Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมือง ม.3

วิชาหน้าที่พลเมือง ม.3

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:11:21

Description: หน้าที่พลเมือง ม.3

Search

Read the Text Version

หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรมและการดารงชวี ติ ในสงั คม ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี หนว่ ยกำรเรียนรู้ท่ี กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๒ ๓ หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี ๔๕ ๑_หลกั สตู รวชิ าหน้าทพ่ี ลเมือง ๒_แผนการจดั การเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย ๖_การวัดและประเมนิ ผล ๗_เสรมิ สาระ ๘_สื่อเสรมิ การเรยี นรู้ บรษิ ัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๑หน่วยการเรียนรู้ที่ กฎหมายแพ่งและอาญา จดุ ประสงค์การเรียนรู้ • อธิบำยควำมแตกต่ำงของกำรกระทำควำมผดิ ระหวำ่ งคดีอำญำและคดีแพ่งได้

กฏหมายแพง่ และพาณิชย์ เป็นกฎหมำยทบี่ งั คับควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งเอกชนด้วยกัน เกีย่ วข้องกบั ชีวติ ประจำวนั เปน็ อย่ำงมำก นับตั้งแต่เกิด จนถึงตำย ลกั ษณะการกระทาความผดิ ทางแพ่ง ซึง่ เป็นลักษณะเกี่ยวกับเรือ่ ง บุคคล ทรพั ย์สนิ มรดก เอกเทศ ครอบครัว สญั ญำ

ความผิดทางแพง่ ๑. เปน็ เรอ่ื งระหว่ำงเอกชนต่อ ๒. เปน็ กำรลว่ งละเมดิ และทำให้ เอกชนด้วยกัน ไม่มีผลเสยี หำยต่อ เกดิ ควำมเสียหำยแก่ ชวี ิต ร่ำงกำย สังคม จิตใจ เสรีภำพ ทรพั ย์สนิ ชื่อเสียง ไมว่ ่ำกำรกระทำนั้นจะโดยเจตนำหรอื ประมำท ผู้กระทำก็ต้องรบั ผดิ ซึง่ กำรลงโทษผกู้ ระทำผดิ โดยกำร ชดใช้ค่ำสนิ ไหมทดแทนควำมเสียหำยซ่ึงเปน็ เรื่องเกย่ี วกับทรัพยส์ นิ ของบคุ คล

นติ กิ รรม สญั ญา การทบ่ี คุ คลแสดงเจตนากระทาไปโดยประสงคจ์ ะให้ นิตกิ รรมประเภทหนง่ึ ที่เกิดจากการตกลงก่อความ มผี ลผกู พนั ใชบ้ ังคับไดต้ ามกฎหมาย ผูกพันในทางกฎหมายระหวา่ งบคุ คลตง้ั แตส่ องฝ่าย ขน้ึ ไป

ลกั ษณะของสัญญา ซ้ือขาย เป็นสัญญำทีผ่ ขู้ ำยโอนกรรมสิทธใ์ิ ห้กับผู้ซอ้ื โดยผูซ้ อ้ื ไดใ้ ช้รำคำทรัพยส์ ินน้ันกบั ผขู้ ำยเพือ่ เป็นกำรตอบแทน สญั ญำ ผู้ซอ้ื ผขู้ ำย ขายบ้านพร้อมทดี่ นิ

อสังหาริมทรพั ย์ ทรพั ยส์ ินทีซ่ ื้อขายกันได้ สังหารมิ ทรพั ย์ ทรพั ย์ท่เี คลื่อนทีไ่ ม่ได้ ได้แก่ ทดี่ ินและ ทรพั ย์ที่อยตู่ ดิ กับที่ดนิ มีลกั ษณะเปน็ กำร ถำวร รวมถึงสิทธิจำนองทดี่ นิ ทรพั ย์ทเ่ี คลอื่ นทีไ่ ด้ รวมถึงสทิ ธิอัน เกย่ี วกบั ทรพั ย์สินน้ัน เชน่ ช้ำง มำ้ โต๊ะ เกำ้ อ้ี เป็นต้น

ทรพั ยส์ นิ ทซี่ ือ้ ขายกนั ไม่ได้ • สำธำรณสมบตั ขิ องแผน่ ดิน • ทรัพย์สินท่ีกฎหมำยหำ้ มมไี ว้ • สิทธิท่ีซึ่งกฎหมำยห้ำมโอน ในครอบครอง • ท่วี ดั และท่ีธรณสี งฆ์ • สทิ ธิท่จี ะได้รบั บำเหน็จ บำนำญ จำกทำงรำชกำร • ทรพั ย์สนิ ทไ่ี ด้มำโดยขอ้ กำหนด หำ้ มโอน

อสังหารมิ ทรัพย์ แบบของสญั ญาซื้อขาย สังหาริมทรพั ย์ ตอ้ งทำเปน็ หนังสอื และจดทะเบยี นตอ่ พนักงำนเจ้ำหน้ำท่ี • ที่ดิน อำคำร บำ้ นเรือน • จะต้องทำสญั ญำเป็นหนงั สือลง ลำยมือชือ่ ผู้ทีช่ ำระหน้ไี ว้ มฉิ ะน้นั จะฟอ้ งร้องบงั คับคดไี ม่ได้ • เรอื แพที่อยอู่ ำศยั และสตั วพ์ ำหนะ • มีรำคำซ้อื ขำยตงั้ แต่ สองหม่ืนบำทข้นึ ไป มีหลกั ฐำนกำรซอ้ื ขำยเปน็ อยำ่ งใดอยำ่ ง หน่งึ และลงลำยมือฝำ่ ยทต่ี อ้ งชำระหน้ไี ว้ เป็นลำยลักษณอ์ ักษร

หนา้ ที่และความรับผดิ ชอบของผู้ขาย • ต้องสง่ มอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ซื้อตำมขอ้ ตกลง • หำกทรัพยส์ ินเสอ่ื มรำคำหรือเสอื่ มประโยชนใ์ นกำรใชส้ อยโดยที่ผ้ซู อ้ื ไม่รมู้ ำกอ่ น ผขู้ ำยจะต้องรับผิดชอบ หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของผู้ซ้ือ • ตอ้ งรับมอบทรพั ย์สินที่ซอ้ื ไว้และจ่ำยเงนิ ตำมสญั ญำ • หำกพบเห็นควำมชำรุดในทรัพย์สินท่ีได้ซ้ือ ผู้ซ้ือมีสิทธิที่จะยังไม่ชำระรำคำ เว้นแตผ่ ู้ขำยจะหำประกันทสี่ มควรมำให้

กยู้ มื • สญั ญำซง่ึ บุคคลหนงึ่ เรยี กวำ่ ผู้กู้ ได้ขอยมื เงนิ จำนวนหน่งึ ตำมที่ไดก้ ำหนดไว้จำกบุคคลอีกคนหน่ึงเรียกว่ำผู้ให้กู้ และผู้กู้ ตกลงคืนเงนิ จำนวนดงั กลำ่ วแกผ่ ู้ใหก้ ู้ตำมเวลำทก่ี ำหนด ผู้ให้กู้ ผู้กู้

หลักฐานในการกยู้ ืม • ตอ้ งลงลำยมือช่อื ผ้กู ู้เปน็ ลำยลักษณอ์ กั ษร หำกมีกำรกูย้ ืมเงนิ เกิน ๒,๐๐๐ บำท • หำกไมม่ ีหลักฐำนกำรก้ยู ืมเงนิ จะฟ้องร้องบงั คับคดไี ม่ได้ • กรณีที่ผู้กู้ไมส่ ำมำรถเขยี นหนังสอื ได้ จะต้องมลี ำยพมิ พ์นิ้วมือของผู้ก้ปู ระทบั ตรำในหนังสอื ดงั กลำ่ วด้วย โดยทม่ี ีพยำนลงลำยมอื ชื่อรบั รองลำยนว้ิ มอื อยำ่ งน้อย ๒ คน

การชาระหนีก้ ู้ยมื เงิน หลกั ฐำนเป็นหนังสือทม่ี ีข้อควำมแสดงวำ่ ผูใ้ หก้ ู้ได้รับขำระหน้เี งนิ กู้จำนวนนัน้ แลว้ พรอ้ มทงั้ ลำยมอื ชือ่ ผู้ให้กู้ มีกำรเวนคนื เอกสำรอนั เปน็ หลกั ฐำนแหง่ กำรกู้ยืมเงนิ กล่ำวคอื ผ้ใู ห้ก้จู ะต้องสง่ มอบ สญั ญำกูห้ รอื หลักฐำนกำรกยู้ ืมเงนิ แกผ่ กู้ ู้ มกี ำรเพกิ ถอนในเอกสำร กลำ่ วคือ มกี ำรบนั ทึกขอ้ ควำมลงในหนังสอื สญั ญำก้หู รือผูใ้ หก้ บู้ ันทกึ ลงใน หลกั ฐำนกำรกยู้ ืมเงนิ นัน้ ว่ำไดเ้ ลกิ สญั ญำน้ันแล้ว

การคดิ ดอกเบยี้ การให้กู้ยืมเงนิ • กฎหมำยกำหนดใหผ้ ้กู คู้ ดิ ดอกเบย้ี สูงสุดได้ไมเ่ กนิ ร้อยละสบิ ห้ำตอ่ ปี เว้นแต่ ในสว่ นของธนำคำร สถำบันกำรเงนิ กฎหมำยกำหนดให้คิดดอกเบย้ี มำกกว่ำนน้ั • หำกผใู้ ห้กูค้ ิดดอกเบยี้ เกนิ กว่ำอัตรำท่กี ฎหมำยกำหนด จะมีผลใหด้ อกเบ้ยี เป็นโมฆะท้งั หมด คือ ไมม่ สี ิทธไิ ดด้ อกเบ้ียเลย • กรณีที่เขียนอัตรำดอกเบ้ียในสญั ญำกยู้ ืมเงนิ ไว้ว่ำใหด้ อกเบ้ยี ตำมกฎหมำย ผใู้ ห้กมู้ สี ิทธิเรียกดอกเบย้ี ไดใ้ นอัตรำร้อยละเจด็ ครง่ึ ตอ่ ปี

หลกั เกณฑ์การเช่า เช่าทรัพย์ ๑. กำรเช่ำสังหำริมทรัพย์ไม่จำเป็นต้องมีหลักฐำนเป็นหนังสือ แม้จะเป็นกำรเช่ำสังหำริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ก็ไม่ต้องมีหลักฐำน กำรเช่ำเปน็ หนังสอื ๒. กำรเชำ่ อสงั หำรมิ ทรพั ย์ จะตอ้ งมหี ลกั ฐำนเป็นหนงั สอื ลงลำยมอื ช่ือผู้รบั ผิด มิฉะนนั้ จะฟ้องร้องกันไมไ่ ด้ ๓. หำกกำรเช่ำมรี ะยะเวลำเกนิ กวำ่ สำมปี หรอื ตลอดอำยุของ ผเู้ ช่ำหรือผใู้ หเ้ ชำ่ ต้องจดทะเบยี นตอ่ เจำ้ พนักงำนเจำ้ หน้ำที่

หน้าทข่ี องผ้เู ชา่ และผูใ้ หเ้ ชา่ หนา้ ที่และความรับผิดชอบของผใู้ หเ้ ช่า • ต้องส่งมอบทรพั ยส์ นิ ในสภำพท่ีซ่อมแซมดีแลว้ ให้แก่ผู้เชำ่ • หำกส่งมอบในสภำพที่ไมเ่ หมำะสมแก่กำรใชง้ ำนผู้เช่ำมีสิทธิยกเลกิ สัญญำได้ • ต้องรบั ผิดชอบซอ่ มแซมในสง่ิ จำเป็น • หำกผูเ้ ช่ำไมช่ ำระค่ำเช่ำ ผู้ใหเ้ ชำ่ สำมำรถบอกยกเลิกสญั ญำได้ หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของผู้เช่า • ต้องจำ่ ยคำ่ เช่ำตำมทต่ี กลงกับผใู้ หเ้ ช่ำ • จะใช้ทรพั ยส์ นิ ทเ่ี ช่ำใชใ้ นกจิ กำรที่ไม่ได้กำหนดในสญั ญำไม่ได้ • ต้องสงวนทรพั ยส์ ินทเ่ี ช่ำให้เหมือนกับทรัพยส์ ินของตน • ต้องยอมให้ผใู้ ห้เช่ำตรวจดทู รัพย์สินทีเ่ ช่ำเปน็ ครงั้ ครำว

หลักเกณฑ์ของสัญญาเช่าซื้อ เชา่ ซอื้ ผใู้ หเ้ ช่าซ้อื • เปน็ เจำ้ ของกรรมสิทธใิ์ นทรัพยท์ ่ีให้เช่ำ ผ้เู ชา่ ซ้ือ • มอบทรัพย์สนิ ให้ผู้เชำ่ นำไปใชป้ ระโยชน์ • ผู้ให้เช่ำซ้ือให้คำม่ันว่ำจะขำยทรัพย์สินหรือให้ทรัพย์สินน้ันตกเป็น กรรมสิทธิข์ องผูเ้ ช่ำ • ในกรณที ี่ผเู้ ชำ่ ซอื้ ไมช่ ำระเงนิ งวดสองครำวติดตอ่ กนั ผใู้ หเ้ ชำ่ มีสิทธทิ ี่จะบอก เลกิ สัญญำได้ และมสี ิทธทิ ่จี ะรบั เงนิ ทไ่ี ดใ้ ช้มำแล้วพรอ้ มกับมีสทิ ธิทจ่ี ะกลบั เขำ้ ครองทรัพย์สินทใี่ ห้เชำ่ ซื้อนั้นได้ • ต้องชำระเงินตอบแทนให้แก่ผู้ให้เช่ำจนครบถ้วนตำมจำนวนท่ีได้ตกลง กันไว้ • จะบอกเลิกสัญญำในเวลำใดเวลำหน่งึ กไ็ ด้ โดยมอบทรพั ย์สินกลับคนื ใหแ้ ก่ เจำ้ ของตนเอง

กระบวนการยตุ ิธรรมทางแพ่ง ศำลพจิ ำรณำรบั คำฟ้อง การเรม่ิ ตน้ ศำลนดั พิจำรณำคดี ของกระบวนการยตุ ิธรรมทาง สืบพยำนฝำ่ ยโจทก์ แพง่ ในศาลชนั้ ต้น ศำลพิจำรณำคดี ศำลนัดสืบพยำน และมีคำพิพำกษำ พยำนฝ่ำยจำเลย โจทกห์ รอื จำเลยอำจอทุ ธรณ์คำพิพำกษำของศำลช้ันตน้ ต่อศำลอุทธรณ์ เจำ้ พนกั งำนบงั คบั คดที ำหน้ำท่บี งั คบั ศำลฎีกำตำมลำดบั คดีตำมคำพพิ ำกษำหรือคำสัง่ ศำล หมายเหตุ : กรณีกำรเสนอคดีเปน็ คำร้อง เชน่ กรณีผจู้ ัดกำรมรดก เปน็ ตน้

กฏหมายอาญา เป็นกฎหมำยท่ีกำหนดว่ำกำรกระทำใดเป็นกำรกระทำควำมผิดโดยชัดแจ้ง และกำหนดบทลงโทษทำง อำญำ สำหรับควำมผดิ นั้น กำรลงโทษจะหนักหรอื เบำ จะต้องพิจำรณำจำกกำรกระทำของบุคคลนนั้ ๆ ลักษณะการกระทาความผิดทางทางอาญาและความรับผดิ ทางอาญา • กระทาโดยเจตนา ผ้กู ระทำรูส้ ำนึกในกำรเคลอื่ นไหวรำ่ งกำย และประสงค์ต่อผลทีเ่ กิดตำมทค่ี ดิ ไว้ • กระทาโดยประมาท กำรกระทำโดยปรำศจำกควำมระมัดระวัง หำกสร้ำงควำมเสยี หำยตอ่ ผู้อื่น จะต้องได้รับโทษ ตำมกฎหมำย • กระทาโดยไมเ่ จตนา กำรกระทำโดยรูส้ ำนึก แต่ไมป่ ระสงค์ต่อผลของกำรกระทำว่ำจะเกิดขึน้

โทษทางอาญา ประหำรชวี ิต จำคุก ระดบั ท่ี ๑ กักขัง ระดับท่ี ๒ ปรับ ระดับที่ ๓ ระดบั ท่ี ๔ รบิ ทรัพย์สิน ระดบั ที่ ๕

ลักษณะตา่ งๆ ของการกระทาความผดิ ทางอาญา ๑ ๒ ๓ ๔ ลกั ทรพั ย์ วงิ่ ราวทรัพย์ ชงิ ทรัพย์ ปลน้ ทรัพย์ กำรเอำทรพั ยข์ อง กำรฉกฉวยเอำซ่งึ หน้ำ กำรลกั ทรพั ย์ของผ้อู น่ื กำรทีค่ นตง้ั แต่สำมคน ผู้อนื่ ไปโดยท่ี เปน็ กำรเอำไปต่อหน้ำ โดยกำรใช้กำลงั หรอื อำวุธ ขึ้นไปร่วมมือกนั ชิง โดยไม่มคี วำมเกรงกลวั ทำรำ้ ยเจำ้ ของทรพั ย์ ทรัพยข์ องผูอ้ ื่น เจำ้ ของไม่ยนิ ยอม หรอื ขวู่ ่ำจะใช้กำลงั หรอื อำวุธทำร้ำยเจ้ำของ ทรพั ย์

ความผดิ เก่ียวกบั ชีวิตและร่างกาย • ควำมผิดฐำนทำให้คนตำย ไม่ว่ำจะกระทำโดยวิธีกำรใดก็ตำมย่อมมีควำมผิดท้ังสิ้น ซ่ึงโทษท่ีจะได้รับน้ันขึ้นอยู่กับว่ำ กระทำโดยเจตนำหรือไม่ • ควำมผิดฐำนทำร้ำยร่ำงกำย กำรทำให้ผู้อ่ืนได้รับอันตรำยต่อร่ำงกำยหรือจิตใจ ถือเป็นควำมผิดอำจได้รับโทษแตกต่ำง กนั ไป แลว้ แตอ่ ันตรำยที่ผู้อื่นได้รับ • ควำมผดิ ที่กระทำโดยประมำทตอ่ ชวี ิตและรำ่ งกำยไมว่ ่ำจะเป็นกำรทำให้ผ้อู น่ื ถงึ แก่ควำมตำย ทำให้ผ้อู ื่นไดร้ ับอนั ตรำย สำหสั หรอื ได้รบั อันตรำยแก่ร่ำงกำยและจติ ใจ ยอ่ มมีควำมผิด โดยโทษขึ้นอยกู่ บั ผลของกำรกระทำควำมผิด

กระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา การเริ่มต้นของกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาในกรณผี เู้ สยี หายแจง้ ความตอ่ ตารวจ การเริม่ ต้น กรณผี ู้เสยี หายแจ้งความตอ่ ตารวจ ตำรวจสอบสวนคดี ของกระบวนการยตุ ธิ รรมทาง เสนอเหน็ สมควรส่ังฟ้อง อาญาในศาลชนั้ ต้น ส่งสำนวนไปยงั อยั กำร อยั กำรสงั่ ฟอ้ งผู้ตอ้ งหำ อยั กำรกลน่ั กรองคดี เจำ้ หนำ้ ท่รี ำชทณั ฑด์ ำเนนิ กำรตำมคำพพิ ำกษำ ส่งฟอ้ ง ศำลพจิ ำรณำคดเี เละมีคำ ศาลช้นั ตน้ พพิ ำกษำลงโทษ ศำลรับฟ้องเเละดำเนนิ กำร พจิ ำรณำคดีสบื พยำน จำเลยสำมำรถมคี ำอทุ ธรณไ์ ปยงั ศำลอุทธรณ์เเละศำลฎกี ำตำมลำดับ

การเรมิ่ ต้นของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในกรณผี ้เู สียหายฟอ้ งคดีต่อศาล การเร่ิมตน้ กรณีผเู้ สยี หายฟ้องคดีตอ่ ศาล ของกระบวนการยตุ ธิ รรมทาง ศำลจะส่ังไตส่ วนมูลฟ้อง อาญาในศาลชน้ั ต้น ศำลพจิ ำรณำคดี คดมี มี ลู คดไี ม่มีมูล สบื พยำนโจทก์ ศำลพพิ ำกษำ ศำลพจิ ำรณำคดี ให้ศำล ยกฟ้อง สืบพยำนจำเลย ประทับฟอ้ ง ศำลมคี ำพพิ ำกษำ ลงโทษจำเลย เจ้ำหน้ำท่ีรำชทัณฑ์ ดำเนินกำรตำมคำพิพำกษำ โจทก์และจำเลยสำมำรถอุทธรณค์ ำพิพำกษำไปยงั ศำลอุทธรณ์ และศำลฎีกำตำมลำดบั

หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและการดารงชวี ติ ในสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๒ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๔๕ ๑_หลักสตู รวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๒_แผนการจัดการเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_การวดั และประเมนิ ผล ๗_เสรมิ สาระ ๘_ส่ือเสริมการเรยี นรู้ บริษัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๒หน่วยการเรยี นรู้ที่ สทิ ธมิ นุษยชน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ • มสี ว่ นรว่ มในกำรปกปอ้ งคุ้มครองผอู้ ืน่ ตำมหลักสิทธมิ นษุ ยชนได้

ความหมายและความสาคัญของสทิ ธมิ นษุ ยชน ความหมายของสทิ ธมิ นุษยชน “สทิ ธิมนษุ ยชน” ศักดิ์ศรคี วำมเปน็ มนุษย์ สิทธิเสรีภำพ และควำมเสมอภำคของ บคุ คลทีไ่ ดร้ ับ กำรรับรองหรอื คมุ้ ครองตำมรฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจกั รไทย หรอื ตำมกฎหมำยไทย หรือตำสนธสิ ัญญำที่ประเทศไทยมีพนั ธกรณีท่ีจะต้อง ปฏิบัตติ ำม

ความสาคัญของสิทธิมนุษยชน มนษุ ยท์ ุกคนได้รบั กำรปฏบิ ัตดิ ว้ ยควำมเสมอภำคเท่ำเทียมกนั ส่งเสริมใหม้ นุษยม์ ีควำมเป็นอย่แู ละคุณภำพชวี ติ ท่ดี ขี ึ้น มนษุ ย์ได้รบั กำรปฏิบัตอิ ยำ่ งยตุ ิธรรม ทำใหม้ นษุ ย์มอี สิ ระ เสรภี ำพ ในกำรดำเนินชีวิต ให้โอกำสแกท่ ุกคนมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมต่ำงๆ ทำงสังคม มนุษย์ทุกคนมีเสรภี ำพในกำรแสดงควำมคดิ เห็น

การมสี ว่ นร่วมในการปกปอ้ งคุ้มครอง ผู้อนื่ ตามหลกั สิทธิมนษุ ยชน การมีส่วนรว่ ม “รับรู้” • สทิ ธิเสรีภาพส่วนบคุ คล บุคคลยอ่ มมีสิทธเิ สรีภำพในชีวติ และร่ำงกำย สิทธเิ สรภี ำพในเคหสถำน • สิทธิในกระบวรการยุติธรรม บคุ คลไม่ต้องรับโทษอำญำ เวน้ แตไ่ ด้กระทำกำรอนั กฎหมำยท่ีใชอ้ ย่ใู นเวลำทีก่ ระทำน้ัน บญั ญัติ เปน็ ควำมผดิ และกำหนดโทษไว้ และโทษทจี่ ะลงแกบ่ ุคคลนนั้ จะหนักกวำ่ โทษทกี่ ำหนดไวใ้ นกฎหมำยทใี่ ชอ้ ยู่ในเวลำทีก่ ระทำ ควำมผิดมไิ ด้ • สทิ ธใิ นทรัพยส์ ิน กำรสืบมรดกย่อมไดร้ บั ควำมคุม้ ครอง สทิ ธิของบคุ คลในทรพั ยส์ นิ ยอ่ มไดร้ ับกำรคุ้มครอง • สิทธิและเสรภี าพในการประกอบอาชีพ บคุ คลมีเสรีภำพในกำรประกอบอำชีพ และมีสทิ ธิไดร้ ับหลกั ประกนั ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน • สิทธแิ ละเสรีภาพในการศึกษา บุคคลย่อมมสี ทิ ธิเสมอกันในกำรรับกำรศกึ ษำไม่น้อยกวำ่ สิบสองปีทร่ี ฐั บำลจัดให้ • สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสขุ และสวัสดิการจากรฐั บคุ คลยอ่ มมีสิทธเิ สมอกันในกำรรบั บริกำรทำงสำธำรณสุขที่ เหมำะสมและไดม้ ำตรฐำน และผยู้ ำกไร้มสี ทิ ธไิ ด้รับกำรรกั ษำพยำบำลจำกสถำนบริกำรสำธำรณสุขของรฐั โดยไมเ่ สยี คำ่ ใช้จำ่ ย • สิทธิในขอ้ มลู ข่าวสารและการร้องเรยี น ในกำรกระทำ หรือควำมเสยี หำยทไ่ี ด้รับจำกกำรใช้บรกิ ำร • สทิ ธิชุมชน บุคคลซงึ่ รวมกันเปน็ ชมุ ชนท้องถ่ิน หรือชุมชนทอ้ งถน่ิ ด้งั เดิม ย่อมมสี ทิ ธิอนรุ ักษห์ รอื ฟื้นฟจู ำรตี ประเพณี ภมู ปิ ัญญำทอ้ งถ่ิน ศลิ ปวัฒนธรรมอนั ดีงำมของทอ้ งถนิ่ และของชำติ • สิทธพิ ทิ กั ษ์รฐั ธรรมนญู บุคคลยอ่ มดำเนินกำรหรอื กระทำต่ำงๆ เพ่ือให้ไดม้ ำซ่งึ กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย โดยดำเนินภำยใตข้ อบเขตของกฎหมำย และไมส่ ง่ ผลเสยี หำยต่อชำติ

การมสี ว่ นร่วม “ปฏบิ ตั ”ิ • การมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น โดยแสดงควำมคดิ เห็นอย่ำงมีเหตผุ ลเพือ่ ใหไ้ ดแ้ นวทำงในกำรพฒั นำชวี ิตและชุมชน • การมีส่วนร่วมชว่ ยเหลือผ้ยู ากไร้ เชน่ ช่วยอำนวยควำมสะดวก ร่วมผลกั ดันกฎหมำยที่ทำให้คณุ ภำพชวี ิตของผู้ยำกไร้ดขี ้นึ • การมีส่วนร่วมสนับสนุนเด็กและเยาวชน โดยร่วมสนับสนุนให้เด็กมีสิทธิอยู่รอด และได้รับกำรพัฒนำท้ังด้ำนร่ำงกำย จิตใจ และสติปญั ญำ • การสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน แต่ละชุมชนล้วนมีเอกลักษณ์ท่ีดีงำม สมำชิกทุกคนจึงต้องช่วยกันอนุรักษ์สืบสำน ใหค้ งอยูต่ อ่ ไป • การมีส่วนร่วมในการให้ความเมตตา กำรที่คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่ำงไม่เบียดเบียนหรือไม่เอำรัดเอำเปรียบผู้อ่ืน มีควำม เอ้ืออำทรตอ่ กัน • การมีส่วนร่วมสร้างสรรค์ อำจรวมกลุ่มกันจัดตั้งองค์กรเครือข่ำย เพื่อดำเนินกิจกรรมสร้ำงสรรค์ทำงด้ำนสิทธิมนุษยชน ด้ำนต่ำงๆ • การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ โดยช่วยกันเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรด้ำนสิทธิมนุษยชน ท้ังในโรงเรียน ชุมชน โดยใช้ส่ือ รปู แบบต่ำงๆ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์

องค์กรด้าน สทิ ธิมนุษยชน องค์กรสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติ คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ • ตรวจสอบและรำยงำนกำรกระทำหรอื กำรละเลยกำรกระทำอนั เปน็ กำรละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน หรืออันไม่เป็นตำม พนั ธกรณีระหว่ำงประเทศ • เสนอเร่อื งพรอ้ มดว้ ยควำมเห็นตอ่ ศำลรฐั ธรรมนูญ ในกรณที เ่ี หน็ ชอบตำมที่มีผรู้ ้องเรยี นว่ำบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมำยใด กระทบต่อสทิ ธิมนุษยชน • เสนอเรือ่ งพร้อมดว้ ยควำมเหน็ ต่อศำลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตำมทีม่ ีผู้รอ้ งเรยี นวำ่ กฎ คำสั่ง หรือกำร กระทำอืน่ ใดในทำงปกครองกระทบต่อสทิ ธิมนุษยชน • ฟอ้ งคดตี ่อศำลยตุ ิธรรมแทนผู้เสียหำย เมอ่ื ไดร้ บั กำรร้องขอจำกผ้เู สียหำยและเป็นกรณีท่เี ห็นสมควรเพอื่ แก้ไข ปญั หำกำรละเมดิ สทิ ธิมนุษยชนเปน็ สว่ นรวม

หน่วยงานบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ▪ พัฒนำสังคม สร้ำงควำมเป็นธรรม และ ควำ มเส มอ ภำค ในสั งค ม กระทรวงพัฒนาสังคม ส่งเสริม และพัฒนำคุณภำพควำม และความม่ันคงของมนุษย์ เสมอภำคในสังคมและควำมมั่นคง ในชวี ิต กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ▪ รับผิดชอบในกำรให้บริกำรทำง กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กำรศึกษำแก่สำธำรณชน เพ่ือให้ พลเมืองทุกคนได้รับกำรศึกษำตำม สมควรแก่ควำมสำมำรถและฐำนะ ของบุคคล ▪ รับผิดชอบเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภำพ ที่ประชำชนพึงได้รับตำมกฎหมำย ดำเนินกำรให้พยำน ผู้เสียหำย และ จำเลยคดีอำญำได้รับควำมคุ้มครอง ชว่ ยเหลือ เยยี วยำในเบ้ืองตน้

องค์กรพฒั นาเอกชนด้านสทิ ธมิ นุษยชน มูลนธิ เิ ด็ก • ช่วยเหลือเด็กด้ำนปัจจัยพื้นฐำนกำรดำเนินชีวิตและสวัสดิกำรต่ำงๆ ให้เด็กมีพัฒนำกำรท่ีเหมำะสมท้ังทำงร่ำงกำย สติปัญญำ และจติ ใจ • คน้ หำทำงเลือกกำรศึกษำทเ่ี หมำะสม ให้เด็กใช้สิทธเิ สรีภำพในกำรรับฟงั ควำมคดิ เหน็ • ค้นหำงำนศิลปะ ดนตรี นทิ ำน ส่งเสรมิ จินตนำกำร และควำมคดิ สร้ำงสรรคใ์ หเ้ ด็กในสังคม • ช่วยเหลือเด็กท่ีถูกละเมิดสิทธิให้พ้นจำกควำมทุกข์ทรมำน เช่น ถูกทำรุณ ถูกทอดทิ้ง กำรใช้แรงงำนท่ีผิดกฎหมำย เป็นโสเภณีเดก็ เป็นต้น ใหม้ โี อกำสสำหรบั ชวี ิตในอนำคต • กระตนุ้ เตอื นสำธำรณชนใหต้ ระหนัก และให้ควำมสำคญั ในเรอื่ งกำรพทิ กั ษส์ ิทธขิ องเดก็ และปญั หำเด็กไทย

คณะกรรมการรณรงคเ์ พ่อื สทิ ธิมนษุ ยชน (ครส.) เปน็ องค์กรภำคประชำสังคมด้ำนสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ซงึ่ ทำงำนด้ำนนโยบำยสงั คม กฎหมำย และกำรสรำ้ งสรรค์ พ้นื ฐำนด้ำนสทิ ธิมนษุ ยชน ร่วมกบั เครือขำ่ ยองค์กรสทิ ธมิ นุษยชนระหว่ำงประเทศ

มลู นิธิเพอื่ นหญิง เปน็ องค์กรพฒั นำเอกชนซง่ึ มีฐำนะเป็นนิตบิ คุ คลและมีบทบำทพทิ กั ษ์สิทธิ และให้ควำมชว่ ยเหลือสตรีที่ตกอยสู่ ถำนกำรณ์ อันเลวร้ำยหรอื ภำวะวกิ ฤต นอกจำกนยี้ งั มบี ทบำทในกำรผลกั ดันนโยบำยในกำรคุ้มครองสทิ ธิสตรี

องคก์ รระหว่างประเทศดา้ นสทิ ธิมนุษยชน คณะมนตรสี ทิ ธิมนษุ ยช์ นแหง่ สหประชาชาติ (UNHRC) เป็นองค์กรหลักทเี่ ป็นส่วนหนึ่งขององค์กำรสหประชำชำตมิ ีบทบำท หนำ้ ที่ในกำรติดตำม ตรวจสอบ ใหค้ ำแนะนำ และดำเนนิ กจิ กรรม เกย่ี วกบั สิทธิมนุษยชนมีสำนกั งำนใหญ่อยูท่ นี่ ครเจนวี ำ ประเทศ สวติ เซอรแ์ ลนด์ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ประเทศไทยได้รับ เลอื กจำกประเทศสมำชิกใหด้ ำรงตำแหนง่ “ประธานคณะมนตรี สิทธมิ นุษยชนแหง่ สหประชาชาติ”

กองทนุ เพ่อื เดก็ แหง่ สหประชาชาตหิ รอื ยูนเิ ซฟ (UNICEF) เปน็ หน่วยงำนของสหประชำชำติท่ใี หก้ ำรดแู ลให้ควำมช่วยเหลอื ดำ้ นมนุษยชน พฒั นำกำร สุขภำพ รวมถึงควำมเป็นอยูข่ องเด็ก ทั่วโลก ดแู ลพฒั นำกำรกำรศกึ ษำพืน้ ฐำน ควำมเท่ำเทยี มกนั ระหวำ่ งเพศ กำรปกป้องเด็กจำกควำมรนุ แรง กำรทำรณุ ทำร้ำยเดก็ กำรใชแ้ รงงำนเดก็ โรคตดิ ตอ่ ถงึ เด็ก รวมถึงกำรพทิ ักษ์สิทธิของเด็ก

กองทนุ เพื่อเดก็ แหง่ สหประชาชาตหิ รอื ยูนเิ ซฟ (UNICEF) กอ่ ต้ังขน้ึ กอ่ นที่จะมอี งคก์ ำรสหประชำชำติ และถือเป็นองคก์ ำรแรก ท่ีเข้ำอยู่ในเครือสหประชำชำติ ซง่ึ ประเทศไทยมสี ว่ นร่วมในฐำนะ ผรู้ ิเริม่ กอ่ ต้ัง องค์กำรนมี้ ภี ำรกิจหลัก คือ ช่วยเหลอื ผู้ใช้แรงงำน ทั่วโลกให้ได้รับควำมยุติธรรมจำกสงั คม มคี ุณภำพชวี ติ และสภำพ กำรทำงำนทด่ี ี มีรำกฐำนแนวคิด คอื ควำมเคำรพในสทิ ธมิ นษุ ยชน ถอื เปน็ องค์กำรท่มี สี ่วนชว่ ยเสรมิ สร้ำงควำมมน่ั คงทำงเศรษฐกจิ

องคก์ ารนริ โทษกรรมสากล (AI) เป็นองคก์ ำรเอกชนที่มีจดุ ประสงคใ์ นกำรค้นคว้ำ ดำเนินกำรปอ้ งกนั และยตุ ิกำรละเมดิ สิทธิมนุษยชนเพอ่ื แสวงหำควำมยตุ ธิ รรมสำหรับ ผทู้ ี่ถูกละเมดิ สิทธิ ตั้งอยู่ในกรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ

หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและการดารงชวี ติ ในสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๒ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๔๕ ๑_หลักสตู รวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๒_แผนการจัดการเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_การวดั และประเมนิ ผล ๗_เสรมิ สาระ ๘_ส่ือเสริมการเรยี นรู้ บริษัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๓หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี วัฒนธรรมไทย และวฒั นธรรมสากล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ • อนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยและเลอื กรบั วฒั นธรรมสำกลท่เี หมำะสมได้

วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย วัฒนธรรมไทย • สิ่งต่ำงๆ ที่คนไทยได้สร้ำงสรรค์ขึ้น ผ่ำนกำรขัดเกลำ และแต่งเติมจนเป็นสิ่งดีงำม โดยมีกำรสืบทอดจำกรุ่น สู่รุ่น เปน็ เอกลักษณ์ของชำตไิ ทย ภมู ิปญั ญาไทย • ควำมรู้ควำมสำมำรถ ทักษะต่ำงๆ ที่คนไทยส่ังสมมำ จำกประสบกำรณ์ นำมำใช้ประโยชนต์ ่อกำรดำเนินชีวิต ตำมวถิ ไี ทยไดอ้ ย่ำงเหมำะสม

ความสาคัญของ วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ๑ ประโยชนต์ ่อการดารงชีวิต ๒ ทาหนา้ ที่หลอ่ หลอมบุคลิกภาพใหก้ ับสมาชกิ ของสงั คม ๓ ชว่ ยสรา้ งเสริมความเปน็ ปกึ แผ่น ๔ เป็นองคค์ วามรู้ทม่ี ีคุณคา่ ของสังคม

การจาแนก วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาพ้ืนบ้าน ภาคเหนือ การตกี ลองสะบัดชัย ภาคกลาง การละเล่นเต้นการาเคยี ว ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื งานบุญบั้งไฟ ภาคใต้ การราโนรา

วฒั นธรรมประจาชาติ กขค ๑ กำรมพี ระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ๒ ภำษำไทย ๓ วถิ กี ำรดำเนนิ ชีวิตและบุคลิกภำพ ๔ พระพุทธศำสนำ ๕ อำชีพเกษตรกรรม ๖ วนั สำคญั เก่ียวกบั พระมหำกษัตรยิ ์และพระพทุ ธศำสนำ ๗ อำหำรไทยและสมนุ ไพร

การอนุรักษ์ วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย ๑ ระดบั ชาติ • กระทรวงวัฒนธรรมควรกำหนดนโยบำยให้กำรสนับสนุน ส่งเสริมกำรอนุรักษ์และสืบสำน วัฒนธรรมของชำติ ส่วนสถำบันกำรศึกษำและสื่อสำรมวลชนทำหน้ำท่ีเผยแพร่ให้เห็นคุณค่ำ และควำมสำคญั ต่อวัฒนธรรมของชำติ ๒ ระดบั ทอ้ งถน่ิ • องคก์ รในทอ้ งถ่นิ ต้องสง่ เสริมให้ประชำชนเห็นคณุ คำ่ ของเอกลักษณไ์ ทย เผยแพร่ และนำมำใช้ ให้เป็นประโยชน์ รวมทั้งยกย่องปรำชญ์ทอ้ งถ่ิน ๓ ระดับบุคคล • ช่วยกันดแู ลสมบตั ิของชำติ ส่งเสรมิ กำรใชข้ องไทย พดู และเขียนภำษำไทย ให้ถกู ต้องและ ส่งเสรมิ ให้ชำวต่ำงชำตเิ รยี นร้วู ฒั นธรรมไทย

วฒั นธรรมสากล วัฒนธรรมสากล วัฒนธรรมทเ่ี ป็นที่ยอมรับกนั ทั่วไปอยำ่ งกว้ำงขวำงหรอื เปน็ อำรยธรรม ทีไ่ ด้รับกำรปฏบิ ตั ิตำมกนั ท่ัวโลก เชน่ กำรแต่งกำยชดุ สำกล กำรใช้ภำษำอังกฤษ ในกำรติดต่อส่ือสำร กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย กำรคำ้ เสรี กำรใช้ เคร่อื งจกั รกล ระบบกำรสอื่ สำรท่ที ันสมัย ควำมรูท้ ำงวทิ ยำศำสตร์ มำรยำทในกำร สมำคม เป็นตน้

ความสาคัญของ วฒั นธรรมสากล • เปน็ แนวทำงในกำรปฏิบตั ริ ่วมกนั ของประเทศต่ำงๆ ในโลก เช่น ภำษำสำกล ระบอบกำรเมือง กำรปกครอง เป็นตน้ เพรำะในปจั จบุ ันเป็นยุคแหง่ โลกำภิวัตน์ มนษุ ย์ท่ัวโลก มีกำรติดต่อถงึ กนั มำกข้นึ • กำรทีป่ ระเทศไทยจะพฒั นำสูค่ วำมเป็นสำกลคนไทย จึงจำเปน็ ตอ้ งเรยี นรู้วฒั นธรรมสำกล เพอ่ื พัฒนำศกั ยภำพตนเองและกำ้ วทนั ควำมเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึ้นอย่ำงรวดเร็ว

แนวทางการเลอื กรบั ๒ ๑วัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะสม พิจำรณำถงึ ข้อดแี ละข้อเสยี เลอื กรับวัฒนธรรมสำกลทจ่ี ำเปน็ ควบคู่กันไป ๓ต่อกำรดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน มีกำรร่วมมือกนั ค้นควำ้ เผยแพร่ ๔ รวมถงึ กำรประยุกต์ใช้ ภูมปิ ญั ญำไทย มกี ำรพัฒนำและผสมผสำน วฒั นธรรมไทยใหเ้ หมำะสม กบั สมยั ปจั จุบนั

หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรมและการดารงชวี ติ ในสงั คม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๒ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ ๔๕ ๑_หลักสตู รวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๒_แผนการจัดการเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_การวดั และประเมนิ ผล ๗_เสรมิ สาระ ๘_ส่ือเสริมการเรยี นรู้ บริษัท อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook