คูม่ อื เตรียมสอบ ธรรมศกึ ษาชัน้ ตรี ระดับมัธยมศกึ ษา ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ รวมสรปุ ย่อเนอ้ื หาทใ่ี ชใ้ นการเตรยี มสอบธรรมศกึ ษาชัน้ ตรี ระดบั มธั ยมศกึ ษา ภายในเล่ม มเี นอ้ื หาประกอบดว้ ย เทคนิคการเขยี นเรียงความแกก้ ระท้ธู รรม สรุปย่อเนื้อหาและตวั อยา่ งขอ้ สอบท่ใี ช้สอบในปัจจุบันครบทกุ วชิ า เหมาะอยา่ งยิง่ สำหรับนักเรียนใช้ทบทวนเนอื้ หา และเตรยี มความพร้อมกอ่ นสอบ ชว่ ยเพ่มิ ความม่นั ใจในการสอบมากยิ่งข้ึน
ข ค่มู อื เตรยี มสอบธรรมศึกษาชน้ั ตรี ระดับมธั ยมศึกษา ทปี่ รึกษา : พระมหาสุธรรม สรุ ตโน ป.ธ.๙, ดร. พระมหาวทิ ยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙ ผู้เรยี บเรียง : พระอติคณุ ฐติ วโร ดร. ลขิ สทิ ธิ์ : โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ http://www.pariyat.com, E-mail : [email protected] พมิ พ์คร้ังท่ี ๒ : ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวน : ๕๐๐ เล่ม พมิ พท์ ี่ : โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ย์รังสติ เลขที่ ๙๙ หมู่ ๑๘ ตำบลคลองหนึง่ อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๑ สพพฺ ทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การใหธ้ รรมะเปน็ ทาน ยอ่ มชนะการให้ทงั้ ปวง หนงั สือเลม่ นีไ้ ดร้ ับการสนับสนุนการจดั พิมพแ์ ละเผยแพรเ่ ปน็ ธรรมทาน โดย มูลนิธธิ รรมกาย สำหรับสำนักศาสนศึกษา สถานศกึ ษา ทมี่ คี วามประสงค์จะนำไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน ธรรมศึกษาชนั้ ตรี ระดบั มัธยมศกึ ษา ตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี โรงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทมุ ธานี โทร. ๐-๒๘๓๑-๑๐๐๐ ตอ่ ๑๓๗๘๐
ค คำนำ คู่มือเตรียมสอบธรรมศึกษาชั้นตรี ระดับมัธยมศึกษา จัดพิมพ์ ขึ้นเพ่ือให้นักเรยี นได้มคี ู่มอื เตรียมสอบ ทสี่ ามารถอ่านไดท้ ั้งสรุปย่อเนื้อหา และตวั อย่างข้อสอบ ตรงตามหลักสูตรแม่กองธรรมสนามหลวง ปี ๒๕๖๑ ภายในเล่มมีเนื้อหาประกอบด้วย เทคนิคการเขียนเรียงความแก้กระทู้ ธรรม สรุปย่อเนื้อหาและตัวอย่างข้อสอบที่ใช้สอบในปัจจุบันครบทุกวิชา เหมาะอย่างยิ่งสำหรับนักเรียนใช้ทบทวนเนื้อหาและเตรียมความพร้อม ก่อนสอบ ผู้จัดทำหวังว่า นักเรียนธรรมศึกษาจะได้รับประโยชน์จาก การศึกษาหนงั สือเล่มนี้ โดยเฉพาะวิธีการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมที่ ง่ายต่อการจดจำ และสรุปย่อเนื้อหาแต่ละวิชาท่ีจะช่วยเสริมความเข้าใจ และจดจำแนวทางการออกข้อสอบได้ง่าย ใช้ทบทวนเนื้อหาก่อนเข้าสอบ ธรรมสนามหลวง เพื่อให้เกิดความมั่นใจในการทำข้อสอบได้มากยิ่งข้ึน สามารถสอบผ่านธรรมศึกษาตรีได้อย่างภาคภมู ใิ จ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และผู้มี ส่วนเก่ียวข้องทุกท่านท่ใี หค้ ำแนะนำ พรอ้ มท้งั ความช่วยเหลอื สนับสนุนใน การจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้จนสำเร็จเรียบร้อยด้วยดีทุกประการ ขอน้อม อุทิศบุญกุศลทั้งหลายอันจะเกิดขึ้น แด่มหาปูชนียาจารย์ มารดาบิดา คณุ ครอู ปุ ัชฌายอ์ าจารยแ์ ละผมู้ พี ระคณุ ทกุ ทา่ น ขอขอบคณุ และอนุโมทนาบญุ พระอติคณุ ฐติ วโร ดร. ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ง สารบญั หนา้ ๑ บทท่ี ๑ การเขียนเรียงความแกก้ ระท้ธู รรม ธรรมศกึ ษาชนั้ ตรี ระดบั มธั ยมศึกษา ๒ ๑.๑ วธิ ีอา่ นภาษาบาลี ๓ ๑.๒ หลกั เกณฑก์ ารเขยี นเรยี งความแก้กระท้ธู รรม ๔ ๑.๓ โครงสรา้ งการเขียนกระทธู้ รรม ๕ ๑.๔ แนวทางการอธิบายหัวข้อกระทธู้ รรม ๙ ๑.๕ ตวั อยา่ งข้อสอบวชิ าเรียงความแก้กระทธู้ รรม ๑๒ ๑.๖ กระทูย้ อดนิยม ๑๔ บทที่ ๒ สรปุ ยอ่ เนอื้ หา-แนวข้อสอบธรรมศึกษาชัน้ ตรี ๑๕ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๒๘ ๒.๑ แนวขอ้ สอบธรรมศึกษาชน้ั ตรี วิชาธรรมวภิ าค ๔๗ ๒.๒ แนวขอ้ สอบธรรมศึกษาชน้ั ตรี วิชาพทุ ธประวตั ิ ๕๒ ๒.๓ แนวข้อสอบธรรมศึกษาชัน้ ตรี วิชาศาสนพธิ ี ๖๓ ๒.๔ แนวขอ้ สอบธรรมศึกษาชนั้ ตรี วิชาเบญจศลี เบญจธรรม ๘๔ กระดาษเขียนเรียงความแกก้ ระทธู้ รรม บรรณานกุ รม
บทท่ี ๑ การเขียนเรียงความ แกก้ ระทู้ธรรม ธรรมศึกษาชน้ั ตรี ระดับมัธยมศกึ ษา
๒ ๑.๑ วธิ ีอ่านภาษาบาลี ๑) พยญั ชนะที่มีสระกำกับอยู่ ให้อา่ นออกเสยี งตามสระนัน้ ๆ เช่น ปรุ ิมานิ อา่ นวา่ ปุ-ร-ิ มา-นิ ตีณิ อา่ นวา่ ต-ี ณิ ๒) พยญั ชนะที่ไมม่ สี ระใดๆ กำกับอยูเ่ ลย ให้อ่านออกเสยี งสระ อะ ทุกแห่ง เชน่ นววิธํ อ่านวา่ นะ-วะ-ว-ิ ธงั ปน อา่ นวา่ ปะ-นะ ๓) พยัญชนะที่มี พนิ ทุ ( ฺ ) อยูข่ ้างล่าง แสดงว่าพยญั ชนะตัวน้ันเป็นตวั สะกด ใหอ้ า่ นออกเสียงรวมกบั สระของพยญั ชนะ ท่อี ยู่ข้างหนา้ เชน่ ภิกฺขู (ภิ+ก=ภกิ ) อ่านว่า ภกิ -ขู โหนตฺ ิ (โห+น=โหน) อ่านว่า โหน-ติ ถ้าพยญั ชนะที่อยูข่ า้ งหน้าไม่มีสระใดๆ กำกับอยเู่ ลย พนิ ทุ ( ฺ ) นนั้ จะเท่ากบั ไมห้ นั อากาศ เชน่ ตตถฺ (ตะ+ต=ตัต) อ่านวา่ ตัต-ถะ อฏฺฐ (อะ+ฏ=อฏั ) อ่านวา่ อฏั -ฐะ ๔) พยัญชนะทมี่ ี นคิ หิต ( ํ ) อยู่ข้างบนและมสี ระกำกบั อยู่ด้วย ใหอ้ ่านออกเสยี งมี ง เปน็ ตวั สะกด เชน่ กึ (กิ+ง=กงิ ) อา่ นวา่ กงิ กาตุํ (ต+ุ ง=ตุง) อ่านวา่ กา-ตงุ ถา้ พยัญชนะทม่ี ี นิคหติ ( ํ ) อยขู่ ้างบน แตไ่ มม่ ีสระใดๆ กำกบั อย่เู ลย นคิ หิต ( ํ ) นัน้ จะเท่ากับ อัง เชน่ วตตฺ ํ (ตะ+ง=ตัง) อา่ นว่า วัต-ตัง อยํ (ยะ+ง=ยัง) อา่ นว่า อะ-ยงั ๕) พยัญชนะตวั หนา้ ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยขู่ า้ งลา่ ง ให้อ่านออกเสียงสระ อะ กึ่งเสยี ง เช่น เทฺว อ่านวา่ ท๎-เว พฺยตตฺ ํ อา่ นว่า พ-๎ ยตั -ตงั ๖) ถา้ มี ร อยู่หลังพยัญชนะทม่ี ี พนิ ทุ ( ฺ ) อยู่ขา้ งลา่ ง ใหอ้ า่ นออกเสียงควบกล้ำกัน เช่น ตตฺร อ่านวา่ ตัต-ตระ พฺรหมฺ จรยิ า อ่านวา่ พรมั -มะ-จะ-ร-ิ ยา ๗) ส ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยขู่ ้างล่าง ใหอ้ ่านออกเสียงเปน็ ตัวสะกดของพยัญชนะท่ีอยูข่ ้างหน้า และออกเสยี ง ส นั้นอกี กงึ่ เสยี ง เช่น อมิ สฺมึ อา่ นวา่ อิ-มัส-ส๎-หมงิ ตสมฺ า อา่ นวา่ ตัส-ส-๎ หมา
๓ ๘) คำที่ลงทา้ ยด้วย ตวฺ า ตวฺ าน ให้อา่ นออกเสยี ง ต เปน็ ตัวสะกดของพยญั ชนะท่อี ยู่ขา้ งหน้า และออกเสยี ง ต นั้น อีกกงึ่ เสยี ง เชน่ กตวฺ า อ่านวา่ กตั -ต-๎ วา คเหตฺวา อา่ นวา่ คะ-เหต-ต-๎ วา ๙) ฑ ให้อา่ นออกเสยี งเป็นตวั ด ท้ังหมด เช่น ปณิ ฺฑปาตํ อา่ นวา่ ปิณ-ดะ-ปา-ตงั ปณิ ฺฑาย อ่านวา่ ปณิ -ดา-ยะ ๑๐) ห ที่มีสระ อี อยดู่ ว้ ย ใหอ้ ่านออกเสยี งเป็น ฮี เชน่ ตณุ ฺหี อ่านวา่ ตณุ -ณ๎-ฮี อจฺฉาเทหีติ อา่ นว่า อัจ-ฉา-เท-ฮี-ติ ๑.๒ หลักเกณฑ์การเขยี นเรียงความแกก้ ระทู้ธรรม ๑) กระทู้ต้งั คือ ธรรมภาษิตทเ่ี ปน็ ปัญหาที่ยกขน้ึ มาก่อนสำหรบั ใหแ้ ตง่ แก้ เช่น ปาปานํ อกรณํ สขุ ํ. การไมท่ ำบาป นำสขุ มาให้. ๒) คำนำ คือ คำขึ้นต้นหรือคำชีแ้ จงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือ เมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้วเวลาจะแต่งต้อง ขึ้นอารัมภบทก่อนว่า บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็นแนวทาง แห่งการประพฤตปิ ฏิบัตขิ องสาธุชนผใู้ ครใ่ นธรรมสบื ไป ๓) เนื้อเรื่องของกระทู้ตั้ง ต้องมีเนื้อหาสาระสำคัญ ลำดับเนื้อหาสาระให้ต่อเนื่องกันเป็นเหตุเป็นผล โดย ข้ึนตน้ ด้วยคำว่า “อธิบายความว่า” ก่อนจบการอธิบายจะลงท้ายด้วยคำว่า “น้ีสมด้วยธรรมภาษิต ทม่ี าใน (ใส่ที่มาของ ธรรมภาษติ ที่นำมารับ) ว่า” เพ่ือรบั รองไวเ้ ป็นหลักฐาน เช่น นส้ี มดว้ ยธรรมภาษิต ทม่ี าใน ขทุ ทกนกิ าย ธรรมบท วา่ ๔) กระทู้รับ คือ ธรรมภาษิตที่ยกขึ้นมารับรองให้สมเหตุสมผลกับกระทู้ตั้ง เพราะการแต่งเรียงความนั้น ต้องมีกระทรู้ ับอ้างให้สมจริงกบั เนอื้ ความทีไ่ ดแ้ ตง่ ไป มใิ ชเ่ ขยี นไปแบบลอย ๆ เช่น อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ. ตนแลเป็นท่พี ง่ึ แห่งตน. ๕) เนื้อเรื่องของกระทู้รับ คือ อธิบายเนื้อหาสาระสำคัญของธรรมภาษิตที่ยกมารับ โดยขึ้นต้นด้วยคำว่า “อธบิ ายความวา่ ” ๖) บทสรุป คือ การรวบรวมใจความสำคัญของเรื่องที่ได้อธิบายมาแต่ตน้ โดยกล่าวสรุปลงส้ันๆ หรือย่อ ๆ ให้ได้ความหมายทีค่ รอบคลุมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาทั้งกระทู้ตั้งและกระทู้รับ โดยขึ้นตน้ ดว้ ยคำวา่ “สรุปความว่า” ก่อนจบ
๔ การสรุปจะลงท้ายด้วยคำว่า “สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า” แล้วจึงเขียนกระทู้ตั้ง พร้อมคำแปลอีก ครงั้ หนงึ่ เชน่ สมดว้ ยธรรมภาษติ ทไ่ี ด้ลขิ ิตไว้ ณ เบื้องต้นวา่ ปาปานํ อกรณํ สุขํ. การไม่ทำบาป นำสขุ มาให้. ๗) คำลงท้าย คือ ประโยคที่เป็นการจบการเขียนเรียงความ จะใช้คำว่า “มีนัยดังได้พรรณนามาด้วย ประการฉะนี้ ฯ” โดยใหเ้ ขยี นข้นึ บรรทดั ใหมช่ ิดเส้นกัน้ หนา้ ๘) จำนวนกระทู้รับ คือ จำนวนธรรมภาษติ ท่ีจะต้องหามาเชอื่ มกบั กระทตู้ ้ัง สำหรบั ระดบั ธรรมศกึ ษาชัน้ ตรี ใหใ้ ช้ ๑ ธรรมภาษติ ๙) จำนวนหน้าที่ต้องเขียน คือ การเขียนเรียงความในกระดาษตอบสนามหลวง ขนาด F14 เว้นบรรทัด สำหรับระดับธรรมศึกษาชั้นตรี ต้องเขียนอย่างน้อย ๒ หน้ากระดาษขึ้นไป และห้ามใช้ดินสอหรือปากกาน้ำหมึกสีแดง เขียนหรือขีดเส้นโดยเด็ดขาด ให้ใช้ปากกาน้ำหมึกสีน้ำเงินหรือสีดำเท่าน้ัน หากเขียนผิดเล็กน้อย สามารถใช้น้ำยาหรือ เทปลบคำผดิ ได้ ๑๐) การเขียนตัวเลขบอกจำนวน หากต้องเขียนตัวเลขบอกจำนวนขอ้ เช่น ๑)........ ๒)........ ๓)........ ให้ ใชต้ ัวเลขไทย ห้ามเขียนตวั เลขอารบคิ และไม่ต้องขนึ้ ย่อหน้าใหม่ ใหเ้ ขยี นเรียงต่อกนั อย่ใู นย่อหน้าของการอธิบายความ ๑.๓ โครงสรา้ งการเขียนกระทธู้ รรม (กระทู้ตั้ง)------------------. (คำแปลกระทู้ตงั้ )----------------. ไมต่ อ้ งเขยี นท่มี าของกระทตู้ ้ัง) บดั นจี้ ักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตทไ่ี ด้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพ่อื เปน็ แนวทางแห่งการประพฤติ ปฏบิ ตั ิของสาธชุ นผ้ใู คร่ในธรรมสืบไป อธิบายความว่า -------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ------------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐-๑๒ บรรทดั )--------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- ------------------------ น้ีสมด้วยธรรมภาษติ ทมี่ าใน -----(ทมี่ าของกระทู้รับ)-----ว่า (กระทรู้ บั )------------------. (คำแปลกระทู้รบั )----------------.
๕ อธิบายความว่า -------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -----------------------------------(เขียนอธบิ ายประมาณ ๑๐-๑๒ บรรทดั )---------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------- สรุปความวา่ -------------------(เขียนอธิบายประมาณ ๕-๘ บรรทัด)----------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------- --------------- สมดว้ ยธรรมภาษิตทีไ่ ด้ลิขติ ไว้ ณ เบือ้ งตน้ วา่ (กระทูต้ ง้ั )------------------. (คำแปลกระทตู้ ั้ง)----------------. (ไมต่ อ้ งเขียนทีม่ า ของกระท้ตู ้ัง) มีนัยดงั ได้พรรณนามาดว้ ยประการฉะน้ี ฯ ๑.๔ แนวทางการอธบิ ายหวั ขอ้ กระทธู้ รรม สำหรับการเรียนการสอนธรรมศึกษาชั้นตรี ระดับมัธยมศึกษา มีขอบข่ายพุทธศาสนสุภาษิตที่จะใช้เป็น หวั ข้อกระทู้ตงั้ มี ๓ หมวดธรรม ไดแ้ ก่ ๑) หมวดบาป ๒) หมวดกรรม ๓) หมวดบุญ มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑. ปาปวรรค คอื หมวดบาป ในหมวดนีม้ พี ุทธศาสนสุภาษติ ทีต่ ้องศึกษา ๓ หวั ขอ้ (ข้อสอบอาจจะเลือกมาเป็นกระทู้ต้ัง) คอื ๑) ทกุ โฺ ข ปาปสสฺ อจุ ฺจโย. ความสงั่ สมบาป นาทกุ ขม์ าให้. ๒) ปาปานํ อกรณํ สุข.ํ การไม่ทาบาป นาสขุ มาให้. ๓) นตฺถิ อการิยํ ปาปํ มุสาวาทิสสฺ ชนฺตโุ น. คนมกั พดู มุสา จะไมพ่ ึงทาความชวั่ ยอ่ มไม่มี. มีแนวทางการอธบิ าย ดงั น้ี
๖ (คำอ่าน : ทุก-โข, ปา-ปัด-สะ, อุด-จะ-โย, ทีม่ า ขุททกนกิ าย ธรรมบท) ทุกฺโข ปาปสสฺ อุจจฺ โย. ความสงั่ สมบาป นาทุกขม์ าให้. บาป คอื ความประพฤตชิ ่ัวทางกาย วาจา ใจ ทีเ่ รยี กว่า ทจุ รติ นน่ั เอง ความประพฤตชิ ่ัวดังกล่าว จะเป็นผล ให้เกิดความฉบิ หายเดือดร้อนแก่ผู้กระทำ ทำให้สภาพจิตตกต่ำ ทำให้ชีวิตตกตำ่ บาปมีผลในทางท่ีชัว่ ดังที่กล่าวมา ดังนั้น ผู้ที่สะสมบาป คือ ทำบาปบ่อย ๆ ย่อมเป็นการสะสมความชั่วให้มีขึ้นเกิดขึ้นในตัวเองมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อบาปมีมากขึ้น เรือ่ ย ๆ เมื่อถงึ คราวทบ่ี าปท้ังหลายทเ่ี คยทำมาก่อตัวมากข้ึนจนมีกำลังแรงพอทจี่ ะให้ผล บาปน้ันย่อมจะให้ผลในทางท่ีจะ ทำใหบ้ ุคคลนัน้ ต้องประสบกับความฉิบหายเดือดร้อน ทง้ั ในโลกนี้และโลกหน้าอยา่ งหลกี เลี่ยงมไิ ด้ (คำอ่าน : ปา-ปา-นัง, อะ-กะ-ระ-นงั , สุ-ขงั , ท่ีมา ขทุ ทกนิกาย ธรรมบท) ปาปานํ อกรณํ สุข.ํ การไมท่ าบาป นาสุขมาให้. บาป คอื การกระทำความชั่ว ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ได้แก่ ทจุ รติ ทง้ั ๓ ประการ คือ กายทจุ รติ วจี ทุจริต และมโนทุจริต บาปนั้นมีผลเผ็ดร้อน คือทำให้ผู้กระทำต้องตกอยู่ในความทุกข์ ความเดือดร้อนทั้งกายและใจ อัน เป็นผลที่เกิดจากการทำบาปนั่นเอง เมื่อบาปเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ความฉิบหายเช่นนี้ การไม่ทำบาป จึงเป็นการหัน หลังใหค้ วามทุกขค์ วามฉบิ หายไปโดยปรยิ าย เพราะเมือ่ ไม่กอ่ เหตุ ผลกย็ อ่ มไมเ่ กดิ (คำอ่าน : นัด-ถิ, อะ-กา-ร-ิ ยัง, ปา-ปัง, ม-ุ สา-วา-ทดิ -สะ, ชัน-ต-ุ โน, ท่ีมา ขุททกนกิ าย ธรรมบท) นตถฺ ิ อการิยํ ปาปํ มุสาวาทิสสฺ ชนฺตุโน. คนมกั พดู มสุ า จะไมพ่ งึ ทาความชวั่ ยอ่ มไมม่ .ี คนทม่ี กั พดู มสุ า คอื คนทพ่ี ูดปดอยเู่ ป็นประจำ เป็นคนเหลาะแหละหละหลวม ไม่มีสจั จะ ไม่มีความจริงใจให้ ใคร เป็นคนกลับกลอก เชื่อถือไม่ได้ คนที่พูดมุสาคือโกหกอยู่เสมอ ถือเป็นคนไม่ดี เพราะการที่เขาพูดโกหกนั้นก็เป็นการ ประพฤติชั่วทางวาจา ที่เรียกว่า วจีทุจริต ทุกครั้งที่เขากล่าวคำมุสา นั่นคือการทำชั่ว และคนที่โกหกอยู่เสมอนั้น ย่อมมี แนวโนม้ ทจ่ี ะทำความชวั่ อย่างอื่นด้วย การทค่ี นโกหกจะไมท่ ำความช่วั อย่างอ่นื นั้นย่อมเปน็ ไปไม่ได้เลย ๒. กมั มวรรค คอื หมวดกรรม ในหมวดนี้มพี ทุ ธศาสนสุภาษติ ที่ตอ้ งศึกษา ๔ หวั ข้อ (ข้อสอบอาจจะเลือกมาเป็นกระทูต้ ้งั ) คือ ๑) สานิ กมมฺ านิ นยนฺติ ทุคคฺ ตึ. กรรมชวั่ ของตนเอง ยอ่ มนาไปสู่ทุคติ. ๒) อกต ทุกฺกฏ เสยโฺ ย. ความชวั่ ไม่ทาเลยเสียดีกว่า. ๓) กลฺยาณการี กลยฺ าณ ปาปการี จ ปาปก. ทาดีได้ดี ทาชวั่ ได้ชวั่ . ๔) กมมฺ นุ า วตตฺ ตี โลโก. สตั วโ์ ลกยอ่ มเป็นไปตามกรรม. มแี นวทางการอธบิ าย ดงั นี้
๗ (คำอ่าน : สา-นิ, กำ-มา-น,ิ นะ-ยนั -ติ, ทุก-คะ-ติง, ที่มา ขทุ ทกนกิ าย อทุ าน) สานิ กมฺมานิ นยนฺติ ทุคคฺ ตึ. กรรมชวั่ ของตนเอง ย่อมนาไปส่ทู คุ ติ. กรรมชั่ว คือ กรรมฝ่ายอกุศลทั้งหลาย เช่น กายทุจริต ความประพฤติชั่วทางกาย วจีทุจริต ความประพฤติ ชั่วทางวาจา และ มโนทุจริต ความประพฤติชั่วทางใจ กรรมชั่ว เป็นตัวที่จะนำเราไปสู่ภพภูมิที่เป็นทุคติ อันได้แก่ นรก เปรต อสุรกาย และสตั วด์ ิรจั ฉาน เหตนุ ้ัน พระพทุ ธศาสนาจึงสอนให้คนละเว้นกรรมชว่ั ใหก้ ระทำแต่กรรมดี เพราะกรรม ชวั่ ใหผ้ ลทีเ่ ลวทราม เมอื่ ไปสทู่ คุ ติเพราะผลกรรมชัว่ นัน้ พาไปแลว้ ยังต้องไดร้ ับทุกขท์ รมานเพราะผลแห่งกรรมช่ัวนัน้ อีก (คำอ่าน : อะ-กะ-ตงั , ทกุ -กะ-ตงั , ไส-โย, ทม่ี า ขุททกนิกาย ธรรมบท) อกตํ ทุกฺกฏํ เสยฺโย. ความชวั่ ไมท่ าเลยเสียดีกวา่ . ความช่วั คอื ส่งิ ทท่ี ำแลว้ สร้างทกุ ขส์ ร้างโทษ ทำลายประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมให้ฉิบหายย่อย ยับ ความชั่ว เปรียบเหมือนสิ่งปฏิกูลโสโครก เพราะเมื่อทำไปแล้วย่อมแปดเปื้อน สิ่งปฏิกูลโสโครกนั้นเมื่อแปดเปื้อนเรา แล้วยังสามารถล้างออกให้สะอาดได้ แต่ความชั่วเมื่อทำไปแล้ว จะแปดเปื้อนเราไปอีกนาน ต้องชดใช้ผลของมั นให้หมด เท่านั้นจึงจะหาย เมื่อรู้ดังนี้แล้ว พึงพิจารณาเห็นว่า ความชั่วจะสร้างความฉิบหายย่อยยับให้เรา ไม่มีคุณประโยชน์อันใด เลย แล้วอย่าทำมนั เลยตลอดชวี ิต (คำอ่าน : กนั -ละ-ยา-นะ-กา-ร,ี กนั -ละ-ยา-นงั , ปา-ปะ-กา-ร,ี จะ, ปา-ปะ-กงั , ทีม่ า สังยตุ ตนิกาย สคาถวรรค) กลฺยาณการี กลยฺ าณํ ปาปการี จ ปาปก.ํ ทาดีได้ดี ทาชวั่ ได้ชวั่ . กรรมทีเ่ ราได้ทำไวท้ ุกอย่าง ไม่ว่าจะเปน็ กรรมฝ่ายดหี รอื กรรมฝ่ายช่วั กต็ าม เราจะตอ้ งได้รับผลของกรรมน้ัน แน่นอน แต่กรรมนั้นจะให้ผลเม่ือไหร่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับว่า กรรมนั้นมีอานุภาพมากแค่ไหน แต่ไม่ว่ากรรมจะให้ผลเมือ่ ไหร่ก็ ตาม สิ่งที่แน่นอนที่สุดคือ กรรมจะให้ผลตามสภาพของมัน คือ ถ้าเป็นกรรมดี ก็จะให้ผลในทางที่ดี สร้างความสุขความ เจริญให้กับผู้กระทำหรือเจ้าของกรรม แต่ถ้าเป็นกรรมฝ่ายชั่ว ก็จะให้ผลไปในทางที่ชั่ว คือสร้างความฉิบหายให้ผู้กระทำ อันนี้มันเป็นหลักธรรมดาสามัญ เปรียบเสมือนกับการที่เรามีก้อนหินที่มีผิวขรุขระแหลมคมอยู่ในมอื ถ้าเราแบมือไว้ เราก็ จะไม่เจบ็ มอื แต่ถา้ เรากำมอื เราจะเร่มิ เจ็บมอื เพราะหนิ กอ้ นนัน้ ยิง่ กำแรงเทา่ ไหร่ก็ย่ิงเจบ็ มากเท่านัน้ (คำอ่าน : กำ-ม-ุ นา, วดั -ตะ-ต,ี โล-โก, ที่มา มัชฌมิ นกิ าย มัชฌิมปัณณาสก์) กมฺมุนา วตฺตตี โลโก. สตั วโ์ ลกยอ่ มเป็นไปตามกรรม. สตั ว์โลกทกุ ชนดิ ไมว่ า่ จะเปน็ คนหรือสตั ว์ดริ ัจฉาน ล้วนแลว้ แต่เปน็ ไปตามอำนาจของกรรมทัง้ นนั้ เราเกิดมา เปน็ มนษุ ย์ กเ็ พราะกรรมพามา สัตว์ดิรจั ฉานทัง้ หลายทไี่ ปเกดิ ในสภาพนน้ั ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ช้าง มา้ วัว ควาย หมา แมว รวม ลงคือสัตว์ทุกชนิด เขาไปเกิดในสภาพเช่นนั้นก็เพราะกรรมพาไป ไม่ใช่สิ่งอื่น แม้แต่มนุษย์เราเกิดมา มีรูปร่างหน้าตา แตกต่างกนั มีฐานะความเป็นอยู่ต่างกัน บ้างร่ำรวย บ้างยากจน บา้ งก็พออยไู่ ด้ ท้ังหมดนนั้ กเ็ พราะกรรมจัดสรรให้เป็นไป
๘ ๓. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ ในหมวดนี้มีพุทธศาสนสุภาษิตทตี่ ้องศึกษา ๓ หวั ข้อ (ขอ้ สอบอาจจะเลือกมาเปน็ กระทูต้ ้ัง) คอื ๑) ปญุ ญฺ ํ โจเรหิ ทรู .ํ บญุ อนั โจรนาไปไม่ได้. ๒) สโุ ข ปญุ ญฺ สสฺ อจุ ฺจโย. ความสงั่ สมขึ้นซ่ึงบญุ นาสขุ มาให้. ๓) ปญุ ญฺ านิ ปรโลกสมฺ ึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ. บญุ เป็นท่ีพง่ึ ของสตั วใ์ นโลกหน้า. มแี นวทางการอธิบาย ดงั นี้ (คำอ่าน : ปุน-ยงั , โจ-เร-ห,ิ ท-ู หะ-รัง, ท่ีมา ขทุ ทกนกิ าย ธรรมบท) ปญุ ญฺ ํ โจเรหิ ทูร.ํ บญุ อนั โจรนาไปไมไ่ ด้. บุญ คือ ผลที่เกิดขึ้นจากการทำความดี มีการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา เป็นต้น บุญนั้นเป็นของ เฉพาะตวั ผใู้ ดทำผนู้ น้ั ก็ได้ ผู้ใดไมท่ ำผู้นนั้ ก็ไม่ได้ บุญ ถือวา่ เปน็ สมบัตทิ ่ีมน่ั คงที่สดุ ของมนุษย์ และเป็นสมบัติท่ีล้ำค่าท่ีสุด ด้วยเช่นกัน สมบัติอื่น ๆ บรรดามี อาจถูกโจรแย่งชิงหรือขโมยไปเมื่อใดก็ได้ แต่บุญนั้น โจรไม่สามารถโขมยไปได้ ไม่ว่า ดว้ ยวิธใี ด ๆ เพราะฉะน้นั บญุ จงึ ถอื วา่ เป็นสมบัติที่ม่ันคงทส่ี ุด และเป็นของผู้กระทำอย่างแท้จริง เมื่อเรายังมีชีวิตอยู่ บุญก็ เป็นของเรา เมื่อตายจากโลกนี้ไปแล้ว บุญที่ทำนั้นก็ยังเป็นของเราอยู่นั่นเอง ไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อบุญมากขึ้นเท่าไร ความสุขอนั เกดิ จากบญุ กจ็ ะมากข้ึนตามไปด้วย ดังนน้ั จงึ ควรสัง่ สมบุญเอาไวใ้ ห้มาก ๆ เท่าท่ีจะทำได้ (คำอ่าน : สุ-โข, ปุน-ยดั -สะ, อุด-จะ-โย, ทีม่ า ขุททกนิกาย ธรรมบท) สโุ ข ปญุ ญฺ สสฺ อจุ ฺจโย. ความสงั่ สมขึน้ ซึ่งบุญ นาสขุ มาให้. บุญ คือ สภาวะที่เป็นสุข เป็นสภาวะที่ชำระจิตใจของคนให้สะอาดจากบาป เมื่อไม่มีบาปอันเป็นเหตุแห่ง ทกุ ข์ จิตใจกเ็ ป็นสขุ เหตแุ ห่งบญุ นนั้ มีอยู่ ๓ ประการ คอื ๑) ทานมยั บญุ สำเร็จดว้ ยการใหท้ าน ๒) สีลมยั บุญสำเร็จด้วย การรกั ษาศีล ๓) ภาวนามัย บญุ สำเรจ็ ดว้ ยการเจริญภาวนา บุญนน้ั เราสามารถทำได้เรื่อย ๆ ทำได้บอ่ ย ๆ ทำได้มากเท่าท่ี อยากจะทำและมีกำลังทำ และเมื่อทำมากขึ้น ๆ บุญก็เพม่ิ มากขึ้น ๆ เชน่ เดยี วกัน (คำอ่าน : ปุน-ยา-น,ิ ปะ-ระ-โล-กดั -สะ-หมิง, ปะ-ตดิ -ถา, โหน-ต,ิ ปา-น-ิ นัง, ท่มี า สงั ยตุ ตนิกาย สคาถวรรค) ปญุ ญฺ านิ ปรโลกสมฺ ึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ. บญุ เป็นที่พง่ึ ของสตั วใ์ นโลกหน้า. การที่เราได้มาเกิดเป็นมนุษย์ ก็เพราะบุญ เมื่อเกิดมาแล้ว มีความสุขความเจริญ ก็เพราะบุญ มีทรัพย์สิน เรือนชานบา้ นช่อง ก็เพราะบุญ มสี ติปญั ญาดี ก็เพราะบญุ ส่งิ ทดี่ ี ๆ ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งท่เี ราไดป้ ระสบในโลกมนุษย์นี้ ล้วนเปน็ สิ่งที่บุญอำนวยให้ทั้งสิ้น เรียกได้ว่า บุญนั้นเป็นที่พึ่งของมนุษย์ทั้งหลาย เมื่อมีชีวิตอยู่ในชาตินี้ เรามีบุญที่ได้ทำไว้ใน อดตี ชาติเปน็ ที่พึง่ ดงั นนั้ ตราบทยี่ งั มชี วี ติ อยู่ พึงสั่งสมบญุ เอาไว้ให้มาก ๆ เพื่อว่าบุญนัน้ จะเป็นทีพ่ ง่ึ ของเราได้ในภพต่อ ๆ ไป ตราบใดทยี่ งั ไมถ่ งึ พระนิพพาน
๙ ๑.๕ ตัวอยา่ งข้อสอบวชิ าเรียงความแก้กระทธู้ รรม
๑๐ เลขท.ี่ ........... ประโยคธรรมศึกษาช้ัน [✓]ตรี [ ]โท [ ]เอก ชว่ งชน้ั [ ]ประถม [✓]มธั ยม [ ]อดุ ม วิชา เรียงความแกก้ ระทู้ธรรม สอบในสนามหลวง วันที่ ___ เดอื น __________ พ.ศ.____ ปญุ ญฺ านิ ปรโลกสมฺ ึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ. บุญเป็นท่ีพ่งึ ของสตั วใ์ นโลกหน้า. บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบอื้ งต้น เพือ่ เป็นแนวทางแหง่ การประพฤติปฏบิ ตั ขิ องสาธุชนผูใ้ ครใ่ นธรรม สบื ไป อธิบายความว่า บุญ คือ ผลที่เกิดขึ้นจากการทำความดี มีการให้ ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา เปน็ ต้น การท่เี ราได้มาเกิดเปน็ มนษุ ย์ กเ็ พราะ บุญ เมื่อเกิดมาแลว้ มีความสุขความเจริญ มีทรัพย์สินเรือนชานบ้านช่อง มี สติปัญญาดี สิ่งที่ดี ๆ ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราได้ประสบในโลกมนุษย์นี้ ล้วน เป็นสิ่งที่บุญอำนวยให้ทั้งสิ้น เรียกได้ว่า บุญนั้นเป็นที่พึ่งของมนุษย์ ทั้งหลาย เมื่อมีชีวิตอยู่ในชาตินี้ เรามีบุญท่ีได้ทำไว้ในอดีตชาติเป็นที่พ่ึง ดังนั้น ตราบที่ยังมีชีวิตอยู่ พึงสั่งสมบุญเอาไว้ให้มาก ๆ เพื่อว่าบุญนั้น จะ เป็นที่พึ่งของเราได้ในภพต่อ ๆ ไป ตราบใดที่ยังไม่ถึงพระนิพพาน นี้สม ด้วยธรรมภาษิตทมี่ าในขทุ ทกนิกาย ธรรมบท วา่
๑๑ ปญุ ญฺ ํ โจเรหิ ทรู .ํ บุญอนั โจรนาไปไม่ได้. อธิบายความว่า บุญนั้นเป็นของเฉพาะตัว ผู้ใดทำผู้นั้นก็ได้ ผู้ใด ไม่ทำผู้นั้นก็ไม่ได้ บุญถือว่าเป็นสมบัติที่มั่นคงที่สุดของมนุษย์ และเป็น สมบัติทล่ี ำ้ คา่ ท่ีสุดด้วยเชน่ กนั สมบัตอิ ่นื ๆ บรรดามี อาจถูกโจรแยง่ ชิงหรือ ขโมยไปเมื่อใดก็ได้ แต่บุญนั้น โจรไม่สามารถโขมยไปได้ ไม่ว่าด้วยวิธี ใด ๆ เพราะฉะนั้น บุญจึงถือว่าเป็นสมบัติที่มั่นคงที่สุด และเป็นของ ผู้กระทำอย่างแท้จริง เมื่อเรายังมีชีวิตอยู่ บุญก็เป็นของเรา เมื่อตายจาก โลกนี้ไปแล้ว บุญที่ทำนั้นก็ยังเป็นของเราอยู่นั่นเอง ไม่เปลี่ยนแปลง เม่ือ บุญมากขึ้นเท่าไร ความสุขอันเกิดจากบุญก็จะมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น จึงควรสั่งสมบุญเอาไวใ้ หม้ าก ๆ เทา่ ทีจ่ ะทำได้ สรปุ ความวา่ บญุ เป็นทพี่ ง่ึ ของมนษุ ยท์ ้ังหลาย เมอื่ มีชีวิตอยู่ในชาติ นี้ เรามีบุญที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติส่งผลให้มีความสุขความสำเร็จในชีวิต บุญจึงเป็นสมบัติท่ีล้ำค่าและมั่นคงที่สุดของมนุษย์ โจรไม่สามารถโขมยไป ได้ ไมว่ า่ ดว้ ยวธิ ีใด จงึ ต้องส่งั สมบุญในชาตนิ ี้เอาไว้ให้มาก ๆ เพ่ือว่าจะได้ มีบุญเป็นที่พึ่งของเราได้ในภพต่อ ๆ ไป ตราบใดที่ยังไม่ถึงพระนิพพาน สมด้วยธรรมภาษิตท่ีไดล้ ิขติ ไว้ ณ เบอ้ื งตน้ ว่า ปญุ ญฺ านิ ปรโลกสมฺ ึ ปติฏฺฐา โหนฺติ ปาณินํ. บญุ เป็นที่พ่งึ ของสตั วใ์ นโลกหน้า. มีนยั ดงั ไดพ้ รรณนามาดว้ ยประการฉะนี้ ฯ
๑๒ ๑.๖ กระทยู้ อดนยิ ม ในการเตรยี มตัวก่อนสอบ นักเรยี นสามารถเลือกท่องพุทธศาสนสภุ าษติ ท่ีนิยมนำมาเปน็ กระทู้รับเพ่ิมเติมได้ ซึ่งไดเ้ ลือกกระทูร้ ับยอดนิยม พร้อมแนวทางการอธบิ ายไว้ ๕ กระทู้ ดงั น้ี ๑) อตตฺ า หิ อตตฺ โน นาโถ. ตนแลเป็ นท่ีพ่ึงของตน. ทีม่ าใน ขุททกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า ตน หมายถึง ร่างกายและจิตใจ ที่เรียกว่าอัตภาพหรือตวั ตนของเรา ในคำว่าตนและเป็นท่ี พึ่งของตน หมายถึงให้พึ่งตัวเองให้มาก ในขอบเขตที่สามารถทำได้ ในขณะที่ยังอยู่ในวัยหรือในภาวะหนึ่งๆ ทั้งนี้เพราะท่ี พึ่งอย่างอื่นที่คนเราจะยึดเป็นที่พึ่งไปตลอดชีวิต ไม่ว่าจะเป็นบิดามารดา ครูอาจารย์ ย่อมจะทำได้โดยยาก พระสัมมา สัมพุทธเจ้าตรัสสอนให้คนเราพึ่งตนเอง ซึ่งทำได้ ๒ อย่าง คือ ๑) ทางร่างกาย อาศัยแรงกายทำงานประกอบสัมมาอาชพี เพอ่ื ให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ ๒) ทางจติ ใจ อาศัยร่างกายน้เี ปน็ สว่ นหนึ่งทจี่ ะตอบสนองให้ทำสิ่งต่างๆ เชน่ ทำความดี ทำบุญกุศล การสง่ั สมทรัพย์สินเงนิ ทองไว้เพ่ือให้เราพึ่งตนเองได้เพยี งในโลกน้ี เพราะเมื่อสนิ้ ชีวติ ลงทรัพย์เหล่านั้นไม่สามารถนำติดตัว ไปได้ สว่ นการสัง่ สมบญุ กุศลเปน็ การทำท่ีพ่งึ ให้แกต่ นเองในโลกหน้า คนเราเม่อื มบี ุญมากเมอื่ ละจากโลกนี้ไปแล้วย่อมได้ไป เกดิ ในสคุ ตโิ ลกสวรรค์ ๒) ปญุ ญฺ ํ สขุ ํ ชีวิตสงฺขยมหฺ ิ. บุญนําสขุ มาให้ในเวลาสิ้นชีวิต. ทม่ี าใน ขุททกนกิ าย ธรรมบท อธิบายความว่า บุญ หมายถึง สิ่งเกิดขึ้นในจิตใจ แล้วทำให้จิตใจใสสะอาดบริสุทธิ์ ปราศจากความเศร้า หมองขุ่นมัว บุญเป็นช่ือของความสุขและความสำเร็จ เป็นผลจากการประกอบกรรมดี เกิดขึ้นได้ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑) ทานมยั บญุ สำเรจ็ ด้วยการให้ทาน ๒) ศลี มัย บญุ สำเร็จดว้ ยการรักษาศีล ๓) ภาวนามัย บญุ สำเร็จดว้ ยการเจริญสมาธิ คนทั่วไปแม้จะมองไม่เห็นบุญ แตส่ ามารถรูอ้ าการของบุญหรือผลของบุญไดว้ ่าเกิดขึน้ แล้วทำให้จิตใจชุ่มชื่นเป็นสุข บุคคล ใดเม่อื สง่ั สมบญุ อยู่เสมอ ย่อมมีชวี ติ ท่สี ูงกว่าคนธรรมดา เม่ือมีชีวติ อยยู่ ่อมดำรงชวี ิตอยู่ดว้ ยความสุขกายสบายใจ และเมื่อ สน้ิ ชีวิตไปแล้วบุญยอ่ มนำความสุขมาให้ คือ มสี คุ ติเป็นทไี่ ป ๓) ธมมฺ จารี สขุ ํ เสติ. ผ้ปู ระพฤติธรรมยอ่ มอย่เู ป็นสขุ . ที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท อธบิ ายความว่า ผปู้ ระพฤตธิ รรม หมายถงึ ผทู้ ีเ่ รยี นรูธ้ รรมแล้วปฏิบัตติ ามธรรมสมควรแกธ่ รรม เพราะธรรม คือสภาพท่ที รงไว้ ซงึ่ รกั ษาผปู้ ฏิบัติตามไม่ให้ตกไปในทช่ี ั่ว ผู้ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิธรรม จะทำความดีงาม ไมท่ ำบาป คือความช่ัว ทั้งปวง จึงอยู่เป็นสุข เพราะเป็นผู้อยู่ด้วยการสำรวมระวังกายวาจาใจ อยู่ด้วยความไม่ประมาท มีสติระลึกรู้ว่า กำลังทำ
๑๓ พูด คิดอะไรก็รเู้ ท่าทนั มีปกตทิ ำดี พูดดี คิดดี ผู้ประพฤติธรรมยอ่ มได้รบั อานสิ งส์ คอื ความสุขกาย สุขใจ เพราะธรรม คือ สภาพท่ที รงไว้ซึ่งบุคคลมใิ หต้ กไปในท่ีช่ัวท่ีเรยี กว่า ทคุ ติ ไดแ้ ก่ อบายภมู ิ ๔ คอื นรก เปรต อสุรกาย และสตั ว์เดรัจฉาน ๔) ปาปานํ อกรณํ สขุ .ํ การไมท่ าํ บาปนําความสขุ มาให้. ที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท อธิบายความว่า บาป คือ ความชั่ว ความทุจริต หมายถึง ความประพฤติชั่ว ๓ อย่าง ได้แก่ ความประพฤติ ช่วั ทางกาย วาจาและใจ เช่น การฆา่ สัตว์ตดั ชีวิต เปน็ ตน้ คนท่ไี ม่ทำบาป ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผู้มีปัญญา ละเวน้ บาปทงั้ ปวง เป็นผู้ มีโอกาสได้บำเพ็ญคุณความดีให้เกิดขึ้น เช่น การให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ให้เกิดปัญญาพิจารณาสังขารให้เห็นเป็น ไตรลักษณ์ที่ว่าสิ่งทั้งปวงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่มีตัวตน สิ่งเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นในจิตใจได้ ย่อมเป็นทางให้พบความสุข เป็นต้นทางไปสู่สวรรค์ตลอดจนถึงนพิ พานได้ ๕) ททมาโน ปิ โย โหติ. ผ้ใู ห้ย่อมเป็นที่รกั . ทีม่ าใน องั คุตตรนกิ าย ปัญจกนบิ าต อธิบายความว่า ผู้ให้ หมายถึง ผู้บริจาคสิ่งของของตนให้แก่ผู้อื่นด้วยความบริสุทธิ์ใจ โดยไม่หวังสิ่งตอบ แทน การให้มี ๒ ประเภท คือ ให้สิ่งของอย่างหนึ่ง และให้ธรรมะ ให้ความรู้ คำแนะนำ หรือการให้อภัยอย่างหน่ึง การให้ นำความสุขและประโยชนม์ าใหท้ ั้งแก่ผู้ให้และผู้รับ เพราะผู้ให้ได้สละความตระหนี่ออกจากจิตใจ แบ่งปันช่วยเหลือสงั คม ผรู้ ับไดส้ ิง่ ของไปใช้เตมิ เต็มส่ิงท่ีขาด ชว่ ยบรรเทาความหิวกระหาย ชว่ ยให้ชวี ิตมคี วามสุขได้ และจะมีความรักเคารพนับถือ และร้สู ึกซาบซึ้งในน้ำใจของผใู้ ห้ ผทู้ ร่ี ู้จักให้ทานยอ่ มเป็นผู้มีน้ำใจ สามารถยดึ เหน่ยี วน้ำใจของผ้อู น่ื ไวไ้ ด้ ทำให้เกดิ มิตรภาพ ทีด่ ตี อ่ กนั ก่อใหเ้ กดิ ความรรู้ กั สามัคคใี นหมคู่ ณะ
๑๔ บทที่ ๒ สรุปย่อเนอื้ หา-แนวขอ้ สอบ ธรรมศกึ ษาชนั้ ตรี ระดบั มธั ยมศึกษา
๑๕ ๒.๑ แนวขอ้ สอบธรรมศกึ ษาช้ันตรี วชิ าธรรมวิภาค ๘. ความหมายของคำว่า สัมปชัญญะ คือขอ้ ใด ? หมวด ๒ ก. ความระลึกได้ ข. ความรูต้ ัว ธรรมมอี ปุ การะมาก ๒ ค. ความรอบรู้ ง. ความรู้จริง ๑) สติ ความระลกึ ได้ หมายถึง ความระลึกถงึ ส่งิ ทล่ี ่วง ธรรมเป็นโลกบาล ๒ (ธรรมคมุ้ ครองโลก) มาแลว้ ๑) หิริ ความละอายแก่ใจ หมายถึง ความละอายแก่ใจ ๒) สัมปชัญญะ ความรู้ตัว หมายถึง เมื่อกำลังทำ กำลัง ตนเองในการกระทำทุจริตต่างๆ ทั้งมีอาการรังเกียจต่อบาป พูด กำลงั คิด กร็ ้ตู ัววา่ เรากำลงั ทำ กำลังพดู กำลังคดิ ทุจริต เสมือนบุคคลเห็นสิ่งปฏิกูลต่าง ๆ แล้วไม่อยากเข้าไป ใกล้ ไม่อยากจับตอ้ ง ธรรม ๒ อย่างนี้ ชื่อว่าเป็น พหุปการธรรม คือ ธรรมมี อุปการะมาก ควบคุมการทำ พูด คิด ไม่ให้พลั้งเผลอหรือ ๒) โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อบาป หมายถึง ความ ผดิ พลาด อนั จะนำมาซ่ึงความเก้อื กลู ในการงานทงั้ ปวง เกรงกลัวตอ่ ผลของการกระทำช่วั ทจุ ริต เสมือนคนเห็นงูกลัว ต่อพษิ ของมันแลว้ หลกี เลย่ี งเสียใหห้ า่ งไกล _____________ ๑. ข้อใดเป็นธรรมมีอปุ การะมาก ? ธรรม ๒ อย่างนี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นโลกบาล คือ ธรรม คุ้มครองโลก เรียกอีกชื่อว่า กุศลธรรมหรือเทวธรรมก็ได้ ก. สติ สัมปชญั ญะ ข. หริ ิ โอตตัปปะ เพราะถ้าโลกขาดธรรมสองอย่างนี้ โลกย่อมถึงความสับสน วุ่นวาย แตถ่ ้ามนษุ ย์มีหิริและโอตตัปปะ ไมท่ ำบาปท้ังในท่ีลับ ค. ขันติ โสรัจจะ ง. กตัญญู กตเวที และทีแ่ จง้ โลกก็จะสงบรม่ เย็นอยู่ด้วยกนั อย่างมคี วามสุข ๒. ธรรมใดมอี ปุ มาดุจหางเสือเรอื ? ก. หิริ ข. โอตตัปปะ ค. สติ ง. ขนั ติ _____________ ๑. ธรรมใดเปน็ พน้ื ฐานใหค้ นมศี ลี ธรรม ? ๓. ขอ้ ใดเปน็ ความหมายของสติ ? ก. ความระลึกได้ ข. ความรู้ตัว ก. สติ สัมปชัญญะ ข. ขนั ติ โสรจั จะ ค. ความรอบรู้ ง. ความจำได้ ค. หริ ิ โอตตัปปะ ง. กตัญญูกตเวที ๔. สติควรใชเ้ วลาไหน ? ๒. หิริโอตตัปปะ จดั เป็นธรรมอะไร ? ก. ก่อนทำพดู คดิ ข. ขณะทำพดู คิด ก. มีอปุ การะมาก ข. คมุ้ ครองโลก ค. หลงั ทำพดู คิด ง. ทำพดู คดิ แล้ว ค. ธรรมอนั ทำใหง้ าม ง. ธรรมของโลก ๕. ข้อใดเป็นลกั ษณะของคนมีสัมปชญั ญะ ? ๓. คนมหี ริ มิ ีลกั ษณะเชน่ ใด ? ก. กลา้ หาญอดทน ข. ซอื่ สัตยส์ ุจริต ก. รงั เกียจคนชวั่ ข. ละอายบาป ค. ไมป่ ระมาท ง. อายชว่ั กลัวบาป ค. เกรงกลัวบาป ง. เกรงกลวั คนช่ัว ๖. คนขาดสติสมั ปชญั ญะมีลักษณะเชน่ ไร ? ๔. คนมโี อตตัปปะ มลี ักษณะเชน่ ใด ? ก. โง่เขลา ข. ประมาท ก. รงั เกียจคนชัว่ ข. ละอายบาป ค. ขาดความละอาย ง. ไรค้ วามรบั ผิดชอบ ค. เกรงกลวั บาป ง. เกรงกลัวคนชว่ั ๗. เราควรใชส้ ัมปชญั ญะเมือ่ ใด ? ๕. ความหมายของธรรมเปน็ โลกบาล คือข้อใด ? ก. ขณะทำ พูด คิด ข. กอ่ นทำ พดู คดิ ก. ธรรมคมุ้ ครองโลก ข. ธรรมเหนือโลก ค. หลังทำ พดู คดิ ง. กอ่ นทำ ขณะพูด คดิ ค. ธรรมประจำโลก ง. ธรรมหมนุ ไปตามโลก
๑๖ ๖. ลกั ษณะของคนมีหริ ิ หมายถงึ ข้อใด ? ๕. ข้อใดเป็นลักษณะของผูม้ ีความงามตามหลักธรรม ? ก. กลวั บาป ข. กลัวตกนรก ก. ไม่ยนิ ดียนิ รา้ ย ข. อดกลนั้ ไมห่ วน่ั ไหว ค. รังเกยี จความทุกข์ ง. รงั เกยี จบาป ค. ไม่กระวนกระวาย ง. ไม่ตืน่ ตระหนก ๗. ลักษณะของผมู้ ีธรรมเปน็ โลกบาล คือข้อใด ? ๖. ธรรมอันทำใหง้ าม ไดแ้ ก่ข้อใด ? ก. กล้าหาญอดทน ข. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต ก. หริ ิ โอตตปั ปะ ข. ขนั ติ โสรัจจะ ค. ไมป่ ระมาท ง. ละอายชว่ั กลัวบาป ค. สติ สัมปชัญญะ ง. เมตตา กรณุ า ธรรมอนั ทำให้งาม ๒ อย่าง ๗. ลักษณะของผูม้ ีความงามตามหลักธรรม คอื ขอ้ ใด ? ๑) ขันติ ความอดทน หมายถึง ความอดกลั้น ความมีใจ ก. สงบเสงยี่ ม ข. สภุ าพเรียบรอ้ ย หนักแน่น ได้แก่ อดทนต่อความลำบากตรากตรำ อดทนต่อ ทุกขเวทนา อดทนต่อคำล่วงเกินด่าว่าของผู้อื่น อดทนต่อ ค. จติ ใจเขม้ แข็งอดทน ง. ถกู ทกุ ขอ้ อำนาจกเิ ลส บคุ คลหาได้ยาก ๒ อยา่ ง ๒) โสรัจจะ ความเสงี่ยม หมายถึง ความข่มใจให้สงบ เย็น ไม่แสดงอาการไม่พอใจออกมาภายนอก ในบางแห่งใช้ ๑) บุพการี บุคคลผู้ทำอุปการะแก่ผู้อื่นก่อน ได้แก่ คำว่า อวิโรธนะ ไม่โกรธ ในภาษาไทยว่า ใจเย็น ก็ทำให้ พระพทุ ธเจ้า มารดาบิดา อาจารย์ พระมหากษัตริย์ งดงามเหมือนกนั ๒) กตัญญู ผู้รู้อุปการคุณ ได้แก่ พุทธบริษัท บุตร ศิษย์ ธรรม ๒ ประการนี้ หากผู้ใดปฏิบัติให้เกิดมีในตนแล้ว พสกนิกร, กตเวที ตอบแทนคณุ ย่อมมคี นรักใครแ่ ละนิยมชมชอบ ทำใหเ้ ป็นคนท่มี เี สน่ห์ สรุป กตัญญูกตเวที คือ ผู้รู้อุปการคุณของผู้อื่นแล้ว กระทำการตอบแทนคุณของท่าน ยังคุณของท่านให้ปรากฏ บคุ คลท้งั ๒ เรียกว่า ทุลลภบุคคล (บคุ คลหาได้ยาก) _____________ _____________ ๑. ธรรมขอ้ ใดทำให้งดงามทงั้ ภายในภายนอก ? ๑. ข้อใดเปน็ ความหมายของบุพพการี ? ก. หริ ิ โอตตัปปะ ข. สติ สัมปชญั ญะ ก. ผู้ทำอปุ การะก่อน ข. ผู้ตอบแทนคุณ ค. ขนั ติ โสรจั จะ ง. กตัญญู กตเวที ค. ผรู้ ้บู ุญคุณ ง. ผู้เกดิ กอ่ น ๒. ข้อใดไมใ่ ช่ลกั ษณะของขันติ ? ๒. บุพพการีชน หมายถึงใคร ? ก. ทนทำงาน ข. ทนลำบาก ก. พระพทุ ธเจา้ ข. พระมหากษตั รยิ ์ ค. ทนหิว ง. ทนเลน่ เกมส์ ค. บดิ ามารดา ง. ถูกทกุ ข้อ ๓. ผถู้ กู ดูหมน่ิ ให้เจบ็ ใจแต่ยิ้มแยม้ ได้ เพราะมธี รรมข้อใด ? ๓. ธรรมขอ้ ใดจัดเปน็ เคร่ืองหมายของคนดี ? ก. หิริ ข. สติ ก. กตัญญูกตเวที ข. เมตตากรณุ า ค. โสรัจจะ ง. ขันติ ค. ประหยดั อดออม ง. ขยนั อดทน ๔. เมอ่ื ถกู เหยยี ดหยามแต่สามารถข่มใจใหเ้ ป็นปกติได้ ๔. ขอ้ ใดเป็นความหมายของกตเวที ? เพราะมธี รรมใด ? ก. ทดแทนบุญคณุ ข. เกอ้ื กูลผู้อ่ืน ก. ขันติ ข. โสรจั จะ ค. รู้จกั บุญคณุ ง. ทำคุณไว้ก่อน ค. หิริ ง. โอตตัปปะ
๑๗ ๕. ไมเ้ ทา้ ผเู้ ฒา่ ดีกวา่ ลกู เต้าอกตัญญู จัดเป็นลกู ประเภทใด ? ๔. ขอ้ ใดเป็นโทษของการพดู สอ่ เสียด ? ก. เนรคณุ ข. ตอบแทนคุณ ก. ให้เจบ็ ใจ ข. ให้แตกสามัคคี ค. ร้บู ญุ คุณ ง. ทำบุญคณุ ค. ขาดคนเชอ่ื ถอื ง. ขาดคนรกั ใคร่ ๖. คนเรามักลมื บญุ คุณผู้อนื่ พระพุทธศาสนาจึงสอนเร่อื งใด ๕. ข้อใดเปน็ โทษของการพดู คำหยาบ ? ไว้ ? ก. ใหเ้ จ็บใจ ข. ใหแ้ ตกสามัคคี ก. ความกตญั ญู ข. ความมเี มตตา ค. ขาดคนเช่ือถือ ง. ขาดคนรักใคร่ ค. ความซือ่ สัตย์ ง. ความเสียสละ ๖. คำพดู ใดทำลายความสามัคคี ? ๗. บุพพการี มีความหมายตรงกับข้อใด ? ก. คำปด ข. คำหยาบ ก. ผ้ทู ำคุณก่อน ข. ผู้เกิดก่อน ค. คำสอ่ เสยี ด ง. คำเพ้อเจ้อ ค. ผรู้ ้บู ุญคณุ ง. ผตู้ อบแทนคุณ ๗. เหน็ คลาดเคลอ่ื นจากความเป็นจริงตรงกับข้อใด ? ๘. กตญั ญกู ตเวที หมายถึงใคร ? ก. กายทุจริต ข. วจที ุจรติ ก. ผู้ทำคณุ ก่อน ข. ผู้รจู้ ักตอบแทนคณุ ค. มโนทุจรติ ง. ถกู ทกุ ข้อ ค. ผ้เู กิดก่อน ง. ผมู้ อี ุปการคุณ ๘. ขอ้ ใดจัดเป็นมโนทจุ ริต ? หมวด ๓ ก. โหดร้าย ข. พยาบาท ทุจริต คือ ความประพฤตชิ ว่ั มี ๓ อยา่ ง ค. ใส่รา้ ย ง. ปากร้าย ๑) กายทุจริต คือ ความประพฤติชั่วด้วยกาย ๓ อย่าง มี ๙. การกระทำในข้อใด เป็นกายทุจรติ ? ฆา่ สัตว์ ลักทรพั ย์ ประพฤตผิ ดิ ในกาม ก. นอกใจค่คู รอง ข. พยาบาท ๒) วจีทุจริต คือ ความประพฤติชั่วด้วยวาจา ๔ อย่าง มี ค. ปองรา้ ย ง. หลอกลวง พูดเท็จ พดู สอ่ เสยี ด พดู คำหยาบ พูดเพอ้ เจ้อ ๑๐. ปิสณุ วาจา หมายถึงการพดู ลกั ษณะใด ? ๓) มโนทุจริต คือ ความประพฤติชั่วด้วยใจ ๓ อย่าง มี ก. พูดปด ข. พดู คำหยาบ โลภอยากได้ของเขา พยาบาทปองร้ายเขา เห็นผิดจากคลอง ค. พูดส่อเสียด ง. พดู เพ้อเจอ้ ธรรม ทจุ รติ ๓ อยา่ งนี้ เปน็ กจิ ไม่ควรทำ ไมค่ วรประพฤติ ๑๑. มโนทุจรติ หมายถึงขอ้ ใด ? _____________ ก. โหดรา้ ย ข. พยาบาท ๑. ทจุ ริต ๓ หมายถงึ การประพฤตเิ ช่นไร ? ค. ใสร่ า้ ย ง. ปากร้าย ก. ทำชัว่ ข. พดู ชวั่ สุจริต ๓ คอื ความประพฤตชิ อบ มี ๓ อยา่ ง ค. คดิ ชวั่ ง. ถกู ทกุ ข้อ ๑) กายสุจริต ประพฤติชอบด้วยกาย ๒) วจสี ุจริต ประพฤตชิ อบด้วยวาจา ๒. การประพฤติชวั่ ทางกาย วาจา ใจ เรียกวา่ อะไร ? ๓) มโนสจุ รติ ประพฤติชอบด้วยใจ สุจริต ๓ อย่างนี้ เป็นกิจควรทำ ควรประพฤติ ก. ทุจริต ข. บาป _____________ ค. กรรม ง. มลทิน ๓. ข้อใดจัดเป็นกายทุจริต ? ก. พยาบาทปองร้าย ข. ลกั ทรพั ย์ ค. ยุยงใหแ้ ตกกนั ง. ใหร้ ้ายผอู้ ่นื
๑๘ ๑. การประพฤติดที างกาย วาจา ใจ เรยี กวา่ อะไร ? ๑๑. เห็นไม่ผดิ จากคลองธรรม คอื เห็นเชน่ ไร ? ก. บญุ ข. ทาน ก. ทำดีไดด้ ี ข. ทำดไี ด้ชวั่ ค. กศุ ล ง. สจุ ริต ค. ดีช่วั อยทู่ ่ีผ้อู ่ืน ง. ทำชั่วไดด้ ี ๒. คนจะดีหรือชั่วเพราะอะไร ? บุญกริ ยิ าวัตถุ (วธิ ีทำบุญ) ๓ อย่าง ก. การศกึ ษา ข. การกระทำ ๑) ทานมยั การทำบุญดว้ ยการบริจาคทาน ๒) สีลมัย การทำบุญด้วยการรักษาศลี ค. เชอ้ื ชาติ ง. วงศ์ตระกลู ๓) ภาวนามยั การทำบญุ ด้วยการเจรญิ ภาวนา ๓. การประพฤติสจุ รติ ตรงกบั ข้อใด ? ก. ทำดี ข. พดู ดี _____________ ค. คดิ ดี ง. ถูกทุกข้อ ๑. สิ่งเปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ การบำเพ็ญบญุ เรียกวา่ อะไร ? ๔. กายสจุ รติ หมายถึงข้อใด ? ก. บุญกิรยิ า ข. ไทยทาน ก. ไมค่ อรัปช่นั ข. ไม่พยาบาท ค. สังคหวัตถุ ง. บุญกิริยาวัตถุ ค. ไม่คดิ ปองรา้ ย ง. ไมห่ ลอกลวง ๒. ข้อใดจดั เป็นบุญ ตามความหมายของบญุ กริ ิยาวัตถุ ? ๕. วจสี จุ รติ ในขอ้ ใด สง่ เสรมิ ให้เกดิ ความสามัคคี ? ก. ความสุข ข. ความยินดี ก. ไมพ่ ูดเท็จ ข. ไมพ่ ูดคำหยาบ ค. ความสงบ ง. ความปตี ิ ค. ไม่พูดส่อเสียด ง. ไมพ่ ูดเพ้อเจ้อ ๓. ผลบญุ ย่อมติดตามผกู้ ระทำ เปรยี บเหมือนอะไร ? ๖. การกระทำในข้อใด จดั เป็นมโนสจุ ริต ? ก. มติ รสหาย ข. เจ้าหนี้ ก. ทำดี ข. พดู ดี ค. เงา ง. ลูกหน้ี ค. คิดดี ง. ปฏบิ ตั ดิ ี ๔. การบรจิ าคสิง่ ของชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย จัดเข้าในขอ้ ใด ? ๗. ข้อใดจัดเป็นวจสี จุ ริต ? ก. ทานมัย ข. สีลมยั ก. ไมค่ อร์รัปชัน ข. ไมห่ ลอกลวง ค. ภาวนามัย ง. อปจายนมยั ค. ไม่พยาบาท ง. ไมโ่ ลภ ๕. ผู้ถกู ความตระหน่ีครอบงำควรประพฤติธรรมใด ? ๘. วจีสจุ รติ ขอ้ ใดสง่ เสริมความปรองดอง ? ก. บริจาคทาน ข. รกั ษาศลี ก. ไมพ่ ูดส่อเสยี ด ข. ไม่พูดเท็จ ค. เจรญิ ภาวนา ง. สำรวมอินทรีย์ ค. ไมพ่ ดู คำหยาบ ง. ไม่พดู เพ้อเจอ้ ๖. ทำบุญแบบประหยัดฝึกหดั กาย ตรงกับขอ้ ใด ? ๙. ข้อใดจัดเป็นผลของวจสี จุ ริต ? ก. ทานมัย ข. สีลมยั ก. มคี นเชอื่ ถือ ข. มคี นเห็นใจ ค. ภาวนามัย ง. ปตั ตทิ านมัย ค. มที รัพยม์ าก ง. มบี รวิ ารมาก ๗. อยากสวยงามตอ้ งบำเพ็ญบุญกิริยาวัตถขุ ้อใด ? ๑๐. ข้อใดจัดเปน็ มโนสุจริต ? ก. ให้ทาน ข. รักษาศลี ก. ไมน่ นิ ทาว่ารา้ ยคนอื่น ข. ไม่ประทุษร้ายคนอน่ื ค. เจรญิ ภาวนา ง. ฟังธรรม ค. ไมเ่ ห็นแก่พวกพอ้ ง ง. ไม่โลภของเขา ๘. การสวดมนต์ จัดเขา้ ในการทำบญุ ประเภทใด ? ก. ทานมยั ข. สลี มัย ค. ภาวนามยั ง. อนุโมทนามัย
๑๙ ๙. บุญกิริยาวตั ถุ หมายถงึ ข้อใด ? ๔. ลำเอียงเพราะไม่ชอบกนั ช่ือว่ามีอคตใิ ด ? ก. เหตเุ กิดบุญ ข. วธิ ที ำบุญ ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ค. หลักการทำความดี ง. ถูกทกุ ข้อ ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๑๐. การใหท้ านเป็นเครื่องกำจัดกเิ ลสใด ? ๕. ความอยุติธรรมจากการไม่รขู้ ้อมลู ท่ีแท้จริงตรงกับข้อใด ? ก. ราคะ ข. โทสะ ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ค. โมหะ ง. มัจฉรยิ ะ ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๑๑. คนท่ถี กู โทสะครอบงำจิต ควรบำเพ็ญบญุ กิรยิ าวตั ถใุ ด ? ๖. ลำเอียงเพราะกลัวหรือเกรงใจ ตรงกับข้อใด ? ก. ทานมัย ข. สีลมัย ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ค. ภาวนามัย ง. ถกู ทุกขอ้ ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๑๒. การกระทำในขอ้ ใด จัดเข้าในภาวนามัย ? ๗. ขอ้ ใดทำใหเ้ กยี รติยศดับสญู ดุจจันทร์แรม ? ก. ให้ทาน ข. รกั ษาศลี ก. อคติ ๔ ข. จกั ร ๔ ค. ไหวพ้ ระสวดมนต์ ง. ใส่บาตร ค. ปธาน ๔ ง. อิทธบิ าท ๔ หมวด ๔ ๘. จะเปน็ คนเที่ยงธรรมได้ ต้องเว้นธรรมใด ? อคติ ๔ (ความลำเอียง) ก. ทุจริต ๓ ข. อกุศลมลู ๓ ๑) ฉนั ทาคติ ลำเอียงเพราะรักใคร่กนั ค. กรรมกิเลส ๔ ง. อคติ ๔ ๒) โทสาคติ ลำเอียงเพราะไม่ชอบกนั ๓) โมหาคติ ลำเอียงเพราะโง่เขลา ๙. พ่อแม่ตามใจลกู จนเสยี คน สงเคราะหเ์ ข้าในอคตใิ ด ? ๔) ภยาคติ ลำเอยี งเพราะกลัว เว้นอคติ ๔ เมื่อทำข้อหนึ่งแล้วก็เป็นเหตุให้เสียความ ก. ฉันทาคติ ข. โทสาคติ ยตุ ิธรรม ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๑๐. ความลำเอียงเพราะเหตุใด จัดเป็นฉนั ทาคติ ? ก. เพราะรัก ข. เพราะเกลยี ดชงั _____________ ค. เพราะเขลา ง. เพราะกลัว ๑. ตามหลกั โลกธรรม เม่อื ถูกนนิ ทาให้ทำอย่างไร ? ๑๑. ลักษณะเชน่ ไร เรียกวา่ อคติ ? ก. หาทางนนิ ทาตอบ ข. ถอื เปน็ เรื่องธรรมดา ก. ความลำเอียง ข. ความไม่ยุติธรรม ค. ทำเปน็ ไม่สนใจ ง. พยายามปรบั ปรุงตน ค. ความไม่เป็นกลาง ง. ถกู ทุกข้อ ๒. จะรักษาความยตุ ิธรรม ต้องเวน้ จากอะไร ? ๑๒. ลำเอียงเพราะเขลา ตรงกบั ข้อใด ? ก. อบายมุข ข. อกศุ ล ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ค. อคติ ง. ทุจริต ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๓. คำว่าคา่ ของคนอยู่ท่ีคนของใครจัดเข้าในอคติข้อใด ? จักร ๔ (วงล้อทน่ี ำไปสคู่ วามเจริญ) ก. ฉนั ทาคติ ข. โทสาคติ ๑) ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร หมายถึง การเลือกสถานท่อี ยอู่ าศยั ใหเ้ หมาะสม ค. โมหาคติ ง. ภยาคติ ๒) สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ หมายถึง การเข้าไปคบ หาสมาคมและผกู ไมตรกี ับคนดี มีความรู้
๒๐ ๓) อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ หมายถึง การตั้งตน ๘. ปุพเพกตปุญญตา มีความหมายตรงกับข้อใด ? อย่ใู นกรอบของหลกั ศลี ธรรม ก. บุญประเพณี ข. บญุ เกา่ ๔) ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทำความดีไว้ใน ปางก่อน หมายถึง ความเป็นผู้มีบุญความดที ี่ได้ทำไว้แล้วใน ค. บญุ ใหม่ ง. แสวงบญุ ชาติกอ่ นๆ ทำให้ชาติปจั จุบันไดร้ บั ความสุข ความเจริญ ๙. สัปปุรสิ ูปสั สยะ แปลว่าอะไร ? สรุป จกั ร ๔ น้ี เป็นธรรมท่ีนำผปู้ ฏิบัติไปสู่ความเจริญ สุข สมหวัง และถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างมีความสุขและ ก. อยู่ในประเทศสมควร ข. คบสตั บุรุษ ปลอดภัย ค. ตง้ั ตนไว้ชอบ ง. ทำความดีมากอ่ น ๑๐. ประพฤติเชน่ ไร ช่อื ว่าตงั้ ตนไวช้ อบ ? ก. ละชัว่ ประพฤติดี ข. อย่ใู นทเี่ หมาะสม _____________ ค. มีกัลยาณมิตร ง. ชว่ ยเหลือผู้อ่ืน ๑. ปฏริ ูปเทส มีลกั ษณะเชน่ ไร ? อริยสจั ๔ (ความจริงอนั ประเสริฐ) ก. มพี น้ื ท่ีกวา้ งขวาง ข. มปี ระชากรมาก ๑) ทุกข์ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ หมายถึง สภาวะที่ทนได้ยาก ความทุกข์มีหลายประการ มีทั้งทุกข์จร ค. มคี นดใี นสังคมมาก ง. มีความสวยงาม และทกุ ข์ประจำ นำมาซึง่ ความไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ ๒. ประเทศอนั สมควร มีลกั ษณะเช่นใด ? ๒) สมุทัย เหตุให้ทุกข์เกิด หมายถึง ตัณหา คือ ความ ทะยานยาก ซึ่งเป็นเหตุให้ทุกข์ทั้งปวงเกิด ทั้งที่เป็น ก. มีพื้นท่ีมาก ข. มีประชากรมาก กามตณั หา ภวตัณหา และวภิ วตัณหา ค. มีคนดีมาก ง. มีความสวยงาม ๓) นิโรธ ความดับทุกข์ หมายถึง ความดับตัณหาได้โดย สิ้นเชิง เพราะเป็นเหตุดับทุกข์ทั้งปวง เมื่อทุกข์ดับเพราะ ๓. การอยูใ่ นถน่ิ อันสมควรเป็นเหตใุ ห้เจริญตรงกบั ขอ้ ใด ? นิโรธ ความสุขคือนิพพานก็ปรากฏ แต่นิโรธเป็นผลของการ ก. ปฏริ ูปเทสวาสะ ข. สปั ปรุ ิสปู ัสสยะ ค. อตั ตสัมมาปณธิ ิ ง. ปพุ เพกตปุญญตา ๔. ท่านเปรียบธรรมใด ดุจลอ้ รถนำไปสู่ความเจริญ ? ก. วฑุ ฒิ ๔ ข. จักร ๔ ดบั ตณั หา ไมใ่ ช่ข้อปฏิบัตทิ ใ่ี ชใ้ นการดบั ทุกข์ ๔) มรรค ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หมายถึง ข้อ ค. อทิ ธิบาท ๔ ง. ปธาน ๔ ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ โดยปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ ๕. ธรรมทเี่ ปรียบเสมอื นวงล้อนำไปสู่จดุ หมาย หมายถึงข้อ ได้แก่ เห็นชอบ (สัมมาทิฏฐิ), ดำริชอบ (สัมมาสังกัปปะ), เจรจาชอบ (สัมมาวาจา), การงานชอบ (สัมมากัมมันตะ), ใด? เล้ยี งชพี ชอบ (สัมมาอาชวี ะ), เพียรชอบ (สมั มาวายามะ), ตั้ง สตชิ อบ (สมั มาสติ), ตง้ั ใจชอบ (สัมมาสมาธิ) ก. วุฑฒิ ๔ ข. จกั ร ๔ สรุป อริยสัจ ๔ สมุทยั กับมรรคเปน็ เหตุ ทกุ ข์กับนิโรธเป็น ค. อทิ ธิบาท ๔ ง. พรหมวหิ าร ๔ ผล ๖. ขอ้ ใดสงเคราะห์เขา้ ในปฏริ ูปเทส ? ก. พน้ื ทก่ี วา้ ง ข. ประชากรมาก ค. มีคนดมี าก ง. มโี บราณวตั ถุ ๗. อัตตสมั มาปณธิ ิ มคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด ? _____________ ๑. ไม่สบายกายไม่สบายใจชอื่ ว่าทกุ ข์ เพราะเหตุใด ? ก. มศี ลี ธรรม ข. กนิ บุญเกา่ ค. เฝา้ ขอพร ง. อ้อนวอนเทวดา ก. ทนได้ยาก ข. เห็นได้ยาก ค. รกั ษาไดย้ าก ง. ติดตามไดย้ าก
๒๑ ๒. ทกุ ขใ์ นอรยิ สจั เกิดจากอะไร ? หมวด ๕ พละ ๕ (ธรรมะชกู ำลงั ใจ) ก. กิเลส ข. กรรม ค. วิบาก ง. ตัณหา ๑) สัทธา ความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ตน ๓. ความทะยานอยากจดั เขา้ ในข้อใด ? กระทำว่ามีคุณประโยชน์ เพราะเชื่อต่อสิ่งที่ควรเชื่อ เป็น ความเชอ่ื ทปี่ ระกอบดว้ ยปญั ญาไตรต่ รองด้วยเหตแุ ละผล ก. ทกุ ข์ ข. สมุทยั ๒) วิริยะ ความเพียร หมายถึง ความเพียรเป็นแรงจูงใจ ค. นิโรธ ง. มรรค ม่งุ มั่นในการทำกจิ ทงั้ ปวงไมใ่ ห้ทอ้ ถอยเม่ือเจออปุ สรรค ๔. ความจริงอนั ประเสริฐ หมายถงึ ธรรมใด ? ๓) สติ ความระลึกได้ หมายถึง ความระลึกได้ เป็นเหตุ ควบคุมใจให้ตั้งมั่นกับกิจการที่กำลังทำอยู่ให้มีความ ก. ปธาน ๔ ข. อทิ ธบิ าท ๔ รอบคอบ เพ่ือไม่ให้เกดิ ความผดิ พลาด ค. อริยสจั ๔ ง. พรหมวหิ าร ๔ ๔) สมาธิ ความตั้งใจมั่น หมายถึง ความตั้งใจมั่นสืบ เนื่องมาจากสติ เป็นจิตที่มีความตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว มี ๕. ความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ เรียกวา่ อะไร ? สมาธติ ลอดในการทำกิจทกุ อย่างจนกว่าจะสำเร็จ ก. ทกุ ข์ ข. สมุทยั ๕) ปัญญา ความรอบรู้ หมายถึง ความรอบรู้ เป็นกำลัง อุดหนุนใจให้รู้เท่าทันตอ่ เหตุการณ์ท่ีจะเกดิ ขึ้น และสามารถ ค. นโิ รธ ง. มรรค แก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นได้ ๖. ในอรยิ สจั ๔ ข้อใดควรละ ? สรปุ พละ ๕ เรียกอีกอย่างว่า อินทรีย์ ๕ ก็ได้ เพราะเป็น ใหญใ่ นกจิ ของตน ก. ทุกข์ ข. สมุทยั ค. นิโรธ ง. มรรค ๗. ขอ้ ปฏบิ ตั ิให้ถงึ ความดบั ทุกข์ หมายถึงข้อใด ? ก. ทกุ ข์ ข. สมุทยั ค. นิโรธ ง. มรรค ๘. ทกุ ข์ในอรยิ สัจ เกิดจากอะไร ? _____________ ๑. ข้อใดจัดเปน็ สทั ธาในพละ ๕ ? ก. กิเลส ข. กรรม ค. วิบาก ง. ตัณหา ก. เช่ือว่าโลกกลม ข. เช่อื ว่าบาปไมม่ จี ริง ๙. อรยิ สจั แปลวา่ อะไร ? ค. เชอื่ ว่าโลกหน้าไมม่ ี ง. เชื่อการตรสั รู้ ก. ความจริงอนั ประเสรฐิ ข. ความซ่อื ตรง ๒. เมอื่ จิตฟงุ้ ซา่ น ควรเจรญิ พลธรรมขอ้ ใด ? ค. ความแท้จรงิ ง. ความไมผ่ ดิ ก. วริ ยิ ะ ข. สติ ๑๐. ในอริยสัจ ๔ ขอ้ ใดควรกำหนดรู้ ? ค. สมาธิ ง. ปัญญา ก. ทุกข์ ข. สมทุ ยั ๓. ธรรมข้อใดเป็นคปู่ รับกับความเกยี จคร้าน ? ค. นิโรธ ง. มรรค ก. สัทธา ข. วิริยะ ๑๑. สาเหตุที่ทำให้เกิดความทกุ ข์ คือข้อใด ? ค. ขันติ ง. สมาธิ ก. ทกุ ข์ ข. สมทุ ัย ๔. อยากมกี ำลังใจ ควรเจรญิ ธรรมใด ? ค. นิโรธ ง. มรรค ก. อทิ ธบิ าท ข. วุฑฒิ ค. พละ ง. อริยสจั
๒๒ ๕. ความบากบั่นแกล้วกลา้ ตรงกบั พละข้อใด ? ๔) สาธารณโภคี แบ่งปันลาภที่ตนได้มาแล้วโดยชอบ ธรรมให้แก่เพือ่ น ไม่หวงไว้บรโิ ภคผเู้ ดยี ว ก. สทั ธา ข. วริ ิยะ ๕) สีลสามัญญตา รักษาศีลบริสุทธ์ิเสมอกัน ไม่ทำตนให้ ค. สติ ง. สมาธิ เปน็ ท่ีรังเกียจของผู้อืน่ ๖. ความรแู้ จ้งเห็นจริงในสง่ิ ทั้งปวง ตรงกับพละใด ? ๖) ทิฏฐิสามัญญตา การปรับความเห็นให้เป็นอัน เดียวกนั ก. สทั ธา ข. วริ ิยะ สรุป ธรรม ๖ อย่างนี้ ย่อมทำให้ผู้ประพฤติตามเป็นที่รัก ค. สติ ง. ปญั ญา ที่เคารพของผู้อื่น เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์อนุเคราะห์กัน และกัน เป็นไปเพื่อความไม่วิวาทกันและกัน เป็นไปเพื่อ ๗. จิตใจสงบไม่ฟุ้งซา่ น ตรงกับพละใด ? ความพรอ้ มเพรียงเปน็ อันหนงึ่ อันเดียวกัน ก. สทั ธา ข. วิริยะ ค. สติ ง. สมาธิ ๘. คำตอบในข้อใด ไมใ่ ช่พละ ๕ ? ก. ศลี ข. สทั ธา _____________ ๑. คนที่อยรู่ ว่ มกันเป็นหมู่คณะควรประพฤติธรรมใด ? ค. วิริยะ ง. สมาธิ ๙. วริ ยิ ะ แปลว่าอะไร ? ก. โพธปิ ักขิยธรรม ข. คารวธรรม ก. ความเชื่อ ข. ความเพียร ค. สาราณียธรรม ง. สปั ปุรสิ ธรรม ค. ความระลึก ง. ความอดทน ๒. ข้อใดมคี วามหมายตรงกบั คำว่า สาราณยี ธรรม ? ๑๐. ความตงั้ ใจม่ัน จัดเปน็ พลธรรมใด ? ก. อยู่บา้ นท่าน อย่าน่งิ ดูดาย ก. สัทธา ข. วริ ิยะ ข. อย่ใู หเ้ ขารัก จากให้เขาคิดถึง ค. สติ ง. สมาธิ ค. คนเดยี วหวั หาย สองคนเพื่อนตาย ๑๑. ปญั ญาทำหนา้ ทีอ่ ย่างไร ? ง. น้ำข้นึ ให้รีบตกั ก. เช่อื ข. ระลกึ ได้ ๓. สาราณยี ธรรม สอนให้คนเปน็ เช่นไร ? ค. ต้งั ใจมัน่ ง. รอบรู้ ก. มีความพอเพยี ง ข. เลย้ี งตนโดยชอบ หมวด ๖ ค. ไม่ประกอบอกุศล ง. ร้รู กั สามัคคี สาราณียธรรม ๖ ๔. ขอ้ ใดชอื่ วา่ รักษาศีลบรสิ ทุ ธเ์ิ สมอกัน ? (ธรรมเป็นที่ต้ังแหง่ ความระลกึ ถึงกัน) ก. มอี ะไรก็แบ่งปนั ข. มีอะไรก็ชว่ ยกนั ๑) เมตตากายกรรม ช่วยขวนขวายในกิจธุระของเพื่อน ค. วา่ อะไรก็วา่ ตามกัน ง. รักษาระเบียบร่วมกนั กนั ดว้ ยกาย ๕. สาราณยี ธรรม คอื ธรรมเชน่ ไร ? ๒) เมตตาวจีกรรม ชว่ ยขวนขวายในกจิ ธรุ ะของเพ่ือนกัน ดว้ ยวาจา มกี ารกล่าวส่งั สอน เป็นตน้ ก. ธรรมทเ่ี ปน็ แก่นสาร ข. ธรรมของผู้ทรงศีล ๓) เมตตามโนกรรม ช่วยขวนขวายในกิจธุระที่จะคิดแต่ ค. ธรรมเป็นเหตุบริจาค ง. ธรรมเปน็ เหตุใหร้ ะลึกถงึ กนั สง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ กเ่ พอ่ื นกัน ๖. อยู่ใหเ้ ขาสบายใจจากไปให้เขาคดิ ถงึ หมายถึงมีธรรมใด ? ก. พรหมวหิ าร ข. สาราณียธรรม ค. คารวธรรม ง. สปั ปุริสธรรม
๒๓ ๗. สาธารณโภคี มีความหมายตรงกบั ข้อใด ? ๒. คนทใ่ี ช้ชวี ติ แบบพอเพียง ตรงกับหลกั ธรรมข้อใด ? ก. มเี มตตา ข. มีศลี เสมอกนั ก. ธมั มัญญตุ า ข. อัตถัญญุตา ค. เห็นตรงกนั ง. รู้จักแบ่งปัน ค. มัตตัญญุตา ง. อตั ตัญญุตา ๘. คำตอบในข้อใด เปน็ ความหมายของคำวา่ สีลสามญั ญตา? ๓. คบคนพาลพาลพาไปหาผดิ ขาดสัปปุรสิ ธรรมข้อใด ? ก. มเี มตตา ข. มศี ีลเสมอกัน ก. มตั ตญั ญุตา ข. กาลัญญุตา ค. เหน็ ตรงกัน ง. รู้จักแบง่ ปัน ค. ปริสัญญตุ า ง. ปคุ คลปโรปรญั ญตุ า ๙. ธรรมเปน็ ทต่ี ัง้ ใหร้ ะลกึ ถึงกันและกนั หมายถึงข้อใด ? ๔. เขา้ เมืองตาหล่ิว ตอ้ งหล่ิวตาตาม ตรงกับข้อใด ? ก. สาราณิยธรรม ข. อปริหานิยธรรม ก. อตั ตัญญุตา ข. กาลัญญตุ า ค. สปั ปุริสธรรม ง. โลกธรรม ค. ปรสิ ัญญตุ า ง. มตั ตญั ญตุ า หมวด ๗ ๕. รวู้ า่ อะไรเปน็ เหตุแหง่ ความสุขและทกุ ข์ตรงกับสัปปุริส สัปปุรสิ ธรรม ๗ (ธรรมของสัตบุรษุ ) ธรรมข้อใด ? ๑) ธัมมัญญุตา รู้จักเหตุ เช่น รู้ว่าสิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุข ก. ธัมมญั ญุตา ข. อัตถญั ญุตา สิง่ นเี้ ปน็ เหตุแห่งทุกข์ เป็นต้น ค. อตั ตัญญุตา ง. มตั ตัญญตุ า ๒) อัตถัญญุตา รู้จักผล เช่น รู้ว่าทำเหตุอย่างนี้ ย่อม ได้ผลอยา่ งน้ี เป็นต้น ๖. รวู้ ่าสขุ และทุกข์เป็นผลมาจากอะไร ตรงกบั สัปปรุ สิ ธรรม ๓) อัตตัญญุตา รู้จักตน วางตัวให้เหมาะสมกับวุฒิภาวะ ข้อใด ? ของตน ไม่อวดด้ือถือดี ให้สงบเสงี่ยมเจยี มตน ก. ธัมมัญญตุ า ข. อตั ถญั ญุตา ๔) มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ ในการรับ ในการจ่าย ไมใ่ หฟ้ มุ่ เฟอื ย ใหร้ ู้จกั ความพอดี ค. กาลญั ญุตา ง. ปริสญั ญตุ า ๕) กาลัญญุตา รู้จักกาลเวลา รู้ถึงคุณค่าของเวลาที่ผา่ น ๗. ช้าๆ ได้พรา้ เล่มงาม ใช้ได้กับสปั ปุรสิ ธรรมข้อใด ? ไป รู้วา่ เวลานีค้ วรพดู อยา่ งนี้ ทำและพดู อยา่ งไมป่ ระมาท ก. รู้จักเหตุ ข. รจู้ กั ผล ๖) ปริสัญญุตา รู้จักประชุมชน สังคมที่ตนอยู่อาศัยท่ี ทำงาน รูจ้ ักปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับสังคมชุมชนนน้ั ๆ ค. รู้จกั ตน ง. ร้จู ักกาล ๗) ปุคคลปโรปรัญญุตา รู้จักเลือกคบบุคคล ด้วย ๘. สปั ปรุ สิ ธรรมข้อใด มีความหมายตรงกบั เศรษฐกจิ การศึกษาอปุ นิสัยใจคอ เปน็ ต้น พอเพียง ? สรปุ ผ้ใู ดปฏิบตั ิตามได้ ยอ่ มเป็นผู้ทน่ี า่ คบหาสมาคมดว้ ย ก. รู้จักประมาณ ข. รจู้ กั กาล ค. รูจ้ กั ตน ง. รจู้ กั ชุมชน ๙. การรู้จกั ปรับตวั ให้เขา้ กับสังคม จัดเข้าในสปั ปุรสิ ธรรม ขอ้ ใด ? _____________ ก. รจู้ กั เหตุ ข. รจู้ กั ผล ๑. ผวู้ างตนสมตามฐานะ จัดเขา้ ในสปั ปุริสธรรมข้อใด ? ค. รูจ้ กั ตน ง. รู้จกั ชมุ ชน ก. ธัมมัญญุตา ข. อตั ถัญญุตา ๑๐. คบคนให้ดหู น้า ซือ้ ผ้าให้ดเู น้อื จัดเข้าในสัปปรุ ิสธรรม ค. อัตตญั ญุตา ง. มตั ตญั ญุตา ขอ้ ใด ? ก. รจู้ กั เหตุ ข. รจู้ ักผล ค. รูจ้ กั บุคคล ง. รจู้ กั ประมาณ
๒๔ ๑๑. คำตอบในข้อใด เป็นความหมายของคำวา่ ธมั มัญญุตา? ๒. โลกธรรมอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเกิดขน้ึ ควรทำอยา่ งไร ? ก. รจู้ กั เหตุ ข. รู้จักผล ก. ไม่ยนิ ดียนิ ร้าย ข. ไมห่ ลงระเริง ค. รู้จกั ตน ง. รู้จักประมาณ ค. ไม่มัวเมา ง. ไมเ่ พลิดเพลนิ ๑๒. ความเปน็ ผู้รู้จักกาล คือขอ้ ใด ? ๓. โลกธรรมข้อใด จดั เป็นอนิฏฐารมณ์ ? ก. ธัมมญั ญุตา ข. อัตถัญญุตา ก. มีลาภ ข. มียศ ค. กาลัญญตุ า ง. ปริสัญญตุ า ค. มีสขุ ง. มีทกุ ข์ ๑๓. การรจู้ กั กฎกตกิ ามรรยาทของสงั คม จดั เข้าในสปั ปรุ สิ ๔. เม่ือถกู นนิ ทา ควรปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร ? ธรรมใด ? ก. ควรโตต้ อบ ข. ไม่ต้องทำอะไร ก. ธัมมัญญุตา ข. อตั ถญั ญุตา ค. แก้ขา่ ว ง. ไมย่ นิ ดยี ินร้าย ค. กาลญั ญตุ า ง. ปรสิ ัญญตุ า ๕. ข้อใด จดั เปน็ อฏิ ฐารมณ์ ? หมวด ๘ ก. สขุ ข. ทุกข์ โลกธรรม ๘ (สิ่งท่มี อี ยปู่ ระจำโลก) ค. นินทา ง. เสอื่ มลาภ ๑) มลี าภ ๒) เสื่อมลาภ ๖. ธรรมทค่ี รอบงำสัตว์โลก เรยี กวา่ อะไร ? ๓) มียศ ๔) เสือ่ มยศ ก. สาราณิยธรรม ข. อปริหานิยธรรม ๕) นินทา ๖) สรรเสริญ ค. สปั ปุริสธรรม ง. โลกธรรม ๗) สขุ ๘) ทกุ ข์ ๗. เมือ่ ถูกโลกธรรมครอบงำ ควรปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร ? โลกธรรมนแี้ บง่ เปน็ ๒ ประเภท คอื ก. สะเดาะเคราะห์ ข. เสรมิ ดวง ๑) อฏิ ฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่นา่ พอใจ ได้แก่ ความมลี าภ ค. ไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ย ง. สวดมนต์ มียศ สรรเสริญ และความสุข ๘. ขอ้ ใด จดั เป็นอนิฏฐารมณ์ ? ๒) อนิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ไม่น่าพอใจ ได้แก่ เสื่อม ก. ลาภ ข. ยศ ลาภ เส่อื มยศ นนิ ทา และทกุ ข์ ค. สรรเสรญิ ง. นนิ ทา โลกธรรมทั้ง ๘ ประการนี้ เมื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเกิดข้ึน คหิ ปิ ฏบิ ัติ แล้ว พึงพิจารณาด้วยปัญญาของตนว่า สิ่งนี้ที่เกิดขึ้นกับเรา สงั คหวตั ถุ ๔ (ธรรมเครือ่ งยดึ เหนี่ยวน้ำใจผอู้ ่ืน) ทั้งที่น่าพอใจและไม่น่าพอใจ ก็เป็นเพียงการเกิดขึ้นเท่าน้ัน ๑) ทาน ใหป้ นั สง่ิ ของของตนแกค่ นที่ควรใหป้ ัน ไม่นานก็มีการผันแปรเปลี่ยนไป สุดท้ายก็ถึงจุดที่ต้องพลัด ๒) ปยิ วาจา เจรจาด้วยวาจาท่อี ่อนหวาน พรากจากไปไม่จีรังยั่งยืน เราควรวางตัว วางใจเป็นกลางใน ๓) อัตถจริยา ประพฤตสิ งิ่ ทเี่ ป็นประโยชน์ โลกธรรมเหล่านี้ แล้วเราจะอยอู่ ยา่ งมีความสขุ ๔) สมานัตตตา ความเปน็ คนมตี นเสมอไม่ถือ _____________ _____________ ๑. โลกธรรม หมายถงึ ธรรมข้อใด ? ๑. สังคหวตั ถุ ทำให้เกดิ ประโยชน์อะไร ? ก. ธรรมรักษาโลก ข. ธรรมเหนอื โลก ก. ความสำเร็จ ข. ความเจริญ ค. ธรรมทอี่ ยู่คูโ่ ลก ง. ธรรมที่สร้างโลก ค. ความสามัคคี ง. ความงาม
๒๕ ๒. เขาเปน็ คนดคี งเสน้ คงวา แสดงถึงคุณธรรมขอ้ ใด ? (๒) ชว่ ยทำกิจของทา่ น (๓) ดำรงวงศส์ กลุ ก. ทาน ข. ปิยวาจา (๔) ประพฤติตนให้เปน็ คนควรรบั ทรัพย์มรดก (๕) เม่ือท่านลว่ งลบั ไปแล้ว ทำบุญอทุ ิศใหท้ ่าน ค. อตั ถจรยิ า ง. สมานตั ตตา ๒) ทักขณิ ทสิ คอื ทศิ เบือ้ งขวา ครอู าจารย์ มหี นา้ ที่จะต้องปฏิบัตติ ่อศิษย์ ๕ ประการ ดังนี้ ๓. สังคมจะไดป้ ระโยชนอ์ ะไร จากการประพฤติสังคหวตั ถุ (๑) แนะนำดี ธรรม ? (๒) ใหเ้ รยี นดี (๓) บอกศลิ ปวทิ ยาใหส้ น้ิ เชงิ ไม่ปิดบังอำพราง ก. ความสำเร็จ ข. ความเจรญิ (๔) ยกย่องให้ปรากฏในเพ่ือนฝงู (๕) ทำความปอ้ งกันในทศิ ทั้งหลาย ค. ความสามคั คี ง. ความสขุ ศษิ ยพ์ ึงบำรุง ครูอาจารยด์ ้วยสถาน ๕ ดงั น้ี (๑) ดว้ ยลุกขน้ึ ยืนรับ ๔. โครงการจติ อาสาเราทำความดีด้วยหัวใจ จดั เขา้ ใน (๒) ด้วยเข้าไปยืนคอยรบั ใช้ (๓) ดว้ ยเชอื่ ฟัง สังคหวัตถใุ ด ? (๔) ด้วยอปุ ฏั ฐาก (๕) ดว้ ยเรียนศิลปวทิ ยาโดยเคารพ ก. ทาน ข. ปยิ วาจา ๓) ปัจฉมิ ทสิ คอื ทศิ เบ้ืองหลัง บตุ รภรรยา มหี น้าท่ีจะต้องปฏบิ ัติต่อสามี ๕ ประการ ดงั นี้ ค. อตั ถจรยิ า ง. สมานัตตตา (๑) จดั การงานดี (๒) สงเคราะห์คนข้างเคยี งของสามีดี ๕. การที่บคุ คลจะยึดเหนยี่ วจติ ใจกนั และกันไว้ได้ ควร (๓) ไม่ประพฤตินอกใจสามี (๔) รักษาทรพั ย์ทส่ี ามีหามาได้ ประพฤตธิ รรมใด ? (๕) ขยันไม่เกยี จคร้านในกิจการทั้งปวง สามีพงึ บำรุงภรรยาด้วยสถาน ๕ ดังน้ี ก. สงั คหวัตถุ ข. ฆราวาสธรรม (๑) ด้วยยกยอ่ งนับถือวา่ เป็นภรรยา (๒) ดว้ ยไม่ดหู มิ่น ค. อทิ ธิบาท ง. พรหมวิหาร (๓) ด้วยไม่ประพฤตนิ อกใจ (๔) ด้วยมอบความเปน็ ใหญใ่ ห้ ๖. การประพฤตติ นเสมอตน้ เสมอปลาย มคี วามหมายตรงกับ (๕) ด้วยให้เครือ่ งแตง่ ตัว ขอ้ ใด ? ก. ทาน ข. ปิยวาจา ค. อัตถจริยา ง. สมานัตตตา ๗. คำพูดในลกั ษณะใด จัดเป็นปยิ วาจา ? ก. ก่อสามัคคี ข. เกดิ ไมตรี ค. มีเหตผุ ล ง. ถกู ทุกข้อ ทศิ ๖ (หนา้ ทที่ ี่ตอ้ งปฏิบตั ติ ่อกันตามฐานะ) ๑) ปุรตั ถมิ ทสิ คอื ทิศเบื้องหน้า มารดาบิดา มีหน้าทจ่ี ะต้องปฏิบัตติ ่อบตุ ร ๕ ประการ ดงั น้ี (๑) ห้ามไม่ให้ทำความช่วั (๒) ให้ตั้งอย่ใู นความดี (๓) ให้ศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา (๔) หาคคู่ รองทส่ี มควรให้ (๕) มอบทรัพย์ให้ในสมยั บตุ รธิดาพึงบำรงุ มารดาบิดาด้วยสถาน ๕ ดังน้ี (๑) ทา่ นเลยี้ งเรามาแลว้ เลี้ยงท่านตอบ
๒๖ ๔) อุตตรทิส คือ ทิศเบื้องซา้ ย มิตรสหาย (๕) ทำสง่ิ ทเ่ี คยได้ฟังแลว้ ให้แจ่มแจง้ มหี นา้ ทีจ่ ะต้องปฏบิ ัตติ ่อเพือ่ น ๕ ประการ ดังนี้ (๖) บอกทางสวรรค์ให้ กลุ บุตรพึงบำรุงสมณพราหมณด์ ้วยสถาน ๕ ดังน้ี (๑) รักษาเพื่อนผ้ปู ระมาทแล้ว (๑) ด้วยกายกรรม คอื ทำอะไรๆ ประกอบดว้ ยเมตตา (๒) รักษาทรัพย์ของเพื่อนผปู้ ระมาทแล้ว (๒) ด้วยวจกี รรม คือ พูดอะไรๆ ประกอบดว้ ยเมตตา (๓) เม่ือมีภัย เอาเปน็ ท่ีพ่งึ พำนกั ได้ (๓) ด้วยมโนกรรม คือ คดิ อะไรๆ ประกอบด้วยเมตตา (๔) ไม่ละทง้ิ ในยามวิบตั ิ (๔) ดว้ ยความเปน็ ผ้ไู ม่ปิดประตู คือ ไม่ได้ห้ามเข้า (๕) นับถอื ตลอดถงึ วงศ์ของมิตร กุลบตุ รพึงบำรุงมิตรสหายดว้ ยสถาน ๕ ดงั นี้ บา้ นเรอื น (๑) ด้วยใหป้ ัน (๕) ดว้ ยให้อามสิ ทาน (๒) ดว้ ยเจรจาถอ้ ยคำไพเราะ (๓) ด้วยประพฤติส่ิงท่ีเปน็ ประโยชน์ _____________ (๔) ด้วยความเปน็ ผมู้ ีตนเสมอ ๑. ในทศิ ๖ ศษิ ย์พงึ ปฏบิ ตั ติ ่ออาจารยอ์ ย่างไร ? (๕) ดว้ ยไมแ่ กล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็นจรงิ ๕) เหฏฐิมทิส คือ ทศิ เบื้องต่ำ บ่าวไพร่ ก. ดำรงวงศส์ กุล ข. เล้ียงท่านตอบ มีหน้าทจ่ี ะต้องปฏบิ ตั ติ ่อนาย ๕ ประการ ดังนี้ (๑) ลกุ ขน้ึ ทำการงานก่อนนาย ค. เชือ่ ฟังคำสอน ง. ไม่ดหู มนิ่ (๒) เลกิ ทำการงานทีหลงั นาย (๓) ถือเอาแต่สิง่ ของทน่ี ายให้ ๒. ห้ามทำความช่วั ทำความดเี ปน็ ความอนเุ คราะห์ของ ? (๔) ทำการงานให้ดีขึ้น (๕) นำคุณของนายไปสรรเสริญในที่นั้นๆ ก. มารดา-บิดา ข. ครู-อาจารย์ นายพงึ บำรุงบ่าวไพรด่ ้วยสถาน ๕ ดงั น้ี (๑) ดว้ ยจดั การงานใหท้ ำตามสมควรแก่กำลงั ค. ภรรยา-สามี ง. บุตร-ธิดา (๒) ดว้ ยใหอ้ าหารและรางวลั (๓) ด้วยรกั ษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข้ ๓. ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ข้อใด ? (๔) ด้วยแจกของมรี สแปลกประหลาดให้กนิ (๕) ดว้ ยปลอ่ ยในสมยั ก. ครูอาจารย์ ข. มารดาบิดา ๖) อปุ ริมทสิ คือ ทิศเบ้ืองบน สมณพราหมณ์ มหี นา้ ทจี่ ะต้องอนเุ คราะหต์ ่อกลุ บตุ ร ๖ ประการ ดังน้ี ค. บุตรภรรยา ง. มิตรสหาย (๑) ห้ามไม่ให้กระทำความชัว่ (๒) ให้ตั้งอยู่ในความดี ๔. ยกยอ่ งเชิดชคู รู ไมเ่ จ้าชนู้ อกใจ เป็นหนา้ ทข่ี องใคร ? (๓) อนุเคราะห์ดว้ ยน้ำใจอันงาม (๔) ให้ได้ฟังสิง่ ที่ยงั ไม่เคยฟัง ก. สามี ข. ภรรยา ค. นาย ง. ครอู าจารย์ ๕. ตื่นก่อน นอนทหี ลงั เปน็ หน้าทีใ่ ครปฏิบตั ติ ่อใคร ? ก. ลกู -พอ่ แม่ ข. ภรรยา-สามี ค. ศษิ ย์-ครู ง. บ่าว-นาย ๖. อุปรมิ ทสิ คอื ทศิ เบื้องบน หมายถึงบคุ คลในข้อใด ? ก. บิดามารดา ข. ครอู าจารย์ ค. สมณพราหมณ์ ง. มิตรสหาย ๗. หา้ มไมใ่ หท้ ำความชวั่ ใหต้ ้ังอยู่ในความดี เปน็ หน้าที่ของ ใคร ? ก. ครูอาจารย์ ข. บิดามารดา ค. สามีภรรยา ง. บตุ รธิดา
๒๗ ๘. ทักขณิ ทิส คือทิศเบ้ืองขวา หมายถึงบุคคลในข้อใด ? ก. บิดามารดา ข. มติ รสหาย ค. สมณพราหมณ์ ง. ครูอาจารย์ ๙. ยกย่องเชิดชู ไมเ่ จา้ ชู้นอกใจเป็นหนา้ ทใ่ี ครปฏบิ ัตติ ่อใคร ? ก. สามี-ภรรยา ข. บดิ ามารดา-บตุ ร ค. นาย-บ่าว ง. อาจารย์-ศิษย์ ๑๐. ปรุ ตั ถมิ ทิศ คือทศิ เบ้ืองหนา้ หมายถงึ บคุ คลในข้อใด ? ก. บิดามารดา ข. ครอู าจารย์ ค. สมณพราหมณ์ ง. มติ รสหาย ๑๑. ทักขิณทศิ คอื ทิศเบื้องขวา หมายถึงบคุ คลในข้อใด ? ก. บิดามารดา ข. มติ รสหาย ค. สมณพราหมณ์ ง. ครอู าจารย์ ๑๒. อยู่เล้ยี งกาย ตายทำบุญอทุ ิศให้ เปน็ หน้าทใี่ ครปฏบิ ตั ิ ต่อใคร ? ก. สามี-ภรรยา ข. บตุ ร-บิดามารดา ค. บา่ ว-นาย ง. ศษิ ย์-อาจารย์ ๑๓. บอกทางสวรรค์ให้ เป็นหน้าท่ใี คร ? ก. บดิ ามารดา ข. มิตรสหาย ค. สมณพราหมณ์ ง. ครอู าจารย์ _____________
๒๘ ๒.๒ แนวขอ้ สอบธรรมศึกษาชนั้ ตรี วิชาพุทธประวตั ิ ๔. ดนิ แดนชมพทู วีปในปัจจบุ ัน คอื ประเทศใด ? ปริเฉทท่ี ๑ ชมพทู วปี และประชาชน ก. อนิ เดีย ข. มาเลเซยี ดินแดนเป็นที่เกิดขึ้นของพระพุทธศาสนาหรือดินแดนที่ ค. อนิ โดนีเชีย ง. ออสเตรเลีย เรียกว่าประเทศอินเดียในสมัยก่อน เรียกว่า ชมพูทวีป ๕. ชมพทู วีป ต้งั อย่ทู างตอนใตข้ องเทือกเขาใด ? (ดินแดนที่กำหนดด้วยต้นหว้า) ในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ประเทศอินเดีย เนปาล ปากีสถาน บังคลาเทศและภูฏาน ก. เวภาระ ข. อิสคิ ริ ิ ตง้ั อยู่ทางทศิ พายัพ (ตะวนั ตกเฉียงเหนือ) ของประเทศไทย ค. หิมาลัย ง. คิชฌกฏู ชนชาติ ทีอ่ าศัยอยใู่ นชมพทู วีปมี ๒ พวก คือ ๑) พวกมลิ กั ขะ เจ้าถิ่นเดิมท่ีอาศยั อย่กู อ่ น ๖. การปกครองในชมพูทวีป แบง่ ออกเป็นก่สี ่วน ? ๒) พวกอริยกะ พวกที่อพยพมาใหม่โดยอพยพมา ทางด้านภเู ขาหมิ าลัยรกุ ไลเ่ จา้ ถิน่ เดมิ ถอยรน่ ไปอยู่รอบนอก ก. ๑ สว่ น ข. ๒ ส่วน ชมพทู วปี แบง่ เปน็ ๒ เขต คอื ๑) มัชฌิมชนบท หรือมัธยมประเทศ คือ ประเทศภาค ค. ๓ สว่ น ง. ๔ สว่ น กลาง เปน็ ทีอ่ าศยั อยู่ของพวกอรยิ กะ ๒) ปัจจันตชนบท หรือปัจจันตประเทศ คือ ประเทศ ๗. ชนชาติใด เป็นเจ้าของถน่ิ เดิมในชมพูทวปี ? ปลายแดนเปน็ ทอ่ี าศยั อย่ขู องพวกมลิ กั ขะ แคว้นใหญ่ มี ๑๖ แคว้น ได้แก่ อังคะ มคธะ กาสี เจตี ก. มลิ กั ขะ ข. อริยกะ โกสละ มัลละ วังสะ กุรุ ปัญจาละ มัจฉะ สุรเสนะ อัสสกะ วัชชี อวันตี คันธาระ กัมโพชะ และที่ปรากฏในคัมภีร์อื่นอีก ค. ศากยะ ง. โกลยิ ะ มี ๕ แคว้น คือ สักกะ โกลิยะ ภัคคะ วิเทหะ อังคุตตราปะ แคว้นเหล่านี้ บางแคว้นปกครองโดยกษัตริย์มีอำนาจ วรรณะ ๔ สิทธข์ิ าด บางแควน้ ปกครองโดยสามัคคีธรรม คนอินเดียแบ่งเป็นชั้นวรรณะด้วยชาติกำเนิด ตามหลัก ศาสนาพราหมณ์ มี ๔ วรรณะ คือ ๑) กษัตริย์ นักปกครอง นักรบ ศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ยุทธวธิ ี ๒) พราหมณ์ สั่งสอน ทำพิธีกรรมทางศาสนา ศึกษา เกี่ยวกบั เรอ่ื งพธิ ีกรรมต่างๆ _____________ ๓) แพศย์ ทำนา ค้าขาย เลี้ยงสัตว์ ช่างฝีมือ และ หตั ถกรรม ศึกษาเกี่ยวกบั เร่อื งทำนาคา้ ขาย เปน็ ต้น ๑. พุทธประวตั ิทำให้ทราบความเปน็ ไปของใคร ? ๔) ศูทร พวกกรรมกรใช้แรงงาน ศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ก. พระพทุ ธเจ้า ข. พุทธสาวก การใชแ้ รงงาน ค. พทุ ธสาวกิ า ง. พุทธบรษิ ัท แต่ละวรรณะจะไม่แต่งงานข้ามวรรณะกัน ถ้าแต่งงาน ข้ามวรรณะ ลูกที่คลอดออกมากลายเป็นอีกชนชั้นหนึ่ง เรียกว่า จณั ฑาล เปน็ ทีด่ ูถกู เหยียดหยามของคนทัว่ ไป ๒. เจ้าของถ่นิ เดิมในชมพูทวีป ตรงกบั ข้อใด ? _____________ ๑. เจา้ ชายสทิ ธัตถะ ประสูติในวรรณะใด ? ก. มลิ ักขะ ข. อริยกะ ค. เขมร ง. ไทย ก. กษตั รยิ ์ ข. พราหมณ์ ๓. ประชาชนในชมพทู วปี แบ่งเปน็ กชี่ นชาติ ? ค. แพศย์ ง. ศูทร ก. ๑ ชนชาติ ข. ๒ ชนชาติ ค. ๓ ชนชาติ ง. ๔ ชนชาติ
๒๙ ๒. วรรณะ ในชมพูทวีปแบ่งออกเปน็ กีช่ นชนั้ ? ๑. ศากยวงศ์ ต้งั อยู่ในปา่ ท่ีหนาแนน่ ด้วยตน้ ไม้ใด ? ก. ๓ ชนชน้ั ข. ๔ ชนชน้ั ก. พยงุ ข. สาละ ค. ๕ ชนช้นั ง. ๖ ชนชัน้ ค. ตะเคียน ง. สกั กะ ๓. วรรณะใด มหี น้าทส่ี งั่ สอนศิลปวทิ ยาการ ? ๒. แควน้ สกั กะ มีเมืองหลวงชื่อวา่ อะไร ? ก. กษตั รยิ ์ ข. พราหมณ์ ก. กบิลพัสด์ุ ข. ราชคฤห์ ค. แพศย์ ง. ศทู ร ค. พาราณสี ง. สาวัตถี ๔. วรรณะพราหมณ์แต่งงานกับวรรณะศทู ร บตุ รท่ีเกดิ มา ลำดับศากยวงศ์ เรยี กวา่ อะไร ? พระประยรู ญาตขิ องพระพุทธเจ้า ก. พราหมณ์ ข. แพศย์ พระเจ้าชยั เสนะ ทวด พระไปยกา ค. ศทู ร ง. จัณฑาล พระเจ้าสีหหนุ ปู่ พระอัยกา ๕. ชนชัน้ ใด ถกู จัดวา่ ต่ำสดุ ในชมพทู วีป ? พระนางกัญจนา ยา่ พระอยั ยิกา ก. พราหมณ์ ข. แพศย์ พระเจ้าอัญชนะ ตา พระอยั กา ค. ศทู ร ง. จัณฑาล พระนางยโสธรา ยาย พระอัยยิกา ๖. ลทั ธคิ วามเชื่อของคนในชมพทู วปี มีกี่อย่าง ? พระเจา้ สุปปพทุ ธะ ลุง พระมาตลุ า ก. ๑ อย่าง ข. ๒ อยา่ ง พระนางอมิตา ป้า พระปิตุจฉา ค. ๓ อยา่ ง ง. ๔ อย่าง พระนางปชาบดี น้า พระมาตุจฉา ปรเิ ฉทที่ ๒ สักกชนบทและศากยวงศ์ พระเจา้ สทุ โธทนะ พอ่ พระชนก สักกชนบท ตง้ั อยู่ตรงข้ามภเู ขาหมิ พานต์ ตอนเหนือของ พระนางสิริมหามายา แม่ พระชนนี ชมพูทวปี เหตุท่ชี ่อื วา่ สักกชนบท เพราะถือตามภูมปิ ระเทศ เดมิ เป็นดงไมส้ ักกะ พระนนั ทกมุ าร นอ้ งชาย พระอนชุ า ศากยวงศ์ ได้พระนามนี้ เพราะสาเหตุ ๓ ประการ คือ พระนางรูปนันทา น้องสาว พระขนษิ ฐภคนิ ี ๑) เพราะตั้งตามอาณาจักรหรือชนบท คือ สักกชนบท พระชายา ๒) เพราะตั้งตามความสามารถของพระโอรสโดยลำพัง พระนางยโสธรา(พมิ พา) ภรรยา พระโอรส ปกครองประเทศได้รุ่งเรืองจนพระบิดาตรัสชมว่าเป็นผู้ องอาจ พระราหุล ลกู ๓) เพราะกษัตริยว์ งศ์นี้ทรงอภิเษกสมรสกันเองระหวา่ งพ่ี น้องทเี่ รยี กกันวา่ สกสกสังวาส _____________ สักกชนบท แบ่งออกเป็น ๓ นคร ๑. พระเจา้ ชยั เสนะ เป็นพระบดิ าของใคร ? ๑) พระนครเดมิ ของพระเจ้าโอกกากราช ๒) พระนครกบลิ พสั ดุ์ ก. พระเจา้ สหี หนุ ข. พระเจ้าอัญชนะ ๓) พระนครเทวทหะ ค. พระเจ้าสทุ โธทนะ ง. พระเจ้าโธโตทนะ _____________ ๒. พระเจ้าสุทโธทนะกบั เจา้ ชายสิทธตั ถะเก่ยี วข้องกันคือ ? ก. พระเจ้าปู่ ข. พระเจ้าตา ค. พระบดิ า ง. พระเจ้าอา ๓. เมืองกบลิ พสั ด์ุ ตั้งตามชอ่ื ของดาบสใด ? ก. อุทกดาบส ข. อสติ ดาบส ค. กบิลดาบส ง. อาฬารดาบส
๓๐ ๔. พระเจ้าสุทโธทนะ เป็นกษัตริย์ปกครองพระนครใด ? ๑. พระนางสริ ิมหามายาทรงพระครรภ์ สุบนิ นิมิตอย่างไร ? ก. พาราณสี ข. กบิลพัสด์ุ ก. พญาช้างเผอื กชูสงั ข์ ข. พญาช้างเผอื กชดู อกบวั ค. เทวทหะ ง. สาวตั ถี ค. พราหมณม์ อบสงั ขท์ อง ง. พราหมณ์มอบดอกบวั ๕. พระพุทธเจา้ เปน็ พระราชโอรสของกษตั ริย์พระองค์ใด ? ๒. โหราจารย์ทำนายสุบนิ นนั้ อย่างไร ? ก. สุทโธทนะ ข. สกุ โกทนะ ก. จะได้พระธดิ า ข. จะได้พระโอรส ค. อมโิ ตทนะ ง. โธโตทนะ ค. จะได้ลาภก้อนโต ง. จะโชครา้ ย ปรเิ ฉทที่ ๓ ประสตู ิ ๓. วันท่ีเจา้ ชายสิทธัตถะประสูติ ตรงกับข้อใด ? เสด็จลงสู่พระครรภ์ ก. วนั มาฆบูชา ข. วันวิสาขบชู า ในวันท่ีพระมหาบรุ ุษเสดจ็ ลงสู่พระครรภ์ พระนางสิริมหา ค. วันอาสาฬหบชู า ง. วนั อัฏฐมีบูชา มายาไดส้ บุ ิน (ฝนั ) เห็นพญาช้างเผือกชงู วงถือดอกบัวขาว สง่ กลิ่นหอมขจร เดินประทักษิณ (เวียนขวา) ๓ รอบ แล้วหาย ๔. วาจาทพี่ ระมหาบรุ ษุ ทรงเปล่งในวันประสตู ิเรยี กว่าอะไร ? เข้าไปในพระอุทร (ท้อง) ขณะนั้นเกิดแผ่นดินไหวเป็นที่ อศั จรรย์ ตรงกับวันพฤหสั บดี ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดอื น ๘ ก. อาสภิวาจา ข. มธุรสวาจา โหราจารย์ทำนายว่า ไดม้ ีบรุ ษุ อาชาไนยมากด้วยบุญญา- ค. ปยิ วาจา ง. สณั หวาจา ธิการมาปฏิสนธิในพระครรภ์ ยังความปลาบปลื้มมาสู่พระ เจ้าสุทโธทนะ พระราชบิดาย่งิ นัก ๕. พระมหาบรุ ษุ ประสูติที่ใด ? วนั ประสตู ิ ก. ลุมพนิ ีวัน ข. สาลวัน พระนางสริ ิมหามายาทรงพระครรภ์ครบ ๑๐ เดือน ไดท้ ูล ลาพระเจ้าสุทโธทนะ เสด็จไปเยี่ยมสกุลของพระองค์ที่เมือง ค. อมั พวนั ง. เวฬวุ นั เทวทหะ ตามประเพณีทต่ี ้องกลบั ไปคลอดที่บา้ นของตนเอง ๖. พระโพธิสตั วถ์ ือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระนางใด ? เมื่อพระนางเสด็จถึงสวนลุมพินีวัน ซ่ึงอยู่ระหว่างเมือง กบิลพัสดุ์กับเมืองเทวทหะได้เสด็จประพาสพระอุทยาน เกิด ก. กัญจนา ข. ยโสธรา ประชวรพระครรภ์จะประสตู ิ อำมาตยจ์ ัดทีถ่ วายใต้ต้นสาละ พระนางประทับยืน พระหัตถ์จับกิ่งสาละ ประสูติพระราช ค. สิรมิ หามายา ง. ปชาบดี โอรสเมือ่ เวลาสายใกลเ้ ที่ยง ตรงกับวนั ศกุ ร์ ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดอื น ๖ (วันวิสาขบชู า ปีจอ ก่อนพทุ ธศักราช ๘๐ ปี) อสิตดาบสเขา้ เฝา้ และพยากรณ์ พระราชโอรสเสด็จดำเนินได้ ๗ ก้าว แต่ละก้าวมีดอกบัว ลำดบั เหตกุ ารณห์ ลงั ประสตู ิ ทิพย์ผุดขึ้นรองรับและทรงเปล่ง อาสภิวาจา ว่า “เราคือผู้ พระชนมายไุ ด้ ๓ วัน อสิตดาบสเข้าเยย่ี ม เลิศของโลก เราคือผู้เจริญที่สุดของโลก เราคือผู้ประเสริฐ ที่สุดของโลก ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย บัดนี้ภพใหม่ไม่มีอีก อสิตดาบสหรือกาฬเทวิลดาบส ผู้คุ้นเคยและเป็นท่ีนับถอื แล้ว” ของราชสำนักเข้าเยี่ยม พระเจ้าสุทโธทนะทรงอุ้มพระโอรส มาเพื่อนมัสการพระดาบส ปรากฏว่าอสิตดาบสเป็นฝ่าย _____________ กราบไหว้พระบาทพระโอรส และทำนายลักษณะของ พระโอรสว่ามีคติเป็น ๒ ตามตำรามหาปุริสลักษณะ แต่ตัว ท่านเชื่อม่นั วา่ พระโอรสจะเสดจ็ ออกผนวช พระชนมายไุ ด้ ๕ วัน ขนานพระนาม เชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คน มาฉันภัตตาหารและเลือกเอา พราหมณ์ ๘ คน เปน็ ผ้ทู ำนายพระลักษณะ พราหมณ์ ๗ คน ทำนายลกั ษณะของพระโอรสมคี ตเิ ปน็ ๒ อยา่ ง แต่ท่าน โกณ
๓๑ ฑัญญพราหมณ์ทำนายเป็นคติเดียว คือ เสด็จออกบรรพชา ๒. เจ้าชายสิทธตั ถะประสูติได้ ๕ วนั มเี หตุการณใ์ ดเกิดข้ึน ? เปน็ ศาสดาเอกของโลก และได้ขนานพระนามเปน็ ๒ คอื ก. ดาบสเข้าเฝา้ ข. ขดุ สระบวั ๑) สิทธัตถะ แปลวา่ ผมู้ คี วามต้องการสำเร็จ และ ๒) อังคีรสะ แปลวา่ ผมู้ รี ศั มสี วยงาม แต่นิยมเรยี กวา่ ค. ขนานพระนาม ง. ไดฌ้ าน โคตมะ เพราะเป็นโคตรของพระองค์ พระชนมายไุ ด้ ๗ วัน พระมารดาสิ้นพระชนม์ ๓. พระนามว่า สทิ ธัตถะ มีความหมายว่าอย่างไร ? พระมารดาสิ้นพระชนม์หลังประสูติพระราชโอรสได้ ๗ วัน พระราชบิดาจึงมอบให้พระนางมหาปชาบดีโคตมี (พระ ก. มวี าสนา ข. มีรปู งาม นา้ นาง) เปน็ ผู้เลย้ี งดู ต่อมาพระนางมหาปชาบดีโคตมปี ระสูติ พระโอรสและพระธิดา ๒ พระองค์ คือ พระนันทะและพระ ค. มคี วามตอ้ งการสำเร็จ ง. มยี ศศักด์ิ นางรูปนันทา พระชนมายุได้ ๗ ปี พระราชบิดาขดุ สระโบกขรณี ๓ สระ ๔. พราหมณใ์ ด ทำนายว่าเจา้ ชายสิทธัตถะจะออกผนวช พระราชบิดาให้ขุดสระโบกขรณี ๓ สระ คือ ๑) สระปทมุ (บัวหลวง) ๒) สระบุญฑริก (บวั ขาว) ๓) สระอบุ ล (บัวขาบ) แน่นอน ? ก. ลักขณะ ข. รามะ ค. สยามะ ง. โกณฑัญญะ ๕. พระมารดาของพระมหาบุรษุ พระนามว่าอะไร ? ก. สิริมหามายา ข. ปชาบดี ค. ปมิตา ง. อมิตา ๖. ใครเลย้ี งเจา้ ชายสิทธตั ถะหลังจากพระมารดาทวิ งคต ? พระโอรสได้ปฐมฌานที่ใต้ต้นหว้า (ชมพูพฤกษ์) ในงาน ก. พระนางมหาปชาบดี ข. พระนางปมิตา วัปปมงคลแรกนาขวัญ คือ เมื่ออยู่พระองค์เดียวได้ นั่งขัดสมาธิ ขณะนน้ั เปน็ เวลาบา่ ยแต่เงาของต้นหว้าไม่คล้อย ค. นางสุชาดา ง. นางวสิ าขา ไปตามดวงอาทติ ย์ ๗. เจา้ ชายสิทธัตถะได้ปฐมฌานใต้ตน้ หว้าในพิธมี งคลใด ? เมื่อทรงเจริญวัยขึ้น พระราชบิดานำตัวไปฝากเป็นศิษย์ ของ “ครูวิศวามิตร” ทรงศึกษาจบศิลปศาสตร์ ๑๘ สาขา ก. ขนานพระนาม ข. แรกนาขวญั ไดอ้ ย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะศิลปะการยิงธนู พระชนมายุได้ ๑๖ ปี ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางพิมพา ค. อภเิ ษกสมรส ง. ราชาภเิ ษก พระราชบิดาสร้างปราสาท ๓ หลัง สำหรับเป็นที่ประทับ ๘. ใครเป็นครคู นแรกของเจ้าชายสทิ ธัตถะ ? ใน ๓ ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดหู นาว และไดท้ ลู ขอพระนาง ยโสธราหรือพิมพา พระราชธิดาของพระเจ้าสุปปพุทธะและ ก. วศิ วามติ ร ข. อทุ กดาบส พระนางอมติ า มาอภเิ ษกสมรสเป็นพระชายา ค. อสติ ดาบส ง. อาฬารดาบส ๙. พระโพธสิ ัตวไ์ ดร้ บั ขนานพระนามว่าสทิ ธัตถะ เม่อื ประสตู ิได้กี่วัน ? ก. ๓ วัน ข. ๕ วัน ค. ๗ วนั ง. ๙ วนั _____________ ๑๐. พระนา้ นางที่ทรงรับเลย้ี งดเู จ้าชายสทิ ธตั ถะ มชี ่อื ว่า ๑. เมอื่ พระมหาบุรษุ ประสตู ไิ ด้ ๓ วนั ดาบสใดเข้าเย่ยี ม ? อะไร ? ก. อจุตดาบส ข. อสิตดาบส ก. พระนางปมติ า ข. พระนางอมติ า ค. อาฬารดาบส ง. อทุ ทกดาบส ค. พระนางมายา ง. พระนางปชาบดี
๓๒ ๑๑. เจ้าชายสทิ ธตั ถะ ได้เข้าศกึ ษาศิลปวทิ ยาครัง้ แรกกบั ครู ขรรค์เสด็จลงจากปราสาท ทรงม้ากัณฐกะ ออกจาก พระราชวงั มีนายฉันนะอำมาตย์ตามเสดจ็ มงุ่ หน้าสู่แมน่ ำ้ ทา่ นใด ? อโนมา ก. วศิ วามิตร ข. ปรู ณกสั สปะ ทรงอธิษฐานเพศบรรพชิตในที่นั้น ทรงใช้พระขรรค์ปลง พระเกศาด้วยพระองค์เอง เอาพระภูษาห่อพระเกศา ค. มกั ขลิโคศาล ง. อชติ เกสกมั พล อธิษฐานแล้วโยนขึ้นในอากาศ พระเกศาลอยอยู่ในอากาศ ๑ โยชน์ ท้าวสักกะเอาผอบแก้วมารองรับพระเกศา นำไป ๑๒. เจา้ ชายสทิ ธัตถะเขา้ พธิ ีอภเิ ษกสมรส เมอ่ื พระชนมายุกี่ ประดิษฐานไว้ในจฬุ ามณเี จดยี ์ สวรรคช์ ัน้ ดาวดงึ ส์ ปี ? ฆฏิการพรหมซึ่งเป็นเพื่อนกันมากับพระโพธิสัตว์ตั้งแต่ ศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ ได้ ก. ๗ ปี ข. ๑๖ ปี นอ้ มถวายผ้ากาสาวพสั ตร์และบริขารของนักบวช มี ๘ อย่าง คือ สบง จีวร สังฆาฏิ ประคตเอว บาตร มีดโกน เข็ม ค. ๒๙ ปี ง. ๓๕ ปี ธมกรก (ทกี่ รองนำ้ ) ๑๓. พระนางยโสธรา ประสูตพิ ระโอรสพระนามวา่ อะไร ? ก. สงั กจิ จะ ข. สมุ นะ ค. โสปากะ ง. ราหลุ ปริเฉทที่ ๔ เสดจ็ ออกบรรพชา เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชาเมื่อพระชนมายุได้ _____________ ๒๙ ปี เหตุการณ์ที่ทำให้เจ้าชายสิทธัตถะตัดสินพระทัยออก บวชนนั้ มดี ังนี้ ๑. พระมหาบรุ ุษเสด็จออกผนวช พระชนมายุก่ีพรรษา ? ๑) ขณะเสด็จประพาสพระราชอุทยาน ทรงทอดพระเนตร ก. ๑๖ ข. ๒๐ เหน็ เทวทูต ๔ มี คนแก่ คนเจบ็ คนตาย และสมณะ ทรงสลด สังเวชพระทัยยิ่งนัก เมื่อเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย แต่เมื่อ ค. ๒๙ ง. ๓๕ ได้ทอดพระเนตรเห็นสมณะ ซึ่งมีอาการสงบเสงี่ยมน่า เลื่อมใส ก็ทรงพอพระหฤทัยและน้อมพระทัยไปในการออก ๒. ขอ้ ใดไมจ่ ดั อยใู่ นเทวทูต ๔ ? บวช ก. คนเกิด ข. คนแก่ ๒) ตกเย็นขณะประทับในพระราชอุทยาน ใคร่ครวญถึง การบวชอยู่นั้น ทรงได้ทราบว่าพระนางพิมพาประสูติ ค. คนเจ็บ ง. คนตาย พระโอรสแล้ว ทรงเปล่งอุทานว่า ราหุลํ ชาตํ พนฺธนํ ชาตํ แปลว่า บ่วงเกิดขึ้นแล้ว เครื่องพันธนาการเกิดขึ้นแล้ว พระ ๓. เจา้ ชายสิทธัตถะทรงอธษิ ฐานเพศบรรพชาที่รมิ แมน่ ำ้ ? ราชโอรสจึงไดช้ ือ่ ว่า ราหุล ก. อโนมา ข. เนรญั ชรา ๓) ตกดึกคืนเดียวกันนั้น ทรงตื่นบรรทมกลางดึก ทอดพระเนตรเหน็ นางสนมนอนหลบั มีอาการตา่ งๆ เชน่ บาง ค. คงคา ง. สินธุ คนนอนน้ำลายไหล กัดฟัน ละเมอ เป็นต้น ปรากฏแก่ พระองค์เหมือนซากศพในป่าช้า มีพระทัยน้อมไปในการ ๔. ใครถวายบริขารพระมหาบุรุษ คราวเสด็จออกผนวช ? บรรพชายิ่งนัก จึงตัดสินพระทัยสวมฉลองพระองค์ ทรงพระ ก. ทา้ วสักกะ ข. สหัมบดีพรหม ค. ฆฏกิ ารพรหม ง. พระอินทร์ ๕. เจ้าชายสทิ ธตั ถะเสดจ็ ออกผนวช เมอื่ มพี ระชนมายุกป่ี ี ? ก. ๑๖ ปี ข. ๒๙ ปี ค. ๓๕ ปี ง. ๘๐ ปี ๖. ข้อใด ไมน่ ับเข้าในเทวทูต ๔ ? ก. คนเกิด ข. คนแก่ ค. คนเจบ็ ง. คนตาย
๓๓ ๗. เจา้ ชายสิทธตั ถะอธษิ ฐานเพศเปน็ บรรพชิตท่ฝี ่ังแม่น้ำใด ? ๓. บรรพชาแลว้ พระมหาบรุ ุษทรงเร่มิ ศกึ ษาในสำนกั ใด ? ก. คงคา ข. ยมนุ า ก. กาฬเทวลิ ดาบส ข. กบิลดาบส ค. เนรญั ชรา ง. อโนมา ค. อาฬารดาบส ง. อุทกดาบส ปรเิ ฉทที่ ๕ ตรัสรู้ ๔. อาจารยท์ า่ นใด ที่พระมหาบรุ ุษเขา้ ไปศึกษาด้วยเปน็ คน พระเจา้ พิมพสิ ารเขา้ เฝา้ แรก ? พระมหาบรุ ษุ ทรงบรรพชาแลว้ ประทับอย่ทู ี่อนปุ ิยอัมพวัน ก. อาฬารดาบส ข. อทุ ทกดาบส แคว้นมัลละ เป็นเวลา ๗ วัน เสวยความสุขที่เกิดจาก บรรพชา ตอ่ จากนนั้ เสด็จไปบณิ ฑบาตทเี่ มอื งราชคฤห์ แคว้น ค. อชิตเกสมั พล ง. ปรู ณกัสสปะ มคธ พระเจ้าพิมพิสารเสด็จมาเข้าเฝ้า ทูลถามถึงพระชาติ ตระกูล จะถวายราชสมบัติให้กึ่งหนึ่ง พระองค์ทรงปฏิเสธ ปัญจวัคคีย์ออกบวช และทรงแสดงวัตถุประสงค์ของการเสด็จออกบรรพชา เพื่อ แสวงหาพระโพธิญาณให้ทราบ พระเจ้าพิมพิสารทูลขอ ฝ่ายโกณฑัญญะพราหมณ์ เมื่อทราบข่าววา่ พระมหาบุรุษ ปฏิญญาว่า หากได้ตรัสรู้แล้วขอให้เสด็จมาแสดงธรรมโปรด ดว้ ย ทรงรับปฏิญญาของพระเจ้าพิมพิสาร เสด็จออกบวชจึงชวนบุตรของพราหมณ์ออกบวชดว้ ยกันรวม เป็น ๕ คน คือ ๑) โกณฑญั ญะ ๒) วปั ปะ ๓) ภัททิยะ ๔) มหานามะ ๕) อัสสชิ มาพบพระมหาบุรุษขณะบำเพ็ญ ทกุ รกิรยิ า อยูท่ ต่ี ำบลอุรุเวลาเสนานคิ ม ทรงบำเพ็ญทุกรกิรยิ า ๓ วาระ _____________ เมื่อศึกษาจนหมดความรู้ของอาจารย์ หลังจากนั้นทรงลา ๑. กษตั รยิ ท์ ี่อัญเชญิ ใหส้ กึ ไปครองราชย์ดว้ ยคอื ใคร ? อาจารย์ท้ัง ๒ มาถงึ ตำบลอุรเุ วลาเสนานิคม แคว้นมคธ ก็พัก อาศัยบำเพ็ญทกุ รกิรยิ าอยูท่ ี่น้ี ๖ ปี ก. พระเจ้าปเสนทิโกศล ข. พระเจ้าพมิ พสิ าร พระมหาบรุ ุษได้ทดลองบำเพ็ญทุกรกิริยา คือ การกระทำ ค. พระเจา้ อชาตศัตรู ง. มลั ลกษตั ริย์ ที่ทำได้ยากอย่างยิ่ง ที่นักบวชในสมัยนั้นยกย่องกันว่าเป็น การกระทำอยา่ งเย่ยี ม ๓ วาระ คือ ศกึ ษาสมาธกิ ับพระดาบส ๑) ทรงกดพระทนต์ด้วยพระทนต์ กดพระตาลดุ ้วยพระ หลังจากที่พระเจ้าพิมพิสารทูลลากลับไปแล้ว พระมหา ชิวหา คอื กดฟนั ดว้ ยฟัน กดเพดานด้วยล้ิน บรุ ษุ เสด็จไปฝกึ สมาธิกับพระดาบส ๒ ท่าน คือ ๒) ทรงผ่อนกลน้ั ลมอัสสาสะและปสั สาสะ คอื ลมหายใจ เขา้ และหายใจออก ๑) อาฬารดาบส กาลามโคตร ไดส้ มาบตั ิ ๗ ๓) ทรงอดพระกระยาหาร ผ่อนเสวยแต่วันละน้อยจน ๒) อทุ กดาบส รามบตุ ร ไดส้ มาบัติ ๘ พระวรกายเหี่ยวแห่ง พระฉวีเศร้าหมอง พระอัฐิปรากฏท่ัว พระวรกาย _____________ ๑. หลังผนวชแลว้ พระมหาบุรุษเสด็จประทบั แรมท่แี ควน้ ใด ขณะที่บำเพ็ญทุกรกิริยาอยู่นั้น ปัญจวัคคีย์คอยเฝ้าดูแล อปุ ฏั ฐากทุกเช้าคำ่ ด้วยหวังว่าพระองคไ์ ด้บรรลธุ รรมแลว้ จกั ก่อน ? ทรงส่ังสอนพวกตนบา้ ง ก. มคธ ข. โกศล ค. สกั กะ ง. มลั ละ ๒. กษัตรยิ พ์ ระองค์ใด ทรงปกครองแควน้ มคธ ? ก. สุทโธทนะ ข. พิมพิสาร ค. ปเสนทิ ง. อุเทน _____________
๓๔ ๑. พระมหาบรุ ุษทรงบำเพญ็ ทุกรกริ ยิ า ณ ที่ใด ? หารใหม่ เพื่อที่จะบำเพ็ญเพียรทางใจต่อไป ปัญจวัคคีย์เห็น พระองค์คลายจากความเพียร พากันละทิ้งพระองค์ไปอยู่ท่ี ก. คยาสสี ะ ข. อรุ ุเวลาเสนานคิ ม ปา่ อิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมอื งพาราณสี ค. อนุปยิ อัมพวนั ง. ลฎั ฐวิ ัน ๒ ข้อใดไม่ใช่การบำเพ็ญทกุ รกิรยิ าของพระมหาบุรุษ ? _____________ ๑. พระมหาบุรษุ ทรงเลกิ บำเพญ็ ทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ? ก. อดขา้ ว อดน้ำ ข. กลั้นลมหายใจ ค. ขบฟนั ง. ยกแขนชฟ้ี ้า ก. ทรงท้อพระทยั ข. ทรงเบ่อื หน่าย ๓. ใครเป็นพยานการบำเพ็ญทุกรกริ ิยาของพระมหาบุรุษ ? ค. ทรงเหน็ ว่าไมใ่ ช่ทางตรัสรู้ ง. ทรงคลายความเพียร ก. อาฬารดาบส ข. อุทกดาบส ๒. ปญั จวัคคยี ห์ ลีกหนไี ป เพราะพระมหาบรุ ุษเลิกบำเพญ็ สิ่ง ค. ฉนั นะอำมาตย์ ง. ปัญจวคั คีย์ ใด ? ๔. ข้อใดไม่นบั เปน็ การบำเพ็ญทกุ รกิริยาของพระมหาบุรุษ ? ก. กดพระทนต์ ข. กลนั้ ลมหายใจ ก. กดพระทนต์ ข. กล้ันลมหายใจ ค. อดอาหาร ง. ถกู ทกุ ขอ้ ค. อดอาหาร ง. น่ังสมาธิ เหตุการณก์ อ่ นตรัสรู้ วนั เพญ็ ข้ึน ๑๕ คำ่ เดือน ๖ ทรงเลิกบำเพญ็ ทุกรกิริยา ๑) เชา้ รับขา้ วมธปุ ายาสจากนางสชุ าดา อุปมา ๓ ขอ้ ใต้ต้นอชปาลนิโครธ นางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส คือ พระมหาบุรุษบำเพ็ญทุกรกิริยาได้รับทุกขเวทนาอย่างย่ิง ข้าวสุกหุงด้วยน้ำนมโค พร้อมด้วยถาดทองคำ ทรงปั้นเป็น ๔๙ กอ้ น เสวยจนหมด แต่ไม่ทรงท้อพระทัย ขณะนั้นอุปมา ๓ ข้อ ได้เกิดขึ้นใน ๒) สาย ทรงอธิษฐานลอยถาด พระทัยของพระองค์ คือ เสด็จไปยังริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ทรงจับถาดทองคำ อธิษฐานลอยถาดวา่ ถา้ พระองค์จกั ตรัสรู้ ขอให้ถาดลอยทวน ๑) สมณพราหมณ์ที่มีกายไม่หลีกออกจากกาม มีความ กระแสน้ำขึ้นไป ทรงเห็นเป็นนิมิตว่า จักได้บรรลุพระสัมมา สัมโพธิญาณ พอใจในกาม แม้จะบำเพ็ญเพียรจนได้รับทุกขเวทนากล้า ก็ ๓) เยน็ ทรงรบั หญ้าคาจากโสตถยิ พราหมณ์ ทรงเสด็จไปท่ีต้นอัสสัตถพฤกษ์ (ต้นพระศรีมหาโพธ์ิ) ไม่ควรได้ตรัสรู้ เปรียบเหมือนไม้สดชุ่มด้วยยางแช่ในน้ำ ไม่ ระหว่างทาง โสตถิยพราหมณ์ถวายหญ้าคา สำหรับปูนั่ง ๘ กำ ทรงปูลาดใต้ต้นอัสสัตถพฤกษ์บังเกิดเป็นรัตนบัลลังก์สูง สามารถจะสีใหต้ ิดไฟได้ ๑๔ ศอก ประทับนงั่ สมาธผิ นิ พระพักตร์ไปทางทศิ ตะวนั ออก ทรงตั้งสตั ยาธษิ ฐานวา่ “หากไม่บรรลุธรรมเพียงใด จะไม่ ๒) สมณพราหมณท์ ี่มกี ายหลีกออกจากกาม แตย่ ังมคี วาม ลุกจากที่นั่งเพียงนั้น แม้ว่าเลือดและเนื้อจะเหือดแห้งไปก็ พอใจในกาม แม้บำเพ็ญเพียรจนได้รับทุกขเวทนากล้า ก็ไม่ ควรได้ตรัสรู้ เปรียบเหมือนไม้สดชุ่มด้วยยางวางอยู่บนบก ไม่สามารถจะสีใหต้ ดิ ไฟได้ ๓) สมณพราหมณ์ผู้มีกายออกจากกาม ละความพอใจใน กามเสียได้ แม้จะไม่บำเพ็ญเพียรจนได้รับทุกขเวทนากล้า ก็ควรตรสั รไู้ ด้ เปรยี บเหมอื นไมแ้ ห้งวางอย่บู นบก สามารถจะ สีใหต้ ิดไฟได้ ตามที” ๔) คำ่ ทรงชนะพญามาร ปัญจวคั คยี ์หนีจากพระมหาบุรษุ พญาวสวัตตีมาร ยกพลเสนามารเข้าขัดขวาง พระองค์ พระมหาบุรุษเห็นว่า การบำเพ็ญทุกรกิริยาไม่สามารถท่ี ทรงยกเอาบารมี ๓๐ ทัศเข้าต่อสู้ แม่พระธรณีขึ้นมาเป็น จะบรรลุธรรมได้ จึงละการบำเพ็ญนั้นหนั มาเสวยพระกระยา
๓๕ พยาน บีบน้ำจากมวยผมท่วมพญามารและเสนามารจนพ่าย ธรรมกาย ที่ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา แพก้ ลับไป ขณะนัน้ พระชนมายุได้ ๓๕ พรรษา บำเพญ็ ความเพียรอยู่ ๖ ปี วนั ตรัสรธู้ รรมเรียกว่า วันวิสาขบชู า _____________ อรยิ สจั คือ ความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ใครถวายข้าวมธุปายาสแก่พระมหาบุรุษในวนั ตรัสรู้ ? ๑) ทุกข์ คอื ความไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ ๒) สมุทัย คอื เหตุเกิดทุกข์ ก. พระนางพิมพา ข. พระนางอมติ า ๓) นิโรธ คอื ความดับทกุ ข์ ๔) มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดบั ทุกข์ ค. นางสชุ าดา ง. นางวิสาขา ๒. พราหมณ์ถวายหญ้าคาแก่พระมหาบรุ ษุ นามวา่ อะไร ? ก. โสตถิยะ ข. ปุกกสุ ะ ค. ฉนั นะ ง. ตปสุ สะ _____________ ๑. พระพุทธเจา้ ตรัสรใู้ นวันใด ? ๓. ตน้ พระศรมี หาโพธิ์ มชี ื่อเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าอะไร ? ก. อสั สตั ถพฤกษ์ ข. ชยั พฤกษ์ ก. วันเพ็ญ เดือน ๓ ข. วันเพ็ญ เดอื น ๖ ค. ราชพฤกษ์ ง. กลั ปพฤกษ์ ค. วันเพ็ญ เดือน ๘ ง. วันเพ็ญ เดอื น ๑๐ ๔. พระมหาบุรุษอธิษฐานลอยถาด ทแี่ มน่ ้ำใด ? ๒. พระพทุ ธเจ้าตรสั รู้อะไร ? ก. คงคา ข. ยมนุ า ก. สมมติสจั จะ ข. ธรรมสัจจะ ค. เนรัญชรา ง. อโนมา ค. อริยสจั จะ ง. ปรมัตถสัจจะ ๕. พระมหาบุรษุ อธษิ ฐานจะไม่ลุกจากที่น่ังหากยังไมต่ รัสรู้ ๓. พระมหาบรุ ุษผนวชได้ก่ปี ี จงึ ตรัสรู้ ? ณ โคนต้นไม้ใด ? ก. ๕ ปี ข. ๖ ปี ก. ตน้ สาละ ข. ต้นโพธิ์ ค. ๗ ปี ง. ๘ ปี ค. ต้นไทร ง. ตน้ มจุ รินทร์ ปรเิ ฉทที่ ๖ แสดงปฐมเทศนา ตรัสรู้ เสวยวิมตุ ตสิ ุข พระมหาบุรุษหลังจากตรัสรู้ธรรมแล้ว ประทับเสวย พระมหาบุรุษทรงชนะพญามารและเสนามารแล้ว ทำใจ วิมุตติสุข คือสุขที่เกิดจากการหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ ๗ หยุดนิ่งเป็นหนึ่งเดียวดำเนินใจไปในทางสายกลาง ได้บรรลุ สปั ดาห์ ในสถานที่ ๗ แห่ง รวมเป็น ๔๙ วนั ตามลำดับ ดังนี้ ธรรมตามลำดับ ดงั ตอ่ ไปนี้ สัปดาห์ที่ ๑ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ทรงพิจารณา ปฏจิ จสมุปบาทธรรมโดยอนโุ ลมและปฏิโลมตามลำดบั ๑) ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ความรู้ สัปดาห์ที่ ๒ อนิมิสเจดีย์ ทรงประทับยืนมองต้นพระศรี ระลึกชาติหนหลังของตนได้ มหาโพธิ์ อยทู่ างทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนือ ๗ วนั ๒) มัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ ความรู้การจุติ สัปดาห์ที่ ๓ รัตนจงกรมเจดีย์ เสด็จจงกรมระหว่าง อนิมิสเจดียก์ บั ตน้ พระศรีมหาโพธิ์ (ตาย) และการอุบตั ิ (เกิด) ของสัตวท์ ง้ั หลาย สัปดาห์ที่ ๔ รัตนฆรเจดีย์ ทรงพิจารณาพระอภิธรรม ๓) ปจั ฉิมยาม ทรงบรรลอุ าสวักขยญาณ ความรู้เปน็ เหตุ ปิฎกที่เรือนแก้ว อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของต้นพระ ศรีมหาโพธ์ิ ๗ วนั สิน้ อาสวะ คือ อริยสจั ๔ ตรัสรเู้ ป็นพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ อรยิ สจั ๔ ในยามสุดท้ายของวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เป็นการเกิดครั้งที่ ๒ คือ เกิดด้วย
๓๖ สัปดาห์ที่ ๕ ใต้ต้นอชปาลนิโครธ (ต้นไทร) อยู่ทางทิศ ดอกบัว ๔ เหลา่ ตะวันออกของต้นพระศรีมหาโพธิ์ ๗ วัน ทรงแสดงธรรมแก่ พระองค์รับคำอาราธนาของท้าวสหัมบดีพรหม ทรง พราหมณ์คนหนึ่งที่ชอบตวาดคนอื่นว่า “หึหึ” ทรงผจญธิดา มาร ๓ ตน คอื ตณั หา ราคา อรดี พิจารณาเห็นอุปนิสัยของสัตว์โลก เปรียบด้วยดอกบัว ๔ เหล่า คือ สัปดาห์ที่ ๖ ใต้ต้นมุจจลินท์ (ต้นจิก) อยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ของต้นพระศรีมหาโพธิ์ ฝนตกตลอด ๗ ๑) อุคฆฏิตัญญู ผู้มีปัญญาดี เพียงฟังแต่หัวข้อธรรมก็ วัน พญานาคออกมาขดกายแผพ่ งั พานปอ้ งกันฝนให้ สามารถเข้าใจได้ทนั ที เปรยี บเหมือนบัวพ้นน้ำ สัปดาห์ที่ ๗ ใต้ต้นราชายตนะ (ต้นเกตุ) อยู่ทางทิศใต้ ๒) วิปจิตัญญู ผู้มีปัญญาปานกลาง เมื่อฟังหัวข้อธรรม ของต้นพระศรีมหาโพธิ์ มีพ่อค้า ๒ คน คือ ตปุสสะและภัลลิ และคำอธิบายประกอบก็เข้าใจ เปรียบเหมอื นบัวเสมอผิวนำ้ กะ ถวายขา้ วสัตตุก้อนสัตตผุ ง และแสดงตนเปน็ ปฐมอุบาสก คือ ขอถึงพระพุทธและพระธรรมเป็นสรณะตลอดชีวิต ๓) เนยยะ ผู้มีปัญญาน้อย เมื่อได้ฟังธรรมซ้ำ ๆ และ เรียกว่า เทฺววาจิกอุบาสก หลังจากตรัสรู้ทรงเสวยวิมุตติสุข ปฏิบัติด้วยความพากเพียร กจ็ ะเข้าใจได้ เปรยี บเหมือนบัวใต้ ๔๙ วนั ในสถานที่ ๗ แหง่ เรียกว่า สตั ตมหาสถาน น้ำ รอวนั บานในวนั ต่อๆ ไป _____________ ๔) ปทปรมะ ผู้อับปัญญา ไม่สามารถเข้าใจธรรมได้ เปรียบเหมอื นดอกบัวทอี่ ยใู่ นโคลนตม เป็นอาหารของปลา ทรงพิจารณาเห็นความแตกต่างกันแห่งอุปนิสัยของสัตว์ ๑. สัปดาห์แรกหลงั ตรัสรู้ พระศาสดาทรงพิจารณาธรรมใด ? โลก ทรงทำอายุสังขาราธิษฐานว่า จะดำรงพระชนม์อยู่ จนกว่าพระศาสนาจะแพรห่ ลายตัง้ มั่นถาวร ก. อริยสจั ข. อรยิ มรรค ทรงดำริผู้รับปฐมเทศนา ครั้งแรกนึกถึงอาฬารดาบสและ ค. บารมี ง. ปฏจิ จสมุปบาท อุทกดาบส เนื่องจากท่านทั้งสองเป็นคนฉลาด มีกิเลสบาง เบา สามารถรู้ธรรมได้ฉับพลันแต่เสียชีวิตไปแล้ว พระองค์ ๒. ข้อใดไม่ใช่ธดิ ามารท่ีประเล้าประโลมพระมหาบรุ ษุ ? ทรงนึกถึงปญั จวัคคยี ์ผอู้ ุปฏั ฐากจึงเสด็จไปโปรด ก. อรดี ข. ราคา ในระหว่างทางได้พบอุปกาชีวกเดินสวนทางมา ได้เห็น พระวรกายของพระองค์ผอ่ งใส จึงทูลถามว่า ใครเป็นศาสดา ค. ตัณหา ง. อิสสา ของท่าน พระองค์ตรัสตอบว่า เราเป็นผู้ตรัสรู้เองไม่มีใคร เปน็ ครสู งั่ สอน อปุ กาชวี กได้ฟงั ดงั นน้ั ส่ันศีรษะแล้วหลีกไป ๓. คำว่า นโิ ครธ เป็นช่ือของต้นไม้ใด ? ก. ต้นจิก ข. ตน้ ไทร ค. ตน้ โพธิ์ ง. ต้นรงั ๔. เทววาจกิ อบุ าสก หมายถึงใคร ? ก. ตปุสสะ ภัลลิกะ ข. บดิ ายสะ _____________ ๑. บคุ คลผมู้ ีปญั ญาเฉยี บแหลมอุปมาด่งั บวั พ้นนำ้ ตรงกับ ค. มารดายสะ ง. นางสุชาดา พระพรหมมาอาราธนาใหท้ รงแสดงธรรม ขอ้ ใด ? พอล่วง ๗ วันไปแล้ว ทรงกลับไปประทับนั่งที่ใต้ต้นไทร ก. อุคฆติตัญญู ข. วิปจิตญั ญู ทรงพิจารณาเห็นว่า ธรรมะที่พระองค์ตรัสรู้เป็นของลึกซ้ึง ค. เนยยะ ง. ปทปรมะ ยากที่บุคคลอื่นจะตรัสรู้ตามได้ ท้าวสหัมบดีพรหมมา อาราธนาให้แสดงธรรมโดยอ้างเหตุผลว่า ผู้ที่มีกิเลสน้อย ๒. เวไนยสตั ว์เปรียบได้กับดอกบัวก่เี หลา่ ? พอจะรู้พระธรรมไดม้ อี ยู่ ก. ๒ เหล่า ข. ๓ เหลา่ ค. ๔ เหล่า ง. ๕ เหลา่
๓๗ ๓. ระหว่างทางเสดจ็ ไปเมืองพาราณสี พระพทุ ธเจา้ ทรงพบ ๓. ธมั มจักกัปปวตั ตนสตู ร เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ อะไร ? กบั ผใู้ ด ? ก. อริยสัจ ข. อรยิ มรรค ก. นางสุชาดา ข. นายโสตถิยะ ค. ปฐมเทศนา ง. อนปุ ุพพิกถา ค. พานิช ๒ พ่นี อ้ ง ง. อุปกาชีวก ๔. มชั ฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ไดแ้ ก่อะไร ? ๔. บคุ คลผมู้ ปี ัญญาเฉียบแหลม เปรียบเหมอื นบัวชนดิ ใด ? ก. สมาบัติ ๘ ข. วิชชา ๘ ก. บวั พ้นน้ำ ข. บวั เสมอนำ้ ค. อรยิ บุคคล ๘ ง. มรรค ๘ ค. บัวจมน้ำ ง. บัวจมโคลน ๕. ผูไ้ ดด้ วงตาเห็นธรรม หมายถึง พระอรยิ บุคคลช้ันไหน ? ปฐมเทศนา ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี ทรงแสดงธัมมจกั กัปปวัตตนสูตร สูตรว่าด้วยการหมุนวง ค. พระอนาคามี ง. พระอรหันต์ ล้อพระธรรมแก่ปัญจวัคคีย์ เมื่อวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ๖. ผู้ใดได้ดวงตาเหน็ ธรรมหลงั ฟงั ปฐมเทศนา ? (อาสาฬหบชู า) ทป่ี ่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมืองพาราณสี มี ก. โกณฑัญญะ ข. วปั ปะ เนือ้ ความโดยยอ่ ว่า ค. ภทั ทยิ ะ ง. มหานามะ ๑) ทรงแสดงทางสดุ โต่ง ๒ ทาง มใิ ชท่ างตรัสรู้ ไดแ้ ก่ ๗. พระสาวกรปู ใด ได้รับการอปุ สมบทเป็นปฐมเอหิภิกขุ ? -กามสขุ ลั ลิกานุโยค การประกอบตนให้พัวพนั อยใู่ นกาม ก. พระสารีบตุ ร ข. พระอานนท์ -อตั ตกิลมถานโุ ยค การทรมานตวั เองใหล้ ำบาก ค. พระมหากสั สปะ ง. พระโกณฑัญญะ ๒) ทรงแสดงมัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ประกอบดว้ ยมรรคมีองค์ ๘ ๘. พระอริยสาวกองค์แรก คือใคร ? ๓) ทรงแสดงอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เมื่อทรงแสดงปฐมเทศนาจบ ธรรมจักษุ คือดวงตาเห็น ก. พระวัปปะ ข. พระภทั ทิยะ ธรรมเกิดขึ้นแก่ท่านโกณฑัญญะว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความ เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับสิ้นไปเปน็ ค. พระอญั ญาโกณฑัญญะ ง. พระอสั สชิ ธรรมดา” เป็นคนแรกที่บรรลุเป็นพระโสดาบัน พระพุทธ องค์ทรงเปล่งวาจาว่า “อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ” ๙. พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่ใคร ? โกณฑญั ญะได้รแู้ ลว้ หนอ ก. ปญั จวคั คยี ์ ข. ภทั ทวคั คีย์ ค. ชฎิล ๓ พี่นอ้ ง ง. ฉัพพคั คีย์ ๑๐. พระพทุ ธเจ้าแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ในวันอะไร ? ก. มาฆบชู า ข. วสิ าขบูชา ค. อัฏฐมีบูชา ง. อาสาฬหบชู า _____________ แสดงอนตั ตลกั ขณสตู ร ๑. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระพุทธเจา้ ทรงแสดงแก่ใคร ? ทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ก. ปัญจวัคคยี ์ ข. ยสกลุ บุตร พร้อมกันทั้ง ๕ องค์ ในวันแรม ๕ ค่ำ เดือน ๘ มีเนื้อความ ค. ภทั ทวคั คีย์ ง. ชฎลิ ๓ พน่ี ้อง ย่อว่า “ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็น ๒. ทางสดุ โตง่ ๒ อยา่ งและทางสายกลางอยู่ในพระสูตรใด ? อนัตตา ไม่ใช่ตัวตนบังคับบัญชาไม่ได้ ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็น ก. ธัมมจกั กัปปวตั ตนสูตร ข. อนัตตลักขณสูตร ทกุ ข์ ไม่ควรยดึ ม่ันถือมั่นวา่ น่นั เป็นตัวตนของเรา” ค. อาทติ ตปริยายสูตร ง. เวทนาปริคคหสตู ร _____________
๓๘ ๑. ในอนตั ตลักขณสตู ร พระพุทธเจ้าแสดงสิง่ ใดวา่ เปน็ ปฐมอบุ าสก ตอนเช้า เศรษฐีผู้เป็นบิดาของยสะออกตามหาบุตร เดิน อนตั ตา ? ไปทางป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เหน็ รองเทา้ ของบุตรวางอยู่จึง ก. มรรค ๘ ข. ขนั ธ์ ๕ เดินเข้าไป ได้พบพระพุทธองค์ ทรงแสดงอิทธาภิสงั ขาร คือ การปรุงแตง่ ฤทธ์ิข้นึ ไมใ่ ห้บิดาเหน็ บุตร ค. อรยิ สจั ๔ ง. ธาตุ ๔ ทรงแสดงอนุปุพพิกถาและอริยสัจ ๔ ให้ฟัง เศรษฐีได้ ๒. พระอรหนั ต์เกดิ ข้ึนในโลกคร้ังแรก เพราะฟังพระสตู รใด? บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ประกาศตนเป็นอุบาสกขอถึง พระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชวี ิตเป็นคนแรก เรียกวา่ เตวา ก. ธมั มจักกปั ปวตั ตนสูตร ข. อนตั ตลกั ขณสูตร จกิ อบุ าสก ส่วนยสะไดบ้ รรลุธรรมเปน็ พระอรหนั ต์ ปฐมอุบาสิกา ค. อาทิตตปริยายสตู ร ง. อนุปุพพิกถา เศรษฐีทลู อาราธนาพระพุทธองค์ไปเสวยภัตตาหารที่บ้าน ๓. พระปญั จวคั คยี ์ ฟงั อนัตตลักขณสตู รจบได้สำเรจ็ เป็นพระ มีพระยสะติดตามไปดว้ ย ทรงแสดงอนปุ พุ พิกถาและอริยสัจ ๔ แกม่ ารดาและภรรยาเก่าของพระยสะ คร้ันจบพระธรรม อรยิ บคุ คลชั้นใด ? เทศนาได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ประกาศตนเป็น ก. พระโสดาบัน ข. พระสกทาคามี ค. พระอนาคามี ง. พระอรหนั ต์ ๔. หลงั ฟงั อนัตตลักขณสตู ร ปญั จวคั คียเ์ ป็นพระอรยิ บคุ คล ชั้นใด ? ก. โสดาบัน ข. สกทาคามี ค. อนาคามี ง. อรหนั ต์ อุบาสกิ า ขอถึงพระรตั นตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิตเป็นคนแรก เรยี กว่า เตวาจิกอบุ าสิกา ๕. แสดงอนัตตลกั ขณสูตรจบพระอรหันต์เกดิ ข้ึนก่ีองค์ ? เพื่อนพระยสะ ๕๔ คนออกบวช ก. ๕ องค์ ข. ๑๑ องค์ เพื่อนของพระยสะ ๕๔ คน ปรากฏช่ือ ๔ คน คือ วิมละ สุพาหุ ปุณณชิ ควัมปติ ทราบข่าวการบวชของพระยสะจึง ค. ๖๑ องค์ ง. ๘๐ องค์ ออกบวชตาม พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปุพพิกถาและ อริยสัจ ๔ ให้ฟัง ครั้นจบพระธรรมเทศนาได้บรรลุธรรมเป็น ปริเฉทที่ ๗ ประกาศพระศาสนา พระโสดาบัน กราบทูลขอบรรพชาอุปสมบท ต่อมาได้บรรลุ ธรรมเป็นพระอรหันต์ ทำให้ขณะนั้นมีพระอรหันตสาวก โปรดยสกลุ บตุ ร เกดิ ข้ึนในโลก ๖๐ องค์ รวมกบั พระพทุ ธเจา้ เป็น ๖๑ องค์ ยสะเป็นบุตรของเศรษฐีชาวกรุงพาราณสี มีปราสาท ๓ _____________ หลงั เปน็ ท่ีพัก ๓ ฤดู ทา่ นเห็นอาการตา่ งๆ ของบริวารที่กำลัง ๑. ท่นี ่วี ่นุ วายหนอ ท่ีนขี่ ดั ข้องหนอ เป็นคำพูดของใคร ? นอนหลบั ปรากฏเหมือนซากศพในป่าช้า มจี ิตใจเบ่ือหน่ายใน การครองเรือน จึงเดินเปล่งอุทานว่า “ที่นี่วุ่นวายหนอ ที่นี่ ก. โกณฑัญญะ ข. ยสกุลบุตร ขัดข้องหนอ” เดินออกจากปราสาท ผ่านไปทางป่าอิสิปตน มฤคทายวนั ค. อุปตสิ สะ ง. โกลิตะ ในเวลาใกล้รุ่งพระพุทธองค์เสด็จจงกรม ทรงได้ยินเสียง ๒. พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปุพพีกถาคร้ังแรกแก่ใคร ? อุทานของเขา จึงตรัสว่า “ที่นี่ไม่วุ่นวายหนอ ที่นี่ไม่ขัดข้อง หนอ ท่านจงมาที่นี่เถิด นั่งลงเถิด เราจักแสดงธรรมแก่ ก. พระยสะ ข. พ่อพระยสะ ทา่ น” ครัน้ ฟงั อนุปุพพิกถาและสามุกกังสิกธรรม (อรยิ สัจ ๔) จบ ไดบ้ รรลธุ รรมเป็นพระโสดาบนั ค. แมพ่ ระยสะ ง. เพอื่ นพระยสะ
๓๙ ๓. อบุ าสกคนแรกผู้ถงึ รตั นะ ๓ คอื ใคร ? ของอุรุเวลกัสสปะ เป็นเจ้าลัทธิบูชาไฟ สร้างอาศรมอยู่ที่ริม ฝ่ังแมน่ ้ำเนรัญชรา ทรงแสดงปาฏิหารยิ ์ทรมานอุรุเวลกัสสปะ ก. อนาถปิณฑกิ ะ ข. ตปุสสะและภลั ลกิ ะ ให้เห็นว่า ลัทธิของตนไม่มีแก่นสารสาระ และให้เกิดความ สังเวชสลดใจจนคลายทิฏฐิมานะได้ จึงทูลขอบวชพร้อมทั้ง ค. พระเจา้ สุทโธทนะ ง. บิดาของพระยสะ บริวาร ๕๐๐ คน ๔. ผถู้ ึงรตั นะ ๓ เป็นสรณะ เรียกว่าอะไร ? นทีกัสสปะ (มีบริวาร ๓๐๐ คน) และคยากัสสปะ (มี บริวาร ๒๐๐ คน) ซึ่งเป็นน้องชายของอุรุเวกัสสปะ เห็น ก. เทววาจกิ อบุ าสก ข. เตวาจิกอุบาสก บริขารของพี่ชายลอยมาคิดว่า มีอันตรายเกิดแก่พี่ชาย พา บรวิ ารมาสำนกั ของพ่ชี าย เหน็ พ่ีชายบวชเปน็ ภกิ ษุ ถามจนได้ ค. จตุวาจิกอุบาสก ง. ปญั จวาจิกอุบาสก ความวา่ พรหมจรรยน์ ีเ้ ปน็ ของประเสรฐิ จงึ บวชตาม ๕. มารดาและภรรยาของพระยสะ เปน็ พระอรยิ บุคคลช้ัน ทรงประทับอยู่ท่ีตำบลอุรุเวลาเสนานิคมพอสมควรแล้ว พร้อมด้วยภิกษุ ๑,๐๐๓ รูป เสด็จไปที่ริมฝั่งแม่น้ำคยา ใด ? ตำบลคยาสีสะ กรงุ ราชคฤห์ ก. โสดาบัน ข. สกทาคามี ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรว่า “อายตนะภายใน ๖ ค. อนาคามี ง. อรหนั ต์ ๖. พระสาวกองค์แรก สำเรจ็ เปน็ พระอรหันต์ขณะยังเปน็ คฤหัสถ์ ตรงกับข้อใด ? ก. พระยสะ ข. พระอานนท์ ค. พระนันทะ ง. พระอบุ าลี ๗. อบุ าสกคนแรกผู้ถึงพระรตั นตรยั เป็นทพ่ี ึง่ ตลอดชวี ติ ตรง อายตนะภายนอก ๖ เป็นของร้อน ร้อนเพราะถูกไฟ คือ ราคะ โทสะ โมหะ และเพลิงทกุ ขค์ อื ชาติ ชรา มรณะเป็นต้น กับข้อใด ? เผาไหม้” เมื่อแสดงธรรมจบทั้งหมดได้บรรลุธรรมเป็นพระ อรหันต์ ก. บดิ าพระยสะ ข. มารดาพระยสะ ค. ภรรยาพระยสะ ง. เพื่อนพระยสะ เสน้ ทางประกาศศาสนา _____________ ๑. พระสาวกท่ีไปประกาศพระศาสนาคร้ังแรกกอ่ี งค์ ? ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธองค์ทรงตรัสเรียกพระ สาวก ๖๐ องค์ มาประชมุ พรอ้ มกันทรงใหโ้ อวาทสง่ ไปเผยแผ่ ก. ๕ องค์ ข. ๗ องค์ พระศาสนา เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แกท่ วยเทพและมนุษย์ท้ังหลาย ค. ๔๕ องค์ ง. ๖๐ องค์ แมพ้ ระองค์เองกเ็ สดจ็ ไปท่ีตำบลอรุ ุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดง ๒. ท่านจะแสวงหาหญงิ หรอื แสวงหาตนดกี ว่า ใครกลา่ ว ? ธรรมโปรดชฏลิ ๓ พ่นี ้อง ก. พระพุทธเจ้า ข. ภัททวัคคีย์ ไร่ฝ้าย ระหว่างทรงพบภัททวัคคีย์ ๓๐ คน เที่ยวหา ค. ปัญจวัคคยี ์ ง. พระยสะ ผู้หญงิ โสเภณีที่ขโมยเครอ่ื งประดบั แล้วหนีไป ทรงแสดงอนุ ๓. พระอุรเุ วลกสั สปะ เดิมนับถือลัทธอิ ะไร ? ปุพพิกถาและอริยสัจ ๔ ให้ฟัง ได้บรรลุธรรมเป็นพระ ก. บชู าไฟ ข. บูชายัญ โสดาบันบ้าง พระสกทาคามีบ้าง และพระอนาคามีบ้าง แล้ว ค. บชู าเทวดา ง. บชู าพรหม ทูลขอบวช ทรงส่งไปเผยแผ่พระศาสนาทีเ่ มืองปาวา ๔. ผู้ใด ไม่นับเข้าในชฎิล ๓ พน่ี ้อง ? โปรดชฎลิ ๓ พ่นี อ้ ง ก. อุรุเวลกัสสปะ ข. นทกี สั สปะ เสดจ็ ถงึ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ทรงขอเข้าพกั ในอาศรม ค. คยากัสสปะ ง. กุมารกัสสปะ
๔๐ ๕. พระพุทธองค์ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรโปรดใคร ? รับส่วนบุญจากพระเจ้าพิมพิสาร ในราตรีคืนนั้นมาแสดง รปู รา่ งและส่งเสียงให้ไดย้ ิน ทรงสะดุ้งตกใจตืน่ ขึน้ มา ก. ปัญจวคั คยี ์ ข. ภทั ทวัคคยี ์ ตอนเช้าเสด็จไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าได้ทราบความจริง ค. ชฎิล ๓ พี่นอ้ ง ง. ปริพาชก จึงนิมนต์พระพุทธองค์และหมู่สงฆ์ไปเสวยภัตตาหาร ทรง หลั่งน้ำทักษิโณทกอุทิศส่วนบุญทำปุพพเปตพลีให้เปรต ๖. ชฎลิ ๓ พี่น้อง ถือลัทธิบูชาสิง่ ใด ? ทั้งหลาย พ้นจากสภาพเปรต ได้เสวยสมบัติทิพย์ไปเกิดเปน็ เทวดา ก. ดนิ ข. นำ้ ค. ไฟ ง. ลม ปรเิ ฉทท่ี ๘ โปรดพระเจา้ พิมพิสาร โปรดพระเจา้ พิมพิสารและบริวาร ๑๒ นหตุ _____________ แคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ มีเมืองราชคฤห์เป็นเมืองหลวง ๑. วัดแหง่ แรกในพระพุทธศาสนา ชือ่ ว่าอะไร ? พระพุทธองค์ทรงเลือกแคว้นมคธเป็นที่ประดิษฐาน ก. เชตวนั ข. เวฬุวัน พระพุทธศาสนาเป็นแคว้นแรก เพราะเป็นแคว้นที่มีความ เจรญิ มัน่ คงในดา้ นการเมือง ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ด้าน ค. บพุ พาราม ง. นโิ ครธาราม การศึกษาและศาสนา เสด็จไปประทับที่สวนลัฏฐิวัน (สวน ตาลหนมุ่ ) พรอ้ มดว้ ยพระภิกษุ ๑,๐๐๓ รูป ๒. ใครสร้างวัดถวายพระพุทธเจา้ เปน็ คนแรก ? พระเจ้าพมิ พสิ ารพร้อมดว้ ย บรวิ าร ๑๒ นหตุ เสดจ็ มาเขา้ ก. พระเจ้าพมิ พิสาร ข. นางมัลลิกา เฝ้า ได้ฟังอนุปุพพิกถาและสามุกกังสิกเทสนา บริวาร ๑๑ นหุต ได้ดวงตาเห็นธรรม อีก ๑ นหุต ตั้งอยู่ในไตรสรณคมน์ ค. อนาถปณิ ฑิกะ ง. นางวสิ าขา (๑ นหุต = ๑๐,๐๐๐ คน) ๓. ใครทำปพุ พเปตพลีเปน็ คนแรก ในพระพุทธศาสนา ? ก. พระเจา้ พมิ พิสาร ข. พระเจา้ ปเสนทิโกศล ค. อนาถบิณฑิกเศรษฐี ง. ธนญั ชัยเศรษฐี ๔. บรวิ ารพระเจ้าพิมพิสารเคารพพระพุทธเจ้าเพราะใคร ? _____________ ก. พระอัสสชิ ข. พระอรุ ุเวลกสั สปะ ๑. พระพุทธเจา้ ประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาครงั้ แรกทใี่ ด ? ค. พระยสะ ง. พระวัปปะ ก. มคธ ข. วชั ชี ทรงไดพ้ ระอัครสาวก ค. มัลละ ง. กาสี อัครสาวกเบ้ืองซา้ ย คอื พระมหาโมคคลั ลานะ ได้รบั ยก ๒. แควน้ ใดทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงเลอื กประดษิ ฐานพระศาสนา ยอ่ งว่าเปน็ เอตทัคะทางดา้ นมีฤทธิ์มาก มีช่ือเดิมว่า โกลิตะ เปน็ แหง่ แรก ? อัครสาวกเบ้ืองขวา คือ พระสารีบตุ ร ได้รับยกยอ่ งว่าเป็น ก. แคว้นมคธ ข. แควน้ กาสี เอตทัคะทางดา้ นมีปญั ญามาก ชอื่ เดิมวา่ อปุ ตสิ สะ ค. แคว้นโกศล ง. แควน้ วัชชี ก่อนบวชทง้ั สองเป็นเพ่อื นกันออกบวชเป็นปริพาชก ทรงรบั พระอทุ ยานเวฬุวนั เป็นสงั ฆาวาส อุปติสสะได้ฟังธรรมจากพระอัสสชิว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่ ในวันรุ่งขึ้น พระพุทธองค์เสด็จไปเสวยภัตตาหารที่พระ เหตุ พระตถาคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้นและความ ราชนิเวศน์ของพระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ ดับแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้” จึงได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วกลับไปบอกโกลิตะให้ได้ฟังธรรม พระเจา้ พิมพิสารได้ถวายพระราชอทุ ยานเวฬุวนั ให้เป็นสังฆา นน้ั จากโกลติ ะ ก็ไดด้ วงตาเหน็ ธรรมตาม จากน้ันท้ังสองจึงไป เข้าเฝ้าพระพุทธเจา้ ที่วดั เวฬุวนั ทลู ขออปุ สมบท ราม คือ วดั เวฬุวนั (ปา่ ไม้ไผ่) เป็นวัดแรกในพระพทุ ธศาสนา ขณะนั้นเปรตที่เคยเป็นญาติของพระเจ้าพิมพิสารเมื่อไม่ได้
๔๑ พระมหาโมคคัลลานะ หลังจากอุปสมบทได้ ๗ วัน ไป ๕. พระสารบี ุตรเปน็ พระอรหันต์ หลงั อุปสมบทแล้วกว่ี ัน ? บำเพ็ญเพียรอยู่ที่บ้านกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ ถูก ความงว่ งเข้าครอบงำ พระพุทธองคท์ รงแสดงอบุ ายแก้งว่ ง ๘ ก. ๗ วนั ข. ๑๒ วนั ประการ และทรงสอนต่อไปว่า โมคคัลลานะ เธอควร สำเหนยี กในใจอย่างน้วี า่ ค. ๑๕ วนั ง. ๓๐ วนั ๑) เราจักไม่ชงู วง (ถอื ตวั ) เขา้ ไปสตู่ ระกูล ๖. พระอคั รสาวกเบอื้ งขวา เดิมชื่อวา่ อะไร ? ๒) เราจักไม่พูดคำอันเปน็ เหตเุ ถยี งกัน เพราะจะเป็นเหตุ ใหห้ ่างจากสมาธิ ก. สทุ ัตตะ ข. โกลติ ะ ๓) เราจักไม่คลุกคลีด้วยคฤหัสถ์และบรรพชิต แต่ควร คลกุ คลดี ้วยเสนาสนะอันสงดั ค. อปุ ตสิ สะ ง. ราธะ และได้ฟงั ตัณหักขยธรรม คอื ข้อปฏบิ ัติท่ีภิกษุปฏิบัติแล้ว ชือ่ ว่า ยอ่ มน้อมไปในธรรมเปน็ ทส่ี นิ้ ไปแหง่ ตัณหา ท่านปฏบิ ตั ิ ๗. พระเถระใด เป็นพระอคั รสาวกเบ้อื งขวา ? ตามพระโอวาทไดส้ ำเร็จเป็นพระอรหันตใ์ นวันนัน้ พระสารีบุตร หลังจากอุปสมบทได้ ๑๕ วัน ท่านถวาย ก. พระสารบี ตุ ร ข. พระโมคคัลลานะ ค. พระยสะ ง. พระอสั สชิ ๘. อุปตสิ สปริพาชกเกิดดวงตาเห็นธรรม เพราะได้ฟังธรรม จากพระเถระใด ? ก. พระวัปปะ ข. พระภทั ทยิ ะ ค. พระมหานามะ ง. พระอัสสชิ ๙. พระอัครสาวกเบอ้ื งซ้าย ตรงกบั ข้อใด ? งานพัดเบื้องพระปฤษฎางค์ (หลัง) ของพระพุทธองค์ทรง ก. พระสารีบตุ ร ข. พระโมคคัลลานะ แสดงธรรมชื่อว่า เวทนาปริคคหสูตร แก่ฑีฆนขปริพาชก ที่ ถ้ำสุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์ ท่านพิจารณา ค. พระอานนท์ ง. พระอบุ าลี ธรรมไปด้วย ไดบ้ รรลุธรรมเปน็ พระอรหนั ต์ ปริเฉทท่ี ๙ พทุ ธกิจในแคว้นมคธ _____________ ประทานอปุ สมบทแก่พระมหากสั สปะ ๑. พระโมคคัลลานะ เดิมเป็นนักบวชในลทั ธใิ ด ? ก่อนอุปสมบทท่านมีชื่อว่า ปิปผลิ เป็นบุตรชายของกบิล ก. ปริพาชก ข. ชฏลิ พราหมณ์ในหมู่บ้านมหาติตถะ แคว้นมคธ แต่งงานเมื่ออายุ ๒๐ ปี กับนางภทั ทกาปิลานี ผมู้ อี ายุ ๑๖ ปี ทงั้ ๒ เบื่อหน่าย ค. อาชวี ก ง. นิครนถ์ ในการครองเรือน ถือเพศบรรพชิตบวชอุทิศพระอรหันต์ใน โลก ได้พบพระพุทธองค์ที่ใต้ต้นไทรชื่อว่า พหุปุตตนิโครธ ๒. พระโมคคลั ลานะ ขณะบำเพ็ญเพียรมอี ุปสรรคเรื่องใด ? ระหว่างเมอื งราชคฤหก์ บั เมืองนาลนั ทา ทรงอุปสมบทให้ด้วย ประทานโอวาท ๓ ข้อ (โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา) ก. ความหวิ ข. ความรอ้ น ค. ความเหนือ่ ย ง. ความงว่ ง ๓. เธอไมพ่ งึ ชูงวงถือตวั เขา้ ไปสูต่ ระกลู พระองคส์ อนใคร ? _____________ ๑. ปปิ ผลิมาณพ เป็นคนเดียวกันกบั ข้อใด ? ก. พระสารีบตุ ร ข. พระมหาโมคคลั ลานะ ค. พระมหากสั สปะ ง. พระอุรเุ วลกสั สปะ ก. อปุ ตสิ สะ ข. โกลิตะ ๔. เวทนาปรคิ คหสูตร พระพุทธเจ้าแสดงแก่ใคร ? ค. อรุ ุเวลกสั สปะ ง. มหากัสสปะ ก. ทฆี นขปริพาชก ข. พระสารบี ตุ ร ๒. พระสาวกรูปใด ได้รบั การอุปสมบทดว้ ยโอวาท ๓ ข้อ ? ค. พระมหาโมคคัลลานะ ง. พระอบุ าลี ก. พระอัญญาโกณฑัญญะ ข. พระมหากัสสปะ ค. พระยสะ ง. พระสารบี ุตร
๔๒ ๓. พระพุทธเจา้ ประทานอุปสมบทแก่ปิบผลิมาณพ ด้วย อริยวินัย คือ ละกรรมกิเลส ๔ อคติ ๔ อบายมุข ๖ และ โอวาทก่ขี ้อ ? วิธกี ารปฏบิ ตั ติ วั ตอ่ ทศิ ท้ัง ๖ ทีถ่ กู ตอ้ ง ก. ๑ ข้อ ข. ๒ ขอ้ _____________ ๑. พระพุทธเจ้าทรงแสดงการไหว้ทศิ ๖ แกใ่ คร ? ค. ๓ ขอ้ ง. ๔ ขอ้ ๔. โอวาทปฏคิ คหณปู สมั ปทา ทรงอุปสมบทแก่ใคร ? ก. นนั ทมาณพ ข. โกลติ มาณพ ก. พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ข. พระสารีบตุ ร ค. สงิ คาลมาณพ ง. อุปตสิ สมาณพ ค. พระโมคคลั ลานะ ง. พระมหากัสสปะ ๒. พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงทิศ ๖ โปรดมาณพใด ? แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ ก. อุปตสิ สมาณพ ข. โกลติ มาณพ พ ร ะ พ ุ ท ธ อ ง ค ์ ท ร ง แ ส ด ง โ อ ว า ท ป า ฏ ิ โ ม ก ข ์ อ ั น เ ป็ น ค. ปิบผลิมาณพ ง. สงิ คาลกมาณพ อุดมการณ์ หลักการ วิธีการในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ปรเิ ฉทท่ี ๑๐ เสด็จแคว้นสกั กะ ให้แก่พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ รูป ที่มาประชุมพร้อมกันโดย ในพรรษาท่ี ๒ พระเจา้ สทุ โธทนะ พุทธบิดาทราบข่าวการ ตรัสรู้และการประกาศศาสนาของพระพุทธเจ้า ส่งกาฬุทายี ไม่ได้นัดหมายหลังจากตรัสรู้แล้ว ๙ เดือน ที่วัดเวฬุวัน กรุง อำมาตย์ไปทลู เชญิ ใหเ้ สด็จกลับกรุงกบลิ พัสด์ุ ราชคฤห์ ในวันขน้ึ ๑๕ คำ่ เดอื น ๓ (เดือนมาฆบูชา) เรยี กว่า ทรงแสดงมหาเวสสันดรชาดกแก่ประยูรญาติ แล้วเสด็จ ประทับอย่ทู ี่วัดนิโครธาราม พรอ้ มหมู่สงฆ์ ๒๐,๐๐๐ รูป จาตุรงคสนั นิบาต คอื การประชมุ ทีป่ ระกอบดว้ ยองค์ ๔ รุ่งเช้าวันที่ ๑ ทรงเสด็จบิณฑบาต พระเจ้าสุทโธทนะ ๑) พระภกิ ษุ ๑,๒๕๐ รปู มาประชมุ กนั โดยมไิ ด้นดั หมาย เสด็จมาทรงห้าม ทรงชี้แจงว่าเป็นพุทธกิจ จากนั้นแสดง ธรรมโปรดจนพุทธบิดาไดบ้ รรลพุ ระโสดาบัน ๒) พระสงฆ์เหล่าน้ันล้วนบวชด้วยเอหิภิกขุ รุ่งเช้าวนั ท่ี ๒ เสด็จโปรดพระนางมหาปชาบดี จนไดบ้ รรลุ ๓) พระสงฆ์เหลา่ นั้นล้วนเปน็ พระอรหนั ต์ขณี าสพ พระโสดาบนั สว่ นพทุ ธบดิ าบรรลพุ ระสกทาคามี ผู้ได้อภญิ ญา ๖ รุ่งเช้าวันที่ ๓ แสดงมหาธรรมปาลชาดก โปรดพุทธบิดา จนไดบ้ รรลพุ ระอนาคามี และแสดงกินรชี าดก โปรดพระนาง ๔) วันนัน้ เปน็ วันเพ็ญเดอื นมาฆะ (ข้ึน ๑๕ คำ่ เดือน ๓) พิมพา ไดบ้ รรลุพระโสดาบัน ๑. วนั จาตรุ งคสนั นิบาต พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมอะไร ? รุ่งเช้าวนั ท่ี ๕ ทรงเสด็จไปงานววิ าหมงคล (แตง่ งาน) ของ เจ้าชายนันทะ น้องชายต่างมารดา ทรงโปรดให้เจ้าชาย ก. ธมั มจกั กัปปวตั ตนสูตร ข. โอวาทปาฏิโมกข์ นันทะอุ้มบาตรตามเสด็จถึงวัด ตรัสให้บวชก่อน พระนันทะ ได้บรรลธุ รรมในทส่ี ุด ค. อริยธรรม ง. วิมตุ ติธรรม รุ่งเช้าวันที่ ๗ เจ้าชายราหุล พระราชโอรส ทูลขอราช ๒. พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาตโิ มกข์ ณ สถานท่ีใด ? สมบัติ แต่ทรงประทานอริยทรัพย์แก่ราหุล ให้พระสารีบุตร บวชเจ้าชายราหุลเป็นสามเณร นับเป็นสามเณรรูปแรกใน ก. วดั เวฬุวนั ข. วัดเชตวนั พระพุทธศาสนา ค. วัดบพุ พาราม ง. วัดนโิ ครธาราม ๓. มหาสนั นบิ าตแหง่ พระอรหนั ตสาวก เกดิ ขนึ้ ทีว่ ัดใด ? ก. วดั เวฬุวนั ข. วัดนิโครธาราม ค. วดั บพุ พาราม ง. วัดเชตวนั โปรดสิงคาลกมาณพ พระพุทธองค์ทรงแสดงเรื่องทิศ ๖ แก่สิงคาลกมาณพ ชาวเมอื งราชคฤห์ ผมู้ ผี า้ เปียก ผมเปียก ไหว้ทศิ ทง้ั ๖ ตามคำ ของพ่อก่อนที่พ่อจะตาย ทรงแนะนำวิธีไหว้ที่ถูกต้องตาม
๔๓ ทรงประทับอยู่กรงุ กบลิ พสั ด์ุ ๗ วัน จงึ เสด็จกลบั กรงุ ปุพพิกถาและอริยสัจ ๔ บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน จึงขอ ราชคฤห์ อาราธนาพระพทุ ธองค์เสดจ็ ไปจำพรรษาท่เี มอื งสาวัตถี _____________ อนาถบิณฑิกเศรษฐีได้เดินทางล่วงหน้าไปก่อน ซ้ือที่ของ ๑. พระเถระใด ทลู พระพทุ ธเจา้ ให้เสด็จกลับกรุงกบิลพสั ด์ุ เจ้าเชตดว้ ยเงิน ๑๘ โกฏิ (๑ โกฏิ = ๑๐ ลา้ น) โดยการใชเ้ งิน สำเร็จ ? ปูเต็มพื้นที่ เจ้าเชตจึงยอมขายที่ให้ บริจาคทรัพย์อีก ๑๘ ก. พระนนั ทะ ข. พระกาฬุทายี โกฏสิ ร้างวดั เชตวนั สร้างเสรจ็ แลว้ นมิ นต์พระพุทธองค์พร้อม ค. พระราหลุ ง. พระโมคคัลลานะ สงฆ์หมู่ใหญ่ไปเมืองสาวัตถี ถวายวัดแด่พระพุทธองค์และ ๒. วดั ทพี่ ระประยูรญาตสิ รา้ งถวายคอื วัดใด ? สงฆผ์ มู้ าจากทิศท้ัง ๔ ทำบญุ ฉลองวัดด้วยทรัพย์อกี ๑๘ โกฏิ ก. วดั บุปผาราม ข. วดั นิโครธาราม สิ้นเวลา ๙ เดือน เฉพาะวัดเชตวันเศรษฐีได้บริจาคทรัพย์ ค. วดั เชตวัน ง. วัดเวฬวุ นั ทั้งสิ้น ๕๔ โกฏิ (๕๔๐ ล้าน) พระพุทธองค์ทรงจำพรรษาอยู่ ๓. พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ กรุงกบลิ พสั ด์ุทั้งหมดก่ีวนั ? ที่เมืองสาวัตถี ๒๕ ปี ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนให้ ก. ๗ วนั ข. ๑๐ วนั เล่ือมใสมัน่ คงในพระรัตนตรยั เป็นจำนวนมาก ค. ๑๕ วัน ง. ๑ เดอื น _____________ ๑. อนาถบิณฑิกะ มีความหมายตรงกบั ข้อใด ? ๔. มหาเวสสนั ดรชาดก วา่ ด้วยการบำเพ็ญบารมใี ด ? ก. ทาน ข. ศีล ก. ผใู้ หก้ อ้ นข้าวคนจน ข. ผ้ขู อข้าวจากคนรวย ค. เนกขมั มะ ง. ปญั ญา ค. ผู้มีกอ้ นข้าวเยอะ ง. ผูย้ ึดข้าวจากคนจน ๕. มหาเวสสนั ดรชาดก ทรงแสดงแกผ่ ู้ใด ? ๒. สทุ ตั ตะ เปน็ ชือ่ เดมิ ของเศรษฐีทา่ นใด ? ก. พระเจา้ สุทโธทนะ ข. พระนางพิมพา ก. เมณฑกะ ข. โฆสกะ ค. เจ้าชายนันทะ ง. ประยรู ญาติ ค. โชตกิ ะ ง. อนาถบณิ ฑิกะ ๖. พระพุทธเจ้าทรงแสดงมหาธรรมปาลชาดก โปรดใคร ? ๓. วัดใด ท่ีอนาถบณิ ฑิกเศรษฐสี รา้ งถวาย ? ก. พทุ ธบิดา ข. พทุ ธมารดา ก. เชตวัน ข. เวฬวุ นั ค. พระนางพิมพา ง. ราหลุ กมุ าร ค. บพุ พาราม ง. นิโครธาราม ๗. สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา คือใคร ? ๔. เศรษฐที ่านใด ไดร้ ับยกย่องว่าเป็นผู้เลศิ ดว้ ยการให้ทาน ? ก. สามเณรราหุล ข. สามเณรสงั กิจจะ ก. อนาถบณิ ฑิกะ ข. ราชคหกะ ค. สามเณรโสปากะ ง. สามเณรสุมนะ ค. เมณฑกะ ง. ธนญั ชัย ปรเิ ฉทที่ ๑๑ เสดจ็ แคว้นโกศล ปรเิ ฉทท่ี ๑๒ ปรินพิ พาน อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐีถวายวดั เชตวนั เสดจ็ จำพรรษา ณ เวฬวุ คาม ที่เมืองสาวัตถี แคว้นโกศล มีเศรษฐีชื่อว่า สุทัตตะ แต่ พรรษาที่ ๔๕ พรรษาสุดท้าย พระพุทธองค์ทรงจำ ชาวเมืองนิยมเรียกว่า อนาถบิณฑิกะ แปลว่า ผู้มีก้อนข้าว พรรษา อยู่ที่บ้านเวฬุวคาม ทรงปลงอายุสังขาร ณ ปาวาล เพื่อคนอนาถาหรือคนไม่มีที่พึ่ง ท่านไปเยี่ยมน้องเขยที่เมือง เจดยี ์ ในวนั ขนึ้ ๑๕ ค่ำเดือน ๓ ว่าอีก ๓ เดือนจกั ปรินิพพาน ราชคฤห์ ทราบว่าพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นแล้ว จึงไปเข้าเฝ้าพระ ขณะน้นั เกดิ แผ่นดินไหวอยา่ งรนุ แรง พุทธองค์ก่อนถวายภัตตาหารเช้า ณ ป่าสีตวัน ได้ฟังอนุ _____________
๔๔ ๑. พระพุทธเจา้ ทรงจำพรรษาสุดท้าย ณ สถานท่ใี ด ? สนั ตวิ หิ ารธรรม พระพุทธองค์เสด็จไปเมืองกุสินารา แคว้นมัลละ ระหว่าง ก. ภณั ฑุคาม ข. เวฬุวคาม ทาง ทรงพักที่ใต้ต้นไม้ พระอานนท์ตักน้ำมาถวาย ขณะนั้น ค. กลั ลวาลมตุ ตคาม ง. หตั ถคี าม ปุกกสุ ะ โอรสมลั ลกษัตริย์ เป็นศิษยข์ องอาฬารดาบสเดินทาง ไปเมืองกุสินารา เข้าไปเฝ้า ทรงแสดงสันติวิหารธรรม มีจิต ๒. ขอ้ ใดมคี วามหมายตรงกับคำว่า ปลงอายสุ ังขาร ? ศรัทธาน้อมถวายผ้าสิงคิวรรณ ( ผา้ เนอื้ ดี ละเอียด ประณตี มีสเี หมอื นทองคำ) ๑ คู่ พระองค์รับ ๑ ผืน และให้ถวายพระ ก. กำหนดทตี่ าย ข. กำหนดวนั ตาย อานนท์ ๑ ผนื ค. กำหนดวิธีตาย ง. กำหนดท่ีจะอยู่ต่อ ผิวกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่องใสยิ่ง ๒ เวลา คือ ๑) ในเวลาท่ีจะตรัสรู้ ๓. พระพทุ ธเจ้าทรงปลงอายสุ ังขาร ณ ท่ีใด ? ๒) ในเวลาที่จะปรินิพพาน ก. อานันทเจดีย์ ข. อุทเทสิกเจดยี ์ ค. ปาวาลเจดีย์ ง. ธรรมเจดยี ์ ๔. พระพุทธเจา้ ทรงปลงอายุสังขารก่อนปรนิ ิพพานกเี่ ดือน ? ก. ๓ เดือน ข. ๔ เดอื น ค. ๕ เดือน ง. ๖ เดือน _____________ ๑. กายของพระตถาคตจะผอ่ งใสทีส่ ดุ เวลาใด ? ๕. พระเถระใด ไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ พุทธอุปฏั ฐาก ? ก. พระสารีบตุ ร ข. พระอานนท์ ก. ตรสั รู้ ข. ปลงอายสุ งั ขาร ค. พระนันทะ ง. พระอบุ าลี ค. ใกล้ปรินิพพาน ง. ขอ้ ก และ ค ถกู เสดจ็ ปาวานคร ๒. ผา้ สงิ ควิ รรณมีสตี รงกับขอ้ ใด ? พระพทุ ธองค์เสด็จไปเมอื งปาวา แคว้นมัลละ ประทับอยู่ ก. เหลืองดงั ทองคำ ข. แดงเหมือนถา่ นเพลิง ที่อัมพวัน (สวนมะม่วงของนายจุนทะกัมมารบุตร) นายจุน ค. เขยี วดงั ปีกแมงทับ ง. เขยี วเหมอื นใบไมอ้ ่อน ทะนิมนต์ไปเสวยที่บ้าน วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เสด็จไป บรรทมอนุฏฐานไสยาสน์ บ้านนายจุนทะพร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ นายจุนทะถวาย พระพุทธองค์เสด็จข้ามแม่น้ำหิรัญญวดี ไปถึงสวนสาละ สุกรมัททวะ ต่อมาทรงอาพาธกล้าประชวรลงพระโลหิต เขตกรุงกุสินาราของพวกมัลลกษัตริย์ ตรัสสั่งให้พระอานนท์ ทรงมสี ตสิ มั ปชญั ญะอดกล้นั เวทนานน้ั ด้วยอธวิ าสนขันติ ปลู าดเตียง หันพระเศยี รไปทางทิศอุดรระหว่างต้นสาละทั้งคู่ _____________ ทรงบรรทมสีหไสยาสน์ตะแคงขวา มีสติสมั ปชัญญะเป็นการ ๑. ผู้ใด ถวายปัจฉมิ บิณฑบาตแกพ่ ระพุทธเจา้ ? บรรทมคร้งั สุดท้าย โดยไมค่ ิดจะลุกขึ้นอีก เรียกว่า อนุฏฐาน ก. นางสุชาดา ข. นางวสิ าขา ไสยา ค. นายจนุ ทะ ง. หมอชวี ก _____________ ๑. อนฏุ ฐานไสยา มีความหมายตรงกบั ข้อใด ? ๒. สุกรมัทวะ เก่ยี วข้องกับพระพุทธเจ้าอยา่ งไร ? ก. อาหารม้ือแรก ข. อาหารมอ้ื สุดท้าย ก. นอนแล้วลกุ อีก ข. นอนครง้ั แรก ค. อาหารทท่ี ำจากหมู ง. ยาทำให้หายประชวร ค. นอนไม่ลุกข้ึนอกี ง. นอนหลบั ๆ ตื่น ๆ ๓. วดั แหง่ สุดทา้ ยทีพ่ ระพทุ ธเจ้าทรงรบั ไว้ ชื่อว่าอะไร ? ก. เชตวัน ข. เวฬวุ นั ค. บุพพาราม ง. อัมพปาลวี นั
๔๕ ทรงแสดงสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล วินยั กด็ ี อนั ใดอันเราแสดงแลว้ ไดบ้ ัญญัตแิ ล้วแก่เธอทง้ั หลาย พระพุทธองค์ทรงตรัสกับพระอานนท์ถึงสถานท่ี ๔ ตำบล ธรรมและวินัยน้ันจักเป็นศาสดาของพวกเธอ โดยกาลล่วงไป แห่งเรา” เป็นที่ควรดูควรเห็นควรให้เกิดความปีติใจแก่กุลบุตรผู้มี ปัจฉมิ โอวาท ศรัทธา เม่อื พระพุทธองคท์ รงปรินิพพานแลว้ คอื “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนเธอทั้งหลายว่า ๑) สถานทป่ี ระสตู ิ (ลุมพินวี ัน) สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจง ๒) สถานที่ตรัสรู้ (อุรุเวลาเสนานิคม) ปัจจุบัน พุทธคยา ยังกิจทั้งปวง ที่เป็นประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น ให้ถึง ๓) สถานที่แสดงปฐมเทศนา (ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน) พรอ้ มด้วยความไม่ประมาทเถิด” (อปั ปมาทธรรม) ๔) สถานที่ปรินพิ พาน (สาลวโนทยาน) ปรนิ พิ พาน และบุคคลทีเ่ ท่ียวไปในสถานที่ ๔ ตำบล ด้วยจิตเลือ่ มใส เม่ือตายไปแล้วมสี คุ ตโิ ลกสวรรคเ์ ป็นท่ไี ป ทรงปรนิ ิพพานในปัจฉมิ ยามแหง่ ราตรี วิสาขบูชา ขน้ึ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เมื่อพระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ท่ีป่าไม้สาละ _____________ เมืองกุสินารา หันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันตก เหนือพระ ๑. สถานทใี่ ด ไม่ใช่สังเวชนยี สถาน ? แท่นปรินิพพานไสยาสน์ มีพระสาวกผู้ใหญ่ ๒ รูปเป็น ประธาน คือ พระอนุรทุ ธะและพระอานนท์ ก. ท่ปี ระสตู ิ ข. ทต่ี รสั รู้ ค. ท่ปี รนิ ิพพาน ง. ท่ีถวายพระเพลิง ถูปารหบุคคล ๔ _____________ ๑. ก่อนปรินิพพาน ทรงตงั้ ใครเปน็ ศาสดาแทน ? พระพุทธองค์ตรัสถึงถูปารหบุคคล คือ บุคคลที่ควรสร้าง สถปู หรอื เจดยี ์ไว้เคารพสักการะ ๔ จำพวก คอื ก. พระมหากัสสปะ ข. พระอานนท์ ๑) พระอรหนั ตสมั มาสมั พุทธเจา้ ค. พระอุบาลี ง. ธรรมวินัย ๒) พระปจั เจกพุทธเจ้า ๒. ปจั ฉมิ โอวาทมใี จความสำคัญว่าด้วยเร่อื งอะไร ? ๓) พระอรหันตสาวก ก. ความไมป่ ระมาท ข. ความตาย ๔) พระเจา้ จกั รพรรดิราช ค. ความเพยี ร ง. ความสามัคคี ปัจฉมิ สาวก (สาวกองค์สดุ ท้าย) ๓. พระพทุ ธเจา้ เสด็จดบั ขนั ธปรนิ พิ พาน ทเ่ี มืองใด ? สุภัททปริพาชก ขอเข้าเฝ้าทูลถามปัญหา พระอานนท์ไม่ ก. ไพสาลี ข. สาวัตถี อนุญาตแต่พระองค์ให้เข้าเฝ้า เมื่อฟังธรรมจบได้บวชเป็น ค. พาราณสี ง. กุสนิ ารา ภิกษแุ ละสำเรจ็ เปน็ พระอรหันต์ เปน็ สาวกองคส์ ุดทา้ ย ๔. พระโอวาททปี่ ระทานไว้ตลอด ๔๕ พรรษา รวมลงใน ๑. ใครเปน็ ปจั ฉิมสาวกผ้ทู ันเห็นพระพุทธเจา้ ? เรอ่ื งใด ? ก. พระฉนั นะ ข. พระกาฬุทายี ก. ความอดทน ข. ความขยัน ค. พระภัททิยะ ง. พระสุภัททะ ค. ความเพยี ร ง. ความไม่ประมาท ประทานโอวาทแก่ภกิ ษุสงฆ์ ปริเฉทท่ี ๑๓ ถวายพระเพลิงพระพทุ ธสรีระ พระพุทธองคต์ รัสประทานโอวาทใหแ้ ก่ภิกษสุ งฆ์ โดยตรัส เคล่ือนพระพุทธสรรี ะ เรียกชื่อพระอานนท์ว่า “อานนท์ พวกเธออย่าคิดว่าพระ ตลอดราตรีนั้นพระอนุรุทธะกับพระอานนท์แสดงธรรม ศาสดาของพวกเราไม่มี พวกเธอไม่พึงคิดอย่างนั้น ธรรมก็ดี โปรด พุทธบริษทั ใหค้ ลายความเสียใจ พอสว่างพระอนุรุทธะ
Search