Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน-ม.๑ หน่วยที่1

เอกสารประกอบการเรียน-ม.๑ หน่วยที่1

Published by ae.thaila2, 2020-06-30 12:01:30

Description: เอกสารประกอบการเรียน-ม.๑ หน่วยที่1

Search

Read the Text Version

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทติ ยา ดชั ถยุ าวตั ร หนา้ ๑ เอกสารประกอบการเรยี นการสอน รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ นางสาวอาทติ ยา ดัชถยุ าวตั ร ตาแหนง่ ครู กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรียนสรุ วิทยาคาร สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวัตร หน้า ๒ เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ เล่มนี้ เป็นสื่อสาหรับใช้ ประกอบการเรียนการสอนในรายวชิ าพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เน้ือหาตรงตามสาระการเรียนรู้แกนกลางข้ันพื้นฐาน แบ่งออกเป็นหน่วยการเรียนรู้ตามโครงสร้าง รายวิชา ดงั นี้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๑ นิราศภูเขาทอง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 การเขยี นในชวี ิตประจาวนั หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 โคลงโลกนติ ิ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 สภุ าษิตพระร่วง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เสยี งในภาษาและการสร้างคา ซึ่งในแต่ละหน่วยประกอบไปด้วยใบความรู้และใบงาน ให้ทั้งความรู้และช่วยพัฒนาผู้เรียนตาม หลกั สูตรและตัวช้ีวัด ในการจัดทาเอกสารฉบับนี้ ผู้รวบรวมขอขอบพระคุณนางวันเพ็ญ ตันทะอธิพานิช หัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย และคณะครูกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ทไ่ี ดใ้ ห้ความอนเุ คราะห์ในด้านต่าง ๆ จนเอกสารประกอบการเรยี นฉบบั น้สี าเร็จลุล่วงดว้ ยดีทกุ ประการ (นางสาวอาทติ ยา ดัชถุยาวัตร) ครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ผู้รวบรวม

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทติ ยา ดชั ถุยาวตั ร หนา้ ๓ มาถงึ บางธรณีทวโี ศก ยามวโิ ยคยากใจใหส้ ะอนื้ โอ้สธุ าหนาแน่นเปน็ แผน่ พ้ืน ถึงสห่ี มน่ื สองแสนท้ังแดนไตร เมอื่ เคราะหร์ ้ายกายเราก็เท่าน้ี ไม่มีทพี่ สธุ าจะอาศยั ล้วนหนามเหนบ็ เจบ็ แสบคบั แคบใจ เหมือนนกไร้รังเรอ่ ยเู่ อกา ผู้หญงิ เกลา้ มวยงามตามภาษา ถึงเกร็ดยา่ นบา้ นมอญแต่กอ่ นเกา่ ทัง้ ผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย เดี๋ยวน้ีมอญถอนไรจุกเหมอื นต๊กุ ตา เหมอื นอยา่ งเยย่ี งชายหญิงทิง้ วสิ ยั โอส้ ามญั ผันแปรไม่แทเ้ ท่ียง ทจ่ี ิตใครจะเป็นหนึ่งอยา่ พึงคดิ นห่ี รอื จติ คิดหมายมหี ลายใจ มคี นรกั รสถอ้ ยอรอ่ ยจิต จะชอบผดิ ในมนุษย์เพราะพูดจา ถึงบางพดู พูดดเี ป็นศรศี กั ดิ์ แมพ้ ดู ชัว่ ตัวตายทาลายมิตร พระสุนทรโวหาร (ภ)ู่

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทิตยา ดชั ถยุ าวัตร หน้า ๔ พระสมทุ รสุดลกึ ล้น คณนา สายด่งิ ท้ิงทอดมา หย่ังได้ เขาสงู อาจวัดวา กาหนด จติ มนุษย์นไ้ี ซร้ ยากแท้หย่งั ถึง ชลธาร ก้านบัวบอกลึกต้ืน ชาติเชือ้ มารยาทส่อสนั ดาน ควรทราบ โฉดฉลาดเพราะคาขาน บอกรา้ ยแสลงดิน หย่อมหญา้ เห่ยี วแหง้ เรอื้ เขาหนงั อยู่ไซร้ โคควายวายชพี ได้ ขารรา่ ง เปน็ สิง่ เปน็ อนั ยัง แต่รา้ ยกบั ดี คนเด็ดดบั สญู สัง- แหนงหนี เปน็ ช่ือเป็นเสยี งได้ มากได้ วาอาตม์ เพื่อนกิน สินทรัพยแ์ ลว้ ยากแท้จักหา หางา่ ย หลายหมืน่ เพ่อื นตาย ถ่ายแทนชี หายาก ฝากผีไข้ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเดชาดิศร

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทิตยา ดัชถุยาวัตร หนา้ ๕ การอา่ นออกเสยี ง ๑. การอ่านออกเสยี ง เป็นการอ่านให้ตัวเองหรือผู้อื่นฟัง การอ่านออกเสียงต้องอ่านให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธี เว้น จังหวะวรรคตอนได้เหมาะสม มนี ้าเสยี งสอดคลอ้ งกับอารมณ์ตามเน้ือเรื่อง ดงั นั้น การอ่านออกเสยี งจึงเป็น กระบวนการท้างานท่ีเกี่ยวข้องของสายตา การพูด และการคิดซึ่งผู้อ่านจะต้องมีการเตรียมตัวและฝึกฝนอยู่ เสมอ ๒. จดุ มุ่งหมายของการออกเสยี ง การอา่ นออกเสยี งมีจุดมงุ่ หมายหลายประการ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. เพอ่ื ฝกึ ฝนใหอ้ ่านถกู ต้องตามอักขรวิธแี ละชัดถ้อยชดั ค้าเหมอื นเสียงพดู ๒. เพือ่ ฝกึ ฝนการออกเสียง ทอดเสียง ลลี า และจงั หวะ ช่วยให้สามารถพดู ได้ดี ๓. เพื่อชว่ ยควบคมุ ใหผ้ อู้ ่านรู้จักส้ารวมใจอยู่กบั ขอ้ ความหรอื เร่ืองท่อี ่าน ๔. เพื่อให้ผฟู้ งั เขา้ ใจ โนม้ นา้ วใจผู้ฟงั ใหม้ ีความรสู้ ึกคล้อยตาม ๕. เพอื่ ความเพลิดเพลนิ ของตนเองและของผูอ้ น่ื ๓. หลกั การอ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ ๑. อา่ นออกเสียงใหช้ ัดเจนถกู ตอ้ งตามอกั ขรวิธีเสียงดงั ชดั เจน ๒. ต้องแบ่งวรรคตอนให้ถูกต้อง รู้จักแบ่งข้อความหรือประโยคยาว ๆ ให้เป็นประโยคส้ัน ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเพอื่ ให้มชี อ่ งเว้นระยะหายใจ ๓. ต้องอ่านให้ถูกจังหวะ ไม่อ่านช้าหรือเร็วเกินไป รู้จักใช้ระดับเสียงไม่ควรใช้เสียงระดับ เดียวกนั ทง้ั เรื่อง ควรเน้นเสยี งหนักเบาและอา่ นให้เปน็ เสียงพดู อยา่ งธรรมชาติท่ีสุด ๔. ไม่อ่านตตู่ ัวอกั ษร คือเพย้ี นตวั ไม่ตรงตัว เช่น อ่านตคู่ า้ ว ด เปน็ ค หรอื อ่าน ฑ เปน็ ด ในบางคา้ ๕. มีสมาธิสา้ รวมใจอยูก่ ับเร่ืองทอ่ี า่ น และท้าความเขา้ ใจตามเรอื่ งไปด้วย ๖. เสียงท่ีใช้ในการอ่าน ควรให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเร่อื ง มีการผ่อนเสียง ทอดเสียง ทอดจงั หวะ มีเสยี งแขง็ เสยี งอ่อนหวาน ดังนี้ การอ่านเร่ืองเก่ียวกับการขอความร่วมมือ อาจเป็นการให้ช่วยบริจาคทรัพย์สินหรือร่วมมือด้าน ก้าลงั กายช่วยท้ากจิ กรรมสว่ นรวมบางอยา่ ง ผอู้ า่ นควรใชเ้ สียงออ้ นวอนหรอื ขอรอ้ งเพอ่ื ให้เกิดความเหน็ ใจ การอ่านบทปลุกใจ เพือ่ เรา้ ใจให้กล้าหาญหรือกระตือรือรน้ ผู้อา่ นต้องใช้เสยี งเด็ดเดี่ยว หนกั แน่น มนั่ คง และจริงจัง การอ่านเรอ่ื งโศกเศรา้ ควรอา่ นทอดเสียง เอ้ือนเสียงให้ยาวกว่าปกติ และใช้น้าเสียงทแี่ สดงถงึ การ มคี วามร้สู กึ เศร้าโศก ๗. ควรใช้วิจารณญาณในการแบ่งวรรคตอนในกรณีท่ีจ้านวนค้ายืดหยุ่น ไม่เป็นไปตาม แผนผงั บังคับ ๘. ไม่มีการหยุดหายใจระหว่างวรรค ช่วงระหว่างวรรคและระหวา่ งค้า ใช้วิธีทอดเสียงเออื้ น จะหยดุ หายใจได้กต็ อ่ เมื่อจบท้ายวรรค ๙. เมอื่ อ่านถงึ ตอนจะจบบทตอ้ งเออื้ นเสยี ง และทอดจงั หวะใหช้ ้าลง จนกระทง่ั จบบท

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทติ ยา ดัชถุยาวตั ร หนา้ ๖ วิธีการอ่านรอ้ ยแก้ว (การฝกึ อ่านออกเสยี งแบบบรรยายไมเ่ นน้ การแสดงอารมณ์) เร่อื ง สรา้ งวัฒนธรรมคนรุน่ ใหม่ให้เปน็ นกั อ่าน ในปัจจบุ นั กลา่ วกันวา่ /เราก้าลังอยูใ่ นยุคโลกาภวิ ฒั น์ หรอื เรียกอีกอย่างว่าโลกไรพ้ รมแดน//แต่จะ เรยี กอย่างไรกต็ ามเถิด/การอ่าน/ก็เปน็ กระบวนการส้าคัญอยา่ งยิง่ ในการพัฒนาคนในทศวรรษน้/ี เพราะโลก ของการศึกษา/ มิได้จ้ากัดอยู่ภายในหอ้ งเรยี น/ ทีม่ ีลักษณะรปู ทรงส่ีเหล่ยี มเเคบ ๆ เท่าน้ัน/เเต่ข้อมลู ขา้ วสาร สารสนเทศต่าง ๆ /ไดย้ ่อโลกใหเ้ ลก็ ลงเท่าท่ีเราอยากรไู้ ดร้ วดเร็ว/ ในชั่วลัดน้ิวมือเดียวอยา่ งทคี่ นโบราณกลา่ ว ไว/้ จะมสี ื่อใหอ้ ่านอย่างหลากหลายให้เลอื ก/ท้ังส่อื สิง่ พมิ พ์ทีเ่ ราคนุ้ เคย/ไปจนส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่เี รียกวา่ \"อนิ เทอร์เน็ต\" เพราะการต่อสู้รุกรานกนั ของมนษุ ย์ยุคใหม/่ จะใชข้ ้อมลู / สติ/ ปัญญา/ และคุณภาพของคน ในชาติ/ มากกว่าการใชก้ า้ ลังอาวธุ เขา้ ประหัตประหารกัน// หากคนในชาติด้อยคุณภาพ/ ขาดการเรียนร้/ู จะ ถกู ครอบงา้ ทางปัญญาไดง้ ่ายๆ/จากสอ่ื ต่าง ๆ จากชาตทิ ่ีพัฒนาเเลว้ หากคนไม่อ่านหนังสือ/ ก็ยากท่จี ะพฒั นาสติปัญญา และความรู้ได/้ โดยเฉพาะประเทศที่กา้ ลัง พฒั นา/ จะต้องทุ่มเทให้คนมีนสิ ยั รกั การอา่ น/ มีทักษะในการอ่าน/ และพฒั นาวธิ กี ารอ่านใหเ้ ป็นนักอ่านท่ี ด/ี / นกั อ่านที่ดจี ะมภี ูมคิ ้มุ กันการครอบงา้ ทางปญั ญาได้เป็นอย่าง/ รเู้ ทา่ กนั คน และสามารถแก้ปญั หาไดด้ ี ชาติก้าวไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรีเทยี ม * เครอ่ื งหมาย / หมายถงึ การหยุดเว้นช่วงจงั หวะสัน้ ๆ เครอ่ื งหมาย // หมายถึง การหยดุ เว้นชว่ งจงั หวะทยี่ าวกวา่ เครือ่ งหมาย / เครือ่ งหมาย ____ หมายถงึ การเนน้ การเพิ่มน้าหนกั ของเสียง

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทิตยา ดัชถุยาวตั ร หนา้ ๗ การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง การอา่ นออกเสียงรอ้ ยกรอง เป็นการอ่านทม่ี ่งุ ใหเ้ กิดความเพลดิ เพลนิ ซาบซึ้งในรสของค้าประพันธ์ ซึง่ จะต้องอ่านอย่างมจี ังหวะ ลลี า และท่วงทา้ นองตามลักษณะค้าประพนั ธ์ แตล่ ะชนดิ การอา่ นบทรอ้ ยกรอง อ่านได้ ๒ แบบ ดังน้ี ๑. อา่ นออกเสียงธรรมดา เป็นการอา่ นออกเสยี งพดู ตามปกติเหมือนกบั อา่ นรอ้ ยแก้ว แต่มีจงั หวะ วรรคตอน ๒. อ่านเปน็ ทานองเสนาะ เป็นการอ่านมสี ้าเนียงสูง ต้่า หนัก เบา ยาว ส้นั เปน็ ท้านองเหมือน เสียงดนตรี มีการเออื้ นเสยี ง เนน้ สมั ผัส ตามจงั หวะ ลลี าและทว่ งทา้ นองตามลกั ษณะบังคับของบทประพันธ์ ให้ชดั เจนเเละเหมาะสม หลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงร้อยกรอง ๑. ศกึ ษาลักษณะบังคบั ของคา้ ประพนั ธ์ เช่น การเเบ่งจังหวะจา้ นวนคา้ สัมผัสเสยี ง วรรณยุกต์ เสยี ง หนกั เบา เป็นต้น ๒. อ่านใหถ้ ูกต้องตามลักษณะบงั คบั ของคา้ ประพนั ธ์ ๓. อา่ นออกเสียง ร ล ค้าควบกล้าให้ชดั เจน ๔. อา่ นออกเสียงดงั ให้ผู้ฟังไดย้ นิ ทั่วถงึ ไม่ดงั หรอื คอ่ ยจนเกินไป ๕. ค้าทร่ี บั สัมผสั กนั ต้องอา่ นเนน้ เสียงให้ชดั เจน ถ้าเป็นสัมผัสนอกตอ้ งทอดเสยี งใหม้ ีจังหวะยาวกวา่ ธรรมดา ๖. มีศลิ ปะในการใช้เสียง เอ้ือนเสยี ง และทอดจังหวะใหช้ า้ จนจบบท หลกั ทั่วไปในการอา่ นรอ้ ยกรอง ๑. ตอ้ งรู้ลักษณะบังคับของบทประพนั ธท์ จ่ี ะอ่าน เชน่ เอก โท พยางค์ และสัมผัส เป็นต้น ๒. ต้องรจู้ ังหวะ และการแบง่ วรรคตอนของบทประพนั ธ์ที่จะอ่าน ๓. ค้าทรี่ บั สัมผสั กนั ตอ้ งอ่านเน้นเสียงให้ชัด ถ้าเป็นสัมผัสนอกต้องทอดเสียงให้มีจังหวะยาวกว่า ธรรมดา ๔. คา้ ที่มีพยางค์เกนิ ใหอ้ า่ นเร็ว รวม และเบา อยา่ งอกั ษรน้าเพอ่ื ใหเ้ สยี งไปตกอยใู่ นพยางคท์ ต่ี ้องการ ๕. เสียงวรรณยุกต์จตั วาต้องอ่านเปิดเสยี งสงู และดังก้อง ๖. อา่ นค้าควบกล้าใหช้ ดั เจน ๗. ควรใช้วจิ ารณญาณวา่ ตอนใดควรอา่ นอกั ขรวธิ ี ตอนใดควรอ่านใหเ้ อื้อต่อสมั ผสั การอ่านเออื้ สัมผัส ๘. ควรใช้วิจารณญาณในการแบ่งวรรคตอนในกรณีทีจ่ า้ นวนคา้ ยดื หยุ่น ไม่เปน็ ไปตามแผนผังบงั คบั ๙. ไม่มีการหยดุ หายใจระหวา่ งวรรค ชว่ งระหวา่ งวรรคและระหว่างคา้ ใชว้ ิธที อดเสยี งเอื้อน จะหยดุ หายใจได้ก็ต่อเมื่อจบทา้ ยวรรค ๑๐. เมื่ออา่ นถงึ ตอนจะจบบทตอ้ งเอื้อนเสียง และทอดจังหวะให้ช้าลง จนกระทั่งจบบท

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผูส้ อน ครูอาทิตยา ดชั ถยุ าวัตร หน้า ๘ ข้อควรคานงึ ในการอา่ นบทร้อยกรอง การอ่านบทรอ้ ยกรอง หรอื ทา้ นองเสนาะ ให้ไพเราะและประทบั ใจผ้ฟู ังมีข้อควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี ๑. กอ่ นอ่านท้านองเสนาะควรรกั ษาสขุ ภาพให้ดี มคี วามพร้อมทัง้ กายและใจ จะชว่ ยให้ม่ันใจมากข้นึ ๒. ตง้ั สติให้มัน่ คง ไมห่ ว่นั ไหว ตื่นเต้น ตกใจ หรอื ประหม่า ควรมีสมาธกิ ่อนอ่านและขณะกา้ ลังอ่าน เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กิดข้อผิดพลาด ๓. กอ่ นอ่านควรตรวจดบู ทอ่านอย่างคร่าวๆ และรวดเร็วเพื่อพจิ ารณาคา้ ยาก หรอื การผันวรรณยุกต์ และอ่ืน ๆ ๔. พจิ ารณาบทที่จะอา่ น เพ่ือตดั สินใจ เลอื กใส่อารมณ์ในบทอ่านให้เหมาะสมสอดคล้องกับ เนื้อความ ๕. หมน่ั ศึกษาและฝึกฝนการอ่านท้านองเสนาะจากผู้รเู้ กยี่ วกับกลวธิ ตี ่าง ๆ อยู่เสมอ จงึ จะท้าให้ สามารถอา่ นท้านองเสนาะได้อยา่ งไพเราะ คณุ ค่าของการอ่านทานองเสนาะ ๑. ผู้ฟงั เห็นความงามของบทรอ้ ยกรองที่อา่ น ๒. ผู้ฟงั ได้รับความไพเราะและเกดิ ความซาบซึ้ง ๓. เกดิ ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ๔. จดจ้าบทรอ้ ยกรองได้รวดเร็วเเมน่ ยา้ ๕. ชว่ ยกลอ่ มเกลาจิตใจให้เป็นคนอ่อนโยน ๖. ช่วยสบื ทอดวัฒนธรรมในการอา่ นท้านองเสนาะไว้เปน็ มรดกของชาติ การอา่ นคาประพันธ์ การอา่ นออกเสียง เปน็ การอา่ น ค้าประพนั ธ์ทต่ี อ้ งการเน้นความบนั เทิงใจ โดยสามารถท่จี ะแบง่ ออกเป็น ๓ ลักษณะ (อาจารยก์ ้าชยั ทองหล่อ) ๑. อ่านทา้ นองสามญั เปน็ การอา่ นออกเสียงเชน่ เดยี วกับการอา่ นร้อยแก้ว แต่มีการอ่านท่มี ีการเวน้ จังหวะวรรคตอน เนน้ สมั ผสั และเอื้อนเสยี งบา้ งเล็กน้อย ๒. อ่านท้านองเจรจา เป็นการอ่านท้านองพากย์บทเจรจาโขน หรือการพูดท้านองโต้ตอบ มีจังหวะ วรรคตอนคลา้ ยกบั แบบท้านองสามญั แตเ่ น้นทีเ่ สยี งเอ้อื นมากกวา่ ทา้ นองสามัญ ๓. อ่านท้านองเสนาะ เป็นการอ่านท่ีมีเสียงสูง ต่้า เสียงมีน้าหนัก เสียงเบา การลากเสียงยาว ส้ัน การเอื้อนเสียง การเน้นท่ีเสียงสัมผัสชัดเจนไพเราะ มีจังหวะและคล่ืนเสียงเป็นกังวานมากขึ้น จนท้าให้เกิด อารมณ์คล้อยตามเสียงนั้น มีการแสดงน้าเสียงให้ตรงกับเน้ือเร่ือง เช่น การเกี้ยวพาราสี โกรธ เศร้า สนุก คึกคะนอง ออกรบ ฯลฯ ลักษณะการอา่ นรอ้ ยกรอง ๑. การอ่านทา้ นองสามัญ หรือการอ่านเสียงปกติ ใช้วธิ กี ารอ่านเช่นเดยี วกับรอ้ ยแก้ว แต่มกี ารอ่านท่ี มีการเว้นจังหวะวรรคตอน เน้นสมั ผัสและเอื้อนเสยี งบ้างเล็กน้อย เชน่ การอา่ นกาพย์ยานี ๑๑ แบง่ วรรคอ่าน ดงั น้ี

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครูอาทติ ยา ดชั ถุยาวัตร หน้า ๙ วรรคหน้าให้แบ่ง ๒/๓ สว่ นวรรคหลงั ให้แบง่ ๓/๓ วชิ า/เหมือนสนิ // อนั มคี า่ /อยเู่ มืองไกล// จึงจะได้/สนิ ค้ามา// ตอ้ งยาก/ลา้ บากไป// เป็นส้าเภา/อันโสภา// จงตงั้ /เอากายเจา้ // แขนซา้ ยขวา/เป็นเสาใบ// (ดรณุ ศกึ ษา) ความเพียร/เป็นโยธา// ๒. การอ่านทา้ นองเสนาะ เปน็ การอา่ นท่มี เี สยี งสูง ต้า่ เสียงมนี ้าหนกั เสียงเบา การลากเสยี งยาว ส้นั การเอื้อนเสียง การเน้นท่ีเสียงสัมผัสชัดเจนไพเราะ มีจังหวะและคลื่นเสียงเป็นกังวานมากขึ้น จนท้าให้เกิด อารมณ์คล้อยตามเสียงน้ัน มีการแสดงน้าเสียงให้ตรงกับเน้ือเรื่อง เช่น การเก้ียวพาราสี โกรธ เศร้า สนุก คึกคะนอง ออกรบ การอา่ นท้านองเสนาะ ผอู้ า่ นต้องมกี ารฝึกฝนเป็นอย่างดจี งึ จะไดท้ า้ นองที่ถกู ต้อง วธิ กี ารอา่ นทานองเสนาะขน้ั พน้ื ฐาน ๑. อ่านเสยี งดังชัดเจน ถกู ต้อง น้าเสยี งนมุ่ นวล รน่ื หู ๒. อา่ นใหถ้ ูกต้องตามลกั ษณะฉันทลกั ษณ์ของร้อยกรองน้ัน ๓. การเอือ้ นเสยี ง และการหลบเสยี ง ได้ตรงตามลักษณะของร้อยกรอง ๔. การใชน้ า้ เสยี ง เมือ่ ถึงชว่ งทตี่ อ้ งแสดงอารมณ์ควรแสดงนา้ เสียงใหส้ อดคล้องกับเนือ้ เรื่อง วิธกี ารอา่ นทานองเสนาะจากคาประพนั ธ์ กลอนสภุ าพ นิยมอา่ นเสยี งสูง ๒ วรรค และเสียงต้า่ ๒ วรรค การเเบง่ จังหวะวรรคในการอ่าน มดี งั น้ี วรรคละ ๖ คา้ อา่ น ๒/๒/๒ OO/OO/OO วรรคละ ๗ ค้า อ่าน ๒/๒/๓ OO/OO/OOO วรรคละ ๘ ค้า อ่าน ๓/๒/๓ OOO/OO/OOO วรรคละ ๙ คา้ อา่ น ๓/๓/๓ OOO/OOO/OOO ตัวอย่าง การเเบ่งจงั หวะวรรคละ ๖ ค้า ไผ่ซอ/ออ้ เสยี ด/เบยี ดออด// ลมลอด/ไลเ่ ลี้ยว/เย่ือไผ่// ออดเเอด/แอดออด/ยอดไกว// แพใบ/ไล้น้า/ล้าคลอง// การเเบ่งจงั หวะวรรคละ ๘ คา้ เเลว้ สอนว่า/อยา่ ไว้/ใจมนุษย์// มันเเสนสุด/ลกึ ลา้ /เหลือก้าหนด// ถงึ เถาวัลย์/พนั เกีย่ ว/ท่ีเลย้ี วลด// กไ็ ม่คด/เหมือนหนึง่ ใน/นา้ ใจคน// กาพยย์ านี ๑๑ มีจา้ นวนค้า ๑๑ ค้า นิยมอ่านเสียงสงู กวา่ ปกติจึงจะเกดิ ความไพเราะ การเเบ่งจงั หวะวรรดในการอ่าน มดี งั นี้ วรรคหนา้ ๕ คา้ อ่าน ๒/๓ OO/OOO วรรคหลงั ๖ ค้า อ่าน ๓/๓ OOO/OOO

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวตั ร หนา้ ๑๐ ตวั อยา่ ง ทิพากร/จะตกต้่า// การเเบ่งจงั หวะกาพยย์ านี ๑๑ ค้านึงหนา้ /เจา้ ตราตรู เร่อื ยเร่อื ย/มารอนรอน// นกบินเฉียง/ไปท้งั หมู/่ / เหมือนพอ่ี ยู/่ ผูเ้ ดียวดาย// สนธยา/จะใกล้คา้่ // เรอื่ ยเรอื่ ย/มาเรยี งเรียง// ตัวเดยี ว/มาพลัดค/ู่ / ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับการอ่าน การอ่านเป็นหนึ่งในสี่ทักษะทางภาษาท่ีจ้าเป็นต้องฝึกฝนอยู่เสมอ และไม่มีวันสิ้นสุดสามารถฝึกได้ เร่ือย ๆ ตามวัยและประสบการณ์ของผอู้ ่าน เพราะการอ่านนั้นจะเก่ียวข้องกับชีวิตประจ้าวนั ของมนุษย์ เป็น เครื่องมือส้าคัญที่จะช่วยให้มนุษย์ได้รับความรู้ ความคิด และความบันเทิงใจ ช่วยปรับปรุงชีวิตให้สดใส สมบรู ณ์ ดังค้ากลา่ วของ เซอร์ ฟรานซิส เบคอน นกั ปรัชญาเมธีชาวอังกฤษท่วี า่ “การอา่ น” ท้าคนให้เป็นคน โดยสมบูรณ์ ๑. ความหมายของการอ่าน การอ่านเปน็ พฤติกรรมการรับสารท่ีสา้ คัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการฟัง ปจั จุบันมีผรู้ ูน้ กั วิชาการและ นกั เขียนน้าเสนอความรู้ ข้อมูล ขา่ วสารและงานสร้างสรรค์ ตีพิมพ์ ในหนังสือและสง่ิ พิมพ์อื่นๆ มาก นอกจากนี้แลว้ ขา่ วสารสา้ คัญ ๆ หลงั จากน้าเสนอด้วยการพูด หรอื อา่ นให้ฟงั ผา่ นส่ือตา่ ง ๆ ส่วนใหญ่จะ ตีพมิ พ์รกั ษาไวเ้ ป็นหลกั ฐานแก่ผอู้ า่ นในชนั้ หลัง ๆ ความสามารถในการอา่ นจึงสา้ คัญและจา้ เป็นยง่ิ ต่อการเป็น พลเมอื งทีม่ ีคณุ ภาพในสังคมปัจจุบนั ๒. ความสาคญั ของการอา่ น ในสมยั โบราณทีย่ งั ไมม่ ีตัวหนังสอื ใช้ มนษุ ยไ์ ดใ้ ช้วธิ ีเขยี นบันทกึ ความทรงจ้าและเร่อื งราวต่าง ๆ เป็น รูปภาพไวต้ ามฝาผนงั ในถ้า เพ่ือเปน็ ทางออกของอารมณ์ เพอื่ เตอื นความจา้ หรือเพื่อบอกเลา่ ใหผ้ ูอ้ ืน่ ไดร้ บั รู้ ด้วย แสดงถงึ ความพยายามและความปรารถนาอันแรงกลา้ ของมนษุ ย์ทจ่ี ะถ่ายทอดประสบการณ์ของตนเปน็ สญั ลักษณท์ ี่คงทนตอ่ กาลเวลาจากภาพเขยี นตามผนังถ้า ได้ววิ ฒั นาการมาเป็นภาษาเขียนและหนงั สือ ปจั จบุ ันน้หี นังสอื กลายเปน็ สิง่ ท่ีส้าคัญยงิ่ ต่อมนุษยจ์ นอาจกล่าวได้ว่าเป็นปัจจัยอันหนงึ่ ในการด้ารงชีวติ คนท่ีไม่ รูห้ นงั สอื แมจ้ ะดา้ รงชีวติ อยู่ได้ก็เปน็ ชีวิตทไ่ี มส่ มบูรณ์ ไม่มคี วามเจรญิ ไมส่ ามารถประสบความสา้ เรจ็ ใด ๆ ใน สังคมไดห้ นังสอื และการอ่านหนงั สอื จงึ มีความสา้ คัญอยา่ งย่ิง ๓. จดุ ประสงคข์ องการอา่ น ในการอ่านบุคคลแต่ละคนจะมีจุดประสงค์ของตนเอง คนที่อ่านข้อความเดียวกนั อาจมจี ดุ ประสงค์ หรือความคิดตา่ งกนั โดยทวั่ ไปจดุ ประสงค์ของการอา่ นมี 3 ประการ คือ ๑) การอา่ นเพื่อความรู้ ได้แก่ การอา่ นหนงั สือประเภทต้ารา สารคดี วารสาร หนังสอื พมิ พ์ และ ข้อความต่าง ๆ เพื่อให้ทราบเรือ่ งราวอันเป็นข้อความรู้ หรือเหตกุ ารณบ์ า้ นเมือง การอ่านเพอ่ื ความรอบรู้เปน็ การอ่านที่จา้ เปน็ ทีส่ ดุ ส้าหรับครู เพราะความรตู้ ่าง ๆ มีการเปล่ียนแปลงเพม่ิ เตมิ อยู่ทุกขณะ แมจ้ ะได้ศึกษามา มากจากสถาบันการศกึ ษาระดับสงู ก็ยังมสี ่งิ ทยี่ ังไม่รู้และต้องค้นคว้าเพ่มิ เตมิ ให้ทนั ตอ่ ความกา้ วหนา้ ของโลก ๒) การอ่านเพื่อความคิดแนวความคิดทางปรัชญา วัฒนธรรม จริยธรรม และความคิดเห็นทั่วไป มักแทรกอยู่ในหนังสือแทบทุกประเภท มิใช่หนังสือประเภทปรัชญา หรือจริยธรรมโดยตรงเท่าน้ัน การศึกษา แนวคิดของผู้อื่น เป็นแนวทางความคิดของตนเองและอาจน้ามาเป็นแนวปฏิบัติในการด้าเนินชีวิตหรือ

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครูอาทิตยา ดัชถุยาวตั ร หน้า ๑๑ แก้ปัญหาตา่ ง ๆ ในชวี ติ ผูอ้ ่านจะตอ้ งใช้วจิ ารณญาณในการเลือกนา้ ความคดิ ทีไ่ ด้อา่ นมาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ใน บางเรื่องผู้อ่านอาจเสนอความคิดโดยยกตัวอย่างคนท่ีมีความคิดผิดพลาดเพ่ือเป็นอุทาหรณ์ให้ผู้อ่านได้ความ ย้ัง ๓) การอ่านเพื่อความบันเทิงเป็นการอ่านเพ่ือฆ่าเวลา เช่น ระหว่างท่ีคอยบุคคลที่นัดหมาย คอย เวลารถไฟออก เป็นต้น หรืออ่านหนังสือประเภทบันเทิงคดีในเวลาว่าง บางคนที่มีนิสัยรักการอ่านหากรู้สึก เครียดจากการอ่านหนังสือเพ่ือความรู้อาจอ่านหนังสือประเภทเบาสมอง เพื่อการพักผ่อนหนังสือประเภทที่ สนองจุดประสงค์ของการอ่านประเภทนม้ี ีจ้านวนมาก เชน่ เร่ืองสน้ั นวนิยาย วรรณคดปี ระเทืองอารมณ์ เป็น ต้น จุดประสงค์ในการอ่านท้ัง 3 ประการดังกล่าว อาจรวมอยู่ในการอ่านคร้ังเดียวกันก็ได้โดยไม่จ้าเป็นต้อง แยกจากกนั อย่างชดั เจน ๔) คุณค่าของการอ่าน ในการสง่ เสริมการอ่าน ครูควรชใี้ หน้ ักเรียนเหน็ คุณค่าของการอา่ น ซึ่งจะเปน็ แนวทางในการเลอื ก หนงั สอื ดว้ ย คณุ ค่าดงั กลา่ วมามดี ังนี้ ๑) ท้าใหม้ คี วามร้ใู นวิชาการดา้ นตา่ ง ๆ อาจเป็นความรู้ทั่วไป หรือความรู้เฉพาะด้านกไ็ ด้ เช่น การอ่านต้าราแขนงต่าง ๆ หนังสอื คมู่ อื หนังสืออ่านประกอบในแขนงวิชาตา่ ง ๆ เป็นตน้ ๒) ท้าให้รอบรู้ทันโลก ทันเหตุการณ์ การอ่านหนังสือพิมพ์การอ่านจากส่ือสารสนเทศต่าง ๆ ในสังคมท้ังภายในและภายนอกประเทศแล้ว ยังจะได้ทราบข่าวกีฬา ข่าวบันเทิง บทความวิจารณ์ ตลอดจน การโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกด้วย ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับความเปน็ อยู่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพสงั คมของตนในขณะน้นั ๓) ทา้ ใหค้ ้นหาคา้ ตอบท่ีต้องการได้ การอา่ นหนงั สือจะช่วยตอบค้าถามท่เี ราข้องใจ สงสยั ต้องการ รูไ้ ด้ เชน่ อา่ นพจนานกุ รมเพ่อื หาความหมายของค้า อา่ นหนงั สือกฎหมายเมือ่ ต้องการรู้ขอ้ ปฏบิ ตั ิ อา่ นหนังสือ คู่มือแนะวธิ ีเรียนเพื่อตอ้ งการประสบความสา้ เรจ็ ในการเรียน เปน็ ต้น ๔) ท้าให้เกิดความเพลิดเพลิน การอ่านหนังสือที่มีเนื้อหาดี น่าอ่าน น่าสนใจ ย่อมท้าให้ผู้อ่านมี ความสุข ความเพลิดเพลิน เกิดอารมณ์คล้อยตามอารมณ์ของเรื่องน้ัน ๆ ผ่อนคลายความตึงเครียด ได้ข้อคิด และยังเป็นการยกระดับจติ ใจผูอ้ ่านใหส้ งู ขนึ้ ได้อีกด้วย ๕) ท้าให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน ผู้ที่อ่านหนังสือสม้่าเสมอย่อมเกิดความช้านาญ ในการอ่าน สามารถอ่านได้เร็ว เข้าใจเร่ืองราวที่อ่านได้ง่าย จับใจความได้ถูกต้อง เข้าใจประเด็นส้าคัญของ เรอ่ื ง และสามารถประเมินคณุ ค่าเร่อื งท่ีอา่ นได้อย่างสมเหตสุ มผล ๖) ท้าให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตท่ีสมบูรณ์ ผู้อ่านมากย่อมรู้เร่ืองราวต่าง ๆ มาก เกิดความรู้ ความคิดท่ีหลากหลายกว้างไกล สามารถน้ามาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชีวิตมีคุณค่า และ มีระเบยี บแบบแผนทด่ี ยี งิ่ ขึน้ ๗) ท้าให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ อ่านมากย่อมรอบรู้มาก มีข้อมูลต่าง ๆ สั่งสมไว้มาก เมื่อสนทนากับผู้อ่ืนย่อมมีความมั่นใจไม่ขัดเขินเพราะมีภูมิรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ ค้าแนะน้าแกผ่ อู้ ืน่ ในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้ ผ้รู อบรจู้ งึ มักไดร้ บั การยอมรบั และเป็นท่เี ชือ่ ถือจากผู้อืน่ มารยาทในการอ่าน มารยาทเป็นวฒั นธรรมทางสังคม เป็นความประพฤติท่ีเหมาะสมทคี่ วรซ่ึงสงั คมยอมรบั และยกย่อง ผมู้ มี ารยาทคือผทู้ ่ีได้รับการอบรมส่งั สอน ขัดเกลามาดแี ล้ว มารยาทในการอา่ นแมจ้ ะเปน็ เรอ่ื งเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทิตยา ดชั ถุยาวัตร หนา้ ๑๒ ทบี่ างคนอาจไมร่ ้สู ึก แตไ่ มค่ วรมองขา้ ม มารยาทเหลา่ น้จี ะเป็นเครื่องบง่ ชีใ้ หเ้ หน็ วา่ บคุ คลน้ันได้รับการอบรม สั่งสอนมาดหี รือไม่ อย่างไร ดังเชน่ ภาษติ ทว่ี า่ “ส้าเนยี งสอ่ ภาษา กริ ิยาสอ่ สกลุ ” มารยาทในการอา่ นและการสรา้ งนสิ ยั ในการอ่าน ในปัจจุบนั เปน็ สิ่งจ้าเปน้ อย่างยง่ิ ในการพฒั นาตนเอง และพัฒนาสงั คมและเปน็ ทกั ษะทีเ่ กี่ยวข้องกับ การด้ารงชีวิตของมนษุ ยเ์ ปน็ อยา่ งมาก ดังน้ัน การร้จู ักมารยาทในการอ่านและตระถงึ การประพฤตติ นในการ อ่านให้มีความระมดั ระวงั และมมี ารยาททดี่ จี ะไดร้ บั การยกย่องในสังคมว่าเป็นผู้มีการศกึ ษา และมีอารยธรรม ทีเ่ หมาะสม นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการสรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านใหม้ ากและมีความสมา่้ เสมอจะท้าใหเ้ ป็นผู้มี ความสามารถ มสี มองอันกวา้ งไกล รู้จักพัฒนาตนเอง พฒั นาสังคมตลอดไป การอา่ นในชวี ิตประจ้าวัน มีทั้งการอ่านในใจและอ่านออกเสยี ง การอา่ นจึงต้องมีความระมัดระวงั ใน การปฏบิ ัติตน เชน่ การจัดหาที่นงั่ ใหส้ ะดวกสบายและถกู สุขลักษณะ อ่านหนงั สอื ในระยะทีเ่ หมาะสมกับ สายตา นอกจากน้ันจึงต้องคา้ นงึ ถึงมารยาทในการอา่ นอกี ด้วย ขอ้ พึงปฏบิ ัติและมารยาทการอ่านท่ีส้าคัญ ดงั นี้ (๑) ไม่อา่ นออกเสียงดังจนรบกวนผอู้ ื่น (๒) ออกเสียงถูกต้องชัดเจน ตามอักขรวธิ ี (๓) กรณีอ่านหนังสือในหอ้ งสมุด ตอ้ งไม่ส่งเสยี งหรอื ทา้ เสียงดังรบกวนผู้อนื่ (๔) เลือกอ่านหนังสือทม่ี ีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม (๕) อ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ มเี หตุผล ไมห่ ลงเช่อื ในสง่ิ งมงายไร้เหตุผล (๖) ระมัดระวงั ในการถือหนังสือมิให้เกดิ ความเสียหาย (๗) ถ้าต้องการเรื่องหนงึ่ เรอ่ื งใดจากหนังสอื อาจเพอ่ื นา้ ไปเปน็ หลกั ฐานอ้างองิ ควรถ่ายสา้ นวนไว้ ไมค่ วรฉีกออกไปจากเล่ม (๘) การแสดงความคิดเหน็ ในการอ่านต้องมีเหตผุ ล ไมม่ ีอคตใิ นการอ่าน (๙) เม่อื นา้ เนื้อหาส่วนหนง่ึ ส่วนใดจากเร่อื งท่อี ่านไปใชอ้ ้างองิ ในงานเขยี น เชน่ รายงานควรใส่อา้ งอิง ถกู ต้องตามหลักการ เพื่อเปน็ การใหเ้ กียรติผู้เขียน (๑๐) ถา้ บงั เอิญทา้ หนังสือเสียหาย ควรซอ่ มหนงั สอื ให้ถูกต้องตามวิธีซอ่ มหนังสือเพ่ือมิให้หนังสอื ชา้ รดุ ย่งิ ข้นึ ๒. การสรา้ งนิสัยรักการอ่าน การปลูกฝงั นสิ ัยรักการอา่ น ตอ้ งเริ่มตั้งแต่วยั เด็ก โดยผู้ปกครองผใู้ หญ่ในบ้าน ครูอาจารย์ ตลอดจน การส่ือตา่ ง ๆ ในสังคมควรชว่ ยส่งเสริม การเลือกหนังสอื ทเ่ี หมาะสมกับวัยของผูเ้ รยี นแต่ละระดับ ย่อมมีสว่ น จงู ใจใหเ้ ดก็ อยากอ่านอยากรู้อยากเห็น อยากค้นคว้าหาความรู้เพิม่ เตมิ เพือ่ จะได้เปน็ นักอ่านท่ดี ีตลอดไป ในวัยแรกท่ีเริม่ หดั อ่านนนั้ ผใู้ หญอ่ าจเรา้ ความสนใจด้วยหนงั สอื ท่มี ภี าพประกอบสวย ๆ หนังสอื การ์ตูนนทิ านทีส่ นุกสนานมภี าพประกอบ หรือเม่ือเรมิ่ โตขึ้นเริม่ มีหนังสอื สารคดี นวนิยาย เร่อื งส้ัน ทต่ี รงกบั ความสนใจ ท้าใหเ้ ขาเกดิ ความรู้สึกว่าหนังสอื นน้ั มีประโยชน์ มคี ุณคา่ และมีความหมายตอ่ เขามาก การเลอื ก หนังสือเขา้ ห้องสมดุ ใหเ้ หมาะสมกับวัยผ้เู รียน จะมสี ว่ นอย่างมากในการจงู ใจใหเ้ ด็กเขา้ ห้องสมดุ และหยบิ หนงั สอื มาอา่ นจนเกดิ ความเคยชินกับการอ่าน หนงั สือท่เี หมาะกบั วยั และรสนยิ มของเด็กจะช่วยให้เกิดความ รักและมีความสขุ กบั การอ่านหนังสือ เมือ่ เขาเติบโตข้ึนก็ควรไดร้ ับการปลูกฝังให้รักการอ่านด้วยตนเอง ดงั นี้

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทติ ยา ดชั ถยุ าวัตร หน้า ๑๓ (๑) รว่ มกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน เช่น อ่านแล้วน้าเรือ่ งมาเล่าต่อ ขณะท่อี ่านควรบนั ทึกช่ือหนังสอื ชื่อผู้แต่ง แนวคิดสา้ คัญของเรื่องและคณุ ค่า ฯลฯ ลงในบตั รทกุ คร้งั (๒) จดบันทกึ ข้อความ ถอ้ ยคา้ เรื่องราว ข้อคดิ ความรูท้ ม่ี ีประโยชน์ หรืออาจลมื ได้งา่ ย เก็บไว้เพื่อ เตอื นความจ้าหรือแบบให้ศกึ ษาคน้ ควา้ เพิม่ เติมได้ (๓) ใชพ้ จนานกุ รมและสารานุกรมชว่ ยในกรณีที่พบถ้อยคา้ สา้ นวน หรือค้าศัพท์ยากทไ่ี ม่เข้าใจ ความหมาย หรือต้องการตรวจสอบความถูกต้อง (๔) ส้ารวมสมาธใิ นการอ่าน เพ่ือจบั สาระสา้ คญั หรอื สารประโยชนอ์ ื่น ๆ ตามจุดประสงท่ีตง้ั ไว้ (๕) ปรบั อารมณ์ให้สอดคลอ้ งกบั ข้อเขยี น เพ่ือสร้างจนิ ตนาการและความเข้าใจใหล้ ึกซ้ึงขึ้น (๖) รู้จักลักษะเฉพาะของวรรณกรรม เขา้ ใจศิลปะของภาษาในคา้ ประพันธ์ รวมท้ังถ้อยค้าโวหารใน งานนน้ั (๗) สะสมประสบการณแ์ ละความรู้เชิงภาษาให้กว้างขวางและมากพอจนสามารถเข้าใจเร่ืองราวท่ี อา่ นได้อยา่ งรวดเร็ว รบั รสจากการอ่านได้อยา่ งซาบซ้งึ แนวทางพฒั นาทกั ษะการอ่าน การอ่านเป็นสิง่ ที่ทา้ ได้ไม่ยาก แต่คนเป็นจ้านวนมากไม่ค่อยรักการอา่ น นกั เรยี นซงึ่ อยู่ในวยั เรียน จะไดร้ บั ความรู้จากการอ่านเปน็ ส่วนใหญ่ จงึ ตอ้ งฝึกฝนตนให้เปน็ นกั อ่านมคี วามอยากอา่ นจนตดิ เป็นนิสัย รกั การอา่ นไปตลอดชีวิต แนวทางพัฒนาทักษะในการอ่าน ควรดา้ เนนิ การ ดงั นี้ (๑) สรา้ งนสิ ัยในการอา่ นดว้ ยวธิ ีงา่ ย ๆ เรม่ิ ต้นอา่ นหนงั สอื ทตี่ นชอบดว้ ยการซ้ือเป็นสมบัตสิ ว่ นตน หรือเข้าห้องสมุดเมอื่ มีเวลาว่าง อ่านหนงั สือทุกประเภทในเวลาว่าง นอกเหนอื จากหนงั สือเรียน หรือหนังสือ ทช่ี อบ อ่านประกาศต่าง ๆ ในสถานที่ท่เี ข้าไปติดต่อ (๒) เขา้ ร่วมกิจกรรมอ่านออกเสียง อา่ นบทร้อยกรอง ร้อยแกว้ ความเรียง เชน่ อา่ นขา่ ว เลา่ นิทาน อ่านทา้ นองเสนาะ ฯลฯ เพอ่ื เพมิ่ ทักษะการอ่านออกเสียงให้ถกู ต้อง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเว้นวรรคตอน การอ่านค้าควบกลา้ ขณะท่ีอ่านควรใช้น้าเสยี งมชี วี ติ ชีวาตามเน้อื หาที่อา่ น (๓) สะสมข้อความประทับใจทีอ่ า่ นพบ ไว้ใช้ในโอกาสทเ่ี หมาะสมด้วยการบันทกึ ลงบัตรและเก็บ สะสมบัตรไว้ใชต้ ่อไป (๔) บันทกึ ผลการอ่านทุกครั้ง ตั้งแต่ทีม่ าของหนังสือ สาระสา้ คญั ของเร่ือง ความเหน็ ของผู้อา่ น (๕) อา่ นหนังสือให้มากและร้จู ักเลอื กหนังสอื ที่มคี ุณคา่ เพ่ิมพนู ความรู้และคุณธรรมของตนเอง (๖) สรา้ งบรรยากาศการอา่ นให้เปน็ ท่ีนา่ พึงพอใจ หาท่ีนั่งท่ีสบาย อากาศดี แสงสว่างพอเพยี ง และ ไม่มเี สียงรบกวน (๗) พยายามอ่านหนังสอื ทุกวนั ทงั้ หนังสอื ประเภททีช่ อบขา่ วสารต่าง ๆ ในหนงั สอื พมิ พท์ ช่ี ่วยให้ ผู้อ่านทันโลก (๘) ฝึกฟัง เพราะการฟงั เป็นพนื้ ฐานของการอา่ น ถ้าฟังการวจิ ารณ์เร่อื งทีเ่ ราก้าลังอ่าน จะชว่ ยให้ ทัศนะในเรื่องท่อี ่านกวา้ งข้ึน (๙) เม่ือจติ ใจท้อแท้ เบ่อื หน่าย เครียด สมองทา้ งานหนกั ควรอา่ นหนงั สือประเภทขบขัน หนังสอื

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครอู าทติ ยา ดชั ถยุ าวตั ร หนา้ ๑๔ ประเภทใหค้ วามเพลดิ เพลนิ ทางปัญญาและอารมณ์ หนงั สอื ชช้ี วนดโู ลกในแนวใหม่หรอื ใหส้ ัจธรรม จะช่วย ขจัดความรู้สกึ อนั ไมพ่ ึงปรารถนาได้ และช่วยใหจ้ ติ ใจสดช่ืนเห็นความงามในชวี ิต ช่วยให้ก้าลังใจเขม้ แข็งและ ความรู้สกึ รักการอา่ นชว่ ยให้มีความสขุ ได้ (๑๐) เมอ่ื ตอบค้าถามหรือสนองความอยากรู้อยากเห็นของตนไม่ไดด้ ว้ ยวธิ ีอนื่ ๆ อย่างเหมาะสม ควรอ่านหนังสอื เพื่อตอบคา้ ถามเหล่านัน้ เมื่ออา่ นไปมาก ๆ กจ็ ะพบค้าตอบทา้ ให้เปน็ ผรู้ กั การอ่าน (๑๑) เมอ่ื อ่านหนังสือหรอื พัฒนาจนถึงขั้นแตกฉาน กจ็ ะเกิดความร้สู ึกรกั ท่ีจะอา่ นหนังสือให้มากขน้ึ การอ่านได้มาก ๆ ต้องฝกึ อ่านเรว็ ต้องมีสมาธแิ นว่ แนใ่ นการอ่าน ตาและสมองต้องอยู่กับสง่ิ ที่เราอ่าน เมื่อมี สมาธิจะอ่านไดเ้ ร็ว รู้เร่อื ง และจบั ประเดน็ ได้ กจ็ ะยิง่ รสู้ ึกรักที่อ่านมากข้ึน ซึ่งจะช่วยพัฒนาการอ่านไดม้ าก ยิ่งขนึ้ การอ่านจบั ใจความสาคญั การอ่านจบั ใจความสาคัญ เป็นเรอ่ื งทีส่ ้าคัญอย่างหนึง่ ของกระบวนการอ่าน เพราะการจับใจความ สา้ คญั แสดงใหเ้ ห็นว่าผู้อา่ นมคี วามเข้าใจเนอ้ื เรื่องได้ดีแค่ไหน เขา้ ใจจดุ มุ่งหมายของผเู้ ขียนได้ดแี ค่ไหน ใจความสาคัญ หมายถึง ใจความท่ีส้าคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าที่สามารถ ครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่น ๆ ในย่อหน้าน้ันหรือประโยคท่ีสามารถเป็นหัวเร่ืองของย่อหน้าน้ันได้ ถ้า ตัดเน้อื ความของประโยคอ่นื ออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดีย่ ว ๆ ได้ โดยไม่ตอ้ งมปี ระโยค อ่ืนประกอบ ซ่ึงใน แต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความส้าคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน ๒ ประโยค ใจความรอง หรือ พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือประโยคท่ีขยายความประโยค ใจความส้าคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความส้าคัญให้ชัดเจนข้ึน อาจเป็นการอธิบายให้รายละเอียด ให้ค้า จ้ากัดความ ยกตัวอยา่ ง เปรียบเทยี บ หรอื แสดงเหตุผลอยา่ งถ่ีถ้วน เพ่ือสนับสนุนความคิด ส่วนทม่ี ิใชใ่ จความ ส้าคัญ และมิใชใ่ จความรอง แตช่ ว่ ยขยายความให้มากขึ้น คือ รายละเอียด หลกั การจบั ใจความสาคัญ ๑. ต้ังจดุ มุ่งหมายในการอา่ นใหช้ ัดเจน ๒. อา่ นเรื่องราวอย่างคร่าว ๆ พอเข้าใจ และเกบ็ ใจความส้าคญั ของแตล่ ะย่อหนา้ ๓. เมอ่ื อา่ นจบใหต้ ั้งคา้ ถามตนเองว่า เรื่องที่อา่ น มีใคร ทา้ อะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ อย่างไร ๔. น้าสงิ่ ทสี่ รุปได้มาเรียบเรียงใจความส้าคญั ใหม่ดว้ ยสา้ นวนของตนเองเพ่ือใหเ้ กดิ ความสละสลวย ขนั้ ตอนการอ่านจับใจความสาคัญ ๑. อา่ นต้ังแตต่ น้ จนจบ โดยให้อา่ นสา้ รวจเรื่อง ๑ คร้งั เพื่อใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหาโดยรวม จากนนั้ จงึ อ่าน ใหม่อีก ๑ ครั้ง เพ่ือเก็บรายละเอียดของเนอื้ หา ๒. จับใจความสา้ คญั ที่ละย่อหนา้ ๓. น้าเนื้อหามาเรียบเรียงใหม่ด้วยรปู แบบของผ้อู ่านเอง ๔. กรณีอา่ นหลายคนควรใช้การสนทนาแลกเปลย่ี นสรปุ ใจความรว่ มกัน การจับใจความสาคัญจะแบ่งออกเปน็ ๒ แบบ ใจความหลัก คอื ประโยคที่เป็นเน้ือหาสา้ คัญของย่อหน้านั้น ๆ อาจวางอยบู่ ริเวณใดของเน้ือหาก็ได้ แต่ในส่วนนีจ้ ะไม่สามารถตดั เนอ้ื หาทงิ้ ได้ แตส่ ามารถทจ่ี ะนา้ มาย่อความใหมไ่ ด้

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครูอาทิตยา ดัชถยุ าวตั ร หนา้ ๑๕ ใจความรอง เป็นเน้ือหาในส่วนท่ีมาขยายส่วนของใจความหลัก ให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน เช่น การยกตวั อย่าง การอธบิ าย การเปรยี บเทยี บ การแสดงความคิดเหน็ วิธกี ารจบั ใจความสาคญั วธิ ีการจบั ใจความมีหลายอย่าง ขึ้นอยู่กบั ความชอบว่าอยา่ งไร เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สตี า่ ง ๆ กนั แสดงความสา้ คัญมากนอ้ ยของขอ้ ความ การบนั ทึกย่อเป็นสว่ นหนงึ่ ของการอา่ นจับใจความสา้ คัญที่ดี แต่ ผทู้ ่ียอ่ ควรยอ่ ด้วยสา้ นวนภาษาและส้านวนของตนเองไมค่ วรยอ่ ดว้ ยการตัดเอาข้อความสา้ คญั มาเรยี งต่อกนั เพราะอาจท้าใหผ้ อู้ ่านพลาดสาระส้าคญั บางตอนไปอนั เป็นเหตใุ หก้ ารตีความผดิ พลาดคลาดเคลอื่ นได้ วิธจี ับใจความสาคัญมีหลักดังนี้ ๑. พิจารณาทีละย่อหน้า หาประโยคใจความส้าคัญของแตล่ ะย่อหนา้ ๒. ตัดสว่ นทเ่ี ปน็ รายละเอยี ดออกได้ เชน่ ตวั อย่าง สา้ นวนโวหาร อปุ มาอปุ ไมย (การเปรียบเทยี บ) ตวั เลข สถติ ิ ตลอดจนค้าถามหรือคา้ พูดของผเู้ ขยี นซ่ึงเปน็ ส่วนขยายใจความสา้ คัญ ๓. สรปุ ใจความสา้ คญั ดว้ ยสา้ นวนภาษาของตนเอง การพจิ ารณาตาแหนง่ ใจความสาคัญ ใจความสา้ คญั ของข้อความในแตล่ ะย่อหนา้ จะปรากฏดงั นี้ ๑. ประโยคใจความส้าคญั อยู่ตอนต้นของย่อหน้า ๒. ประโยคใจความสา้ คญั อยู่ตอนกลางของย่อหน้า ๓. ประโยคใจความสา้ คัญอยู่ตอนท้ายของย่อหนา้ ๔. ประโยคใจความส้าคญั อยู่ตอนต้นและตอนทา้ ยของย่อหนา้ ๕. ผอู้ ่านสรปุ ข้ึนเอง จากการอา่ นทง้ั ย่อหน้า (ในกรณใี จความส้าคัญหรอื ความคิดส้าคัญอาจอย่รู วม ในความคดิ ย่อย ๆ โดยไม่มคี วามคดิ ทเี่ ป็นประโยคหลกั ) การอา่ นแยกข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเหน็ การท่ีนักเรียนจะวิเคราะห์เน้ือหาสาระของการอ่านและการพูดนั้น นักเรียนจะต้องรู้ว่าอะไรเป็น ใจความส้าคัญของเร่ือง อะไรเป็นเน้ือหาหลัก เนื้อหารอง ตอนใดเป็นใจความท่ีแสดงเหตุและผล ข้อเท็จจริง ข้อคดิ เหน็ ในขณะเดยี วกันกต็ อ้ งใช้ความคดิ ความรู้ และประสบการณ์ของนักเรียน เพ่อื พจิ ารณาวา่ เรือ่ งท่ีฟัง นีม้ คี วามสมเหตุสมผลและมีความถกู ต้องหรือไม่ มากนอ้ ยเพียงใด การวเิ คราะห์ขอ้ ความใดเปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ข้อความใดเป็นขอ้ คดิ เห็น นักเรยี นจะต้องตงั้ ใจอ่านและตัง้ ใจ ฟังแล้วลองใช้หลักต่อไปนี้พจิ ารณาแยกแยะ ลักษณะของข้อเท็จจริง ลักษณะของข้อคดิ เห็น ๑. มคี วามเป็นไปได้ ๑. เปน็ ขอ้ ความท่ีแสดงความรู้สึก ๒. มคี วามสมจรงิ ๒. เปน็ ข้อความท่ีแสดงความคาดคะเน ๓. มีหลกั ฐานเช่ือถอื ได้ ๓. เป็นขอ้ ความที่แสดงการเปรยี บเทียบ ๔. มคี วามสมเหตสุ มผล อุปมาอปุ มัย ๔. เปน็ ข้อความทเ่ี ป็นข้อเสนอแนะหรือเปน็ ความ คิดเหน็ ของผูพ้ ดู เอง

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทติ ยา ดชั ถยุ าวตั ร หน้า ๑๖ นักเรียนควรตระหนักถึงความส้าคัญของการฝึกวิเคราะห์จาการอ่านการฟังและการดู เพราะทุก วันนี้เป็นยุคแห่งข่าวสารข้อมูล เราจ้าเป็นต้องรับสารท่ีเข้ามาในชีวิตประจ้าวันอย่างมากมาย ทั้งสารท่ีเป็น เรื่องราวความรู้ บอกเล่าให้ทราบ ให้แนวคิด ให้ความเพลิดเพลิน และสารเชิงโน้มน้าวใจ หากเราไม่สามารถ แยกแยะประเดน็ ส้าคญั ๆ ทปี่ ระกอบกนั ขน้ึ เป็นเรื่องได้ เรากจ็ ะไมส่ ามารถน้าประโยชนจ์ ากการฟงั และดูสาร น้นั ไปใช้ประโยชนไ์ ดเ้ ลย ตวั อย่างข้อความท่เี ปน็ และข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ ลักษณะของข้อความที่เป็นข้อเท็จจรงิ ลกั ษณะของขอ้ ของขอ้ ความทเ่ี ป็นคดิ เห็น ๑. จงั หวัดเชียงรายอยู่ทางตอนเหนอื ของประเทศไทย ๑. เชยี งรายมภี มู ปิ ระเทศที่สวยงามน่าอยู่ ๒. การทา้ ลายปา่ ไมท้ ้าใหเ้ กิดความแห้งแลง้ ๒. กนิ ผกั บ้งุ ท้าให้ตาหวาน ๓. แมวมือมีฝเี ท้าเบามาก ๓. คนทเ่ี ชือ่ ถือโชคลาง เชื่อวา่ แมวเป็นสัตวล์ ึกลบั ๔. เมื่อข้าวราคาตกต่า้ ทา้ ให้ชาวนาเดือดร้อน ๔. บ่าววีร้องเพลงไดอ้ ารมณ์มากทสี่ ุด ๕. มงคลเปน็ นักเรียนโรงเรยี นวัดถา้ ปลาวิทยาคม ๕ สมชายชอบวชิ าภาษาไทย การอ่านตคี วาม ความหมายและความสาคญั ของการอ่านตีความ การอา่ นตคี วาม เป็นการอ่านเพื่อหาความหมายทีซ่ ่อนเรน้ หรอื หาความหมายทแี่ ทจ้ ริงของสาร โดยต้องพจิ ารณาข้อความที่อ่านวา่ ผเู้ ขยี นมเี จตนาใหผ้ ูอ้ ่านเกิดความคดิ อะไรนอกเหนอื ไปจากเรื่องทผี่ ู้เขียน ต้องการส่งมา ความสาคญั ของการอ่านตคี วาม ๑. ชว่ ยให้ผูอ้ า่ นเขา้ ใจเรอื่ งท่ีอ่านไดห้ ลายด้านหลายมุม ๒. ท้าให้เหน็ คุณค่าและไดร้ ับประโยชน์จากสง่ิ ท่ีอ่าน ๓. ชว่ ยฝกึ การคิดไตร่ตรองหาเหตผุ ล ๔. ท้าให้มีวจิ ารณญาณในการอา่ น ลักษณะของการอ่านตีความ แบง่ ออกได้เปน็ ๒ ประเภท คือ ๑. การตีความเน้ือหา หมายถึง การน้าข้อความจากเนื้อหาในเร่อื งท่ีอา่ นมาตีความว่าหมายถงึ อะไร เช่น แสงสวา่ ง หมายถงึ ปัญญา, แกว้ หมายถงึ ความดี, เพชร หมายถึง ความเป็นเลิศ, ดอกไม้ หมายถึง ผหู้ ญงิ ๒. การตีความน้าเสยี ง หมายถึง เมือ่ อา่ นขอ้ ความทัง้ หมดแลว้ ตอ้ งสามารถหาเจตนาหรือ จดุ มุ่งหมายของผ้เู ขยี นเรอ่ื งน้ันวา่ ผูเ้ ขยี นมีเจตนาหรอื จดุ มุ่งหมายอย่างไร ความรู้เก่ยี วกบั การอา่ นตีความ ๑. เสียง (ค้า) และความหมาย เสียงของค้าท่ีแตกต่างกัน ย่อมส่ือความหมายที่แตกต่างกัน ผู้อ่าน ตอ้ งวเิ คราะห์ว่าเสียงของค้าที่ผ้เู ขียนใชน้ ้นั สัมพนั ธก์ ับความหมายอยา่ งไร

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทิตยา ดัชถุยาวัตร หนา้ ๑๗ ๒. ภาพพจน์ ผู้อ่านต้องมีความรู้ความเข้าใจเร่ืองภาพพจน์ ซึ่งจะช่วยให้การอ่านตีความมีความกว้างขวาง ลกึ ซง้ึ ย่ิงขึ้น เช่น อุปมา อุปลกั ษณ์ นามนยั อตพิ จน์ บคุ ลาธิษฐาน ๓. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ในทางวรรณกรรม หมายถึง ส่ิงใดสิ่งหนึ่งซึ่งมักจะเป็นรูปธรรม ที่เป็น เครื่องแทนนามธรรม เช่น ดอกไม้แทนหญิงงาม พระเพลิงแทนความร้อนแรง แบ่งเป็นสัญลักษณ์ตามแบบ แผน และสัญลักษณส์ ว่ นตัว ๔. พ้ืนหลงั ของเหตกุ ารณ์ คอื ความเปน็ ไปในสมยั ท่ีงานเขียนเร่ืองน้นั ไดแ้ ต่งขึน้ รวมถึงลทั ธิความเช่ือ สภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และความเป็นอยู่ของยุคสมัยนั้น ๆ ๕. ความรู้อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอ่านตีความ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับประวัติผู้แต่ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สงั คมวทิ ยา เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา ปรชั ญา ศาสนา ๖. องค์ประกอบที่ท้าให้การอ่านตีความแตกต่างกัน ได้แก่ ความสนใจ ประสบการณ์ จินตนาการ เจตคติ ระดบั สตปิ ญั ญา ความรู้ และวยั ๗. เกณฑ์การพจิ ารณาการอา่ นตคี วาม การตีความงานเขียน ความผิดถกู ไมใ่ ช่เรื่องสา้ คัญ อยู่ทีม่ ี ความลกึ ซึง้ กว้างขวางและมีความสมเหตุสมผล กระบวนการอา่ นตคี วาม การวิเคราะห์เพื่อการตีความ หมายถึง การพิจารณารูปแบบเนื้อหา กลวิธีการแต่ง และการใช้ภาษา ของงานเขียน พจิ ารณารายละเอียดของงานเขยี น จะต้องพิจารณารายละเอยี ดตา่ ง ๆ คอื ๑. พิจารณาวา่ ส่วนใดเปน็ ข้อเท็จจรงิ ส่วนใดเปน็ ขอ้ คิดเหน็ ตลอดจนความรูส้ ึกและ อารมณ์ ของผ้เู ขียน ซง่ึ อาจแสดงออกโดยตรง หรือแสดงออกโดยผ่านพฤติกรรมของตวั ละคร ๒. วิเคราะห์และรวบรวมปฏิกิรยิ าของผูอ้ ่านที่มีต่องานเขยี น เป็นการท่ผี ้อู ่านวิเคราะห์ ตัวเอง ๓. การพิจารณาความคิดแทรก หมายถงึ การพจิ ารณาข้อความรคู้ วามคิดทผ่ี เู้ ขียนมีไว้ ในใจ แตไ่ มไ่ ดเ้ ขยี นไว้ในงานเขยี นน้ันตรง ๆ ๔. การตคี วามงานเขียน นา้ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ประมวลเข้าดว้ ยกัน เพอ่ื ท้าให้เกิดความเข้าใจ แลว้ ตคี วามงานเขยี น วา่ ผู้เขียนส่งสารอะไรมาให้แก่ผอู้ ่าน ๕. การแสดงความคดิ เสรมิ เป็นการทีผ่ ู้อา่ นแสดงความคดิ ของผู้อา่ นเอง โดยท่ี กระบวนการอ่านตีความนั้นมีส่วนย่วั ยใุ หค้ ดิ เปน็ ความรู้ ความคิดเห็น ความรสู้ ึกหรอื อารมณ์ท่ี เกดิ ขึน้ ใหม่ คุณค่าของการอา่ น การอา่ น เปน็ การเสรมิ สรา้ งความรู้ให้กบั มนุษยไ์ ด้อยา่ งดี และใชเ้ วลาในการเสรมิ สร้างความร้ไู ด้ อย่างรวดเรว็ และสามารถเสริมสร้างความรไู้ ดต้ นเอง ความสาคญั ของการอา่ น ๑. การอ่านชว่ ยใหใ้ นเรือ่ งการอย่รู ่วมกันอยา่ งมีความสขุ เพราะการอยูร่ วมกนั ของมนุษยต์ ้องใช้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั กฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ เพอ่ื อยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสุข ๒. การอา่ นเปน็ ถา่ ยทอดความรู้ท่มี ีการสบื เนือ่ งต่อกันมา และเปน็ การถ่ายทอดความรูส้ ึกของแต่ละ คน

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผูส้ อน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวัตร หนา้ ๑๘ ๓. การอา่ นหนงั สือวชิ าการเป็นพ้ืนฐานในการเสรมิ สรา้ งความร้ใู นการศกึ ษาในระดบั อนื่ ๆ ๔. การอา่ นเพ่ือประโยชน์ในการถา่ ยทอดวัฒนธรรม จากชนร่นุ หลังมาสชู่ นรุ่นปจั จุบนั ๕. การอา่ นชว่ ยในเรอ่ื งความบันเทงิ เช่น นวนยิ าย นทิ าน เรอ่ื งสัน้ ๖. การอา่ นเพื่อนา้ ไปเสริมสรา้ งความรู้ในการประกอบอาชีพ เช่นหนงั สือเก่ยี วกบั การเพาะปลูก การ เลย้ี งสตั ว์ ประโยชนข์ องการอ่าน ๑. เพือ่ เสริมสรา้ งความรู้ เชน่ สนใจเรือ่ งของการปลูกกลว้ ยไม้ จงึ ค้นคว้าหาความรูจ้ ากการอา่ น หนงั สือเก่ียวกบั การปลูกกล้วยไม้ ๒. เพอื่ นา้ ไปพฒั นาเร่ืองการประกอบอาชีพ หลังจากที่มกี ารอ่านหนังสอื เกีย่ วกับการปลกู กล้วยไม้ จงึ น้าความรู้ที่ได้มาท้าการปลูกกล้วยไม้ ในเชงิ ธรุ กจิ ๓. ทา้ ให้คนทร่ี ักการอา่ นเกดิ ความก้าวหน้า และประกอบอาชพี สุจรติ กล่าวคอื หลังจากที่มกี ารสรา้ ง อาชีพเกยี่ วกบั การปลูกกลว้ ยไม้ ผทู้ ่รี กั การอา่ นจะไขว่ควา้ หาความรู้เพิ่มเตมิ แล้วนา้ มาประกอบการอาชีพจนมี ความเจรญิ กา้ วหน้ามากยิง่ ขนึ้ ๔. มคี วามเชือ่ ม่นั ในตนเอง ผู้ท่อี ่านมักจะมีความรู้และจะเกิดความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง ๕. ทา้ ใหฉ้ ลาด รอบรู้ ๖. นา้ ความรู้ที่ไดจ้ ากการอา่ นมาพัฒนาตนเอง ๗. ให้ความบันเทิง เช่นการอ่านหนงั สอื ประเภทเร่ืองสน้ั นวนิยาย หรือนติ ยสาร การอา่ นเพอ่ื ความรคู้ วามเขา้ ใจ การอา่ น มีจุดมุ่งหวังให้ผอู้ า่ นมีความเขา้ ใจความหมายของ ถ้อยคา้ ส้านวน โวหาร เขา้ ใจส้านวนการ บรรยาย พรรณนา อุปมาและการเปรยี บเทียบ การอ่านเพือ่ ใหเ้ ข้าใจถอ้ ยคา คือการอ่านท่ีมงุ่ เน้นให้ท้าความเข้าใจในถ้อยคา้ ถอ้ ยคา หมายถึง คา้ ท่ีกล่าว โดยอาจพบเป็นค้าเพยี งค้าเดียว หรือกลุม่ คา้ ก็ได้ โดยมากจะรจู้ ักกันใน ช่ือว่า คา้ ศพั ท์ ค้าอ่านยาก การอา่ นให้เขา้ ใจถอ้ ยคา้ นจี้ ะต้องมีการอ่านอยา่ งละเอียดตั้งแตต่ น้ จนจบ เพ่ือให้เข้าใจเร่ืองราวและ จบั ใจความสา้ คัญไดก้ ่อน เพ่อื น้ามาชว่ ยในการแปลความหมายของถ้อยคา้ หรือคา้ ศพั ทย์ าก ตัวอยา่ งการอา่ นถอ้ ยคา โจรใต้ลอบกัดอีก ระเบิดวดั ปว่ นเมอื งนรา ฯ ใชป้ นื พาวเวอรเ์ จล ๓ วดั เวลาไล่เลย่ี กัน ถอ้ ยค้ายาก ได้แก่ โจรใต้ หมายถึง ผ้รู า้ ยท่ีอาศยั อยู่ทางภาคใต้ ลอบกัด หมายถึง ลอบทา้ ร้าย ปว่ น หมายถึง เคล่ือนไหวไปมาอย่างผดิ ปกติ นราฯ หมายถงึ จงั หวัดนราธิวาส พาวเวอร์เจล หมายถงึ ระเบิดชนดิ หนง่ึ การแปลความหมายของ ถ้อยคา้ จะมีการแปลได้ ๒ อยา่ งคอื

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวัตร หน้า ๑๙ ๑. การแปลความหมายโดยอรรถ หรือการแปลความหมายโดยตรง คือ การแปลความหมาย อย่างตรงไปตรงมา เช่น โง่แล้วอวดฉลาด หมายถึงคนท่ีโง่ และยังแสดงความฉลาดในขณะท่ีตนเองยังไม่มี ความรู้ ๒. การแปลความหมายโดยนัย ถอ้ ยคา้ บางถอ้ ยค้านอกจากจะแปลความหมายอย่างตรงไปตรงมา ได้แล้ว ยังสามารถแปลความหมายโดยนยั ได้อีกด้วย การแปลความหมายโดยนยั หมายถึง ถ้อยค้าที่หลังจาก ได้รับฟังแล้วยังไม่สามารถทีจะแปลความหมายได้ทันที เพราะผู้พูดได้แฝงความหมายในถ้อยค้านั้น ๆ เช่น ขา้ ราชการ อม เงินผตู้ กทกุ ข์ คา้ ว่า อม แปลความหมายโดยตรงจะแปลว่า การนา้ ส่งิ ของใสไ่ วใ้ นปาก ค้าวา่ อม แปลความหมายโดยนยั จะ แปลวา่ การยักยอกสิ่งของไวเ้ ป็นของตนเอง ตารางการแปลความหมาย ข้อความ ความหมายโดยตรง ความหมายโดยนยั ผกั ชี โรยหน้า ผกั ชนดิ กลน่ิ หอมนยิ มมาแต่งอาหาร ผ้ทู ี่ชอบท้าอะไรความดเี พยี งผิวเผิน ใต้ดิน สิ่งที่วางหรืออาศยั อยูต่ ้่าลงไปในดิน ไมเ่ ปดิ เผย ไม่ถูกกฎหมาย สวมหน้ากาก การนา้ สิง่ อ่ืนมาปิดบังใบหนา้ แสดงทา่ ท่ใี หเ้ ขา้ ใจผิด ยกเมฆ อาการก้าลังยกขน้ึ ด้านบน การกเุ ร่ืองข้ึนมาเอง นกตอ่ นกที่มีไว้ส้าหรับล่อนกตัวอื่น คนทท่ี ้าหนา้ ท่ใี หผ้ อู้ ื่นหลงเช่ือ แกะด้า สตั ว์ชนดิ หนึ่งขนหยิก มีเขา ผทู้ ่ที ้าไม่เหมอื นใคร (ทางไม่ดี) ถอื หาง อาการกา้ ลงั จบั ยก หยบิ การเขา้ ขา้ ง สนบั สนนุ นอกคอก อาการทก่ี ้าลงั อยูด่ า้ นนอก ประพฤตนิ อกล่นู อกทาง แบไต๋ อาการก้าลงั กางมือออก เปดิ เผยความลบั ทซี่ ่อน ไก่อ่อน ไก่ทย่ี ังมอี ายุไม่มาก คนทีไ่ มม่ ปี ระสบการณ์ คันปาก อาการทีก่ ้าลังคัน อยากพดู การอ่านเพื่อใหเ้ ขา้ ใจสานวน สา้ นวน หมายถงึ ค้า กลุ่มคา้ ถอ้ ยค้า ที่มีความหมายพเิ ศษ ไม่ตรงตามความหมายปกติแตใ่ ชก้ ัน ท่วั ไปจนรู้ความหมายตรงกัน ตวั อย่าง สานวน ผดั วนั ประกันพรงุ่ คนท่ชี อบเล่ือนเวลาออกไปครั้งแลว้ คร้งั เล่า อจิ ฉาตาร้อน คนท่ีเห็นผู้อื่นดีกว่าไม่ไดต้ ้องแสดงท่าท่ีไมช่ อบหน้า คบั ทีอ่ ยู่ได้ คับใจอยูย่ าก การล้าบากทางร่างกายไม่หนักหนา เทา่ กับเมอื่ ล้าบากใจ ตกหลุมพราง ถกู ลวงดว้ ยเลห่ ์หรือกลอุบาย รกั วัวใหผ้ ูก รกั ลกู ให้ตี รักลกู ต้องอบรมส่ังสอน คมในฝัก คนทีม่ คี วามสามารถแลว้ เก็บซ่อนไว้ น้ามาใชเ้ มอื่ ถงึ เวลา ขม้ินกับปนู คนสองคนทไ่ี ม่สามารถเขา้ กนั ได้ ทะเลาะกันประจ้า คลมุ ถุงชน การจบั ชายกับหญงิ มาแตง่ งานโดยไม่ได้รักกันมาก่อน

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครูอาทิตยา ดชั ถุยาวัตร หนา้ ๒๐ ไกลปืนเทยี ง ไม่รู้อะไรเพราะอยู่ไกลความเจริญ ขวานผา่ ซาก พดู จาไม่เกรงใจใคร ต่อไปตรงมา กนิ น้าใต้ศอก จ้ายอมเปน็ รองเขา เก็บดอกไมร้ ่วมต้น เคยทา้ บุญกนั มาชาติก่อน จงึ ได้มาอยู่ด้วยกัน ชาตินี้ ฝนทงั่ ใหเ้ ป็นเขม็ การพยายามทา้ ส่ิงท่ียากย่ิงให้สา้ เร็จ เพชรตัดเพชร คนเกง่ กับคนเก่งมาสู้กนั รีดเลอื ดกับปู รดี นาทาเรน้ เอาดอกเบย้ี แพง ๆ กบั ลูกหน้ี พายเรอื ทวนน้า ทา้ ส่ิงท่ียากลา้ บาก กระดี่ได้น้า ต่นื เต้นดใี จแสดงออกมานอกหน้า ขา้ วแดงแกงร้อน บุญคุณ จับเสือมือเปล่า หาผลประโยชนเ์ ขา้ ตวั โดยไม่ต้องลงทุน ได้ทีข่ีแพะไล่ ซา้ เติมผู้ท่ีพลาดพลง้ั น้าลดตอผุด เม่อื หมดอ้านาจ บทอาขยานหลัก ยามวิโยคยากใจใหส้ ะอื้น ถึงสี่หมื่นสองแสนท้ังแดนไตร นริ าศภเู ขาทอง ไม่มีที่พสธุ าจะอาศัย เหมอื นนกไร้รังเร่อยู่เอกาฯ มาถงึ บางธรณีทวีโศก ผหู้ ญิงเกลา้ มวยงามตามภาษา โอ้สธุ าหนาแน่นเปน็ แผน่ พนื้ ทั้งผัดหน้าจบั เขม่าเหมือนชาวไทย เม่ือเคราะหร์ ้ายกายเรากเ็ ทา่ น้ี เหมอื นอย่างเยี่ยงชายหญิงท้ิงวสิ ัย ลว้ นหนามเหน็บเจบ็ แสบคบั แคบใจ ทจี่ ติ ใครจะเป็นหนึ่งอย่าพึงคดิ ฯ ถึงเกร็ดย่านบ้านมอญแต่กอ่ นเก่า มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจิต เดีย๋ วนม้ี อญถอนไรจกุ เหมือนตุก๊ ตา จะชอบผดิ ในมนุษยเ์ พราะพูดจาฯ โอ้สามญั ผันแปรไมแ่ ท้เทีย่ ง น่หี รอื จติ คดิ หมายมหี ลายใจ สุนทรโวหาร (ภ)ู่ ถงึ บางพูดพดู ดีเปน็ ศรีศักดิ์ แม้นพดู ช่ัวตัวตายท้าลายมิตร วรรณคดเี รอื่ ง นิราศภูเขาทอง

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทติ ยา ดัชถยุ าวตั ร หน้า ๒๑ นริ าศภูเขาทองเป็นวรรณคดีประเภทนริ าศ ได้รับการยกยอ่ งว่าเปน็ นริ าศเรือ่ งทดี่ ที ่สี ุดของสุนทร ภู่ ทา่ นแต่งนริ าศเร่ืองนจ้ี ากการเดินทางไปนมสั การเจดีย์ภูเขาทอง ทก่ี รงุ เกา่ (จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยาใน ปจั จุบัน) เมอ่ื เดือนสิบเอ็ด ปีชวด (พ.ศ. ๒๓๗๑) ขณะบวชเปน็ พระภกิ ษุ ลกั ษณะคาประพันธ์ นิราศภูเขาทองแต่งด้วยกลอนนิราศ มีความคลา้ ยคลงึ กับกลอนสุภาพ แต่เริม่ ดว้ ย วรรครบั จบด้วย วรรคส่ง ลงทา้ ยดว้ ยค้าว่า เอย มีความยาวเพยี ง ๘๙ คา้ กลอนเทา่ นน้ั แต่มีความไพเราะ และเรียบงา่ ย ตาม แบบฉบบั ของสนุ ทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บรรยายความรู้สกึ ขณะเดยี วกนั กเ็ ล่าถงึ สภาพของเส้นทางท่กี า้ ลัง เดนิ ทางไปดว้ ย ท่านมกั จะเปรียบเทยี บชวี ิตและโชคชะตาของตนกบั ธรรมชาติรอบข้างที่ตนได้เดินทางผ่านไป มีหลายบทที่เป็นทรี่ ูจ้ ักและทอ่ งจา้ กันได้ เชน่ ถงึ บางพูดพดู ดเี ป็นศรีศักด์ิ มีคนรกั รสถ้อยอร่อยจิต แม้นพูดชั่วตวั ตายท้าลายมิตร จะชอบผิดในมนษุ ยเ์ พราะพูดจาฯ ถอดคาประพันธ์ ถึงเดือน ๑๑ ซง่ึ ออกจากการจา้ พรรษาแล้ว จะมกี ารทอดกฐินและเมอ่ื กฐินเสร็จแล้ว ก็ต้องลงเรือไป ดว้ ยความเศรา้ โศก ออกจากวัดกม็ องดูวัดท่เี คยอาศัย เมื่อปีทผ่ี ่านมาได้อาศยั ตลอดระยะเวลาทั้ง ๓ ฤดูที่อยู่ มาก็ไมม่ ีอะไรมากวนใจ วัดราชบูรณะพระวหิ ารนไ้ี มร่ ู้อกี นานเทา่ ไรกวา่ จะได้มาเหน็ อกี นึกแล้วเศร้าใจยิง่ นัก ทงั้ น้ีเป็นเพราะมีคนพาลมารังแกใส่รา้ ย คดิ จะหาผู้ใหญ่มาคอยช่วยเหลือแตก่ ็ไมส่ ามารถช่วยเหลอื ได้ จึงต้อง อา้ ลาวดั ไป จนต้องมาอ้างวา้ งอยู่กลางสายน้า ถงึ หนา้ วงั ก็เศร้าโศกมาก เพราะคดิ ถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย (ร. ๒)ผซู้ ่ึงมพี ระคุณ กบั สุนทรภอู่ ย่างมาก เมื่อก่อนเคยเข้าเฝา้ ท่านอยา่ งใกลช้ ิดและบ่อยคร้ัง เมื่อพระองคส์ วรรคตก็เหมือนกับ สนุ ทรภู่ตายไปดว้ ยเพราะไมม่ ีญาติหรอื คนคอยชว่ ยเหลือชีวิตจึงยากแค้นแสนเข็ญ อีกทัง้ มีโรคมกี รรมเข้ามา รุมลอ้ ม ไม่เห็นใครที่จะพึ่งพาได้ จึงได้บวชเพ่ืออุทิศส่วนกุศลใหแ้ กร่ ชั กาลท่ี ๒ ประพฤตติ นอยใู่ นศีลธรรม ตลอดเวลา เพ่ือเป็นการทดแทนคุณพระองค์ แมเ้ กิดชาตใิ ดใดกข็ อให้เป็นขา้ รบั ใชพ้ ระองค์ตลอดไป เมอ่ื ถึงหน้าแพก็เหน็ เรือพระที่นงั่ คิดถึงเมอ่ื ก่อนก็เศรา้ จนน้าตาไหล เคยหมอบกราบรชั กาลท่ี ๒ พรอ้ มดว้ ยพระจมน่ื ไวย แล้วก็ลงไปในเรอื บลั ลงั กท์ อง เคยแต่งและแปลบทประพันธ์ เคยรับราชโองการอ่าน ในงานฉลอง จนเรือท่ีมาทอดกฐนิ หมดแลว้ ก็ยงั มิได้ท้าใหพ้ ระองค์ขัดใจแต่อย่างใดเคยหมอบ กราบใกล้จนได้ กลน่ิ หอมจากพระวรกาย กล่ินหอมนั้นหอมจนตดิ จมูก แต่เมื่อพระองคส์ วรรคตกส็ ้นิ กล่นิ หอมไปด้วย อีกท้ังยงั เหมือนวาสนาของสุนทรภกู่ ็ส้ินตามกลิน่ ไปด้วย มองไปในวังยังเห็นหอที่เก็บพระอฐั ิของรัชกาลที่ ๒ ก็ตง้ั สติถวายสว่ นบุญส่วนกุศล อกี ทั้งยังส่งสว่ น กุศลไปใหร้ ชั กาลท่ี ๓ ใหพ้ น้ ภัยในการปกครองบา้ นเมือง ถึงวัดประโคนปักกม็ องไปไมเ่ ห็นเสาหินท่ีลอื กนั ถงึ จะไม่เห็นก็ขอเดชะพระพุทธคณุ ชว่ ย ขอให้อายุ ยืนหมน่ื ๆ ปีเทา่ ดังเสาศลิ า อย่คู ู่ฟา้ ดนิ ได้ตลอดไป พอเรือล่องเลยวดั กม็ องดูริมท่าน้า มีแพมาจอดขายของอยู่ เรยี งราย มีขายทั้งผ้าแพรสมี ว่ งและสอี ่ืน ๆ ท้ังสิง่ ของท่ีมาจากเมืองจีน

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผูส้ อน ครูอาทติ ยา ดชั ถยุ าวตั ร หน้า ๒๒ เม่ือมาถึงโรงเหล้าก็มคี วนั ออกมาจากเตากล่นั มากมาย มีเคร่ืองตกั น้าผูกไว้ปลายเสา สนุ ทรภเู่ คยดืม่ เหล้าจนเมาเหมือนคนบา้ จึงได้บวชเพอื่ จะได้พน้ จากอบายมขุ ขอใหไ้ ด้ตรัสร้ดู งั พระพุทธเจา้ แต่เหลา้ เคยท้า ให้รอดชวี ิตดงั นน้ั จะเมนิ ไม่กินเหล้ากเ็ กินไป ถึงจะไมเ่ มาเหล้าแต่เรายังเมารักอยู่ หักห้ามจิตใจไม่ให้รักไมไ่ ด้ การเมาเหล้าน้ันพอรุ่งข้นึ กห็ ายไป แต่การเมารักน้ีจะเปน็ ไปทกุ ๆ คืน ถึงบางจากไม่อยากไดย้ นิ ค้าว่าจาก เพราะสุนทรภู่จากหลาย ๆ อยา่ งมา จึงทา้ ใหใ้ จมวั หมอง อีกทั้ง เพราะรักนั้นไม่ยนื ยาว จงึ ตอ้ งพลัดพรากจากมา ถงึ บางพลูคิดถึงนางจนั เมื่อคร้ังแต่งงานกนั เคยส่งหมากพลูโดยใสซ่ องให้ทั้งหมดเปน็ ใบเหลอื งซง่ึ อร่อยมาก ถงึ บางพลดั ก็ไมอ่ ยากไดย้ ินค้าว่าพลดั เพราะได้พลดั จากนางจนั ทั้งยังพลัดจากเมอื งและอนื่ ๆ อยา่ งรอ้ นรน ถึงบางโพก็คดิ ถึงตน้ โพธิ์ที่ให้ร่มเงา ใหค้ วามร่มเย็นท้งั ยังทา้ ใหโ้ คนตน้ ไม้งอกงามได้ ขอพระเดชของ พระพทุ ธเจ้าช่วยดลบันดาลใหพ้ น้ ภัยพาลตลอดไป ถงึ บา้ นญวนเห็นมโี รงร้านมากมาย มคี นขายของมากมาย เช่น ก้งุ และปลา โดยการขังไว้ในข้อง เรียงรายดรู ะดาษตา มที ั้งผ้หู ญงิ และผู้ชายมาจับจา่ ยซ้ือของ จะมองกลับไปยังประเทศบ้านเกิดก็ทรมาน เหมือนโดนไฟไหม้ จิตใจกห็ ม่นหมอง ลอ่ งเรอื มาจนถงึ วัดเขมาก็รู้วา่ พ่งึ เลิกงานฉลองไปเม่ือวานซนื คดิ ถงึ เมอื่ ก่อนซ่ึงรชั กาลที่ ๒ ได้มาตดั หวายลูกนมิ ิต ได้ชมพระพิมพ์ท้ัง ๘๔,๐๐๐ องค์ ซึ่งเท่ากับ จา้ นวนพระธรรมที่อยู่ในพระไตรปฎิ กที่อยู่ริมผนัง แต่คร้ังนี้ไม่ไดเ้ หน็ การเล่นฉลองเพราะสุนทรภ่ตู ้องหมด วาสนาและตกระก้าลา้ บาก เปน็ เพราะบุญนอ้ ยกน็ กึ เศรา้ แตแ่ ล้วเรือกต็ ิดน้าวน มองเหน็ น้าวง่ิ เชยี่ วหมุนเป็น เกลียว พุ่งไปมาตดั กัน บางสว่ นก็พุ่งวนเหมือนกงเกวียน ดเู วียนๆเปน็ เหมอื นพายุวน ท้ังหัวทา้ ยเรอื จงึ ได้รีบ แจวเรือดังนน้ั เรอื จึงหลุดนา้ วนออกมาได้ แตถ่ ึงเรอื จะพน้ น้าวนมาแลว้ แตใ่ จก็ยงั ไม่พน้ จากความรัก ถงึ ตลาดแกว้ แตไ่ มเ่ หน็ มตี ลาดตั้งขายของทั้งสองฝั่งเห็นแต่ต้นไมพ้ ชื พันธุ์ ตา่ ง ๆ ได้กลนิ่ ดอกไมห้ อม ไปเรอ่ื ย ๆ ตลอดทางและกลน่ิ เหมอื นผา้ แพรท่ีย้อมด้วยมะเกลอื เหน็ ต้นโศกใหญ่และตน้ ระก้าเป็นแผงแต่ แปลกทมี่ ตี น้ รักขึ้นแซมอยู่ดว้ ย เหมือนความโศกเศรา้ ระกา้ ใจทสี่ ุนทรภู่ต้องเป็นเพราะรกั แมจ่ ัน ถงึ จังหวัดนนทบรุ กี เ็ หน็ มีตลาดน้า มแี พอยูซ่ ง่ึ ขายเส้ือผา้ เครื่องนุ่งหม่ มีทัง้ เรือจอดอยู่เพือ่ ขายผลไม้ จากสวนแท้ มีท้ังผูห้ ญิงผูช้ ายมาประชมุ ซื้อของกนั เป็นประจ้าทกุ วัน มาถึงหมบู่ ้านบางธรณีกโ็ ศกเศรา้ มากข้นึ เพราะตอนล้าบากพาให้ใจสะอ้นื ทั้งที่แผ่นดินหนาขนาดสอง แสนสห่ี มนื่ โยชน์แตเ่ มอ่ื ถงึ คราวล้าบากแม้แต่แผน่ ดินก็ไมม่ ีทีอ่ าศัย เหมือนโดนหนามเสยี ดแทงเจบ็ แสบมาก เหมอื นกบั นกไมม่ รี งั ทีจ่ ะอาศัยตอ้ งเร่ร่อนไปเรื่อย ๆ ถึงตา้ บลปากเกรด็ ซงึ่ เป็นบรเิ วณที่ชาวมอญอพยพมา ตามธรรมเนยี มผู้หญิงมอญจะเกลา้ ผม แตส่ มัย น้ผี ูห้ ญงิ มอญมาถอนไร อีกท้ังยังใชเ้ คร่ืองสา้ อาง ใช้แปง้ ผดั หน้าซงึ่ เหมือนกับชาวไทย ท้าใหเ้ หน็ ไดว้ ่าสมยั น้ี ทกุ สง่ิ ทุกอย่างไม่มีความเทีย่ งแท้ เหมอื นดังท่ีชาวมอญละทิ้งประเพณีวัฒนธรรมของตนเองแล้วจะนบั ประสา อะไรกับจติ ใจของคน ซง่ึ ไม่มใี ครมใี จเดยี วแต่มหี ลายใจ ถึงหมู่บา้ นบางพดู สนุ ทรภูก่ น็ ึกถึงค้าวา่ พูด ดังวา่ ถา้ ใครพดู ดีกจ็ ะมีคนรัก แต่ถ้าพดู ไมด่ กี ็อาจจะเปน็ ภยั ตอ่ ตนเองได้อีกทัง้ ยงั ไม่มใี ครคบ ไม่มีเพ่ือนสนิทมิตรสหาย ทั้งการจะดูวา่ ใครดีไม่ดดี ูไดจ้ ากการพูด ถึงหมูบ่ ้านบา้ นใหมส่ นุ ทรภกู่ ค็ ิดอยากจะไดบ้ า้ นซักหลังตามทีต่ ้องการโดยขอกับเทวดาให้สมดงั ปรารถนา เพราะ การมีบา้ นใหมจ่ ะได้มีความสุขและมที ี่อาศยั อย่างปลอดภยั ถึงหมูบ่ ้านบางเดือ่ กค็ ดิ ถึงลกู มะเดื่อทภี่ ายนอกน้นั ดสู วยงามน่ารับประทาน แต่ภายในกลบั มแี มลงมี

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทติ ยา ดัชถุยาวัตร หนา้ ๒๓ หนอนชอนไชอยู่ เหมือนกบั คนพาลทป่ี ากพูดดีแตใ่ นใจคิดท้าอันตราย ถึงบางหลวงเหมือนจากนางจันมานานแลว้ เราต้องสละจากยศถาบรรดาศกั ดิเ์ พ่อื มาบวช เพื่อจะได้ พน้ จากกิเลสทง้ั หลายท้ังปวง ถงึ จะมนี างฟ้ามาย่ัวก็ไมส่ นใจ ถงึ สามโคกกค็ ิดถึงพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัยซึ่งพระองค์ปกครอง เมืองกรุงเทพฯ พระองค์ได้พระราชทานนามเมืองจากสามโคกซงึ่ เป็นหวั เมืองช้ันสามเป็นเมืองปทมุ ธานี เป็นเพราะมีบวั เยอะ ถงึ พระองคจ์ ะเสดจ็ สวรรคตไปแลว้ แตช่ ื่อปทมุ ธานีคงอยตู่ ลอดไป แตท่ ้าไมชอื่ ของสุนทรภู่ชื่อขนุ สุนทรโวหารท่ี ไดร้ บั พระราชทานนามมาแต่กลับไม่มชี ่อื ในแผ่นดนิ หลงั จากพระองค์สวรรคตเลย ซง่ึ ตา่ งกบั ปทมุ ธานี สุนทรภู่ ต้องเรร่ ่อนหาท่ีอาศยั เพราะขณะนี้ไมม่ ีบ้าน สุนทรภ่ขู อใหเ้ กิดทกุ ชาติได้เป็นขา้ รบั ใช้พระองค์ตลอดไป พอพระองค์สวรรคตสนุ ทรภู่ก็ขออยากตายตามบ้างเพื่อจะไดร้ ับใชแ้ ละพึ่งพระองค์ เดยี๋ วนก้ี เ็ ศรา้ โศกใจทกุ ข์ ระทมอยา่ งทวีคณู มาก ตอ้ งเร่รอ่ นไปเรื่อย ๆ ชวี ติ ไมม่ ีจุดมุง่ หมาย ถงึ หมบู่ า้ นบ้านงิ้วก็เห็นมแี ต่ต้นงิ้วซึ่งไม่มีนกหรือสัตว์อื่น ๆ อย่บู นก่ิง เลยเพราะตน้ งิว้ มหี นามข้นึ อยู่ มากมายนึกถงึ ก็น่ากลัวหนามเพราะถา้ โดนคงเจบ็ มาก แต่ง้ิวในนรกยาวถึง ๑๖ ขอ้ น้วิ แหลมเหมือนกับไม้ไผ่ เหลาท้ากบั ดัก ซงึ่ ใครมีชเู้ มอื่ ตายไปแล้วกต็ ้องไปปนี ต้นงิ้วในนรก แตส่ นุ ทรภเู่ กดิ มาอายุมากแลว้ แตย่ ังครอง ตัวอยใู่ นศีลธรรมไมม่ ชี ู้ แตท่ ุกวนั นผี้ คู้ นวิปรติ มชี กู้ นั มากคงต้องไปปนี ต้นงิ้วในนรกกนั บา้ ง ทัง้ หมดท่ีคดิ มาน้นั สุนทรภู่สามารถตัดขาดได้แตก่ ารตดั ความรกั น้นั ยากยิ่งนัก นั่งนึกอนาถใจไปจน เย็นกถ็ ึงเกาะใหญร่ าชคราม มองไปเหน็ บ้านเรอื นต่าง ๆ อยู่ห่างจากสองฝง่ั มาก ในทนี่ ต้ี ้องระวังจระเขจ้ ะท้า ร้าย ท้ังทีน่ ย่ี ังเปน็ ที่อยูข่ องผรู้ ้ายซึ่งมาคอยดักตเี รือ สุนทรภู่คดิ แล้วนา่ เบือ่ ยิ่งนัก เมื่อพระอาทติ ย์ตกก็มีเมฆมดื คร้มึ มาจนดูมดื มวั ไปทุกทิศทุกทาง พายเรือถงึ ทางลัดซ่ึงเป็นทางตดั กลางนาก็เห็นมีต้นแฝก ต้นคา ตน้ แขม ต้นกก ข้ึนปะปนกนั อย่มู ากมาย เงาของตน้ พวกนี้ทอดลงน้าทา้ ให้ดูเวิ้ง ว้างดูกว้างขวางเหลียวมองทีไรก็รูส้ ึกขวัญหายทุกที มองเห็นเงาของหญงิ ชายทั้งยังมเี สียงคุยกัน เรือของพวก เขาเพรยี วเลก็ และมีปลาอยู่บนเรอื อีกดว้ ย พวกเขาถ่อเรอื คลอ่ งแคล่วเดินทางไปอย่างรวดเร็ว แตเ่ รือของ สนุ ทรภู่ไปช้ามากชา่ งนา่ สงสารลูกศษิ ย์ทตี่ ้องถอ่ เรืออยา่ งเหน็ดเหนอื่ ยทง้ั ๆ ท่ีไมเ่ คยเส้นทาง บางทเี รือก็เสย เข้าพงหญา้ รกรุงรงั จะถอยหลงั กถ็ อยยาก เรอื ก็โคลงจนกระโถนใส่หมากหก พอเง่ียหูฟงั กไ็ ม่ได้ยินเสียงสัตว์ เลยซกั ตัว มแี ตน่ า้ ค้างตกเพราะลมพดั มองไปไมเ่ หน็ คลองเลยตอ้ งคา้ งอยู่กลางทุง่ แต่พอหยดุ เรือยงุ ก็มารุม กัดเจบ็ เหมือนโดนทรายซดั เลยไม่ได้นอนเพราะต้องน่ังตบยุง สุนทรภูร่ ูส้ กึ อ้างว้างมาก มองไปในทุง่ กว้างเห็นมแี ต่ตน้ แขมข้นึ อยู่ปะปนกัน จนดึกกม็ ีดาวอยกู่ ลาง ทอ้ งฟา้ มนี กกระเรียนบินร่อนและร้องก้องเม่ือตอนเทย่ี งคนื มีเสียงกบเขียดร้องเรื่อย ๆ มีลมพัดเฉ่ือยๆ สุนทรภู่รสู้ ึกวังเวงกค็ ิดรา้ พึงเมื่อตอนมยี ศถาบรรดาศกั ด์ิ ได้หัวเราะเฮฮากบั เพ่ือน มคี นคอยปรนนิบัติรับใช้ แต่ ยามลา้ บากเหน็ แตห่ นพู ดั ลกู ชายคอยชว่ ยน่ังปัดยงุ ให้ จนพระจนั ทรข์ นึ้ กเ็ ห็นต้นกระจับจอก มดี อกบัวเผ่ือน ขน้ึ มากเม่อื คืนเดือนหงาย มองเห็นคลองทง้ั สองดา้ นหัวทา้ ยเรอื กร็ ีบถ่อเรือลงคลอง จนพระอาทติ ยข์ นึ้ ก็เหน็ พนั ธุ์ผักดนู ่ารกั สง่ เกสรแก่กนั มบี ัวเผอื่ นอยู่สองขา้ งทางทีเ่ รือพายไป มตี ้นก้ามกงุ้ ข้ึนอยกู่ ับสาหร่ายใตน้ า้ มีตน้ สายต่ิงข้นึ สลบั กบั ตน้ ตับเต่าเป็นกลุม่ ๆมองไปเหมือนกบั ดาวบนทอ้ งฟ้า เหล่านีถ้ า้ ผหู้ ญิงได้มาเหน็ ก็คงจะลง เล่นกลางทุ่ง ทมี่ ีเรือก็คงจะพายไปเก็บสายบัว ถ้าสนุ ทรภ่มู โี ยมผหู้ ญงิ ก็คงไม่นิ่งเฉยให้อายดอกไม้ คงจะใชใ้ ห้ ศิษย์ไปเกบ็ ของฝากเท่าท่ที ้าไดใ้ นตอนนี้ แต่นีจ่ นใจไม่มีเงนิ ซักนดิ ท้ังยังขีเ้ กียจเกบ็ จงึ เลยมา พอมแี สงออ่ นๆ ของพระอาทิตย์ก็ถึงกรุงศรอี ยุธยา สุนทรภรู่ ูส้ ึกเศรา้ ใจ เมื่อถึงหน้าจวนของเพื่อนของสนุ ทรภู่ สนุ ทรภู่กค็ ิดถงึ เมื่อก่อนจนนา้ ตาไหล สุนทรภู่ต้ังใจจะแวะหา

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวตั ร หนา้ ๒๔ ถา้ ยงั เหมือนเม่ือก่อนก็คงจะไดร้ ับนิมนต์ข้นึ บนจวน แต่ถา้ หากว่าท่านแปลกไปกค็ งจะโดนหวั เราะเยาะจะต้อง อายมาก รูส้ กึ ไมก่ ลา้ ใฝส่ ูงเปน็ เพื่อนได้ จงึ ได้เดนิ ทางตอ่ ไปยังเจดียภ์ เู ขาทอง จอดเรอื ที่ขา้ งวดั พระเมรซุ ่ึงรมิ วัดมีเรือจอดเรยี งอยู่ บางล้ามีคนร้องเล่นเต้นสา้ ราญ บางลา้ ก็รอ้ งเพลง เกย้ี วกนั บางล้าฉลองผ้าปา่ ด้วยการขับเสภา ทง้ั ยังมีคนตีระนาดซ่ึงตีเก่งเหมอื นนายเส็ง (คนเกง่ ระนาดสมัย สนุ ทรภ)ู่ มโี คมแขวนอยู่เรียงรายเหมอื นอยู่สามเพง็ เม่ือคราวเคร่งในพระศาสนาก็ไมไ่ ดด้ ู มีเรอื ลา้ หนึ่งกลอน มนั มาก ร้องกลอนยากลากเลื้อยฟงั แล้วเหน่อื ยหู กลอนลดเลย้ี วเหมือนทางงู จนลูกคู่บอกว่างว่ งนอน ได้ดู การละเล่นต่าง ๆ ท่ีขา้ งวดั พอดึกกน็ อน ประมาณสามยามก็มโี จรขน้ึ เรือ พอมเี สยี งกกุ กักสุนทรภกู่ ็ลุกขึ้น โวยวาย โจรก็รีบด้านา้ ไปอย่างว่องไว มองไปไม่เห็นหนา้ ลูกศษิ ยก์ ร็ ู้สึกทา้ อะไรไมถ่ กู ดว้ ยความกลวั แตห่ นูพัด จดุ เทียนส่องดวู า่ มีอะไรหายไปบ้าง แตไ่ ม่มีเลยแม้แต่เครื่องอัฐบรขิ าร ท้ังน้ดี ว้ ยเดชะตบะบญุ และพระพุทธ ทา้ ใหช้ นะมารได้ วันรงุ่ ข้ึนจะเป็นวันพระซงึ่ จะได้บูชาพระธรรม ไดไ้ ปเจดีย์ภูเขาทองซึง่ ดสู ูงเสยี ดฟา้ อยู่กลางทุ่งดูโดด เดน่ มนี ้าใสอยู่รอบ ๆ ท่ีฐานพื้นทเ่ี ปน็ รปู กลบี บวั ถัดจาก บนั ไดมนี า้ ไหลล้อมรอบเป็นขอบ มีเจดยี ์มีวหิ ารมลี าน วดั มีกา้ แพงก้นั อยู่ การย่อเหล่ียมไม้ ๑๒ มุมอยา่ งสวยงาม มเี ปน็ สามช้ันอย่างงดงาม บนั ไดมี ๔ ดา้ น คณะ ของสนุ ทรภู่ชวนกนั ขึ้นไปชน้ั ๓ ต้ังใจเดนิ วนขวา ๓ รอบจนครบกก็ ราบเจดีย์ มีห้องทเ่ี ป็นถ้าส้าหรับจดุ เทียน เพราะลมจะพดั แรงพาธปู เทยี นดับ ตอนนั้นบังเกิดสิ่งอัศจรรยม์ ลี มพัดเวียนขวาราวกับจะเวยี นเทียนด้วย ทุก วันนีพ้ ระเจดยี ์เก่าและทรุดโทรมมาก ท่ฐี านรา้ วถึงเก้าแฉก ที่ยอดกห็ ัก องค์พระเจดยี ์กท็ รุด เป็นเพราะเจดีย์ ไมม่ ีคนคอยดแู ล นึกแลว้ เสยี ดายจนน่าร้องไห้ แลว้ จะเทียบอะไรกบั ช่อื เสยี งเกียรตยิ ศของมนุษย์ กค็ งหมดไป ในไม่นาน เหมือนกบั เป็นผูด้ ีแลว้ ลา้ บาก เปน็ คนมั่งมีแล้วยากจน คิดแลว้ ทุกอย่างไม่แท้เที่ยง ขอเดชะแหง่ เจดีย์ภเู ขาทองซง่ึ บรรจุพระบรมสาริกธาตุ สนุ ทรภขู่ อใหท้ ่ีได้มากราบในครั้งนี้ให้เป็นบญุ เพื่อเป็นอานิสงสใ์ ห้พ้นภัยตา่ ง ๆ ถา้ จะเกิดชาติไหน ๆ ก็ขอให้ตนบรสิ ุทธิ์ทั้งกายและใจ ท้ังความทุกขค์ วาม โศกอยา่ ไดม้ าใกล้ สบายไปตลอดกาล ท้งั ความโลภ โกรธ หลง ขอใหต้ นชนะได้ ขอใหม้ ีสตปิ ัญญาหลักแหลม ใหม้ ีศลี ธรรมอย่ใู นใจ ทัง้ ผูห้ ญิงร้ายและผชู้ ายชั่วกข็ อใหอ้ ยา่ ได้รู้จกั คบหากนั ขอใหส้ มดังหวงั แมแ้ ตช่ าตหิ น้าก็ ขอให้เป็นดังหวัง พอก้มลงกราบพระพุทธรปู เงยขึน้ มากเ็ หน็ ดอกบวั และก็เหน็ พระบรมสารรี ิกธาตอุ ยู่ในเกสรกด็ ีใจมาก และช้อนประคองลงเรือ พอหนพู ดั กราบไวเ้ สร็จแล้วก็ใส่พระบรมสารรี ิกธาตุไว้ในขวดแก้วแล้วกว็ างไว้ ใกล้ ศีรษะเมอ่ื นอน ต้ังใจวา่ จะไปนอนทก่ี รุงศรีอยุธยาและรุ่งเช้าจะบูชาพระบรมสารรี ิกธาติ แตพ่ อตน่ื มามองไม่ เหน็ พระบรมสารีริกธาตุก็ตกใจอยา่ งมากทงั้ ทวี่ างไว้ใกล้ศีรษะ สนุ ทรภู่ว่าเป็นเพราะบุญตนน้อยทา้ ให้พระธาตุ ลอยน้าไปไกล สนุ ทรภู่คดิ ว่าไมส่ ามารถอยูท่ ีเ่ จดีย์ภเู ขาทองต่อได้เพราะจะยิ่งเศรา้ โศกและรอ้ นใจย่ิงข้นึ พอ เช้าตร่พู ระอาทิตย์ขึน้ สอ่ งฉาย ก็ลอ่ งเรอื ถงึ กรงุ เทพฯโดยใชเ้ วลาเดนิ ทาง ๑ วนั ถงึ หนา้ วัดอรณุ ก็ค่อยสรา่ งจากความเศร้าเพราะได้กราบพระพุทธรปู นริ าศภเู ขาทองของสนุ ทรภู่ เร่อื งนไ้ี วเ้ ป็นท่ีอ่านเมอื่ เศรา้ จะได้มีความสุข เพราะได้ไปกราบไวพ้ ระพทุ ธรูป ทั้งกราบไว้พระบรมสารีริกธาตุ เพราะคนท่ีนับถือศาสนาพุทธเมอื่ ไมส่ บายใจก็จะกราบไหว้พระพทุ ธรปู เพ่ือให้ สบายใจ ตอนน้สี นุ ทรภใู่ ช่ว่าจะ มีคนรักหรือพง่ึ จะจากรกั มา แต่ท่ีกลา่ วถึงผู้หญงิ กเ็ พราะเปน็ ธรรมเนียมการแต่งนริ าศแตโ่ บราณ เหมือนแม่ ครัวจะปรุงอาหารประเภทพะแนงนอกจากจะใส่เคร่ืองปรงุ และเนื้อสตั ว์ แล้วยงั ต้องใสพ่ ริกไทยใบผกั ชีเพื่อ เพิ่มความนา่ รบั ประทานแก่อาหาร และผหู้ ญงิ ก็เหมือนพริกไทยใบผกั ชีเพ่ือนให้นิราศนีน้ ่าอ่าน ขอใหท้ ราบ ความจรงิ ทกุ ๆ อยา่ งวา่ สุนทรภู่ไมไ่ ด้มีผู้หญิงเลย ขออย่าได้นินทาให้เสยี หาย เพราะคนท่ีมีความสามรถในเชงิ

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผูส้ อน ครอู าทิตยา ดัชถยุ าวตั ร หนา้ ๒๕ กลอนจะน่ัง ๆ นอน ๆ เฉยๆ ก็จะน่าเบื่อและเศร้าใจ จึงจะตอ้ งแต่งกลอนเพ่ือคลายเหงาและคลายความเศรา้ ใจ และใหไ้ ดผ้ ลงานเป็นทีป่ ระจกั ษ์ คุณค่าทางวรรณศลิ ปใ์ นกลอนนริ าศภเู ขาทอง มีการเลอื กใชค้ าดีเดน่ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี ๑. สมั ผสั สระ คอื คา้ ท่ใี ชส้ ระตวั เดียวกัน ๒. สัมผัสอกั ษร คอื ค้าทมี่ ีอกั ษรคล้องจองกนั ๓. การซ้าเสยี ง คอื การสัมผัสอักษรอยา่ งหนึ่ง นบั เปน็ การเล่นคา้ ที่ทา้ ใหเ้ กิด เสียงไพเราะ การซ้า เสียงจะต้องเลอื กค้าที่ให้จนิ ตภาพแกผ่ ู้อา่ นอยา่ งแจม่ ชดั ด้วย ๔. การใช้กวโี วหาร คอื นริ าศภเู ขาทองมภี าพพจนล์ กั ษณะต่าง ๆ ที่กวีเลือกใช้ ท้าใหผ้ ู้อ่านไดเ้ ข้าถึง ความคดิ ความรสู้ ึกของกวี ๕. ภาพพจน์อุปมา คือ โวหารทเี่ ปรียบเทียบของสองสงิ่ ว่าเหมอื นกัน มักใชค้ า้ วา่ เหมือน คล้าย ดุจ ดรู าว ราวกบั ๖. ภาพพจนก์ ลา่ วเกินจริง คือ การที่กวีอาจกลา่ วมากหรือนอ้ ยกวา่ ความเป็นจริง เพื่อสื่อให้เกิด ความเขา้ ใจและ มองเห็นภาพในความคดิ คา้ นงึ ไดด้ ขี ึน้ ๗. การเลียนเสียง คือ กวีท้าให้เสียงทไ่ี ดย้ นิ มาบรรยายใหเ้ กิด มโนภาพและความไพเราะน่าฟังยง่ิ ขน้ึ ๘. การเลน่ ค้า คือ การใช้ถ้อยค้าคา้ เดียวในความหมายตา่ งกันเพ่ือให้ การพรรณนาไพเราะน่าอ่าน และมคี วามลึกซงึ้ ยง่ิ ข้ึน การพจิ ารณาคณุ คา่ วรรณคดแี ละวรรณกรรม แบ่งกวา้ ง ๆ ได้ ๓ ด้าน ดงั นี้ ๑. คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ค้าว่า วรรณศลิ ป์ หมายถึง ศลิ ปะในการเลือกสรรถ้อยคา้ ใหเ้ กดิ ความ ไพเราะงดงาม ทงั้ น้เี พ่ือให้ผูอ้ ่านได้รับรสของเสียง สมั ผัสไดถ้ ึงอารมณ์และความรสู้ ึกของกวีหรอื ตัวละครใน เรอื่ ง เชน่ นางนวลจบั นางนวลนอน เหมอื นพ่ีแนบนวลสมรจนิ ตะหรา จับพรากจบั จากจานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี แขกเต้าจบั เตา่ ร้างร้อง เหมอื นร้างหอ้ งมาหยารัศมี นกแก้วจับแก้วพาที เหมอื นแก้วพ่ีทั้งสามส่ังความมา บทพระราชนิพนธเ์ ร่อื งอิเหนา ในรชั กาลที่ 2 เมอื่ พิจารณาคา้ ประพนั ธ์ขา้ งต้นจะพบวา่ มกี ารเลอื กใช้ถอ้ ยคา้ ใหเ้ กิดเสียงสมั ผสั เชน่ ค้าว่า จาก จบั จ้านรรจา ขณะเดยี วกันมกี ารเลน่ ค้า คอื การใช้คา้ เดยี วกนั แต่คนละความหมาย เชน่

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทิตยา ดัชถยุ าวัตร หนา้ ๒๖ “นกแก้วจับแกว้ พาที เหมือนแก้วพ่ีทั้งสามสั่งความมา” จะเหน็ ได้วา่ กวีใชค้ ้าวา่ “แกว้ ” ถึงสามคา้ คา้ แรกหมายถึง นกชนดิ หนง่ึ คา้ ทสี่ องหมายถึงชื่อ ของต้นไม้ และค้าสดุ ท้ายหมายถงึ นางอนั เปน็ ทีร่ ัก คา้ ประพนั ธ์ข้างต้นจงึ มีการใช้ถ้อยคา้ ให้เกดิ ความ ไพเราะงดงาม ขณะเดียวกันก็ส่ือถงึ อารมณ์ของตวั ละครท่ีมคี วามโศกเศรา้ เมื่อต้องจากนางผเู้ ปน็ ท่ีรกั ๒. คุณคา่ ด้านเน้ือหา เน้อื หา หมายถึง เหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ทปี่ รากฏอยใู่ นวรรณคดแี ละ วรรณกรรม เนื้อหาจึงประกอบด้วยบทบรรยาย บทสนทนาของตัวละคร และฉาก การพจิ ารณาคณุ ค่า ดา้ นเน้อื หา จงึ มงุ่ ไปท่ีการพิจารณาองคป์ ระกอบของเนอื้ หาเหลา่ นัน้ วา่ มคี ณุ ค่าหรือเป็นประโยชนต์ ่อผอู้ า่ น อย่างไร เชน่ บทบรรยายการเดนิ ทางช่วงหน่งึ ของสนุ ทรภูใ่ นนิราศภเู ขาทอง ดงั นี้ “ถงึ บางพูดพดู ดเี ป็นศรศี กั ด์ิ มีคนรกั รสถอ้ ยอรอ่ ยจติ แม้นพูดช่ัวตวั ตามทาลายมติ ร จะชอบผดิ ในมนุษย์เพราะพูดจา” บทบรรยายข้างตน้ มเี นือ้ หาแสดงความส้าคัญของการพูดว่า การพดู เป็นปจั จัยส้าคัญทจ่ี ะท้าให้ มนุษย์ประสบความสา้ เร็จหรือล้มเหลว เน้อื หาของบทบรรยายน้จี ึงมคี ณุ คา่ เพราะใหค้ ติในการดา้ เนินชีวิต แก่ผู้อ่าน ๓. คุณค่าด้านสังคม หมายถงึ การพิจารณาส่งิ ทสี่ ะท้อนจากวรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งกวีนิยม แทรกไวใ้ นเร่อื ง เพ่อื เสริมเน้ือความให้มีความชัดเจนและสมจรงิ มากยงิ่ ขึ้น นอกจากนี้ยงั แสดงถงึ ความรอบรู้ ของกวีในเรอ่ื งราวหรือเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ทปี่ รากฏอย่ใู นสังคม เชน่ ประเพณี พิธกี รรม ความเชอ่ื การดา้ เนินชีวิต และคา่ นยิ ม เปน็ ตน้ มวี รรณคดีหลายเร่ืองท่ปี รากฏคุณคา่ ด้านสังคมซ่ึงแสดงถงึ ความสามารถ ความรอบรูข้ องกวี เสริมความรู้และประสบการณ์แก่ผ้อู ่านไดเ้ ป็นอย่างดี ตัวอย่างคุณค่าดา้ นสงั คมท่ีปรากฏในวรรณคดี เชน่ เสภาเรอ่ื งขุนช้างขุนแผน ที่กลา่ วถึงวถิ ีชวี ติ ของชาวบา้ นในสมยั โบราณ

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทิตยา ดชั ถยุ าวตั ร หน้า ๒๗ ถึงฤกษ์งามยามปลอดคลอดง่ายดาย ลกู นนั้ เปน็ ชายรอ้ งแวแ้ ว้ พีป่ ้าน้าอามาดูแล ลา้ งแช่แล้วกส็ ง่ ใหแ้ ม่นม ทาขม้นิ แลว้ ใสก่ ระด้งรอ่ น ใส่เบาะใหน้ อนเอาผา้ ห่ม ป่ยู า่ ตายายสบายชม เรือนผมน่ารักดงั ฝกั บัว เอาขน้ึ ใส่อ่แู ล้วแกว่งไกว แมเ่ ข้านอนไฟให้ร้อนทั่ว เดือนหนง่ึ ออกไฟไมห่ มองมัว ขมิ้นแปง้ แต่งตัวนา่ เอ็นดู เสภาเร่ือง ขนุ ช้างขนุ แผน เมือ่ พจิ ารณาค้าประพันธข์ ้างตน้ จะเหน็ ว่า กวกี ลา่ วถึงประเพณีการเกิดของชาวบา้ นในสมยั โบราณ เรมิ่ จากมญี าติพีน่ ้องมาคอยชว่ ยดูแลในการคลอด ลกู ทีค่ ลอดออกมากจ็ ะได้รับการดแู ลเอาใจใสเ่ ป็น อย่างดี ขณะเดยี วกันผ้เู ปน็ แม่ก็เขา้ ไปนอนอยู่ไฟตามความเชื่อทางการแพทย์สมยั ก่อน ๔. คุณค่าดา้ นแนวคดิ คา้ วา่ แนวคดิ หมายถึง สารหรอื ความคิดสา้ คัญท่ีผู้เขยี นต้องการจะ ส่อื สารมายังผอู้ ่าน ซง่ึ โดยสว่ นใหญ่แลว้ มักเป็นความคิดที่แสดงกฎเกณฑ์ตามธรรมชาติและความจริงของโลก วรรณคดที ีด่ ีจะต้องไม่เสนอแนวคิดอยา่ งตรงไปตรงมา ผ้อู ่านจะต้องพจิ ารณาและขบคดิ ทงั้ ในด้านพฤติกรรม ของตัวละครและเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในเร่ืองทั้งหมด เพ่ือประมวลสรุปเปน็ แนวคดิ สา้ คัญ เชน่ เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ ปรากฏแนวคิดของเรื่องคือ ธรรมะย่อมชนะอธรรมเหน็ ได้จากเน้ือเร่ืองท่ีพระรามซ่งึ เป็นมนุษย์สามารถ สงั หารทศกัณฐผ์ เู้ ปน็ พญายักษท์ ล่ี ักพานางสีดาไป วรรณคดีทม่ี เี น้ือเร่อื งขนาดยาวอาจมีสาระส้าคัญหรือ แนวคดิ ของเรอื่ งทงั้ แนวคิดหลัก และแนวคิดรอง แนวคดิ หลกั หมายถึง การพิจารณาสารของเน้ือเรอื่ ง โดยรวม และแนวคิดรอง หมายถึง การพิจารณาสารของเนือ้ เรื่องเฉพาะตอนใดตอนหน่งึ เปน็ แนวคิดท่ี ประกอบเข้ากบั แนวคดิ หลัก นิราศ หมายถึง การจากไป กวีมักจะพรรณนาหนทางท่ีผ่านไป และร้าพันถึงคนรักที่หลากหลาย อารมณ์ น้าเอามาเก่ียวพันกับความงามตามธรรมชาติ และความรู้สึกอ่ืน ๆ กลอนนิราศคือค้ากลอนที่แต่งขน้ึ เพื่อเล่าเรื่องการเดินทางไปยังแห่งใดแห่งหนึ่งโดยร้าพึงร้าพันถึงการจากคนที่รักไปยังสถานที่แห่งน้ัน โดยไม่ จ้าเป็นว่าคนรักนั้นจะต้องมีตัวตนอยู่จริงก็ได้ กลอนนิราศโดยท่ัวไป คือ ขึ้นต้นด้วยวรรครับและลงท้ายบท ดว้ ยคา้ วา่ เอย การตัง้ ชอื่ นิราศ มักจะต้ังช่ือตามชือ่ สถานที่ ต้าบลที่ผู้ประพนั ธเ์ ดินทางไป เชน่ นิราศเมืองแกลง เกดิ จากกการที่ สนุ ทรภเู่ ดนิ ทางไปเมอื งแกลง จงั หวดั ระยอง หรอื มกั จะต้ังช่ือตามชอื่ ผู้แตง่ เชน่ นริ าศพระยาพระคลงั หน

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครูอาทิตยา ดชั ถยุ าวตั ร หน้า ๒๘ การเดนิ ทางในนิราศ สุนทรภู่ล่องเรือในแม่น้าเจ้าพระยาไปกับลูกชายช่ือหนูพัด ผ่านวัดประโคน บางย่ีขัน ถึงบางพลัด ผา่ นตลาดแกว้ ตลาดขวัญในเขตนนทบรุ ี จากนน้ั กผ็ า่ นเกาะเกรด็ ซึง่ เป็นย่านชาวมอญเขา้ สูป่ ทุมธานี หรอื เมือง สามโคก แลว้ เขา้ เขตอยธุ ยา จอดเรือทที่ า่ วัดพระเมรุ คา้ งคืนในเรือมีโจรแอบจะมาขโมยของในเรือ แตไ่ หวตัว ทัน รุ่งเช้าเป็นวันพระ ลงจากเรือเดินทางไปที่เจดีย์ภูเขาทองซ่ึงเป็นเจดีย์ร้าง เก็บพระบรมสารีริกธาตุมาไว้ ในขวดแก้ว ต้ังใจจะน้าไปนมสั การที่กรุงเทพฯ แตเ่ มื่อต่ืนมาก็ไมพ่ บจงึ ไดเ้ ดนิ ทางกลับ แผนผังกลอนนิราศ

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครูอาทิตยา ดัชถยุ าวตั ร หน้า ๒๙ แบบฝึกหัด เร่ือง การอา่ นออกเสียง ตัวช้วี ัด ท ๑.๑ ม.๑/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง เหมาะสมกับเร่ืองที่อ่าน คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสียงร้อยแกว้ บทความต่อไปน้ี การฝึกอา่ นออกเสียงแบบบรรยายไมเ่ นน้ การแสดงอารมณ์ ในปัจจุบันกล่าวกันว่า/เราก้าลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์หรือเรียกอีกอย่างว่าโลกไร้พรมแดน//แต่จะ เรียกอย่างไรก็ตามเถิด/การอ่าน/ก็เป็นกระบวนการส้าคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนในทศวรรษนี้/เพราะโลก ของการศึกษามิได้จ้ากัดอยู่ภายในห้องเรียนที่มีลักษณะรูปทรงส่ีเหลี่ยมแคบ ๆ /เท่าน้ัน//แต่ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศตา่ ง ๆ / ได้ยอ่ โลกให้เล็กลงเทา่ ที่เราอยากรู้ไดร้ วดเร็ว/ในชวั่ ลัดนวิ้ มือเดียวอย่างท่ีคนโบราณกล่าว ไว้//จะมีส่ือให้เลือกอ่านอย่างหลากหลาย//ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ที่เราคุ้นเคย/ไปจนถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเรียกว่า/ “อินเตอร์เน็ต”/เพราะการต่อสู้รุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่/จะใช้ข้อมูล/สติปัญญาและคุณภาพของคนใน ชาติ//มากกว่าการใช้ก้าลังอาวุธเข้าประหัตประหารกัน//หากในชาติด้อยคุณภาพ/ขาดการเรียนรู้/จะถูก ครอบงา้ ทางปัญญาไดง้ า่ ยๆ/จากสอื่ ตา่ ง ๆ (ชาติกา้ วไกลด้วยคนไทยรักการอ่าน : มานพ ศรเี ทยี ม) การฝึกอ่านออกเสียงแบบบรรยายเนน้ การแสดงอารมณ์ เกวียนโขยกขลุกขลักไปอย่างเช่ืองช้า/เสียงเพลาเสียดสีไปกับดุม/ดังเสียงแหลมเล็ก/สลับกับเสียง กระด่ิงวัว/ดังตามจังหวะการก้าวเดินของวัวชราสองตัวนั้น/ฟังเป็นเพลงมาร์ชประจ้าทุ่ง/ท่ีมีตัวโน้ตธรรมชาติ เ ป็ น ผู้ ก้ า ห น ด ท้ า น อ ง //บ า ง ค รั้ ง /มั น ฟั ง ดู เ ศ ร้ า ซึ ม /เ ห มื อ น อ ย่ า ง เ สี ย ง ข อ ง เ ก วี ย น เ ล่ ม น้ี // ชายชราน่ังขยบั ไม้แส้อยู่บนเกวยี น/แกแกว่งไม้อยู่กลางอากาศ/ขณะไล่ววั ดว้ ยเสียงแหบพร่า/แกคงไม่กล้าเอา ไมแ้ ส้แตะหลงั วัว/ให้มันระคายเคืองหรือเจ็บปวดใจ/สังขารอนั รว่ งโรยของไอ้แกว้ ไอ้ไหม/วัวคยู่ ากก็ไม่ต่างจาก เจ้าของมากนัก//หนังหย่อนยานรัดรูปลงไปโชว์กระดูก/เร่ียวแรงของมันค่อยหมดลงไปจนเกือบจะลากขา ตัวเองไม่ไหว//ถ้าแกม่ังมีหรือพอมีใช้/ก็จะปลดเกษียณให้วัวคู่ยาก/มันได้พักผ่อนยามชราบ้าง//แต่มันจนใจ/ เพราะแม้แต่ตังแกเองก็ยังไม่ได้พัก/แม้ย่างเข้า ๖๕ แล้ว/ชีวิตที่เข้มข้นเม่ือตอนหนุ่มๆ/ได้กลายเป็นความหลงั อนั ยดื ยาว/มนี ยิ ายชวี ติ ทีเ่ ล่าให้ลกู หลานฟงั ได้หลายวนั หลายคืนกวา่ จะจบ//

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครูอาทิตยา ดชั ถยุ าวัตร หน้า ๓๐ การฝกึ อ่านออกเสยี งแบบบรรยายเนน้ การแสดงอารมณ์ “...............ภาพที่ปรากฏเบ้ืองหน้า/ท้าให้ฉันประทับใจย่ิงนัก/สามแม่ลูกคือน้องสะใภ้/และหลาน ๆ ท้ังสามคน/ช่วยกันคนละไม้ละมือ/หลานชายคนโตเปิดกระป๋องนมสด/เทน้านมที่ขาวสะอาดส่วนหน่ึงลงใน ถ้วยพลาสติกสีเขียวใบเล็ก/ทั้ง ๆ ที่ตัวยังเปียกโชก/หลานสาวคนกลางรีบหยิบส้าลีพันก้าน/จุ่มน้านมในถ้วย ส่งให้แม่/ส่วนหลายชายคนเล็กสุดเป็นฝ่ายให้ก้าลังใจ/ในขณะท่ีน้องสะใภ้ค่อย ๆ ซับตัวลูกกระรอกตัวน้อย/ ด้วยผ้าขนหนูผืนเล็ก/บนฝ่ามืออย่างบรรจง/พร้อมกับใช้ส้าสีพันก้านอันเล็กจุ่มน้านมสดใส่ปากกระรอกตัว น้อย/ด้วยสัญชาติญาณ มันค่อย ๆ อ้าปากเล็ก ๆ ดูดนมจากปลายสา้ ลีพันก้าน/พออิ่มก็จะใช้ลิ้นเล็ก ๆ ดันไม้ ส้าลีพันกา้ นนนั้ ออกมาจากปาก บรรยากาศในขณะน้ันเต็มไปด้วยการใหก้ ้าลังใจ/และหวาดระแวงภยั /เพราะนางสามสีซ่งึ เป็นแมวตัว โปรดของบ้านกา้ ลังจ้องเขม็ง/แววตาลุกวาวเป็นประกาย/ในความคิดของมนั /คงอยากจะขม้าลูกกระรอกน้อย จนน้าลายแทบหก/ฉันสังเกตเห็นหูทั้งสองข้างของมันกางตั้งขึ้น/ท้ัง ๆ ท่ีก้าลังนอนนิ่งอยู่บนโต๊ะหนังสือ/เห็น กริ ิยานางสามสีแลว้ ชา่ งเหมาะสมกบั คา้ ท่ีวา่ / “น้าน่งิ ไหลลึก” ยง่ิ นัก (จากเร่ือง “บญุ หลาย” ของ กลั ยกร มน่ั ถาวรวงศ)์

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวัตร หนา้ ๓๑ แบบฝึกหดั เรอ่ื ง การจับคคู่ าศัพท์ ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความส้าคัญจากเร่อื งที่อา่ น คาช้แี จง นกั เรียนนักเรยี นจับคคู่ า้ ศัพท์จากวรรณคดีเร่ือง นิราศภูเขาทอง ให้สมั พนั ธ์กบั ความหมาย ด้านขวามือ โดยการน้าตวั อักษรหน้าความหมายไปเติมหน้าคา้ ศัพทด์ า้ นซา้ ยมือให้ถกู ต้อง ……………... ๑. ภิญโญ ก. เทีย่ งคืน ……………... ๒. อาลัย ข. ตลอดพรรษา ……………... ๓. หอพระอัฐิ ค. ผคู้ รองเมอื ง, เจ้าเมือง ……………... ๔. ตีเรือ ง. หมนุ , หนั ……………... ๕. สองยาม จ. ย่งิ , ย่งิ ข้ึนไป ……………... ๖. ผู้รั้ง ฉ. ไมเ่ ที่ยง, ไม่แน่นอน ……………... ๗. มว้ นหนา้ ช. เสด็จสวรรคต ซ. ห่วงใย, ระลึกดว้ ยความ ……………... ๘. ครง่ึ ท่อน เสียดาย ……………... ๙. วันอุโบสถ ฌ. โกรธ ……………... ๑๐. ฐานบัทม์ ญ. การกราบไหว้ ……………... ๑๑. เหยี นหัน ฎ. ท่ีเก็บกระดูกของเจ้านาย ……………... ๑๒. อนจิ จงั ……………... ๑๓. อานิสงส์ ฏ. ความสขุ ใจ, ความปลาบปล้ืม ……………... ๑๔. โทโส ฐ. เครื่องปรุงประเภทเน้ือสตั ว์ ……………... ๑๕. พระนิพพาน ฑ. พระผู้เปน็ ใหญ่ ……………... ๑๖. นมัสการ ……………... ๑๗. โสมนสั ฒ. ผลแหง่ กุศลกรรม ณ. ฐานท่ีทาเป็นกลบี บวั ด. กม้ หนา้ เพราะความอาย

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทิตยา ดชั ถยุ าวตั ร หนา้ ๓๒ ……………... ๑๘. เครอื่ งมังสา ต. ปลน้ เรือ ……………... ๑๙. ธิบดี ถ. วันพระ ……………... ๒๐. ท้ังวสา ท. เพลงพ้ืนบ้าน

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทติ ยา ดัชถยุ าวตั ร หน้า ๓๓ แบบฝึกหัด เรื่อง การแยกแยะข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตแุ ละผล และข้อเทจ็ จรงิ กับข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองท่อี ่าน คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นแยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็นจากข้อความต่อไปน้ี โดยท้าเครือ่ งหมาย / ให้ตรงกบั ขอ้ ความที่เลือก ขอ้ ที่ ขอ้ ความ ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็น ๑ แมวไทยมีหน้าตานา่ รักและเฉลยี วฉลาด ๒ นายอภสิ ทิ ธิ์ เวชชาชวี ะ เป็นนายกรฐั มนตรีของประเทศไทย ๓ พระพุทธศาสนามแี หล่งก้าเนิดในชมพทู วีปและได้เผยแพร่เขา้ มาในประเทศไทยเปน็ เวลานานมาแล้ว ๔ พ่อขุนรามค้าแหงประดษิ ฐ์อักษรไทย ๕ โรงเรียนวัดถ้าปลาวทิ ยาคมมีบรรยากาศงดงาม ๖ วนั นอ้ี ากาศคร้มึ มากฝนคงจะตกหนัก ๗ พระตา้ หนักดอยตงุ เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ยี วในจงั หวัดเชียงราย ๘ การตื่นนอนแต่เชา้ ตร่เู ป็นก้าไรของชวี ติ ๙ บวิ กัลยาณีร้องเพลงได้เพราะมาก ๑๐ แพนเค้กเปน็ ดาราท่สี วยมาก

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครอู าทติ ยา ดัชถยุ าวตั ร หน้า ๓๔ แบบฝกึ หดั เร่ือง การแยกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตแุ ละผล และข้อเท็จจรงิ กับข้อคิดเหน็ จากเร่ืองทอี่ ่าน คาชแ้ี จง ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนวี้ า่ กลา่ วถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ถ้าข้อความใดกลา่ ว ถูกตอ้ งให้ทา้ เคร่ืองหมาย / แตถ่ ้าข้อความใดกลา่ วไม่ถูกต้องใหท้ ้าเครอ่ื งหมาย X หนา้ ขอ้ ความ ……………… ๑. สนุ ทรภมู่ บี ิดาช่ือพ่อพลับ เป็นชาวบา้ นกรา้ อา้ เภอเมือง จงั หวัดระยอง ส่วนมารดาชือ่ แมช่ อ้ ย เป็นชาวจงั หวัดฉะเชิงเทรา ……………... ๒. สนุ ทรภู่เกดิ เมื่อวันจันทร์ เดอื น ๘ ขน้ึ ๑ คา่้ ปีมะเมีย จ.ศ. ๑๑๔๘ เวลา ๒ โมงเชา้ หรือวันที่ ๒๖ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ซง่ึ ตรงกบั สมัยรชั กาลท่ี ๑ แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ……………… ๓. สุนทรภู่เร่ิมเรยี นหนังสือท่ีวดั ชีปะขาว (รัชกาลท่ี ๒ ไดพ้ ระราชทานนามว่า “วดั ศรีสดุ าราม”) ……………… ๔. สุนทรภู่แต่งนิราศเรอื่ งแรกคือ “นิราศเมืองแกลง” ……………… ๕. ในสมยั รัชกาลที่ ๒ สุนทรภ่ไู ดร้ บั ราชการในกรมอารักษเ์ ปน็ พระสุนทรโวหาร ……………… ๖. ในปี พ.ศ. ๒๓๙๔ สุนทรภ่ไู ด้เปน็ เจา้ กรมอารักษฝ์ ่ายพระบรมราชวงั มบี รรดาศกั ดเ์ิ ปน็ ขุนสุนทรโวหาร ……………… ๗. นริ าศภเู ขาทองแตง่ ข้นึ เมื่อคราวที่บวชเป็นภกิ ษุทวี่ ัดราชบูรณะ แลว้ ได้เดนิ ทางไปนมัสการ เจดยี ์ภเู ขาทองท่ีพระนครศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. ๒๓๗๓ ……………... ๘. รูปทรงของเจดียภ์ ูเขาทองเป็นเจดยี ย์ ่อมุมไมส้ บิ สอง ตั้งอยู่บนฐานสเ่ี หลย่ี มขนาดใหญ่ ๔ ชัน้ กว้าง ๘๐ เมตร สูงจากฐานถึงยอด ๖๔ เมตร สร้างในสมยั อยธุ ยาตอนกลาง โดยสมเด็จพระราเมศวร โอรส สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ในปี พ.ศ. ๑๙๓๐ ……………… ๙. วดั ราชบรู ณะวรวหิ าร ปจั จบุ นั รจู้ กั กันในนาม “วดั เลียบ” เปน็ วดั ท่ีตง้ั อย่เู ชิงสะพานพทุ ธฯ เป็นวัดท่สี รา้ งมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย ……………… ๑๐. คา้ วา่ “นริ าศ” แปลว่า การจากไป การพรากไป ในทางฉันทลกั ษณ์ “นริ าศ” หมายถึง บท ประพนั ธท์ ี่พรรณนาถงึ การจากถน่ิ ฐานไปอยใู่ นทีต่ า่ ง ๆ และตอ้ งมีการรา้ พงึ รา้ พันถึงนางผูเ้ ป็นทร่ี กั หรอื ภรรยา ด้วย และถ้าหากยังไม่มีกต็ ้องสมมตขิ ้นึ มา จงึ จะนับวา่ ถูกต้องตามแบบนิยมของนริ าศ

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครอู าทิตยา ดัชถุยาวัตร หนา้ ๓๕ แบบฝกึ หดั เรอื่ ง การพจิ ารณาคุณค่าวรรณคดเี รอื่ ง นิราศภเู ขาทอง ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตผุ ลและผล และข้อเทจ็ จรงิ กบั ข้อคดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อ่าน คาชแี้ จง ให้นักเรยี นพิจารณาวรรณคดีเร่ืองนิราศภเู ขาทอง แลว้ สรุปคุณค่าด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๑. คณุ ค่าด้านวรรณศิลป์ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. คุณค่าด้านเน้ือหา ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. คุณค่าดา้ นสงั คม ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทติ ยา ดัชถุยาวตั ร หน้า ๓๖ ๔. คุณค่าดา้ นแนวคดิ /ข้อคิด ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….……

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผ้สู อน ครอู าทิตยา ดชั ถยุ าวัตร หนา้ ๓๗ แบบฝึกหดั เร่ือง นริ าศภเู ขาทอง ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตผุ ลและผล และข้อเทจ็ จริงกบั ข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งที่อา่ น คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาบรบิ ทในค้าประพันธต์ ่อไปน้ี แล้วบอกความหมายของคา้ ทข่ี ีดเส้นใต้ ๑. เดือนสิบเอ็ดเสรจ็ ธรุ ะพระวสา พระวสา มีความหมายวา่ …………………………………………………………………………………………. ๒. พระนิพพานปานประหน่งึ ศรี ษะขาด พระนิพพาน มีความหมายว่า…………………………………………………………………………………………. ๓. โอ้สุธาหนาแนน่ เปน็ แผน่ พืน้ สธุ า มีความหมายวา่ …………………………………………………………………………………………. ๔. เปน็ ลว่ งพ้นรนราคราคา ราคา มคี วามหมายวา่ ………………………………………………………………………………………… ๕. ทง้ั สิง่ ของขาวเหลอื งเครื่องสา้ เภา ขาวเหลอื ง มีความหมายว่า………………………………………………………………………………………….

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทติ ยา ดชั ถุยาวตั ร หน้า ๓๘ แบบฝึกหัด เรื่อง การฝกึ ทอ่ งจาบทอาขยาน ตัวชีว้ ัด ท ๕.๑ ม.๑/๕ ทอ่ งจ้าบทอาขยานตามท่กี ้าหนด และบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคณุ คา่ ตามความสนใจ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นฝกึ ท่องจา้ บทอาขยานหลกั บทอาขยานหลัก นิราศภูเขาทอง มาถงึ บางธรณีทวโี ศก ยามวิโยคยากใจใหส้ ะอน้ื โอส้ ุธาหนาแน่นเปน็ แผ่นพื้น ถงึ สหี่ มื่นสองแสนท้งั แดนไตร เม่อื เคราะห์รา้ ยกายเรากเ็ ท่านี้ ไมม่ ีทีพ่ สุธาจะอาศยั ล้วนหนามเหน็บเจบ็ แสบคับแคบใจ เหมือนนกไร้รังเร่อยู่เอกาฯ ถึงเกรด็ ยา่ นบา้ นมอญแต่ก่อนเกา่ ผ้หู ญิงเกลา้ มวยงามตามภาษา เดี๋ยวน้ีมอญถอนไรจุกเหมือนตุก๊ ตา ท้งั ผัดหน้าจับเขม่าเหมอื นชาวไทย โอส้ ามญั ผนั แปรไมแ่ ทเ้ ท่ยี ง เหมอื นอย่างเยยี่ งชายหญิงทงิ้ วสิ ัย นหี่ รือจิตคิดหมายมีหลายใจ ท่จี ติ ใครจะเปน็ หนึง่ อยา่ พึงคดิ ฯ ถึงบางพูดพดู ดีเป็นศรศี กั ดิ์ มคี นรักรสถ้อยอรอ่ ยจิต แมน้ พดู ชั่วตวั ตายท้าลายมิตร จะชอบผดิ ในมนษุ ยเ์ พราะพดู จาฯ สนุ ทรโวหาร (ภ)ู่

วิชาภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผู้สอน ครูอาทิตยา ดชั ถุยาวัตร หน้า ๓๙ คาแบบฝกึ หัด เรื่อง การคดั ลายมอื ตวั ช้ีวัด ท ๒.๑ ม.๑/๑ คดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นคัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั จากบทอาขยานหลกั ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………

วชิ าภาษาไทย ท๒๑๑๐๑ ผสู้ อน ครอู าทิตยา ดัชถุยาวัตร หนา้ ๔๐ เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ นางสาวอาทิตยา ดัชถยุ าวัตร ตาแหน่ง ครู กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย โรงเรยี นสรุ วิทยาคาร สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook