Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธประวัติ

พุทธประวัติ

Published by Nantinee Podapol, 2018-08-16 08:29:14

Description: พระพุทธศาสานาคือศาสนาหลักของประเทศไทย ประกอบด้วยพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ E-bookฉบับนี้จะเน้นเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธประวัติที่ควรรู้และน่าค้นหา

Search

Read the Text Version

พทุ ธประวตั ิ

คํานาํ รายงานเลม นเี้ ปน สวนหน่ึงของวชิ าพระพทุ ธศาสนาในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๔ จดั ทําขึน้ เปนลกั ษณะหนงั สือ E-BOOK เพ่อื บรู ณาการเขากบัวชิ า วทิ ยาการคํานวณ โดยมจี ดุ ประสงคเพื่อเรียนรคู วามเปน มาของพระพุทธศาสนาและนําหลักธรรมท่ีพระพทุ ธเจาไดทรงสอนไปประยุกตใ ชในชีวิตประจาํ วัน ในรายงานเลม น้ีประกอบดว ยเนอ้ื หาทเ่ี กีย่ วของกบั พระพุทธเจาและพระพุทธศาสนาที่ไดสืบทอดมาต้ังแตอดีตกาลจนถึงปจ จุบันกาล เชน การกอต้งั พุทธศาสนา,วธิ ีการสอนของพระพุทธเจาการเผยแพรพระพุทธศาสนา,หนา ที่ของพระพทุ ธเจาท่ีไดก ระทําแกชาวโลก,พุทธประวัตแิ ละสถานที่ทส่ี ําคัญทางพระพุทธศาสนา ทางผูจัดทําไดทําการรวบรวมขอมลู ท่สี ําคญั และนาสนใจเนื่องจากพวกเราเปน พระพุทธศาสนกิ ชนดงั นัน้ เราจงึ ควรศึกษาพระพุทธศาสนาและสืบทอดตอ ไปเพอื่ ไมใ หพ ระพุทธศาสนาน้ันเลือนหายไป ตามพทุ ธปณิธานของพระพทุ ธเจา ทาง คณะผูจัดทําหวงั วารายงานเลม น้ีจะเปน ประโยชนตอผตู องการศกึ ษาไมมากก็นอย ถามขี อ ผิดพลาดประการใดทางผูจัดทํากข็ ออภยั ไว ณ ที่น้ีทางคณะผูจัดทํายนิ ดีรับทุกคําติและคาํ ชมเพือ่ เปน ประโยชนในการพฒั นารายงานฉบับตอไปใหด ียิ่งข้ึน ก

สารบญัคาํ นาํ .......................................................................................หนา กพทุ ธประวัติและชาดก.............................................................หนา ๑-๒ประสตู ิ.....................................................................................หนา ๓-๕ตรสั ร.ู .......................................................................................หนา ๖-๑๑เสดจ็ ดับขันธปรินพิ พาน...........................................................หนา ๑๒-๑๓สังเวชนียสถาน.........................................................................หนา ๑๔-๑๕วธิ ีการสอนของพระพทุ ธเจา .....................................................หนา ๑๖-๑๗การตรัสรแู ละการกอตง้ั พระพุทธศาสนา..................................หนา ๑๘วิเคราะหพระพทุ ธเจา ในฐานะมนษุ ยผ ูฝกตนไดอยา งสูงสุด......หนา ๑๙การเผยแผพระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจรยิ า........................หนา ๑๙-๒๒พทุ ธบรษิ ัทกับการธํารงรกั ษาพระพุทธศาสนา.........................หนา ๒๓บรรณานกุ รม...........................................................................หนา ๒๔

พุทธประวตั แิ ละชาดก เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกบั พระพทุ ธเจ้าเรียกกนั วา่ พทุ ธประวตั ิ ก็คือประวตั ิศาสตร์พระพทุ ธศาสนาท่ีเก่ียวข้องกบั ประวตั ชิ ีวิต ประวตั บิ คุ คล เหตกุ ารณ์รวมทงั้ สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ การเมืองสงั คมและการศกึ ษาในสมยั พทุ ธกาลการศกึ ษาพระพทุ ธประวตั จิ งึ สามารถทําให้เข้าใจในสภาพสงั คมสมยั พทุ ธกาล อนั เป็นประโยชน์อยา่ งยิ่งตอ่ การวิเคราะห์คําสอนในพระพทุ ธศาสนาและพทุ ธจริยวตั รท่ีทรงปฏิบตั ิตอ่ โลกเป็นอยา่ งดีพทุ ธประวัติ เปนเร่อื งราวความเปน มาของพระพทุ ธเจา ตง้ั แตประสตู ิ เสดจ็ ออกผนวชตรสั รู แสดงปฐมเทศนา ประกาศศาสนา จนถึงปรนิ พิ พาน๑.การตรสั รแู ละการกอตั้งพระพุทธศาสนา การตรสั รู หมายถึง การรูแจงเหน็ จรงิ ในสัจธรรม อันไดแ กค วามจริงอันประเสรฐิ 4ประการ ประกอบดว ย ทกุ ข-ความจรงิ วาดวยความทกุ ข สมทุ ัย-ความจริงวาดวยสาเหตุของความทุกข นโิ รธ-ความจริงวาดวยความดับทกุ ข มรรค-ความจรงิ วาดวยวิถปี ฏิบตั ิเพ่อื ความพน ทุกขสําหรับความทกุ ขอันย่งิ ใหญข องมนุษยใ นทศั นะของพระพทุ ธศาสนา คือ ความเกิดความแก ความเจ็บ ความตาย อนั เปน ความทกุ ขท ไี่ มส ามารถหลกี พนได ดวยเหตนุ ้ีพระพทุ ธเจาจงึ ทรงสนพระทยั ท่ีจะแสวงหาทางออก คือใหห ลุดพน ออกวงจรของความทุกข ภายหลงั การเสดจ็ ออกผนวช พระองคจ ึงทรงศึกษาและทดลองปฏบิ ัตดิ วยวิธีตา งๆและดําริวาไมใชหนทางแกก ารตรัสรู จึงหันมาบําเพญ็ เพยี รทางจิตและไดตรสั รูเปนพระพุทธเจาในวนั เพ็ญขน้ึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๖ ๑

๒.การกอต้ังพระพทุ ธศาสนา ไดเร่มิ ข้ึนโดยพระพุทธเจาเสด็จไปทรงแสดงธรรมเปนครั้งแรกทเ่ี รียกวาปฐมเทศนา โปรดปญ จวคีย ณ ปา อิสิตนมฤคทายวนั จนปญจวคยี ไดบ รรลุธรรมเปน พระอรหันต จึงเปน อนั วาการประกาศและกอต้ังพระพุทธศาสนาไดเ ริ่มตนขน้ึ ดวยดแี ละไดเกดิ มพี ระสงฆข ึน้ ในพระพุทธศาสนาเปนครงั้ แรกวิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะมนษุ ยผ ูฝก ตนไดอ ยางสงู สุด พระพทุ ธศาสนาเชอ่ื ม่นั ในศักยภาพของมนษุ ย โดยมองวา มนุษยส ามารถพฒั นา ตนเองไดใ นแนวทางทถ่ี กู ตอ งเหมาะสม ดว ยหลักนีพ้ ระพทุ ธศาสนาจึงใหค นหันมา สนใจศักยภาพและการพฒั นาความดี ความรูแ ละความสามารถท่มี ีอยูใ นตนเอง และเกิดความสาํ นึกในการฝก ฝนและพัฒนาชวี ิตความเปนอยู มนษุ ยประเสรฐิ สดุ ดว ยการฝก มนษุ ยเ ปนสัตวที่ฝก ไดแ ละตองฝก ดงั น้ันความ ประเสรฐิ ของมนุษยจึงอยูทกี่ ารฝก อบรมและพฒั นาตัวเอง การตรัสรขู อง พระพทุ ธเจาสอนวาการบรรลผุ ลท่ีดีงามนนั้ มใิ ชจ ะกระทําไดโ ดยงาย แตตองใช ความเพียรพยายามและสตปิ ญ ญาในการแสวงหาคน ควาและทดลองวิธีตางๆ ดว ย ความเด็ดเดี่ยวและอดทน ไมท อ ถอยตอปญ หาอุปสรรคทง้ั มวล และสิง่ ที่ทาํ ให พระพทุ ธเจา เปนมนษุ ยผ ปู ระเสริฐที่สดุ คอื ความพยายามของพระพุทธเจาในการ แกป ญหาใหแกช าวโลกและปลดปลอ ยชาวโลกใหเปนอิสระจากกเิ ลสอันเปน สาเหตุแหง ความทุกข๓.พระพทุ ธเจา เปนแบบอยา งของมนุษยผูใชค วามเพยี รเพื่อความดงี าม การตรัสรูคือเครื่องหมายของความสําเรจ็ ในการเพยี รพยายามและการใชสติปญ ญาของพระพทุ ธเจา เนื่องจากการเกิดข้ึนของพระพทุ ธเจาทําใหธรรมเกิดขนึ้ ในโลกและสอ งทางชวี ิตใหแ กช าวโลก แมว า การบรรลุความสําเร็จ คอื การตรัสรูมใิ ชก ารกระทาํ โดยงาย แตก็สาํ เรจ็ ไดด วยความเพยี รพยายามการใชสติปญญาและความอดทน ๒

ประสูติ ประมาณ ๖๐๐ ปเศษมรี ัฐเลก็ ๆ ทน่ี บั วา เจรญิ รุงเรอื งมากในสมยันน้ั รัฐหนง่ึ อยทู างเหนือสดุ ของอนิ เดยี ทีเ่ ชงิ เขา หิมพานต (ภเู ขาหมิ าลยั ) ชอื่ กรุงกบลิ พสั ดุ อยูใ นความอารกั ขาของแควน โกศล มีกษตั รยิ ราชวงศศ ากยะปกครองพระราชาทรงพระนามวา พระเจา สุทโธทนะ พระอรรคมเหสพี ระนามวาพระนางศิรมิ หามายาเทวี คืนหนง่ึ พระนางทรงสุบินนมิ ิต (ฝน ) วา มีทา วมหาพรหมทงั้ สี่ มายกแทนบรรทม ของพระนาง ไปวางไวภายใตตน สาละใหญ ณ ปาหิมพานต (ตน สาละเปน ตน ไมส กลุ เดยี ว กบั ตน รงั ของเรา) เหลาเทพธดิ าพากนั นําพระนาง ไปสรงสนานในสระอโนดาต ซ่งึ อยูขา งๆ ตนสาละน้นั เพ่ือชาํ ระลางมลทิน ในขณะน้ัน มีลกู ชา งเผือกเชอื กหน่ึง ถอื ดอกบัวขาว ลงมาจากภเู ขา เขามาทาํ ประทักษิณสามรอบ แลวเขา สูทองทางเบอ้ื งขวาของพระนาง นับแตน ัน้ มา พระนางกเ็ รม่ิ ทรงครรภ ๓

ประสตู ิ พระนางจะมพี ระประสูติกาลที่ใตตนสาละ ณ สวนลุมพินีวนั เมอ่ืวันศุกร ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือนเพญ็ เสวยฤกษว ิสาขะ ๘๐ ปกอ นพทุ ธศกั ราช (ปจ จุบันลมุ พินวี ัน อยใู นประเทศเนปาล) ทนั ทีที่ประสูติ เจา ชายสทิ ธตั ถะทรงดําเนินดว ยพระบาท ๗ กาว และมดี อกบวั ผดุ ข้ึนมารองรบั พระบาท พรอมเปลงพระวาจาวา \"เราผูเปนเลิศทส่ี ดุ ในโลกประเสรฐิ ที่สดุ ในโลก การเกิดครง้ั น้เี ปนครัง้ สุดทายของเรา\" แตห ลังจากเจา ชายสทิ ธัตถะ ประสตู ไิ ดแลว ๗ วนั พระนางสริ ิมหามายาก็ส้นิ พระชนม เจาชายสทิ ธัตถะจงึ อยใู นความดแู ลของพระนางประชาบดีโคตมี ซง่ึ เปน พระกนษิ ฐาของพระนางสิริมหามายา พรหมณ ทั้ง ๘ ไดท ํานายวา เจาชายสิทธัตถะมีลักษณะเปน มหาบรุ ษุ หากดาํ รงตนในฆราวาสจําไดเ ปน พระมหาจกั รพรรดิ ถา ออกบวชจะไดเ ปน ศาสดาเอกของโลก แตโกณฑญั ญะพราหมณ ผอู ายุนอ ยท่ีสดุ ในจาํ นวนน้ัน ยนื ยนั หนกั แนนวา พระราชกมุ ารสทิ ธัตถะจะเสรด็จออกบวช และจะไดต รสั รเู ปน พระพุทธเจาแนน อน ๔

ประสตู ิ เจาชายสิทธัตถะทรงศกึ ษาเลาเรียนจนจบศิลปศาสตรทั้ง ๑๘ศาสตร ในสํานกั ครูวศิ วามิตร และเนอ่ื งจากพระบิดาไมประสงคใหเ จาชายสิทธัตถะเปน ศาสดาเอกของโลก จงึ พยายามทําใหเจาชายสิทธัตถะพบเห็นแตความสขุโดยการสรางปราสาท ๓ ฤดู ใหอ ยูประทับ และจดั เตรียมความพรอมสําหรบั การราชาภิเษกใหเ จา ชายขนึ้ ครองราชย เมื่อมีพระชนมายุ ๑๖ พรรษา ทรงอภเิ ษกสมรสกับพระนางพิมพาหรือยโสธรา พระธิดาของพระเจากรุงเทวทหะซึ่งเปนพระญาตฝิ ายพระมารดาจนเมือ่ มพี ระชนมายุ ๒๙ พรรษา พระนางพมิ พาไดใหประสูติพระราชโอรส มีพระนามวา \"ราหลุ \" ซ่งึ หมายถงึ \"บว ง\" ๕

ตรสั รู้ ครานั้นพระองคทรงประทบั นั่งขัดสมาธิ ใตต นพระศรีมหาโพธ์ิ ณ อรุ ุเวลาเสนานคิ มเมืองพาราณสี หันพระพักตรไปทางทศิ ตะวันออก และตงั้ จิตอธษิ ฐานดวยความแนว แนวาตราบใดท่ยี ังไมบรรลสุ ัมมาสัมโพธิญาณ กจ็ ะไมล กุ ขน้ึ จากสมาธบิ ัลลังก แมจ ะมหี มูมารเขา มาขดั ขวาง แตก็พา ยแพพระบารมขี องพระองคกลับไป จนเวลาผา นไปในท่สี ดุ พระองคทรงบรรลุรูปฌาณ คอื ครานั้นพระองคทรงประทบั นง่ั ขัดสมาธิ ใตต น พระศรีมหาโพธิ์ ณ อุรเุ วลาเสนานิคม เมอื งพาราณสี หนั พระพักตรไปทางทิศตะวันออก และตงั้ จิตอธษิ ฐานดวยความแนวแนว า ตราบใดท่ียงั ไมบ รรลสุ ัมมา เมื่อพระบรมโพธิสัตวมีชัยตอ พญามารวสั วดีดวยพระบารมีต้ังแตเวลาสายัณหพระอาทิตยย งั มิทนั จะอสั ดงคต ทาํ ใหบ ังเกดิ ความเบิกบานพระทยั ดว ยปต เิ กษม จึงทรงเจรญิ สมาธภิ าวนาทําจิตใหป ราศจาก อุปกเิ ลส จนไดบรรลุ ปฐมฌาน ตตยิ ฌาน และจตตุ ถฌาน อนั เปนสวนรูปฌานสมาบัติตามลําดบั ตอ จากนั้นทรงเจรญิ ญาณอนั เปนองคป ญญาช้ันสูง ๓ ประการตามลําดบั แหงยามสาม ซึง่ ในทางศาสนาแบง กลางคืนออกเปน ๓ สวนแตละสวนเรียกวายามหนงึ่ ๆ คอื ปฐมยาม มชั ฌมิ ยาม ปจฉมิ ยาม ในราตรนี น้ั คอื ในวนัเพญ็ พระจนั ทรเสวยดาวฤกษช ่อื วาวสิ าขา คือ วนั เพญ็ เดือนวิสาขะเปนเวสาขะ ในราตรีวันเพ็ญนั้น พระพทุ ธเจาไดตรัสรูธรรม กอนแตต รสั รูเ รียกวา พระโพธสิ ัตวแปลวา ผูของอยูในความรู อนั หมายความวา ไมท รงขอ งอยูใ นส่ิงอ่นื ของอยแู ตใ นความรู จึงทรงแสวงหาความรจู นไดตรสั รู จงึ เรียกวา พทุ ธะ ทีแ่ ปลวา ผรู ู หรือ ตรสั รู เราเรยี กกนัวา พระพุทธเจา พระองคไ ดตรสั รูท่ภี ายใตตน ไมชื่อวาอัสสัตถะ ตอ มากเ็ รยี กวา ตน โพธ์ิ คาํ วา โพธิแปลวา ตรสั รู เพราะพระพุทธเจาไปประทบั นง่ั ใตไ มน น้ั ตรัสรู จงึ ไดเรยี กวา ตนไมต รสั รู เรียกเปนศพั ทว า โพธิพฤกษแตชือ่ ของตน ไมชนิดนว้ี า อัสสัตถะทีต่ รสั รนู ้นั อยใู กลฝ งแมนาํ้ เนรญั ชรา ใน ตาํ บลอุรเุ วลา ใน มคธรัฐ ๖

ตรสั รู้ทรงตรสั รอู นตุ ตรสัมมาสมั โพธิญาณ พระองคทรงตรัสรูในตอนเชามืดวันพธุ ขึน้ ๑๕ คํา่ เดอื น ๖ ประกา กอนพทุ ธศกั ราช ๔๕ ป หลงั จากออกผนวชได ๖ ป ณ ใตร มไมศ รีมหาโพธ์ิ ฝง แมน าํ้ เนรัญชราตาํ บลอรุ ุเวลาเสนานิคม ปจจบุ นั สถานทต่ี รสั รูแหงนีเ้ รยี กวา “พุทธคยา” เปน ตําบลหนึง่ ของเมอื งคยา แหงรฐั พหิ ารของอินเดียพระพุทธเจา ไดทรงตรัสรูอริยสัจส่ี หรือความจริงอันประเสรฐิ ๔ ประการ ซ่งึ ไดรับการยอมรับวาการตรัสรขู องพระพุทธเจาเปนการตรัสรูอันยอดเยย่ี ม ไมมผี เู สมอเหมือน ดังนนั้วันตรสั รูของพระพุทธเจาจึงจัดเปน วนั สาํ คัญ เพราะเปนวันท่บี ังเกดิ พระพุทธเจา พระนามวา “โคตมะ” อบุ ัตขิ ึน้ ในโลก พระพุทธเจาทรงบําเพญ็ เพียร ท่ใี ตต น พระศรีมหาโพธ์ิ ทรงเรมิ่ บําเพ็ญสมาธิใหเ กิดในพระทยั เรยี กวาการเขา “ฌาน” เพ่ือใหบ รรลุ “ญาณ” จนเวลาผา นไปจนถงึ ยามตน : ทรงบรรลุ “บพุ เพนิวาสานุติญาณ” คอื ทรงระลกึ ชาตใิ นอดีตทงั้ ของ ตนเองและผูอืน่ ยามสอง : ทรงบรรลุ “จุตูปปาตญาณ” คือการรูแจงการเกิดและดับของสรรพสัตว ท้ังหลาย ยามสาม : ทรงบรรลุ “อาสวักขยญาณ” คือ รูวธิ ีกําจัดกิเลสดวย อรยิ สัจ ๔ คือทุกข สมุทยั นโิ รธ มรรค ไดตรัสรเู ปนพระสมั มาสัมพุทธเจา ในคนื วันเพญ็ เดอื น ๖ ซง่ึ ขณะน้นั พระพทุ ธองคม ีพระชนมายไุ ด ๓๕ พรรษา ๗

ตรสั รู้ นปฐมยาม ทรงบรรลุบพุ เพนวิ าสานสุ สติญาณ สามารถระลกึ อดีตชาติท่ีพระองคท รงเกดิ มาแลว ไดท้ังสน้ิ ยอ นหลังไปตัง้ แตมีชัยตอพญามารวัสวดี ลอยถาดทองณ รมิ ฝง แมน า้ํ เนรัญชรารบั มธุปายาสจากานางสชุ าดา ทรงสบุ ินบุพนิมิตมหามงคล ๕ประการ ยอ นไปจนถึงเมอื่ ครงั้ ไปศึกษาวชิ ากับ อาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ กดาบสรามบุตร ทรงใหป ฏิญาณแกพระเจาพมิ พิสาร ทรงบรรพชา ณ รมิ ฝง แมน ้ําอโนมาเสด็จหนีออกจากกรงุ กบิลพสั ดุ ประสตู ิในสวนลมุ พินีวัน ตราบจนเม่อื ครงั้ เสวยพระชาตเิ ปนพระเวสสนั ดร และทรงระลกึ ยอ นหลงั ไปถึง ๔ อสงไขย ๑ แสนมหากปั ป ในมัชฌมิ ยาม ทรงบรรลุจุตปู ปาตญาณ หรอื ทพิ ยจักษุญาณ สามารถหยั่งรูการเวยี นวายตายเกิดของเหลา สรรพสัตวอ่ืนไดห มดเปรยี บประหน่งึ ผยู นื บนปราสาทอนัต้ังตระหงา นอยหู วาง กลางถนน ๔ แพรง จึงสามารถเล็งเหน็ มนษุ ยแ ละสตั วท งั้ หลาย เม่ือน่ัง ยืน เดิน เขาออกจากเรือน หรอื ระหวางสัญจรไปตามวิถีแหงทาง ๔ แพรง ๘

ตรัสรู้ ในปจ ฉมิ ยาม ทรงบรรลุอาสวกั ขยญาณ ทรงพระปรีชาสามารถทําอาสวกิเลสทงั้ หลายใหดับสนิ้ ไป จนไดบรรลอุ นตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ คือ ญาณอนั ประเสรฐิอนั เปนเคร่ืองตรัสรเู ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา หรือพระผูตรัสรูเองโดยชอบ ในเวลาปจจุบนั สมัยรงุ อรุโณทัย จึงเปลง พระพุทธสหี นาทปฐมอทุ าน ตรสั ทกั ตณั หาดวยความเบกิบานพระทยั วา “นบั ตั้งแตตถาคตทอ งเที่ยวสืบเสาะหานายชา งเรอื นอนั กอ สรางนามรูปคอื ตัวตัณหา ดวยการเวียนวายตายเกิดมาตลอด ๔ อสงไขยแสนมหากลั ป บดั น้ีไดพ บและทาํ ลายสญู สน้ิ แลว จิตของเราปราศจากสังขารเคร่ืองปรุงแตง ใหเ กิดในภพอนื่ แลว ”พลันไดบงั เกดิ มหาอศั จรรยข ึ้นในเวลานั้นกลาวคือ พน้ื ปฐพีอนั กวา งใหญเกิดหว่นั ไหวมหาสาครสมทุ รตีฟองคะนองคล่ืนพฤกษาชาติทัง้ หลายตางผลิดอกออกชอ เบง บานงามตระการดารดาษไปทว่ั ทุกอุทยาน บรรดาแกว มณอี นั ประดบั อยูใ นทกุ วิมานชน้ั ฟาลวนเปลงแสงสองประกายรัศมอี นั โอภาสบรรเจิด ทพิ ยดนตรีตางบรรเลงเสียงเพลงไพเราะเสนาะโสต เทพยดาและผเู รืองฤทธิ์ในทุกสวรรคช ้ันฟาปาหมิ พานตตางพนมกรแซซองสาธุการโปรยปรายบุปผามาลัยทําการสกั การบชู า เปลงวาจาวาบดั น้พี ระอรหันตสมั มาสมัพทุ ธเจาทรงอุบัตขิ น้ึ ในโลกแลวตรงกับวนั เพญ็ กลางเดอื น ๖ หรอื วันขึ้น ๑๕ ค่ําเดอื น ๖หรอื วนั วสิ าขบูชา สถานทีต่ รัสรขู องพระพุทธเจา ปจจบุ ันอยูในตาํ บลทเี่ รยี กวา พุทธคยาหา งจากเมืองกลั กัตตาประมาณ ๒๓๐ ไมล ๙

ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา หลงั จากพระสัมมาสัมพทุ ธเจาตรสั รูแลว ทรงพิจารณาธรรมท่ีพระองคตรัสรูมาเปน เวลา ๗ สปั ดาห และทรงเห็นวา พระธรรมนนั้ ยากตอบุคคลท่ัวไปท่ีจะเขา ใจและปฏิบตั ิได พระองคจ งึ ทรงพิจารณาวา บคุ คลในโลกนม้ี ีหลายจาํ พวกอยา ง บวั ๔ เหลา ท่มี ีทงั้ ผูท ี่สอนไดงาย และผูทีส่ อนไดย าก พระองคจงึ ทรงระลกึ ถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบส ผเู ปนพระอาจารย จึงหวังเสด็จไปโปรด แตทง้ั สองทา นเสียชวี ติ แลว พระองคจงึทรงระลกึ ถงึ ปญจวคั คีย ทั้ง ๕ ท่ีเคยมาเฝา รับใช จึงไดเ สดจ็ ไปโปรดปญจวัคคยี ท ่ีปาอสิ ปิตนมฤคทายวัน ธรรมเทศนากัณฑแรกท่ีพระองคทรงแสดงธรรมคือ \"ธัมมจักกปั ปวตั ตนสูตร\"แปลวา สตู รของการหมนุ วงลอ แหงพระธรรมใหเ ปนไป ซึ่งถอื เปน การแสดงพระธรรมเทศนาครัง้ แรก ในวนั เพ็ญ ข้นึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๘ ซึ่งตรงกบั วนั อาสาฬหบชู า ในการนีพ้ ระโกณฑัญญะไดธรรมจกั ษุ คือดวงตาเห็นธรรมเปนคนแรก พระพทุ ธองคจงึ ทรงเปลงวาจาวา \"อัญญาสิ วตโกณฑัญโญ\" แปลวา โกณฑญั ญะไดรแู ลว ทา นโกณฑญั ญะ จงึ ไดสมญาวา อญั ญาโกณฑญั ญะ และไดรบั การบวชเปนพระสงฆอ งคแรกในพระพุทธศาสนา โดยเรยี กการบวชท่ีพระพุทธเจาบวชใหว า \"เอหิภกิ ขอุ ุปสัมปทา“ หลงั จากปัญจวคั คีย์อปุ สมบททงั้ หมดแล้ว พทุ ธองค์จงึ ทรงเทศน์อนตั ตลกั ขณสตู รปัญจวคั คีย์จงึ สําเร็จเป็นอรหนั ต์ในเวลาตอ่ มา ๑๐

ตรัสรู้ พอแสดงธรรมกณั ฑ์นีจ้ บลง โกณฑญั ญะ ผ้หู วั หน้าเบญจวคั คีย์ได้เกิดดวงตาเหน็ ธรรม คือได้บรรลเุ ป็นพระโสดาบนั พระพทุ ธเจ้าจงึ เปลง่ อทุ านด้วยความเบกิ บานพระทยั เม่ือเหน็ โกณฑญั ญะได้ฟังธรรมแล้วสาํ เร็จมรรคผลที่แม้จะเป็นขนั้ ตํ่า \"อญั ญาสิ วตโก โกณฑญั โญ ฯลฯ\" แปลวา่ \"โอ! โกณฑญั ญะได้รู้แล้ว ได้สําเร็จแล้ว\" ตงั้ แตน่ นั้ มา ทา่ นโกณฑญั ญะจงึ มีคําหน้าชื่อเพิม่ ขนึ ้ ว่า 'อญั ญา โกณฑญั ญะ'โกณฑญั ญะฟังธรรมจบแล้ว ได้ทลู ขอบวชเป็นพระภิกษุ พระพทุ ธเจ้าจงึ ทรงประทาน อนญุ าตให้ทา่ นบวช ด้วยพระดํารัสรับรองเพียงวา่ \"เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอนั เรากลา่ วดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทําที่สดุ ทกุ ข์โดยชอบเถิด\" พระวาจานนั้ แล ได้เป็น อปุ สมบทของทา่ น สว่ นอีก ๔ ท่ีเหลือ นอกนนั้ ตอ่ มาได้สาํ เร็จและได้บวชเชน่ เดียวกบั พระโกณฑญั ญะ ๑๑

เสดจ็ ดับขนั ธป์ รินิพพาน องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดเสด็จโปรดสัตวแ ละแสดงพระธรรมเทศนา ตลอดระยะเวลา ๔๕ พรรษาขณะน้นั พระองคไดป ระทับจําพรรษา ณ เวฬุคาม ใกลเมืองเวลาสี แควนวัชชี ทรงปลงอายุสงั ขารวา อีก ๓ เดอื นขางหนา จะปรนิ พิ พานโดยกอนเสด็จดบั ขนั ธปรนิ ิพพาน ๑ วันพระองคไ ดเ สวยสกุ รมัททวะท่ีนายจนุ ทะทําถวาย เกดิ อาพาธลงพระโลหิต พระพทุ ธองคเกรงวานายจุนทะถกู กลา วโทษ จึงตรัสวา\"บณิ ฑบาตท่ีมอี นิสงสท ีส่ ดุ มี ๒ อยาง คอื เมอื่ ตถาคต(พุทธองค) เสวยบณิ ฑบาตแลวตรสั รู และเมอ่ื เสวยแลวปรินิพพาน” และ มีพระพทุ ธดํารสั วา \"ธรรมและวนิ ยั อนั ทเี่ ราแสดงแลว บัญญัตแิ ลว แกเธอท้งั หลาย ธรรมวนิ ัยน้ัน จักเปน ศาสดาของเธอท้งั หลายเม่อื เราลว งลับไปแลว \" สุภัททะ สาวกองคสดุ ทาย พระพทุ ธเจา ทรง ประชวรหนกั แตท รงอดกลัน้ มงุ หนา ไปยงั เมืองกสุ นิ ารา ประทับ ณ ปา สาละ เพือ่ ปรินพิ พาน โดยกอนท่ีจะ เสดจ็ ดับขันธปรินพิ พานนัน้ พระองคไดอุปสมบท แก พระสุภัท ทะปริพาชก ซึง่ ถือไดวา \"พระสุภัท ทะ\" คือ สาวกองคสดุ ทายที่พระองคทรงบวชใหทา มกลางคณะสงฆทั้งท่เี ปนพระอรหันต และปถุ ชุ นจากแควนตา ง ๆ รวมทงั้เทวดา ทมี่ ารวมตัวกันในวันน้ี ๑๒

เสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน สุภัททะ สาวกองคสดุ ทาย ในคราวน้ัน พระองคทรงมปี จ ฉมิ โอวาทวา \"ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย เราขอบอกเธอ ท้ังหลาย วา สังขารทง้ั ปวงมี ความเสื่อมสลายไป เปนธรรมดา พวกเธอจึงทําประโยชน ใหสมบรู ณ ดวยความไมป ระมาทเถิด\" จากนัน้ ไดเ สด็จดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน ใตต นสาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหลา มัลลกษัต ริย เมืองกสุ นิ ารา แควน มลั ละ ในวันเพ็ญขน้ึ ๑๕ คํ่า เดอื น ๖ รวมพระชนม ๘๐ พรรษา วันน้ีถอื เปน การเริม่ ตน ของพทุ ธศักราช ปจจุบันเรียกวา \"วันวิสาขบูชา\" ๑๓

สงั เวชนียสถานสังเวชนยี สถานแหง ที่ ๑ - สถานท่ีประสูติ คือ สถานท่ีประสูติแหงองค สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาของเรานั้น ปจจุบันนี้อยูในเขตประเทศเนปาล ซึ่ง ตั้งอยูทางทิศเหนือของคือ สถานท่ี ประสูติแหงองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจาของเรานั้น ปจจุบันน้ีอยูในเขต ประเทศเนปาล ซ่ึงต้ังอยูทางทิศเหนือ ของประเทศอินเดีย ปจจุบันสังเวชนีย สถานแหงน้ี ภาษาทางราชการเรียกวา \"ลุมมินเด\" แตชาวบานท่ัวไปก็ยังเรียกวา \"ลุมพนิ \"ี สังเวชนยี สถานแหงที่ ๒ - สถานทต่ี รัสรู คือ สถานท่ีตรสั รูแตเ ดมิ ทีเดยี วในสมยั พทุ ธกาลนัน้คือตําบลอรุ เุ วลาเสนานิคม เมอื งคยา แควน มคธ ปจจบุ ันสถานท่ีตรสั รนู ีเ้ รยี กตําบลพุทธคยา ๑๔

สงั เวชนยี สถาน สังเวชนียสถานแหงที่ ๓ - สถานทแ่ี สดง ปฐมเทศนา คอื สถานท่แี สดงปฐม เทศนา หรือสถานท่พี ระตถาคตเจาทรงยงั พระอนุตรธมั จักใหเปนไป สถานท่นี อ้ี ยูใน ปา อสิ ิปตนมฤคทายวัน ใกลเ มืองพาราณสี ปจจุบนั เรียกสารนาถ สังเวชนยี สถานแหง ที่ ๔ - สถานทดี่ บั ขันธปรินพิ พานคอื สถานท่ดี บั ขันธปรินิพพาน พุทธประวตั ริ ะบุวา สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา ปจ จบุ ันมีสถูปและวิหารเปนสญั ลักษณ เปนอทุ ยานที่ไดร บั การรักษาจากทางการอนิ เดยีเปน อยา งดี มีตนสาละและไมอ ื่นปลูกอยูท ่ัวไป ใหความรม รืน่ พอสมควร ๑๕

วธิ กี ารสอนของพระพทุ ธเจา้๑. วิธีสอน วิธสี อนของพระพุทธเจามี ๔ แบบ ดงั นี้แบบบรรยาย การสอนแบบน้ีนที้ รงใชเสมอ สวนมากจะเปน บรรยากาศท่ีมผี ูฟงจาํ นวนมาก เชน ที่วัดพระเชตะวันมหาวหิ าร พระองคจะเสด็จลงแสดงธรรมเทศนาในชวงบา ยของทกุ วนั เมอ่ื ครัง้ แสดงธรรมครง้ั แรก คอื โปรดปญจวัคคียท รงใชว ธิ บี รรยายตั้งแตตนจนจบแบบสนทนา แบบนี้ทรงใชบอยมาก อาจเพราะผูฟง มีโอกาสไดแสดงความคิดเหน็ทาํ ใหการเรียนการสอนสนุก ผูฟงมคี วามรสู ึกวาตนกําลังสนทนากับผสู อน ไมใช“ถูกสอน” ในการสนทนาพระพุทธเจาทรงทําหนา ที่ซกั ถาม โยนประเด็นปญหาใหขบคดิ แลว ทรงสรุปใหเ ขาใจแบบตอบปญ หา แบง ยอ ยออกเปน ๔ อยา ง ดงั น้ี ( ๑ ) ตอบตรงไปตรงมา ( ๒ ) ยอ นถามกอนแลวคอยตอบ ( ๓ ) แยกประเด็นตอบ ( ๔ ) แบบตดั ประเด็นหรอื ไมตอบแบบวางกฎขอบังคับ พระองคจะเรียกประชุมสงฆ สอบถามท่ีมาของการกระทําผิดและ ทรงชี้แจงผลเสียหายรวมตอสังคมโดยรวม ตามดวยการแสดงธรรม แลวทรงบัญญัติเปน ขอหา ม (สกิ ขาบท) ๑๖

วิธีการสอนของพระพทุ ธเจ้าเทคนิคการสอน พระพทุ ธเจาทรงใชเทคนคิ การสอนหลากหลาย คือ๑) แปลงนามธรรมใหเปนรูปธรรม หรือ “ ทรงทําของยากใหงาย ” ธรรมะเปนนามธรรมละเอียดออนเขา ใจยาก ( ๑ ) ใชอ ุปมาอปุ ไมย ( ๒ ) ยกนิทานประกอบ ( ๓ ) ใชส ่อื การสอน๒) ทาํ ตนใหเ ปน ตวั อยาง ในแงก ารสอนอาจแบงไดเ ปน ๒ อยาง คือ ( ๑ ) สาธติ ใหด หู รอื ทําใหดู (๒) ปฏิบัติตนเปนแบบอยาง พระพุทธองคทรงเปนผูที่ปฏิบัติพระองคใหเปนแบบอยา งท่ดี ี จึงไดร บั การยกยองวา เปนพระบรมครู เปน ศาสดาเอกในโลก๓) ทรงเลือกใชคําใหเหมาะสม พระองคทรงนําเอามาใชสอนธรรม แตใหความหมายใหม วิธีน้ีทําใหผูฟงใหความสนใจและเขาใจไดงายเพราะไดเทียบเคียงกับความหมายเดมิ๔) รจู งั หวะและโอกาส คือ รอใหผฟู ง มีความพรอมเสยี กอนแลวคอยสอน๕) ยืดหยุนในการใชเทคนิควิธี บางคร้ังก็ทรงใชวิธีนุมนวล บางครั้งเขมงวด บางคร้ังผสมผสานระหวางทัง้ สองวิธี๖) เสริมแรง เพื่อสัมฤทธ์ิผลแหงการส่ังสอน การเสริมแรงเปนสิ่งจําเปนการตรัสชมเชยพระสาวกของพระสาวกบางรูปใหสงฆฟง ๑๗

การตรสั รูแ้ ละการกอ่ ตง้ั พระพทุ ธศาสนา  การตรสั รู หมายถงึ การรแู จงเห็นจริงในสจั ธรรม อนั ไดแ กค วามจรงิ อนั ประเสรฐิ ๔ประการ ประกอบดว ย ทกุ ข- ความจรงิ วาดวยความทกุ ข สมุทัย- ความจริงวาดวยสาเหตขุ องความทกุ ข นโิ รธ-ความจรงิ วาดวยความดบั ทุกข มรรค-ความจริงวาดวยวถิ ปี ฏบิ ตั เิ พ่ือความพน ทุกข  สาํ หรับความทุกขอ นั ยิ่งใหญของมนษุ ยใ นทัศนะของพระพุทธศาสนา คือ ความเกิด ความแก ความเจบ็ ความตาย อนั เปนความทกุ ขทไ่ี มสามารถหลีก พนได ดว ยเหตุนพี้ ระพทุ ธเจาจงึ ทรงสนพระทัยที่จะแสวงหาทางออก คือให หลดุ พนออกวงจรของความทุกข ภายหลังการเสด็จออกผนวช พระองคจงึ ทรงศกึ ษาและทดลองปฏิบตั ดิ ว ยวิธีตางๆและดําริวาไมใชหนทางแกก ารตรัสรู จงึ หันมาบาํ เพ็ญเพียรทางจิตและไดตรัสรูเปน พระพทุ ธเจาในวันเพ็ญข้นึ 15 คํ่า เดอื น ๖ การกอ่ ต้งั พระพุทธศาสนา  ไดเร่ิมข้ึนโดยพระพุทธเจาเสด็จไปทรง แสดงธรรมเปน ครง้ั แรกท่ีเรยี กวา ปฐม เทศนา โปรดปญ จวคยี  ณ ปาอิสิตน มฤคทายวันจนปญจวคียไ ดบรรลุธรรม เปน พระอรหนั ต จึงเปนอนั วา การ ประกาศและกอ ตั้งพระพุทธศาสนาได เริม่ ตนขน้ึ ดว ยดีและไดเกิดมพี ระสงฆ ขึน้ ในพระพุทธศาสนาเปนครั้งแรก ๑๘

วเิ คราะหพ์ ระพุทธเจ้าในฐานะมนุษย์ผู้ฝึกตนได้อย่างสูงสดุ วสพคเกหาาวนรมมราะใฝนมาพจกะุสษุทศฝสายัธกนมมศสยแาาาดภลรสมวะถานายพพทราหัฒี่มถเแชลีพอนล่ือักยัฒาะมนูชใกั่นนน้ีีวพาใาติตรนรตคนะพศนวเพักั ฒอเาุอทยมงนงภธเแปไาศาดลนคพาใะอวสขนเยานอแกูมงานิดมจดวคนึีงทวคใุษาาหวยมงคาท สโนม่ีถํดาหรนูกยู แันึตกมลมออในะางงการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาตาม แนวพุทธจรยิ า๑. โลกัตถจริยา พระพุทธจริยาเพือ่ บําเพญ็ ประโยชนแ กโลก ตวั อยา งเชน พระพุทธองคทรงบําเพญ็ พุทธกจิ ๕ ประการ เพ่ือประโยชนส ขุ แกสรรพสัตว ตลอดจนพระชมมชพี ของพระองคด ังนี้ ปเุ รภัตตกิจ พทุ ธกจิ ภาคเชา หรือภาคกอ นอาหาร ทรงตน่ื พระบรรทมแตเชา เสด็จออกบณิ ฑบาตเสวยแลว ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนในท่ีนนั้ ๆ เสด็จกลบั พระวิหาร รอใหพ ระสงฆฉันเสรจ็ แลว เสด็จเขาพระคนั ธกุฎี ปจฉาภัตตกิจ พทุ ธกิจภาคบา ยหรือหลงั อาหาร ระยะที่ ๑ เสดจ็ ออกจากพระคันธกฎุ ี ทรงโอวาทภิกษสุ งฆ เสร็จแลว พระสงฆแ ยกยายกันไปปฏบิ ัติธรรมในที่ตางๆพระองคเสดจ็ เขาพระคนั ธกุฎี อาจทรงบรรทมเลก็ นอยแลว ระยะท่ี ๒ ทรงพิจารณาตรวจดูความเปนไปของชาวโลก ระยะท่ี ๓ ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนในถนิ่ น้นั ท่มี าประชมุ กันในธรรมสภา ปุรมิ ยามกจิ พทุ ธกิจยามท่ี ๑ (ของราตรี) หลังจากพุทธกิจภาคกลางวนั แลว อาจทรงสนานแลว ปลกี พระองคอยเู งียบๆ พกั หนึง่ จากนน้ั พระภกิ ษุสงฆม าเฝา ทลู ถามปญ หาบา ง ขอกรรมฐานบาง ใหท รงแสดงธรรมบาง ทรงใชเ วลาตลอดยามแรกน้ีสนองความประสงคข องพระสงฆ ๑๙

การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาตาม แนวพุทธจรยิ า มัชฌิมยามกิจ พทุ ธกจิ ในมชั ฌิมยาม เมอื่ พระสงฆแ ยกยา ยไปแลวทรงใชเวลาทีส่ อง ตอบปญ หาพวกเทพทัง้ หลายทม่ี าเฝา ปจ ฉิมยามกจิ พุทธกจิ ในปจ ฉิมยาม ทรงแบง เปน ๓ ระยะ ระยะแรก เสด็จดําเนนิ จงกรมเพือ่ ใหพ ระวรกายไดผ อนคลาย ระยะที่ ๒ เสดจ็ เขาพระคนั ธกฎุ ี ทรงพระ บรรทมสีหไสยาสนอ ยางมีพระสติสมั ปชญั ญะ ระยะท่ี ๓ เสด็จประทบั นัง่ พจิ ารณา สอดสองเลอื กสรรวาในวันตอไปจะมบี ุคคลใดที่ควรเสด็จไปโปรดโดยเฉพาะเปน พเิ ศษ เมอ่ื ทรงกาํ หนดพระทยั แลว ก็จะเสดจ็ ไปโปรดในภาคพุทธกิจท่ี ๑ คอื ปเุ ร ภัตตกจิ๒. ญาตัตถจริยา พระพุทธจริยาเพ่อื ประโยชนแกพระญาติตามฐานะ หรือโดยฐานะเปนพระญาติ ตัวอยางเชน เสด็จไปโปรดพระญาติ ณ นครกบิลพสั ดุ ทรงหามพระญาติฝายศากยะและโลกิยะ ผูววิ าทถึงกบั จะรบกันดวยเหตุแหง การแยง นาํ้ เขานา จนเปนทมี่ าของปางหามญาติ เปนตน๓. พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติประโยชนโ ดยฐานะเปนพระพทุ ธเจา ตวั อยา งเชน ทรงแสดงธรรมเทศนาโปรดสรรพสัตวทง้ั หลายโดยไมแยกช้ันวรรณะ ยากดีมีจน ทรงบัญญัติพระวินัยทรงกอตั้งพระพุทธศาสนาและบริษทั ๔ ใหยง่ั ยนื สืบมา ดวยเหตนุ ี้จงึ ทรงไดรบัการยกยองเปน ศาสดาเอกของโลก ๒๐

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตาม แนวพุทธจรยิ าในสมยั พระพทุ ธกาลการบรหิ ารคณะสงฆข องพระพุทธเจามลี ักษณะเปนประชาธิปไตยโดยเนนใหพระสงฆป กครองดูแลกันเอง ลักษณะที่เรียกวาประชาธิปไตยในหมสู งฆ มีปรากฏดังน้ี พระพุทธเจาทรงมอบความเปนใหญใหแกคณะสงฆ เชน การใหค ณะสงฆเปน ผู ตรวจสอบ คณุ สมบัติของผูมาบวชและทาํ พิธบี วชใหเ ปน ตน พระพทุ ธเจาทรงเคารพในมตขิ องคณะสงฆ เมอ่ื คณะสงฆม ีมตอิ อกมาอยา งไร พระ บรมศาสดาจะทรงเคารพในมตินัน้ พระภกิ ษุตองเขารว มในกจิ กรรมของคณะสงฆ การประชุมคณะสงฆ พระภิกษทุ กุ รูปทเ่ี ขา รวมประชุม มสี ิทธิแสดงความคิดเห็น เมอื่ มีความเหน็ แตกตางกัน จะใชวิธลี งมตโิ ดยใชเ สยี งขา งมากเปน ขอยตุ ิ การมอบฉันทะ เม่ือพระภิกษรุ ปู ใด จาํ เปน ตองออกจากทป่ี ระชมุ เพอื่ ไปทาํ กจิ สว นตัว จะตองใหฉันทะกอ น แปลวา อนุญาตใหก ารประชุมดําเนินตอ ไปได แมมี การลงมตใิ ดๆ พระภกิ ษุรูปนัน้ ตอ งยอมรบั ในมตินั้น จะคัดคา นในภายหลงั โดยอาง วาไมอ ยูในที่ประชมุ ไมได การทาํ สงั ฆกรรมของพระสงฆ จะตองยดึ ถือประโยชนสุขสว นรวม และความถกู ตอ ง ตามหลักประชาธิปไตยเปน ท่ตี ้ัง พระพทุ ธเจา จะไมท รงใชอ ํานาจในฐานะพระบนม ศาสดาเขาแทรกแซง ๒๑

การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาตาม แนวพทุ ธจรยิ า๑. การบญั ญตั พิ ระวินยั สงฆ พระพุทธเจาทรงบัญญตั ิวนิ ยั สงฆเ พือ่ เปนหลกั ปกครองคณะสงฆแ ละควบคุมความประพฤติของพระภิกษุ มขี น้ั ตอนดังน้ี ๑.๑ เมือ่ มีการการะทําหรอื ประพฤติตนเส่ือมเสียเกดิ ขึ้น ๑.๒ เมื่อมพี ระภิกษหุ รือชาวบานนาํ เร่อื งเสือ่ มเสียท่เี กิดขนึ้ ไปกราบทลู ใหท รงทราบ ๑.๓ ใหน ําเรื่องทเ่ี ขาประชมุ พรอมกบั พระภิกษทุ ป่ี ระพฤติตนเสอ่ื มเสีย ๑.๔ ตรัสถามเรือ่ งทีเ่ กิดขน้ึ ถาไดค วามชัดเจนแลว จะทรงบัญญัตใิ หเ ปนพระวินยั สงฆ๒. ทรงกําหนดหนา ที่ใหพ ุทธบรษิ ัทนําไปปฏิบัตเิ รยี กวา “พทุ ธปณิธาน ๔” เชน ศึกษาพระธรรมใหเ ขา ใจชัดเจน นําไปปฏบิ ัติใหถูกตอ ง อธิบายขยายความใหค นอื่นเขาใจ และปกปองพระศาสนาเมอ่ื มคี นบิดเบือนหลกั คาํ สอน๓. ทรงเทศนาเม่ือมีคนบดิ เบือนหลกั คําสอน นาํ ไปปฏบิ ัติใหถกู ตอง อธิบายขยายความใหคนอืน่ เขา ใจ และปกปอ งพระศาสนาเม่ือมคี นบดิ เบอื นหลักคําสอ ทรงชแ้ี นะใหทาํสงั คายนาพระธรรมวนิ ัย โดยใหห มูส งฆท าํ สงั คายนาพระธรรมวินยั ใหเ ปน หมวดหมู เพอ่ืปองกนั มใิ หต กหลนหรอื ถกู บดิ เบอื นโดยพวกอลัชชี (ภิกษผุ ูทุศีล หรือภกิ ษุผไู มม คี วามละอาย)๔. ทรงเตอื นใหต ระหนกั ถงึ เหตแุ หงความเจริญและความเสอ่ื มในหลกั ธรรมคําสอน ซึ่งเกิดจากการปฏบิ ตั ิตนของพุทธบรษิ ทั ๔ ดังน้ี ๔.๑ มีความเคารพในพระรัตนตรัยหรอื ไม ๔.๒ มีความเคารพในการศกึ ษา หรอื ฝก ฝนอบรมตามหลักไตรสิกขาหรือไม ๔.๓ มีความเคารพในความไมป ระมาทหรือไม ๒๒

พุทธบริษทั กับการธาํ รงรักษา พระพุทธศาสนา กอ นจะเสด็จดบั ขันธปรินิพานพระพุทธองคไ ดตรัสแสดงถึงพุทธภารกิจ ๔ประการทพ่ี ระองคทรงปฏิบัติมาตลอดพระชนมชีพเม่อื พทุ ธภรกิจทั้ง ๔ บรรลเุ ปา หมายแลว พระพทุ ธองคจงึ เสด็จดบั ขนั ธปรนิ ิพพาน พทุ ธภารกิจท้ัง ๔ น้ันมลี ักษณะเปนพระพุทะปณธิ านและทรงมอบหมายใหเ ปน หนาท่ีของพทุ ธบรษิ ทั สบื ตอ ไปพุทธภารกิจดังกลาวเพอ่ื ธํารงรักษาพระพุทธศาสนาใหม่นั คงสบื ตอ ไป ๒๓

บรรณานกุ รมhttp://www.dhammathai.org/buddhism/sangvechani4.phphttps://www.gotoknow.org/posts/350245http://www.learntripitaka.com/History/Buddhist.htmlhttps://sites.google.com/site/historybuddha441/prasutiหนงั สอื รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม.๔-ม.๖ผูเขียน: ร.ศ.ดนัย ไชยโยธา,นาง สุคนธ สินธพานนท, ผศ. สุรวิ ัตร จันทรโสภาสาํ นักพมิ พ: บริษทั อกั ษรเจรญิ ทัศน อจท. จาํ กัดพมิ พคร้ังท่ี ๑ จํานวน ๑๗๖ หนา ๒๔

สมาชิกกลุม่นาย กรกฎ มงคลสมัย เลขที่ ๔ ม.๔/๑๘น.ส.นนั ทน ภัส ทรัพยวณิชกุล เลขท่ี ๑๒ ม.๔/๑๘น.ส.วีริยา สมุทรลอยวน เลขท่ี ๑๙ ม.๔/๑๘ด.ญ.นันทินี โพดาพล เลขท่ี ๒๖ ม.๔/๑๘น.ส.รินรดา แจม จิตต เลขท่ี ๒๘ ม.๔/๑๘น.ส.ลลติ ภัทร ศรโี ชค เลขที่ ๒๙ ม.๔/๑๘ด.ญ.ศรุตา จารพุ งษทวชิ เลขที่ ๓๐ ม.๔/๑๘น.ส.ณฐั ธดิ า อนชุ าตบิ ตุ ร เลขที่ ๓๑ ม.๔/๑๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook