพิมพ์ข้อความ “HELLO WORLD” หนงั สอื ชุดฝึกด้านดิจิทัล 313

3) ทดสอบพิมพ์ข้อความจากหน้าต่างส่วนของ WSN บ้าง โดยทดสอบจะพบว่าสามารถส่งข้อความ กลบั มาได้เชน่ เดยี วกัน แสดงดงั รูปใบงานที่ 15-21 รูปใบงานท่ี 15-21 ทดสอบพมิ พ์ขอ้ ความ “HELLO WORLD”1.15 ทดสอบเปลย่ี นค่าของ DH หรอื DL ของ XBee บนบอรด์ หลกั เปน็ DH = 0 และ DL = 0และบนั ทกึ คา่ ทีไ่ ด้ ว่าผลท่ไี ดเ้ ป็นอยา่ งไร สามารถสง่ ขอ้ มูลไดห้ รอื ไม่……..……………………………………………………………………………………….…………………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………….………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………………….………………………………….1.16 ทดสอบเปลี่ยนค่าของ DH หรือ DL ของ XBee บนบอร์ดหลักเป็น DH = 0 และ DL = FFFFและบนั ทกึ ค่าท่ไี ด้ ว่าผลทไ่ี ด้เป็นอย่างไร สามารถส่งข้อมูลได้หรือไม่……..……………………………………………………………………………………….…………………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………….………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………………….………………………………….1.17 ทดสอบเปล่ียนค่าของ PANID ของ XBee ให้ไม่ตรงกัน และบันทึกค่าที่ได้ว่าผลที่ได้เป็นอย่างไรสามารถสง่ ข้อมลู ได้หรือไม่……..……………………………………………………………………………………….…………………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………….………………………………………….1.18 จากการทดลอง มพี ารามิเตอรใ์ ดบา้ งที่มีผลตอ่ การรับ และส่งข้อมลู ของ XBee……..……………………………………………………………………………………….…………………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………….………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………………….………………………………….……..……………………………………………………………………………………….…………………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………….………………………………………….……..……………………………………………………………………………………………………….………………………………….314 หนงั สอื ชดุ ฝกึ ด้านดจิ ทิ ัล

การทดลองย่อยท่ี 2 การตัง้ ค่า XBee ผา่ นทาง AT Command โดยท่วั ไปการใช้งาน XBee นน้ั การตั้งค่าต่างๆ สามารถทาได้ผ่านทางโปรแกรม X-CTU ซึ่งดังที่ได้ทาการทดลองไปแล้วในการทดลองย่อยที่ 1 แต่ถ้าหากผู้ใช้ต้องการต้ังค่าตัว XBee โดยท่ีไม่มีโปรแกรม X-CTUหรือไม่มีคอมพิวเตอร์ อีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ได้นั่นคือการใช้คาส่ัง ATCommand ซง่ึ จะได้กล่าวถงึ ในการทดลองตอ่ ไปโดยโครงสรา้ งของคาสั่ง มลี กั ษณะดงั รปู ใบงานที่ 15-22 รปู ใบงานท่ี 15-22 โครงสรา้ งคาสง่ั แบบ AT Command จากรูปใบงานที่ 15-22 จะเห็นได้ว่า ในการส่งคาสั่ง จะต้องพิมพ์คาว่า AT ข้ึนต้น แล้วตามด้วยคาสั่งที่เป็นตัวอักษรโดยสามารถดูได้จากหน้า Modem Configuration ตามด้วยค่าพารามิเตอร์ (ถ้ามี) แล้วจึงกดปุ่ม Enter เพ่ือส่งคาส่งั ออกไปนนั่ เอง โดยค่าพารามเิ ตอร์ต่างๆ สามารถดไู ด้จาก Datasheet ดงั ตัวอย่างในรูปใบงานท่ี 15-23 รปู ใบงานที่ 15-23 ตวั อย่างคา่ พารามิเตอร์บน datasheetข้นั ตอนการทดลอง2.1 เช่ือมต่อ WSN Application Module เข้ากับ USB to Serial Module แล้วเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เช่นเดียวกับการทดลองย่อยที่ 1 ดงั รูปใบงานท่ี 15-122.2 เข้าไปท่ีแท็บ Terminal ของโปรแกรม X-CTU พิมพ์คาสั่ง +++ แล้ว XBee จะตอบกลับมาว่า OK เพ่ือพร้อมเขา้ สโู่ หมด AT Command ดงั รปู ใบงานท่ี 15-24 หนังสือชุดฝึกด้านดิจิทลั 315

รปู ใบงานท่ี 15-24 พิมพ์ +++ เพ่อื เขา้ สู่ AT Command2.3 ทดลองเพ่ือตัง้ คา่ สถานะของ LED DIO1 บนบอรด์ เพื่อใหเ้ ปน็ สถานะ LOW ดงั น้ีSend AT Command System Response +++ OKATD1 [enter] 0 (Default Value)ATD1 4 [enter] OKแสดงการใชง้ านได้ดงั รูปใบงานที่ 15-25 รูปใบงานท่ี 15-25 การทดลองควบคุม LED DIO1 ด้วย AT Commandรอสักครู่ LED บรเิ วณ DIO1 ก็จะดบั ลง ดงั รูปใบงานท่ี 15-26 DIO1 รูปใบงานที่ 15-26 การทดลองควบคุม LED DIO1 ดว้ ย AT Command316 หนังสอื ชุดฝึกด้านดจิ ทิ ลั

2.4 ทดลองเพอ่ื ต้ังค่าสถานะของ LED DIO1 บนบอร์ด โดยสง่ั ใหเ้ ป็นสถานะ HIGH ดังนี้Send AT Command System Response+++ OKATD1 [enter] 4 (Lasted Value)ATD1 5 [enter] OKรอสกั ครู่ LED ท่ดี ับอยู่ ก็จะติดสวา่ งอีกคร้ัง2.5 ทดลองสง่ั ให้ LED DIO1 และ LED DIO2 ดบั ลง โดยสง่ั ดงั นี้Send AT Command System Response+++ OKATD1 4 [enter] OKATD2 4 [enter] OKรอสักครู่ LED ในส่วนของ DIO1 และ DIO2 ก็จะดบั ลงทั้งสองดวง2.6 จงส่งั งานผา่ น AT Command เพื่อส่ังงานให้ LED ท่ี DIO4 ดับลง แล้วบนั ทกึ ผลการสั่งงานSend AT Command System Response…………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………2.7 ทดลองกดปุ่ม Reset บนบอร์ด จะพบว่าหลังจากที่ทาการ Reset แล้ว LED ท้ังสองดวงที่เคยดับลงในขั้นตอนที่ผ่านมาก็กลับสว่างข้ึนอีกครั้ง นั่นเป็นเพราะว่าค่าท่ีกาหนดในพารามิเตอร์ต่างๆ น้ันยังไม่ได้ถูกนาไปเก็บใน non-volatile memory นัน่ เอง2.8 ทดลองสง่ั LEDDIO1 และ LEDDIO2 อีกครง้ั โดยเพ่มิ คาส่ังในบรรทัดสดุ ทา้ ยดงั น้ีSend AT Command System Response+++ OKATD1 4 [enter] OKATD2 4 [enter] OKATWR [enter] OK หนังสือชดุ ฝึกด้านดิจิทลั 317

แสดงได้ดังรปู ใบงานที่ 15-27 รูปใบงานท่ี 15-27 การต้ังคา่ แบบมีการเขยี นพารามเิ ตอร์บน non - volatile memory รอสักครู่ LED ในส่วนของ DIO1 และ DIO2 ก็จะดับลงทั้งสองดวง ซ่ึงถึงแม้จะมีการกดปุ่ม Resetไปแล้ว หรอื ปลดแหลง่ จา่ ยออก XBee กย็ งั สามารถจดจาคา่ ที่ต้ังค่าไวไ้ ดเ้ ชน่ เดิม ดงั เชน่ รูปใบงานที่ 15-28 SW Reset DIO1, DIO2รูปใบงานท่ี 15-28 ทดลองรีเซตการทางานหลงั จากบนั ทึกข้อมูลบน non-volatile memory แลว้2.9 จงส่ังงานผ่าน AT Command เพื่อส่ังงานให้ LED ที่ DIO4 ดับลง โดยกาหนดให้บันทึกลงบนnon - volatile memory แล้วทดสอบด้วยว่าเม่ือกดปุ่ม Reset แล้ว XBee จดจาค่าหรือไม่ แล้วบันทึกผลการสัง่ งาน Send AT Command System Response …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………318 หนังสอื ชุดฝกึ ด้านดิจทิ ัล

เมือ่ กดปุ่ม Reset บนโมดูล XBee แล้ว LED ที่ DIO4 มีสถานะเปน็ อยา่ งไร……..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………2.10 ทดลองสั่งงานในโหมด AT Command เพ่ือดูค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วบันทึกค่าตอบกลับลงในช่องที่กาหนดให้Send AT Command System Response +++ OK ATID [enter] …………………………………… ATSH [enter] …………………………………… ATSL [enter] …………………………………… ATDH [enter] …………………………………… ATDL [enter] …………………………………… ATCN [enter] OK2.11 จากการใช้งานในโหมด AT Command จงบอกถึงประโยชน์ และข้อดีของการใช้งานในโหมดAT Command มาตามความเข้าใจ……..……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… หนังสือชดุ ฝึกดา้ นดจิ ิทลั 319

การทดลองยอ่ ยท่ี 3 ควบคุม XBee ผา่ น API Command จากการทดลองย่อยท่ี 2 เป็นการควบคุม IO ของ XBee ผ่านทาง AT Command ซึ่งสามารถสั่งงานได้โดยตรงผ่านทาง Serial Communication ซึ่งจะต้องใช้สายในการเช่ือมต่อ แต่หากต้องการการสั่งงานที่เป็นการส่ังงานที่ยืดหยุ่น รองรับการควบคุมไร้สาย และความถูกต้องในการสั่งงานและควบคุมด้วยแล้ว การใช้งานในส่วนท่ีเป็น API Command จะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้เป็นอย่างดี ซึ่งแสดงแนวคิดไดด้ งั รูปใบงานที่ 15-29 รูปใบงานที่ 15-29 แนวคดิ การทดลองการควบคุม XBee ระยะไกลด้วย API Command โดยจากรูปใบงานท่ี 15-29 จะเห็นได้ว่า การควบคุม XBee แบบไร้สายน้ันสามารถทาได้ แต่ต้องอาศัย API Command โดยลักษณะของ API Command มรี ปู แบบโพรโทคอลดงั นี้ รูปใบงานท่ี 15-30 แนวคิดการทดลองการควบคุม XBee ระยะไกลด้วย API Command320 หนังสือชุดฝึกด้านดิจิทัล

จากรปู ใบงานที่ 15-30 เปน็ ลกั ษณะของ Frame Structure ซงึ่ ประกอบด้วยสว่ นตา่ งๆเชน่ สว่ นท่ีเป็น Starter Byte คอื 0x7E, Length อีก 2 Byte ถัดไปจะเปน็ Frame Data และสิ้นสุดดว้ ย Byte สดุ ท้ายซงึ่ เปน็ สว่ นตรวจสอบความถูกต้อง หรือ Checksum อกี 1 Byteตัวอย่าง A API Command (สง่ั งาน DIO0 เป็น LOW) 7E 00 10 17 01 00 13 A2 00 40 B5 D5 F9 AA AA 02 44 30 04 A1 - Start delimiter: 7E - Length: 00 10 (16) - Frame type: 17 (Remote AT Command Request) - Frame ID: 01 (1) - 64-bit dest. address: 00 13 A2 00 40 B5 D5 F9 - 16-bit dest. address: AA AA - Command options: 02 - AT Command: 44 30 (D0) - Parameter: 04 - Checksum: A1 ซ่ึงเมื่อส่ง API Command ไปเพื่อควบคุม XBee ดังตัวอย่าง A แล้ว หากข้อมูลถูกต้อง XBee จะรับข้อมลู แลว้ ส่งขอ้ มลู ตอบกลบั ดังตวั อย่าง Bตัวอย่าง B API Response (Command Response) 7E 00 0F 97 01 00 13 A2 00 40 B5 D5 F9 AA AA 44 30 00 27 - Start delimiter: 7E - Length: 00 0F (15) - Frame type: 97 (Remote Command Response) - Frame ID: 01 (1) - 64-bit source address: 00 13 A2 00 40 B5 D5 F9 - 16-bit source address: AA AA - AT Command: 44 30 (D0) - Status: 00 (Status OK) - Checksum: 27 หนังสือชุดฝกึ ด้านดิจิทลั 321

โดยในการทดลองยอ่ ยนี้ จะเปน็ การทดสอบการควบคุม XBee ไรส้ าย โดยควบคุม DIO ซง่ึ ในแนวคดิตามรูปใบงานที่ 15-29 โดยดาเนินการทดลองดงั นี้ขัน้ ตอนการทดลองต้งั คา่ อปุ กรณ์ปลายทาง (XBee WSN Application Board)3.1 ต้ังค่า DIPSW เข้าสู่โหมด X-CTU Software Config แล้วเชื่อมต่อเข้ากับ USB to Serial Moduleดงั เช่น การทดลองย่อยท่ี 1 แลว้ ต้ังค่าพารามิเตอรต์ ่างให้เปน็ ค่าเริ่มต้น โดยกาหนดให้ DH และ DL ตรงกับค่าSH, SL ของ XBee บนบอร์ดหลกั หรอื บอร์ดตน้ ทาง แสดงตัวอยา่ งดังรูปใบงานที่ 15-31 แล้วกดปุ่ม Writeก็จะเสรจ็ สน้ิ ในส่วนของการต้งั คา่ บน WSN Application Board รูปใบงานท่ี 15-31 ตัวอยา่ งลกั ษณะการต้งั คา่ บนบอรด์ WSN Application Boardตง้ั คา่ อุปกรณต์ น้ ทาง (XBee on main board)3.2 เช่ือมต่อสายสัญญาณ Tx, Rx, CTS, RTS ของโมดูล USB to Serial เข้ากับโมดูล XBee Dongle โดยลกั ษณะการเชอ่ื มต่ออา้ งองิ ตามตารางใบงานที่ 15-1 และตง้ั ค่า DH, DL ใหต้ รงกับ WSN Application Board รปู ใบงานท่ี 15-32 ตวั อย่างลักษณะการตัง้ ค่าบนบอร์ดต้นทาง (Main board)322 หนงั สือชดุ ฝึกด้านดจิ ทิ ัล

3.3 โดยในส่วนของบอร์ดหลัก หรือบอร์ดต้นทาง จะต้องมีการต้ังค่าเพ่ิมเติมคือ จะต้องเปิดการทางานในส่วนของ API โหมดด้วย โดยแสดงดงั รูปใบงานท่ี 15-33 แลว้ กดปุ่ม Write เพ่ืออัพโหลด firmware ก็จะเสรจ็ สนิ้ ในสว่ นของการตงั้ ค่าสาหรับการควบคมุ ดว้ ย API โหมด รูปใบงานท่ี 15-33 การเปดิ โหมดการทางาน APIสรา้ งแพค็ เกจคาสง่ั3.4 เชอ่ื มตอ่ อนิ เตอร์เน็ต แล้วเปดิ เว็บบราวเซอร์โดยระบุ URL Address ไปท่ีhttp://ftp1.digi.com/support/utilities/digi_apiframes2.htm หรือเว็บเพจสาหรับสร้างชุดคาส่ัง APIอื่นๆ แต่ในท่ีน้ีจะยกตัวอย่างและแนวทางการใช้งานจากแหล่งดังกล่าว โดยเม่ือสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเพจได้แล้วจะปรากฏหน้าตาของเวบ็ เพจ ดงั รปู ใบงานท่ี 15-34 รปู ใบงานท่ี 15-34 หนา้ เว็บสาหรบั สรา้ งชดุ คาส่ัง API หนังสอื ชุดฝึกดา้ นดจิ ทิ ัล 323

3.5 สรา้ งชุดคาสั่งเพ่ือควบคุมการทางานของ DIO0 โดยดาเนนิ การตามขนั้ ตอนดังนี้ 1) เลอื ก Frame Type เปน็ 0x17 Remote AT Command ดงั รปู ใบงานท่ี 15-35 รปู ใบงานที่ 15-35 การเลอื ก Frame Type 2) ตง้ั ค่าพารามเิ ตอรท์ ่จี าเปน็ สาหรับการส่งั งาน โดยอา้ งอิงตามรปู ใบงานท่ี 15-36 ดงั น้ี 2.1) ระบคุ า่ DH, DL ของปลายทาง โดยเขยี นตดิ กนั ได้ทงั้ หมด 16 ตวั 2.2) ระบุ ค่ า MY Destination เป็ น FFFE เพื่อให้อ้างอิงปลายทางจากค่า DH และ DL เปน็ หลกั 2.3) ใส่ ค่ า CmdOptions เป็ น 02 เพื่อให้ XBee ที่ฝั่งรับเปลี่ยนแปลงค่า ทันที (Apply Change) 2.4) ใส่ค่า AT Cmd เพื่อควบคุมโดย ใช้การระบุค่าเช่นเดียวกับในส่วนของ AT Command ซ่ึงจากตัวอย่างระบุ D0 เพอ่ื ควบคุม DIO0 น่ันเอง 2.5) ใ ส่ ค่ า AT CmdData ร ะ บุ พารามิเตอร์ ของ AT Cmd โดยจาก ตัวอย่างระบุ 04 เพ่ือให้ DIO0 เป็น LOW รูปใบงานท่ี 15-36 การต้งั คา่ พารามิเตอร์สาหรับการตั้งค่าให้ DIO0 เปน็ LOW324 หนงั สอื ชดุ ฝึกด้านดิจทิ ลั

3) กดปุม่ Build Packet แล้วจะไดก้ ลุม่ ของคาสั่งเปน็ เลขฐาน 16 ดังรูปใบงานท่ี 15-37 รูปใบงานท่ี 15-37 กดปุ่ม Build Packageบนั ทึกคา่ Package ท่ีได้ ...................................................................................................................... .....ทดสอบการทางาน3.6 เปิด X-CTU ท่ีเชื่อมต่ออยู่กับบอร์ดต้นทาง หรือบอร์ดหลักแล้วเลือกแท็บ Terminal กดปุ่ม AssemblePackage และเลอื กการแสดงผลเปน็ HEX ดงั รปู ใบงานท่ี 15-37 รูปใบงานท่ี 15-38 การเลอื กหน้าต่างสาหรบั ส่ง API Package หนังสือชดุ ฝึกด้านดิจทิ ลั 325

3.7 คัดลอก Package ท่ีได้จากการกดปุ่ม Build Package ในขั้นตอนท่ีผ่านมา วางลงในช่องสาหรับAssemble Package ดงั รปู ใบงานที่ 15-39 รปู ใบงานท่ี 15-39 คดั ลอก Package ท่ี Build ไว้ ไปวางในช่องวา่ งสาหรับ Assemble Package3.8 กดปุ่ม Send Data แล้วดูผลการทางานว่า DIO0 มีการทางานเป็นอย่างไร และบันทึกค่าท่ีส่งและค่าตอบกลบั โดยกดปุ่ม Show Hex ดังภาพ แลว้ บนั ทกึ ผล รูปใบงานท่ี 15-40 คัดลอก Package ที่ Build ไว้ ไปวางในช่องวา่ งสาหรบั Assemble PackageLED ท่ี DIO0 มลี กั ษณะสวา่ งหรือดับ.......................คา่ ท่ีส่งไป ……..…………………………………………………………………………….…………………………………ค่าท่ีตอบกลับมา ……..………………………………………………………………………………………………..……… โดยหากการสง่ ข้อมลู ถูกต้อง DIO0 จะตอ้ งดับลง และในคา่ ทีต่ อบกลับมา Byte รองสดุ ท้าย จะตอ้ งระบเุ ปน็ 00 นน่ั คือ Status = OKจงเขียนคาสัง่ เพ่อื สง่ั งานให้ DIO1 ดบั ลง แลว้ บนั ทึกค่าที่สง่ และคา่ ที่รับใหค้ รบถ้วนคา่ ทส่ี ่งไป ……..…………………………………..……………………………………………….…………………………ค่าทตี่ อบกลบั มา ……..………………………………….……………………….……………………………………………326 หนงั สอื ชุดฝกึ ด้านดิจทิ ลั

3.9 ต่อไปจะเป็นการรับค่าการกดสวิตช์ โดยค่าการต้ังค่าแบบตรวจสอบการกดปุ่ม ซ่ึงผู้ทดลองจะต้องตั้งค่าพารามิเตอร์บน XBee Application Board เพิ่มเติมดังรูปใบงานที่ 15-41 โดยต้ังค่า D6 เป็น input และต้ังค่า IC เพ่ือตรวจสอบท่ีขา 6 โดยใส่ค่าเป็น 40 ซ่ึงได้จากการเขียนเลยฐานสอง 0100 0000 แล้วแปลงเป็นฐาน 16 น่ันเอง รูปใบงานท่ี 15-41 การตงั้ คา่ บน WSN Application Board เพ่มิ เติม3.10 เปิดการรบั สวิตช์ท่ี DIO6 โดยปรบั DIPSW ในลกั ษณะดังรปู ใบงานท่ี 15-42 รูปใบงานท่ี 15-42 ต้ังค่า DIPSW เพื่อรบั คา่ สวติ ช์ที่เช่ือมต่ออยกู่ ับ DIO6 หนังสือชุดฝกึ ดา้ นดิจิทลั 327

3.11 ทดสอบการส่งค่าจาก XBee WSN Application Board โดยกดสวิตช์ค้างไว้ แล้วบันทึกค่า หลังจากน้ันปลอ่ ยสวิตช์ และบันทกึ ค่าที่ส่งมาอีกคร้งั ดังรปู ใบงานท่ี 15-43 รูปใบงานท่ี 15-43 การทดสอบกดสวิตช์และการรบั คา่คา่ ท่บี นั ทกึ ได้ขณะกดป่มุ ลงคือ……..……………………………………………………………………………………………………………….…………………………คา่ ที่บันทึกไดข้ ณะปล่อยปุม่ คือ……..……………………………………………………………………………………………………………….…………………………3.12 วิเคราะหค์ า่ โดยยกตัวอย่างค่าทส่ี ง่ กลบั มาขณะกดปุม่ และปลอ่ ยปมุ่ ไดด้ งั รูปใบงานที่ 15-44 รปู ใบงานท่ี 15-44 การวิเคราะห์ข้อมูลทไี่ ด้รบั จาก XBee WSN Application Board328 หนังสือชุดฝึกด้านดิจิทลั

จากรูปใบงานที่ 15-44 จงวิเคราะห์ข้อมูลของตนเองที่ได้รับขณะกดปุ่มลงในข้ันตอนท่ี 3.11 แล้วบันทึกลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 15-1ตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 15-1 ผลการวิเคราะห์ค่าท่ีไดร้ บั จาก XBee WSN Board Package name ขณะกดปุ่มลง หลังจากปล่อยปมุ่Start delimiterLengthFrame type16-bit source address(MY)RSSIRF dataDIO6 Logic (()/1)Checksumสรุปผลการทดลอง และสรุปความสามารถของ XBee มาตามความเขา้ ใจ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… หนงั สอื ชดุ ฝึกด้านดิจทิ ลั 329

คาถามท้ายการทดลอง1. จงบอกพารามิเตอร์ทีส่ าคัญสาหรบั การตงั้ ค่าบน X-CTU สาหรบั การสง่ ขอ้ มลู มาเปน็ ขอ้ ๆ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. จงบอกโหมดการทางานของ XBee มาตามความเขา้ ใจ พรอ้ มอธบิ าย………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. จงบอกขน้ั ตอนในการใช้ API โหมด และขอ้ ดขี อง API โหมด…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………4. จงบอกขัน้ ตอนในการรับคา่ จาก SWITCH DIO6 พร้อมยกตัวอย่างวา่ สามารถนาไปใชง้ านได้อยา่ งไร………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………330 หนังสือชุดฝึกด้านดิจิทลั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook