๒๒๕ เร่ือง สัฏฐิกฏู เปรต อดีตกาล ในกรุงพาราณสี บุรุษเปล้ียคนหน่ึงมีความชานาญในศิลปะการดีดก้อนกรวด สามารถดีดก้อนกรวดใส่ใบไม้ทาเป็นรูปสัตว์ต่างๆได้ บุรุษเปลี้ยน้ันชอบมานั่งใต้ต้นไทรย้อยใกล้ ประตูพระนครเป็นประจา พวกเด็กชาวบ้านพากันมาให้บุรุษเปลี้ยดีดก้อนกรวดไปเจาะใบไทร ทาเป็นรูปช้าง รูปม้า เป็นต้น บุรุษเปลี้ยก็ทาตามความต้องการของพวกเด็กๆ พวกเด็กๆ ก็ตอบแทนด้วยของกินและของขบเค้ียวเป็นต้น อยู่มาวันหนึ่งพระราชาเสด็จไปสู่พระราช อทุ ยานเสด็จไปถึงสถานทีน่ นั้ พวกเด็กๆ ได้นาบุรุษเปลี้ยไปหลบไว้ในระหว่างย่านไทรแล้วพา กันหนีไป เมื่อพระราชาเสด็จเข้าไปสู่โคนต้นไม้ในเวลาเท่ียงตรง เงาของช่องส่องต้องพระสรีระ พระองค์ ฉงนพระทัย ทรงตรวจดูด้านบน ได้ทอดพระเนตรเห็นรูปช้างรูปม้าเป็นต้นท่ีใบไม้ ท้ังหลาย จึงตรัสถามว่า ใครทาไว้ ทรงทราบว่า บุรุษเปลี้ยทาไว้ จึงรับส่ังให้นาบุรุษเปล้ียน้ันมา เฝ้าแล้วตรัสว่า “ปุโรหิตของเราปากกล้านัก เมื่อเราพูดเพียงนิดหน่อย ก็พูดมากเกินไป ยอ่ มเบยี ดเบียนเรา เจ้าสามารถดีดมูลแพะประมาณทะนานหนึ่งเข้าในปากของปุโรหิตนั้นได้ หรือไม่ บุรุษเปลี้ยกราบทูลว่า “ได้พระเจ้าข้า ขอพระองค์จงให้คนนามูลแพะมาแล้วประทับ นั่งภายในมา่ นกบั ปโุ รหิต ขา้ พระองคจ์ กั ทาตามพระประสงค์” พระราชา ได้ทรงรับสั่งให้ทาอย่างน้ันแล้ว บุรุษเปล้ียให้เจาะช่องไว้ท่ีม่าน เม่ือปุโรหิต พูดกับพระราชา พออ้าปาก ก็ดีดมูลแพะไปทีละก้อนๆ ปุโรหิตกลืนมูลแพะที่เข้าปากแล้วๆ ก็พูดต่อ เมื่อมูลแพะหมด บุรุษเปล้ียจึงส่ันม่าน พระราชาทรงทราบ จึงตรัสกับปุโรหิตว่า “อาจารย์ เราพดู กับทา่ นจาคาพดู ไมไ่ ด้เลย ท่านแม้กลืนกินมูลแพะประมาณทะนานหน่ึงแล้ว ก็ยังไม่หยุดพูด เพราะท่านพูดมากเกินไป” พราหมณ์ได้เป็นผู้เก้อ ต้ังแต่นั้นมา ก็ไม่กล้าอ้าปาก เจรจากับพระราชาอีก พระราชารับส่ังให้เรียกบุรุษเปล้ียมาแล้วตรัสว่า “เราได้ความสุขก็ เพราะเจ้า” ทรงพอพระทัย จึงพระราชทานวัตถุส่ิงของให้จานวนมาก พร้อมท้ังได้พระราชทาน บา้ นสว่ ย ๔ ตาบลซึง่ ตัง้ อยู่ในทิศทั้ง ๔ ของพระนคร แกบ่ ุรษุ เปลย้ี คร้ังนัน้ บรุ ษุ คนหนึ่ง เห็นบุรุษเปล้ียได้สมบัติเช่นนั้น จึงคิดว่า ตนก็ควรจะเรียนศิลปะ นี้ไว้ จึงเข้าไปหาบุรุษเปล้ียไหว้แล้วอ้อนวอนขอให้บุรุษเปล้ียสอนศิลปะดีดกรวดให้ แต่บุรุษเปล้ียได้ปฏิเสธ เขาจึงพยายามทาให้บุรุษเปล้ียยินดีและพอใจด้วยการนวดมือนวดเท้า เป็นต้นอยู่เป็นเวลานาน และออ้ นวอนอยูบ่ อ่ ยๆ บุรุษเปล้ียคิดว่า คนผู้น้ีมีอุปการะแก่เรามาก ในที่สุดก็ขัดไม่ได้ จึงทาการสอนศิลปะดีดกรวดให้กับเขา จนประสบความสาเร็จในศิลปะ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๒๖ บอกบุรุษน้ันว่า ผู้ฆ่าแม่โคจะถูกปรับสินไหม ๑๐๐ กหาปณะ ผู้ฆ่ามนุษย์จะถูกปรับสินไหม ๑,๐๐๐ กหาปณะ ท่านพรอ้ มท้ังบตุ รและภรรยาไม่อาจจะปลดเปล้ืองสินไหมนั้นได้ จงอย่าได้ กระทา เมื่อท่านทาร้ายบุคคลใดท่ีไม่ต้องเสียสินไหมก็จงตรวจดู หาบุคคลที่ไม่มีมารดาบิดา ทดลองศลิ ปะเถิด บุรุษนั้นรับคาแล้วเอาก้อนกรวดใส่พกเท่ียวเลือกดูสัตว์บุคคลเพื่อจะทดลอง ศิลปะ ก็พบแต่สัตวแ์ ละบุคคลทไ่ี ม่สามารถใช้ทดลองศลิ ปะได้ สมัยนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้า ชื่อว่าสุเนตตะ อาศัยพระนคร พักอยู่ในบรรณศาลา บุรุษนั้นเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเข้าไปบิณฑบาตยืนอยู่ระหว่างประตูพระนครจึงคิดว่า “พระปจั เจกพทุ ธเจ้านี้ ไม่มีมารดาบิดา เมื่อเราดีดผู้นี้ ไม่ต้องเสียสินไหม เราจักดีดพระปัจเจก- พุทธเจ้านี้ทดลองศิลปะ” จึงดีดก้อนกรวดไปท่ีช่องหูขวาของพระปัจเจกพุทธเจ้า ก้อนกรวด เข้าไปทางช่องหูขวาทะลุช่องหูซ้าย พระปัจเจกพุทธเจ้าเกิดทุกขเวทนากล้า ไม่สามารถ บณิ ฑบาตต่อไปได้ จึงเหาะไปสบู่ รรณศาลา ปรินพิ พานแลว้ ชนท้ังหลาย เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าไม่มาบิณฑบาต ก็คิดว่าความไม่ผาสุกจะมีแก่ พระปัจเจกพุทธเจ้า จึงพากันไปท่ีบรรณศาลา เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ก็พา กนั เสยี ใจ ร้องไหค้ ร่าครวญ บุรุษน้ัน เห็นมหาชนพากันไปท่ีบรรณศาลาก็ไปด้วย จาพระปัจเจก- พทุ ธเจา้ ได้ จงึ กล่าวว่า “พระปัจเจกพุทธเจ้าองคน์ ี้ เข้าไปบิณฑบาตพบกับเราที่ระหว่างประตู เราจึงทดลองศิลปะดีดก้อนกรวดประหารพระปัจเจกพุทธเจ้าน้ี” ชนท้ังหลายจึงบอกให้ ช่วยกันจับบุรุษน้ันแล้วทุบตีให้ส้ินชีวิตในที่นั้นเอง บุรุษน้ัน ได้ไปเกิดในอเวจีมหานรก ถูกไฟ นรกเผาไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน จนแผ่นดินใหญ่น้ีหนาข้ึนโยชน์หน่ึง ด้วยผลกรรมที่เหลือ ไดบ้ งั เกิดเป็นสัฏฐิกูฏเปรตท่ียอดภูเขาคิชฌกูฏ มีอัตภาพประมาณ ๓ คาวุต ค้อนเหล็ก ๖ หมื่น อันไฟติดลุกโพลงแล้วตกไปทาลายกระหม่อมของเปรตนั้นแล้ว ศีรษะที่แตกแล้วๆ ย่อมต้ัง ขึ้นอีก ไดร้ ับทุกข์ทรมานแสนสาหัสอยอู่ ย่างนั้น เป็นเวลานาน เรือ่ ง ลาชเทพธิดา ความพิสดารว่า ท่านพระมหากัสสปะ อยู่ในปิปผลิคูหา เข้าฌานแล้วออกในวันท่ี ๗ ตรวจดทู เี่ ทยี่ วไปเพ่อื ภกิ ษาดว้ ยทิพยจกั ษุ เห็นหญิงรักษานาข้าวสาลีคนหนึ่ง เด็ดรวงข้าวสาลี ทาข้าวตอกอยู่ พิจารณาเห็นว่าเป็นหญิงมีศรัทธา สามารถทาการสงเคราะห์แก่ท่านได้ จึงครองจวี รถือบาตรไปยืนอยูท่ ี่ใกลน้ าข้าวสาลี นางกุลธิดาเห็นพระเถระ ก็มีจิตเลื่อมใส มีสรีระ หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๒๗ ซาบซ่านด้วยปีติ ๕ อย่าง ได้กล่าวนิมนต์พระเถระ ถือข้าวตอกใส่ลงในบาตรแล้วไหว้ด้วย เบญจางคประดิษฐ์ กระทาความปรารถนาวา่ “ทา่ นเจา้ ขา้ ขอดิฉันพึงเป็นผู้มีส่วนแห่งธรรมที่ ท่านเห็นแล้ว” พระเถระได้ทาการอนุโมทนาว่า “ความปรารถนาอย่างนั้น จงสาเร็จ” ฝ่ายนางกุลธิดา ไหว้พระเถระแล้วพลางนึกถึงทานท่ีตนถวาย เดินกลับไป ถูกงูพิษกัดล้มลง เสียชีวิตที่คันนา ไปเกิดในวิมานทองประมาณ ๓๐ โยชน์ ในภพดาวดึงส์ มีอัตภาพประมาณ ๓ คาวตุ ประดบั เครอ่ื งอลังการทุกอย่าง เหมือนหลบั แลว้ ตืน่ ข้ึน นางนุ่งผ้าทิพย์ประมาณ ๑๒ ศอกผืนหน่ึง ห่มผืนหน่ึง แวดล้อมด้วยนางอัปสรหนึ่ง พันนาง เพื่อประกาศบุรพกรรม จึงยืนอยู่ที่ประตูวิมานอันประดับด้วยขันทองคาเต็มด้วย ข้าวตอกทองคาห้อยระย้าอยู่ ตรวจดูสมบัติของตน ใคร่ครวญด้วยทิพยจักษุ ได้ทราบสมบัติ ทีไ่ ด้นัน้ เพราะผลแห่งการถวายข้าวตอกแก่พระมหากัสสปเถระ จึงคิดว่า “เราได้สมบัติเช่นน้ี เพราะกุศลกรรมเพียงเล็กน้อย จึงไม่ควรประมาท จักทาวัตรปฏิบัติแก่พระเถระ ทาสมบัติน้ี ให้ถาวร” จงึ ถือไมก้ วาดและกระเชา้ สาหรบั เทขยะไปกวาดบรเิ วณโดยรอบทพี่ ักของพระเถระ ตัง้ นา้ ฉนั นา้ ใช้ไว้แตเ่ ช้าตรู่ พระเถระเห็นแล้วเข้าใจว่าเป็นวัตรที่ภิกษุหรือสามเณรทาไว้ แม้ในวันที่ ๒ นางก็ได้ ทาอย่างน้ัน พระเถระก็เข้าใจเช่นนั้นเหมือนเดิม แต่ในวันท่ี ๓ พระเถระได้ยินเสียงไม้กวาด และเห็นแสงสว่างจากสรีระฉายเข้าไปทางช่องลูกดาล จึงเปิดประตูออกมาถามว่า “ใครกวาดอยู่” นางตอบว่า “ดฉิ นั เปน็ ผ้อู ปุ ฏั ฐายกิ าของทา่ น ช่ือวา่ ลาชเทพธดิ า” พระเถระบอกว่า อุปัฏฐายิกาของเราช่ือนี้ไม่มี นางจึงเรียนความเป็นมาให้ พระเถระทราบ พระเถระกล่าวว่า เธอจงหลีกไปเสีย วัตรที่เธอทาแล้วก็ถือว่าได้ทาแล้ว ต้ังแต่บัดนี้ เปน็ ตน้ ไป เธออยา่ มาทีน่ ่อี ีก นางเทพธิดา กล่าวอ้อนวอนหลายคร้ังว่า ขอให้ตนได้ทาวัตรแก่พระเถระ เพื่อทา สมบัติที่ได้แล้วให้มั่นคง แต่พระเถระก็ปฏิเสธ ขอให้นางไปเสีย ไม่ให้มาทาอย่างน้ันอีก นางเทพธิดาไม่อาจดารงอยู่ในท่ีนั้นได้ จึงเหาะข้ึนไปในอากาศ ประคองอัญชลี ยืนร้องไห้ ครา่ ครวญอย่ใู นอากาศ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๒๘ พระพุทธเจ้า ประทับนั่งอยู่ในพระคันธกุฎี ทรงสดับเสียงนางเทพธิดานั้นร้องไห้ ทรงแผพ่ ระรัศมีดุจประทับนงั่ ตรสั อยเู่ บอื้ งหน้าของนางเทพธดิ าตรัสว่า “เทพธิดา การทาความ สงั วร เปน็ ภาระของกัสสปะผบู้ ตุ รของเรา แต่การกาหนดว่าส่ิงใดเป็นประโยชน์แล้วมุ่งกระทา แต่บุญนั้น เป็นภาระของผู้มีความต้องการด้วยบุญทั้งหลาย เพราะการทาบุญเป็นเหตุให้เกิด สขุ อยา่ งเดียวทง้ั ในโลกนีท้ งั้ ในโลกหนา้ ” การใหผ้ ลของกรรม กฎแห่งกรรมได้กาหนดไว้อย่างชัดเจนว่า “ผู้ทําดี ย่อมได้รับผลดี ผู้ทําช่ัว ย่อมได้รับผลช่ัว” ส่วนผลแห่งกรรมท่ีจะได้รับน้ัน กาหนดไว้ในกรรม ๑๒ แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม คือ กลมุ่ ที่ใหผ้ ลตามกาลเวลา กลุ่มท่ใี ห้ผลตามหน้าที่ และกลุ่มท่ีให้ผลหนกั เบา ดังน้ี กลุ่มที่ ๑ กรรมทใ่ี ห้ผลตามกาลเวลามี ๔ อยา่ ง คอื ๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมทใ่ี หผ้ ลในปจั จบุ นั ๒. อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมท่ใี ห้ผลในชาตหิ นา้ ๓. อปราปริยเวทนยี กรรม กรรมทใ่ี ห้ผลในชาตติ ่อๆ ไป ๔. อโหสิกรรม กรรมที่ให้ผลแล้ว กรรมที่เลิกแล้วต่อกัน เป็นอโหสิกรรมต่อกัน ซึ่งเป็นกรรมท่ีเล็กน้อย และเป็นกรรมที่ตามไม่ทัน เช่น ผู้ทากรรมได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ไปแล้ว กลุ่มท่ี ๒ กรรมที่ให้ผลตามหนา้ ท่ี มี ๔ อย่าง คอื ๑. ชนกกรรม กรรมท่ีทาหน้าท่ีส่งให้ไปเกิด มนุษย์ สัตว์ที่เกิดมาล้วนมีชนกกรรม ด้วยกันทั้งนั้น ส่วนจะเป็นชนกกรรมฝ่ายกุศลหรืออกุศล ก็ข้ึนอยู่ผู้กระทา ถ้าเป็นฝ่ายกุศล กส็ ่งผลใหเ้ กิดมาดี ถ้าเปน็ ฝ่ายอกศุ ลกส็ ่งผลให้เกดิ มาไมด่ ี ๒. อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน ถ้าเป็นอุปัตถัมภกกรรมฝ่ายดีก็จะสนับสนุน ชนกกรรมฝ่ายดใี ห้ดยี ง่ิ ขึ้น ถ้าเปน็ อปุ ตั ถัมภกกรรมฝ่ายไม่ดี ก็จะสนับสนุนชนกกรรมฝ่ายไม่ดี ให้เลวรา้ ยลงไปอีก ๓. อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น ถ้าเป็นอุปปีฬกกรรมฝ่ายช่ัว ก็จะบีบค้ันชนกกรรม และอุปัตถัมภกกรรมฝ่ายดี ให้แปรเปล่ียนเป็นไม่ดี ถ้าเป็นอุปปีฬกกรรมฝ่ายดี ก็จะบีบค้ัน ชนกกรรมและอุปตั ถมั ภกกรรมฝ่ายไม่ดใี หก้ ลบั เปน็ ฝา่ ยดี หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๒๙ ๔. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน ถ้าเป็นอุปฆาตกกรรมฝ่ายไม่ดี ก็จะตัดรอน ชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมฝ่ายดีให้เป็นฝ่ายไม่ดี เช่นเกิดมาในตระกูลสูง มียศศักดิ์ ทรัพย์สิน บริวาร แต่ภายหลัง กลับตกต่ายากจน ส้ินยศ ส้ินตาแหน่ง หรือไม่ก็อายุส้ันพลันตาย จากไป ไม่ได้ใช้ทรัพย์สินเงินทอง ถ้าเป็นอุปฆาตกกรรมฝ่ายดี ก็จะตัดรอนชนกกรรมและ อปุ ตั ถัมภกกรรมฝ่ายไม่ดีให้เป็นฝ่ายดีเช่น เกิดมาในตระกูลต่า ยากจน แต่กลับสร้างตนสร้าง ฐานะให้ร่ารวยได้ หรอื มตี าแหนง่ ยศศักด์ิสงู ได้ กลมุ่ ที่ ๓ กรรมที่ใหผ้ ลหนกั -เบา มี ๔ อยา่ ง คอื ๑. ครุกรรม กรรมหนัก จะให้ผลก่อนกรรมอ่ืน ถ้าเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล เช่น อนันตริยกรรม ก็จะให้ผลก่อนกรรมอื่น ถ้าเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล เช่น ฌาน สมาบัติ ก็จะ ใหผ้ ลกอ่ นกรรมอน่ื เชน่ กนั ๒. พหุลกรรมหรืออาจิณกรรม กรรมที่ทามากหรือกรรมที่ทาเป็นอาจิณ แม้กรรมน้ัน จะไม่หนัก แต่เม่ือทาบ่อยๆ หรือทาเป็นประจา ก็จะให้ผลรองมาจากครุกรรม กรณีที่ไม่มีครุกรรม พหุลกรรมหรอื อาจณิ กรรมก็จะให้ผลกอ่ น ๓. อาสันนกรรม กรรมจวนเจียนหรือกรรมใกล้ตาย กรรมประเภทนี้ส่วนใหญ่ จะเป็นมโนกรรม หรือเวลาใกล้จะตาย คิดถึงกรรมใดเป็นอารมณ์ กรรมนั้นก็จะส่งผลให้ไปเกิด ในภพใหม่ชาติใหมต่ ่อไป คิดถึงกรรมดี กไ็ ปเกดิ ในสคุ ติ ถ้าคดิ ถึงกรรมไมด่ ี ก็จะไปเกิดในทุคติ ๔. กตัตตากรรม กรรมที่สักแต่ว่ากระทาหรือกรรมท่ีทาด้วยเจตนาอ่อน กรรม ประเภทนจ้ี ะใหผ้ ลทหี ลังกรรมอืน่ เมื่อกรรมอนื่ ไม่มีแล้ว กตัตตากรรมจงึ จะให้ผล จะเห็นได้ว่า บุคคลจะประสบความทุกข์หรือความสุข ข้ึนอยู่กับผลแห่งกรรม คือ การกระทา ไม่ได้ข้ึนอยู่กับโชคดีหรือโชคร้าย ไม่ได้ข้ึนอยู่กับอานาจภายนอกหรืออานาจ ดวงดาวใดๆ แท้ที่จริง ข้ึนอยู่กับผลกรรมท่ีได้สั่งสมไว้ในอดีตชาติ ติดตามมาให้ผลในปัจจุบัน และการท่ีบุคคลได้รับความสุขหรือความทุกข์ในปัจจุบัน ก็ขึ้นอยู่กับกรรมในอดีตด้วย ต้องยอมรับการกระทาในวัน ในเดอื น ในปี และในชาติทผี่ า่ นมาวา่ เป็นสิ่งท่ีเราทาไว้เอง และ สง่ิ ท่เี ราทาในปจั จบุ นั ก็จะไดร้ บั ผลในอนาคต ตามกฎแห่งกรรม หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๐ คัมภีร์มัชฌิมนิกาย ได้กล่าวถึงกรรมจาแนกสัตว์ให้แตกต่างกัน ดังพระบาลีว่า “กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย” แปลว่า “กรรมย่อมจําแนกสัตว์โลกให้ แตกต่างกัน คือให้เลวทรามและประณีต” ในข้อนี้ มีเร่ืองปรากฏอยู่ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา ของคมั ภรี จ์ ฬู กมั มวิภงั คสตู รวา่ สมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่น้ัน ในเมืองสาวัตถี แคว้นโกศล มีพราหมณ์ คนหนึ่ง ชื่อโตเทยยพราหมณ์ เป็นปุโรหิตของพระเจ้าปัสเสนทิโกศล เป็นเศรษฐีมีทรัพย์ มหาศาลถึง ๘๗ โกฏิ ไม่เคยให้อะไรแก่ใครเลย ไม่เคยใส่บาตรแม้แต่ทัพพีเดียว ดอกไม้ สักกามือหน่ึงก็ไม่เคยถวายพระ ไม่เคยไหว้พระสงฆ์ แม้พระพุทธเจ้าเขาก็ไม่นับถือ เป็นคน ตระหน่ีมาก ยึดถือคติว่าสะสมทรัพย์ไว้ให้มากๆ แล้วจะร่ารวย เขามีบุตรชายคนเดียว ชื่อ สภุ มาณพ โตเทยยพราหมณ์ ไดส้ อนลูกถึงวธิ ีท่ีจะทาใหร้ า่ รวยแบบน้ี จึงกลา่ วไว้ว่า อญฺชนานํ ขยํ ทิสวฺ า อุปจกิ านญจฺ อาจยํ มธูนญฺจ สมาหารํ ปณฺฑิโต ฆรมาวเส. แปลว่า “บัณฑิตเห็นความส้ินเปลืองแห่งยาหยอดตา ความก่อแห่งปลวกท้ังหลาย และความสะสมแห่งผง้ึ ทัง้ หลาย พึงอยคู่ รองเรอื น” หมายความว่า น้ายาในหลอดยาหยอดตา แม้จะหยอดลงไปทีละหยดๆ น้ายาก็หมด ลงได้ ในขณะท่ีตัวปลวกสร้างจอมปลวก ขนดินกันมาทีละเล็กละน้อย นานๆ เข้า ก็ทาให้ จอมปลวกใหญ่โตได้ หรือตัวผึ้งทาน้าหวานในรัง ทานานๆ เข้า ก็ได้น้าหวานเต็มรังผึ้งได้ฉันน้ัน ควรจะครองเรือนด้วยวิธนี ี้ พราหมณ์น้ีสอนลูกว่า “ลูกเอ๋ย เจ้าจงดูตัวอย่างยาหยอดตานะลูก ยาหยอดตานี้ มันหยดลงทีละหยดๆ ในท่ีสุดก็หมดได้ ทรัพย์สมบัติของเราก็เหมือนกัน จ่ายไปทีละกากณิก ทีละกหาปณะ ในที่สุดก็หมด ถ้ามันไม่เพ่ิมเข้ามา” แล้วก็สอนต่อไปว่า “เจ้าจงดูตัวอย่าง ปลวกซิลูก ปลวกน้ันนาดินมาด้วยปากทีละนิดๆ ในที่สุดก็มีมากได้ และเจ้าจงดูตัวอย่าง ผึ้งซิลูก ตัวผึ้งนั้นมันขยัน มันนาน้าหวานจากเกสรดอกไม้ทีละนิดๆ แล้วทาเป็นน้าผ้ึงในรัง ไดม้ าก เจา้ จงเอาตัวอยา่ งผ้ึง” หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๑ วันหน่ึง พราหมณ์นั้นป่วยหนักและตายจากไปโดยยังไม่ทันบอกท่ีฝังขุมทรัพย์ แก่ลูกชาย ด้วยความเป็นห่วงทรัพย์นั้น คร้ันตายแล้ว จึงไปเกิดเป็นสุนัขอยู่ในบ้านน้ันเอง ลูกสุนัขโตขึ้นตามลาดับ สุภมาณพเห็นลูกสุนัขเกิดใหม่ เป็นลูกสุนัขน่ารัก ไม่รู้ว่าพ่อของ ตัวเองเกิดมาเปน็ สุนัข กเ็ อามาเล้ียงไว้ด้วยความรัก คือคนท่ีเคยเป็นพ่อเป็นลูกกันในชาติก่อนนั้น ย่อมเกิดความรักกันได้ง่าย เพราะลูกสุนัขเป็นสัตว์น่ารัก เขาเล้ียงลูกสุนัขตัวน้ีอย่างดี เวลา นอนกไ็ มใ่ หน้ อนบนทน่ี อนธรรมดา แตย่ กไปนอนที่นอนอันเป็นสิริ ให้คนเลย้ี งดอู ย่างดี วันหนึ่ง พระพุทธเจ้าทรงตรวจดูสัตว์โลกเพ่ือจะแสดงธรรม เมื่อทรงตรวจดูไป ในตอนใกล้รุ่ง ได้เห็นลูกสุนัขนั้น จึงทรงดาริว่า ถ้าพระองค์มายังบ้านสุภมาณพน้ี จะเกิดอะไรขึ้น พระองคก์ ็ทรงย้อนไปดวู ่ามีเร่ืองนนั้ ๆ จะเกิดข้นึ แล้ว สุภมาณพน้ีจะได้นับถือพระพุทธศาสนา สว่ นพราหมณซ์ ่งึ ไปเกิดเป็นสุนัขนนั้ เม่อื ตายจักไปตกนรกเพราะกรรมของตน ปกติพระพุทธเจ้า เมื่อเสด็จไปบิณฑบาต จะต้องมีพระอานนท์ตามเสด็จ แต่ใน วันนั้น ไม่มีพระอานนท์ เสด็จแต่ผู้เดียว ออกบิณฑบาต ไปประทับยืนอยู่หน้าบ้านของ สุภมาณพน้ัน วันนั้น สุภมาณพไม่อยู่ ออกไปนอกบ้านด้วยธุระบางอย่าง เม่ือพระพุทธเจ้า เสด็จมาประทับยืนอยู่หน้าบ้านของสุภมาณพนั้น ก็ไม่มีใครเขาใส่บาตร เพราะเขาไม่นับถือ พระพุทธศาสนา พระพุทธองคเ์ สดจ็ ไปประทับยืนอยู่ที่หน้าบ้าน ทรงถือบาตรก็ไม่ได้มุ่งหมาย ว่าจะบิณฑบาต แต่ม่งุ โปรดสุภมาณพเท่าน้ัน ลกู สนุ ขั นัน้ เห็นพระพุทธเจ้ามาประทับยืนอยู่ ก็เห่าแสดงความไม่พอใจท่ีพระมายืนอยู่ หน้าบ้าน พระพุทธเจ้า เมื่อทอดพระเนตรเห็นลูกสุนัขนั้นเข้ามาก็ตรัสว่า “โตเทยยพราหมณ์ เจ้าเม่ือชาติก่อนดูหม่ินเรา จึงมาเกิดเป็นลูกสุนัข ชาติน้ีเจ้ามาดูหมิ่นเราอีก เจ้าตายจากน้ีแล้ว จะไปเกดิ ในอเวจีนรก” ลูกสุนัขนั้น ฟังเสียงพระพุทธเจ้าก็ทราบว่า “พระสมณโคดม จาเราได้” เกิดร้อนใจ ข้ึน จึงได้วิ่งคอตกเข้าไปในบ้านแทนท่ีจะไปนอนบนท่ีนอนอันสวยงามของตนท่ีสุภมาณพ ผู้เป็นนายจัดให้ แต่กลับไปนอนบนกองข้ีเถ้าท่ีกลางเตาไฟ คนท้ังหลายพยายามจับดึงข้ึนไป นอนบนที่นอนพิเศษทน่ี ายจัดไวก้ ไ็ มย่ อม ไดไ้ ปนอนที่เดิมนนั่ เอง พระพุทธเจ้าตรัสแล้วก็เสด็จไปยังวัดพระเชตวัน ฝ่ายสุภมาณพเมื่อกลับมาจากธุระ มาเห็นลูกสุนัขของตนไปนอนอยู่บนกองขี้เถ้าในเตาไฟ ก็ดุคนใช้ไม่พอใจโดยพูดว่า “ใครเอา ลูกสุนขั ของฉนั มาอยู่บนกองขเ้ี ถ้า ในเตาไฟน่ี” หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๒ คนท้ังหลายบอกว่า “เขามานอนเอง พยายามยกขนึ้ เขากไ็ ม่ไป” สุภมาณพถามวา่ “เพราะเหตุใด” คนใช้บอกว่า “วันน้ี พระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับยืนอยู่หน้าบ้าน ลูกสุนัขนี้ ไปเห่า พระพุทธเจ้าตรัสอย่างนั้นๆ แล้วลูกสุนัขนี้พอฟังเข้าก็มานอนบนกองขี้เถ้าน้ัน ยกข้ึน ไปเท่าไรก็ไมก่ ลบั ไปทีเ่ ดิม” สุภมาณพ พอได้ฟังคนใช้รายงานอย่างน้ัน ก็โกรธทันทีหาว่าพระพุทธเจ้าดูหมิ่นพ่อ ของตน วา่ พ่อของตนเกิดมาเป็นสุนัข แท้ท่ีจริงพ่อของตนนั้นไปเกิดในพรหมโลกอยู่ในขณะน้ี ไม่ใชเ่ กิดเป็นสุนัข พระสมณโคดมทาพอ่ ของเราให้เปน็ สุนัข พระสมณะรูปน้พี ดู พล่อย สุภมาณพ เมื่อโกรธแล้วก็ไปวัดพระเชตวัน ไปต่อว่าพระพุทธองค์ทีเดียว เม่ือไปถึง กย็ ืนไม่ไหว้ ได้ทลู ถามว่า “พระองค์เสดจ็ ไปทีบ่ ้านของข้าพระองค์ใช่ไหมวันน้ี” พระพุทธเจ้า ตรสั ตอบวา่ “ใช”่ สุภมาณพทูลถามว่า “พระองค์ทรงทราบได้อย่างไรว่า บิดาของข้าพระองค์ไปเกิด เป็นสุนัข เป็นการดูถูกบิดาของข้าพระองค์ พวกพราหมณ์บอกว่าบิดาของข้าพระองค์ เกดิ ในพรหมโลก ไม่ใช่มาเกดิ เป็นสนุ ขั อยา่ งน้ี” พระพุทธเจ้าตรัสว่า “สุภมาณพ ถ้าเจ้าต้องการจะรู้ มีข้อพิสูจน์อยู่ มีทรัพย์สมบัติ ของบิดาอยู่บา้ งไหมที่บิดาของเจ้าเมื่อใกล้ตายนั้นไมไ่ ด้บอกไว้” สุภมาณพทลู ว่า “ม”ี พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ถ้าเจ้าต้องการจะพิสูจน์เรื่องนี้ ทดสอบดูก็ได้ วันนี้เจ้ากลับ ไปจากน้ีแล้ว ให้เอาลูกสุนัขของเจ้ากินอาหารให้อ่ิมด้วยข้าวมธุปายาสมีน้าน้อย เมื่ออิ่มแล้ว ใหเ้ ขานอนสักครู่หนงึ่ พอนอนแล้วเจ้าจงไปกระซิบที่ใกล้หู ถามว่า น่ีพ่อ ทรัพย์สมบัติท่ีฝังไว้น้ัน ฝังไว้ท่ีไหน แล้วสุนัขตัวนี้จะวิ่งไปท่ีฝังทรัพย์ แล้วเอาเท้าตะกายท่ีฝังทรัพย์ เจ้าก็จงให้คนขุด ลงไปเถดิ เมื่อเป็นเช่นนี้ เจา้ จะพงึ รจู้ กั สนุ ัขตวั น้ัน เขาคือบิดาของเจ้า” สภุ มาณพไดฟ้ งั ดงั นั้น กน็ กึ กระหย่ิมอยู่ในใจด้วยเหตุ ๒ ประการ “ถ้าเกิดจริงขึ้นมา เราก็ได้ทรัพย์ ถ้าเราพิสูจน์แล้วไม่จริง เราจะโพนทะนาให้ท่ัวเมืองว่า สมณะองค์นี้พูดไม่จริง ไมไ่ ด้ขาดทนุ ตรงไหน” หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๓ เพราะฉะน้ัน เขารีบกลับไปบ้าน ไปทาตามที่พระพุทธเจ้าตรัสบอกไว้ คือให้ลูกสุนัข ของตนกินข้าวมธุปายาสมีน้าน้อย อิ่มแล้วให้นอน พอนอนแล้วเขาก็ไปกระซิบที่หู ถามว่า ทรัพย์ฝังไว้ที่ยังไม่ได้บอกอยู่ที่ไหน สุนัขน้ันพอถูกถามอย่างน้ันก็รู้ทันทีเลยว่า “โอ้ ลูกของ เราน้ีรู้แล้วว่าเรามาเกิดเป็นสุนัข” แล้วก็หอนขึ้น วิ่งไปท่ีฝังทรัพย์ เอาเท้าหน้าทั้งสองตะกาย ขุดลงไปที่ฝังทรัพย์ ได้ให้สัญญาณบ่งให้ทราบว่าทรัพย์อยู่ตรงน้ี การท่ีตัวเองเกิดเป็น สุนขั นกี้ เ็ พราะเปน็ ห่วงทรัพยน์ ่ีเอง เมื่อสุนัขไปตะกายท่ีน้ัน สุภมาณพก็ให้คนขุดลงไปตรงน้ัน พอขุดลงไปก็น่าพิศวงแท้ ของที่พบนั้นเป็นของมีค่าทั้งสิ้น คือพวงมาลัย พวงดอกไม้ทองคา มีค่าหน่ึงแสนกหาปณะ รองเท้าทองคา มีค่าหนึ่งแสนกหาปณะ จานทองคา มีค่าหนึ่งแสนกหาปณะ สุภมาณพ พอเห็นเข้าอย่างนั้นก็อุทานในใจทันทีเลย “อ้ือฮือ สิ่งที่ภพชาติปิดไว้ พระองค์น้ี ก็ยังทรงทราบได้ ฉะนั้น พระองค์ไม่ใช่พระธรรมดาแน่แล้ว ต้องเป็นพระสัพพัญญูแน่นอน เพราะสิ่งที่ภพชาติ ปิดบงั ไว้ ก็ยังทรงทราบได้” ทนี ้ชี กั จะเลอ่ื มใสแล้ว สภุ มาณพจงึ เขา้ ไปเฝา้ พระพทุ ธเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วก็ทูลถามว่า “ทาไม คนเราเกิดมาจึงไม่เหมือนกัน” ปัญหาที่สุภมาณพทูลถามนั้นมี ๑๔ ข้อ จัดเป็น ๗ คู่ ปัญหา ทุกข้อลว้ นเกีย่ วกับกฎแห่งกรรมท้งั ส้นิ ดงั น้ี คู่ที่ ๑ ถามว่า ทาไม บางคนอายสุ ัน้ บางคนอายยุ นื คู่ท่ี ๒ ถามว่า ทาไม บางคนมีโรคภยั ไขเ้ จบ็ มาก บางคนไม่มีโรคภยั ไข้เจบ็ คทู่ ี่ ๓ ถามว่า ทาไม บางคนรูปไม่สวย ผิวพรรณทราม แต่บางคนเกดิ มารูปสวย ผิวพรรณดี คูท่ ่ี ๔ ถามว่า ทาไม บางคนมศี กั ดต์ิ ่า หรือไมม่ ียศถาบรรดาศักด์ิ แตบ่ างคนเกิดมา มีศักดิส์ ูง คอื มยี ศตาแหน่งสงู คู่ท่ี ๕ ถามว่า ทาไม บางคนยากจน บางคนร่ารวย คู่ที่ ๖ ถามว่า ทาไม บางคนเกดิ ในสกลุ ต่า บางคนเกดิ ในสกุลสูง คูท่ ี่ ๗ ถามว่า ทาไม บางคนเกดิ มาโง่ บางคนเกิดมาฉลาด เปน็ ปญั หา ๗ คู่ รวม ๑๔ ข้อ พระพุทธเจ้าก็ตรัสตอบสุภมาณพ โดยทรงขยายความกฎแห่งกรรมไว้ในจูฬกัมม- วิภังคสูตรคอ่ นข้างยาว แตใ่ นทน่ี ี้จะกล่าวโดยย่อ ดังนี้ หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๔ คู่ท่ี ๑ การที่คนเราเกิดมามีอายุส้ัน ก็เพราะเม่ือชาติปางก่อนเป็นคนชอบฆ่าสัตว์ ตัดชีวิต ไม่มีศีล ๕ ด้วยอานาจผลของการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตทาให้เขาไปตกนรกหมกไหม้ เสวย ทุกข์อยู่ เม่ือหมดกรรมน้ันก็มาเกิดเป็นมนุษย์ ด้วยอานาจเศษกรรมท่ียังเหลืออยู่ทาให้เขา อายสุ ัน้ เพราะเขาเคยฆา่ สัตว์ ส่วนคนที่เกิดมามีอายุยืน ก็เพราะเมื่อชาติก่อนเขาเป็นคนมีศีล ๕ มีศีลธรรม เมอ่ื เขาตายจากมนษุ ยโลกก็ไปเกิดที่ดีมีความสุข เช่นไปเกิดในสวรรค์ เมื่อพ้นจากภูมิน้ันแล้ว มาเกดิ เปน็ มนุษย์ บญุ ของเขายังหนุนอยู่ ทาให้เขาอายุยนื คู่ท่ี ๒ การที่บางคนเกิดมามีโรคภัยไข้เจ็บมาก ก็เพราะเมื่อชาติก่อนน้ัน เป็นคน ชอบเบียดเบียนฆ่าสัตว์ทรมานสัตว์กักขังสัตว์ ทาร้ายคนอื่นสัตว์อื่นให้เดือดร้อน ให้ทรมาน ให้เจ็บป่วย เมื่อเขาตายไป ก็ไปตกนรก เมื่อพ้นจากนรกแล้ว ก็กลับมาเกิดเป็นมนุษย์ ดว้ ยอานาจเศษกรรมที่ยังเหลอื อย่ทู าให้เขาเจ็บไขไ้ ด้ปว่ ย สขุ ภาพเสอื่ มโทรม มีความสขุ น้อย ส่วนคนที่เกิดมามีโรคภัยไข้เจ็บน้อยหรือไม่มี ก็เพราะชาติก่อนนั้นเขาเป็นคนมี เมตตาต่อสัตว์ ไม่เบียดเบียนสัตว์ เอ็นดูสัตว์ มีศีลธรรม มีเมตตากรุณา เม่ือเขาตายจากไป ก็ไปเกิดในท่ีดีมีความสุข เช่นเกิดในสวรรค์ เม่ือกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ เขาจึงมีสุขภาพดี มโี รคภัยไขเ้ จบ็ น้อย หรอื ไม่มี คู่ที่ ๓ การท่ีบางคนเกิดมารูปไม่สวย ก็เพราะเม่ือชาติก่อนเป็นคนมักโกรธ มีความโกรธเป็นเจ้าเรือน เม่ือตายไปแล้ว ก็ไปเกิดในอบาย มีนรก เป็นต้น เมื่อมาเกิดเป็น มนษุ ย์ ก็จะเปน็ คนหนา้ ตาไมส่ วยงาม ขเ้ี หร่ เพราะชาตกิ อ่ นเปน็ คนมกั โกรธ ส่วนคนท่ีเกิดมารูปสวย เพราะชาติก่อนเป็นคนมีเมตตากรุณา ไม่มักโกรธ เมื่อเขา ไปเกดิ ในสวรรค์แล้วกลบั มาเกิดเป็นมนุษย์ เขาจึงมีหน้าตาสวยงาม รูปหล่อ รูปสวย เพราะมี เมตตา เปน็ คนไม่มักโกรธ คู่ที่ ๔ การที่บางคนเกิดมามีวาสนาน้อย ไม่มียศมีตําแหน่งกับเขา เป็นคนต้อยตํ่า ก็เพราะเมื่อชาติก่อน เขาเป็นคนริษยาคนอ่ืน เม่ือใครเขาได้ดีทนอยู่ไม่ได้ ริษยาเขา เพราะฉะน้ันเม่ือเกิดมาในชาติปัจจุบันจึงเป็นคนมีศักดิ์ต่า ไม่มียศ ไม่ค่อยมีตาแหน่ง ถ้ามียศ มตี าแหนง่ กม็ กั จะอยู่ในตาแหนง่ ต่าอย่เู สมอ เพราะเป็นคนริษยาเขา ส่วนคนท่ีเกิดมาได้รับตาแหน่งสูง เพราะเมื่อชาติก่อนน้ันไม่ริษยาคนอื่นเขา ใครได้ดี ก็พลอยยนิ ดีกับเขา จงึ เกดิ มาไดต้ าแหนง่ สูง เพราะไมร่ ษิ ยาเขา หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๕ คู่ท่ี ๕ การที่คนบางคนเกิดมายากจน ก็เพราะเม่ือชาติก่อนเขาเป็นคนตระหนี่ ถ่ีเหนยี ว ไม่รู้จักบรจิ าคทาน จงึ เกิดมายากจน ส่วนคนท่ีเกิดมาร่ารวย มีพ่อแม่ร่ารวย เกิดมาในตระกูลท่ีร่ารวย ก็เพราะเม่ือชาติ กอ่ นนั้นเขาเปน็ คนทีบ่ รจิ าคทาน ยินดีในการบรจิ าค ไม่ตระหนถี่ เ่ี หนยี ว คู่ท่ี ๖ การที่คนบางคนเกิดมาในสกุลตํ่า ก็เพราะเมื่อชาติก่อนเป็นคนไม่อ่อนน้อม ถอ่ มตนตอ่ ผู้ใหญ่ เปน็ คนแขง็ กระด้าง เย่อหยิ่ง เมื่อตายไปแล้ว ก็ไปเกิดในอบาย มีนรก เป็นต้น เมือ่ กลบั มาเกิดเปน็ มนุษย์ จึงเกิดในสกลุ ต่า ส่วนคนท่ีเกิดมาในสกุลสูง ก็เพราะชาติก่อนเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ เปน็ คนไม่แข็งกระดา้ ง ไมเ่ ย่อหย่ิง คู่ที่ ๗ การท่ีคนบางคนเกิดมาโง่ ก็เพราะเมื่อชาติก่อน ไม่คบบัณฑิต ไม่สอบถาม ถึงว่าสิ่งใดเป็นบาป บุญ คุณ โทษ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ อะไรควรทา อะไรไม่ควรทา เมือ่ เกิดมาเป็นมนษุ ย์ จึงเปน็ คนโง่ ส่วนคนท่ีเกิดมาเป็นคนฉลาด ก็เพราะชาติก่อนเป็นคนคบบัณฑิต สอบถามถึงบาป บุญ คุณ โทษ ประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ อะไรควรทา อะไรไม่ควรทา เมื่อเกิดมาเป็นมนุษย์ จึงเปน็ คนฉลาด อกศุ ลกรรมบถ อกุศลกรรมบถ คือ ทางแห่งกรรมท่ีเป็นอกุศล ทางแห่งกรรมช่ัวหรือกรรมช่ัวอัน เปน็ ทางนาไปสู่ทุคติ มี ๑๐ อย่าง จาแนกเป็น กายกรรม ๓ วจกี รรม ๔ และมโนกรรม ๓ ดงั น้ี กายกรรม ๓ ไดแ้ ก่ ๑. ปาณาตบิ าต การฆา่ สัตว์ ๒. อทินนาทาน การลักขโมย ๓. กาเมสุมจิ ฉาจาร การประพฤติผิดในกาม วจีกรรม ๔ ได้แก่ ๑. มุสาวาท การพูดเทจ็ ๒. ปิสุณวาจา การพดู สอ่ เสียด ๓. ผรุสวาจา การพูดคาหยาบ ๔. สมั ผัปปลาปะ การพูดเพอ้ เจ้อ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๖ มโนกรรม ๓ ไดแ้ ก่ ๑. อภิชฌา การเพง่ เล็งอยากได้ของผ้อู น่ื ๒. พยาบาท การคิดปองร้ายผอู้ น่ื ๓. มจิ ฉาทิฏฐิ การเหน็ ผิดจากคลองธรรม กายกรรม ๓ กายกรรม หมายถึง การกระทาทางกาย คือ ทากรรมด้วยกายทั้งกรรมดีและกรรม ชั่ว จัดเป็นกายกรรมท้ังสิ้น การกระทาช่ัวทางกายมี ๓ อย่าง คือ การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ และการประพฤตผิ ดิ ในกาม ๑. ปาณาตบิ าต การฆา่ สตั ว์ ความเสยี หายของปาณาตบิ าต ชีวิตเป็นสิ่งสาคัญที่สุดของสัตว์ทั้งหลาย หากไม่มีชีวิตเสียแล้ว ฐานะทรัพย์สิน ที่มีอยู่ก็ช่ือว่าไม่มี ชีวิตจึงเป็นเจ้าของของทุกสิ่งทุกอย่าง และเป็นสิ่งที่สัตว์ทุกรูปทุกนาม หวงแหนทีส่ ุด การทาลายชีวติ เทา่ กบั เปน็ การทาลายทุกสง่ิ ทกุ อยา่ ง ปาณาติบาต คือ การฆ่าสัตว์ หมายรวมไปถึงการทาร้าย การทรกรรมสัตว์ คาว่า สัตว์ ในที่น้ี หมายถึง ส่ิงมีชีวิตทุกชนิด กิริยาที่ประพฤติก้าวล่วงต่อชีวิตสัตว์ มี ๓ ประการ ดังน้ี ๑. การฆา่ ๒. การทาร้ายรา่ งกาย ๓. การทรกรรม การฆ่า หมายถงึ การทาชีวติ สัตวใ์ ห้ตกล่วงไป ได้แก่ การทาใหต้ าย วัตถุ คือ ผู้ถูกฆ่า มี ๒ อย่าง คือ มนุษย์ และสัตว์เดียรัจฉาน โดยท่ีสุด หมายถึง มนษุ ยแ์ ละสัตว์เดียรจั ฉานท้งั ที่อยู่ในครรภ์และนอกครรภ์ เจตนาของผฆู้ า่ มี ๒ อย่าง คอื จงใจฆา่ และไมจ่ งใจฆา่ การฆ่าสาเร็จด้วยความพยายาม เรียกว่า ปโยคะ มี ๒ อย่าง คือ ฆ่าเองและใช้ให้ ผอู้ ่ืนฆา่ การใชใ้ หผ้ ้อู ืน่ ฆา่ ทงั้ ผใู้ ชแ้ ละผ้ถู กู ใชใ้ ห้ฆ่า มีโทษและความผดิ ฐานฆ่าผอู้ ื่นเหมือนกัน หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๗ การทําร้ายร่างกาย หมายถึง การทาร้ายผู้อื่น โดยการทาให้พิการ เสียโฉม หรือ เจบ็ ลาบาก แต่ไมถ่ งึ กับเสียชีวติ มลี กั ษณะ ดงั นี้ การทําให้พิการ คือ การทาให้เสียอวัยวะ เช่น ทาให้เสียนัยน์ตา เสียแขน เสียขา เป็นต้น การทําให้เสียโฉม คือ การทาร้ายร่างกายให้เสียความสวยงาม แต่ไม่ถึงพิการ เช่น ใชม้ ีดกรีดหรือใชไ้ มท้ บุ ตีให้เปน็ แผลเป็น เปน็ ต้น การทาํ ให้เจบ็ ลาํ บาก คือ การทาร้ายรา่ งกายให้เจ็บปวด เปน็ ทุกข์ทรมาน การทาร้ายร่างกายทงั้ หมดนี้ เป็นอนุโลมปาณาติบาต การทรกรรม มุ่งเฉพาะการทาแก่สัตว์เดียรัจฉาน เพราะมนุษย์ไม่เป็นวัตถุอันใครๆ จะพึงทรกรรมได้ การทรกรรม คือการทาให้สัตว์ได้รับความลาบาก ประพฤติเหี้ยมโหดแก่สัตว์ โดยขาดความเมตตากรณุ า มลี ักษณะ ดังนี้ ใช้การ หมายถึง การใช้สัตว์ไม่มีความเมตตาปรานี ปล่อยให้อดอยากซูบผอม ไม่ให้กิน ไม่ให้นอน ไม่ให้หยุดพักผ่อนตามกาล ขณะใช้งานก็เฆี่ยนตีทาร้ายร่างกายโดยไม่มี เมตตาจิต หรือใชก้ ารเกินกาลังของสัตว์ เชน่ ให้เขน็ ภาระหนักเกินกาลงั เป็นต้น กักขัง หมายถึง การกักขังสัตว์ให้อดอยาก อิดโรย หรือผูกรัดไว้จนไม่สามารถจะ ผลัดเปลย่ี นอริ ิยาบถได้ นําไป หมายถึง การผูกมัดสัตว์แล้วนาไปโดยวิธีทรมาน เช่น ลาก หรือหิ้วเป็ด ไก่ สุกร เอาหวั ลงและเอาเท้าขนึ้ ทาใหส้ ัตว์ไดร้ ับความทุกข์ทรมานอย่างย่ิง เล่นสนุก หมายถึง การทรมานสัตวด์ ว้ ยความสนกุ สนาน เช่น ใช้ประทัดผูกหางสุนัข แล้วจุดไฟ เพื่อให้สุนัขตกใจและว่ิงสุดชีวิต หรือการใช้ก้อนหินก้อนดินขว้างปาสัตว์ เพ่ือความสนุกของตน ผจญสัตว์ หมายถึง การนาสัตว์มาต่อสู้กัน ทาให้สัตว์เหน็ดเหน่ือยและได้รับทุกข์ ทรมาน เชน่ ชนโค ชนกระบือ ชนแพะ ชนแกะ ตีไก่ กดั ปลา กัดจ้งิ หรีด เป็นต้น หลักวนิ ิจฉัย การฆ่าสตั วท์ ีส่ าเรจ็ เปน็ ปาณาติบาต ถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ มีองค์ ๕ คือ ๑. ปาโณ สัตวม์ ีชวี ติ ๒. ปาณสญฺญิตา ร้วู า่ สัตว์มีชีวิต ๓. วธกจิตฺตํ จติ คิดจะฆ่า หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๘ ๔. อปุ กฺกโม พยายามฆา่ ๕. เตน มรณํ สตั ว์ตายดว้ ยความพยายามนั้น การฆ่าสัตว์น้ี ทางพระพุทธศาสนารวมถึงการฆ่าตัวเองด้วย การฆ่าตัวเองน้ัน เป็นปาณาติบาต เนือ่ งจากมีองคป์ ระกอบของปาณาติบาตครบทั้ง ๕ ขอ้ เชน่ เดยี วกัน โทษของปาณาตบิ าต คัมภีร์ช้ันอรรถกถา ได้วางหลักวินิจฉัยการฆ่าว่าจะมีโทษมากหรือน้อยไว้ ๔ ประการ คือ ๑. คุณ ฆ่าสัตว์มีคุณมากก็มีโทษมาก ฆ่าสัตว์มีคุณน้อยหรือไม่มีคุณ ก็มีโทษน้อย เช่น ฆ่าพระอรหันต์ มีโทษมากกว่าฆ่าปุถุชน ฆ่าสัตว์ช่วยงาน มีโทษมากกว่าฆ่าสัตว์ดุร้าย เป็นต้น การฆ่าบิดามารดา การฆ่าพระอรหันต์ มีบาปหนัก เป็นอนันตริยกรรม ห้ามสวรรค์ หา้ มนิพพาน การฆ่าคนท่ีมีคุณ เช่น พระอริยบุคคลที่ต่ากว่าพระอรหันต์ หรือกัลยาณชน ผู้รักษา ศีลปฏิบัติธรรม หรือคนที่ประกอบคุณงามความดีต่อสังคมก็มีบาปมาก แต่น้อยกว่าการฆ่า พระอรหนั ต์ หรอื การฆา่ บิดามารดาเพราะไม่เป็นอนนั ตริยกรรม การฆา่ คนทัว่ ไป กม็ บี าปเช่นเดียวกัน แต่น้อยกว่าการฆา่ คนท่มี คี ณุ การฆ่าคนทไ่ี รศ้ ีลธรรมและเปน็ ภัยแก่คนอื่น ก็จัดว่าเป็นบาป แต่น้อยกว่าการฆ่าคน ทวั่ ไป กลา่ วโดยสรุปแล้วการฆา่ ล้วนเปน็ บาปท้ังสิ้น ๒. ขนาดกาย สาหรับสัตว์จาพวกเดียรัจฉานที่ไม่มีคุณเหมือนกัน ฆ่าสัตว์ใหญ่ มีโทษมาก ฆ่าสัตว์เล็กมีโทษน้อย ก็เพราะการฆ่าสัตว์ที่มีขนาดร่างกายใหญ่กว่าต้องใช้ความ พยายามในการฆ่ามากกวา่ ๓. ความพยายาม มีความพยายามมากในการฆ่า ก็มีโทษมาก มีความพยายาม นอ้ ยกม็ โี ทษน้อย ความพยายามในการฆ่าน้ัน ถ้าเกิดความสูญเสียต่อชีวิตมาก ย่อมมีบาปมาก หรือ การฆ่าด้วยวิธีการที่ทรมาน คือทาให้ตายอย่างลาบาก หวาดเสียว ให้เกิดความช้าใจ ฆ่าด้วย วิธีพิสดาร ย่อมมีบาปมาก ส่วนการฆ่าด้วยการใช้เทคโนโลยี เช่น การใช้ระเบิดอาวุธชีวะเคมี ทาใหเ้ กิดความสูญเสยี มาก ย่อมมีบาปมาก หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๓๙ ๔. กิเลสหรือเจตนา มีกิเลสหรือเจตนาแรงก็มีโทษมาก มีกิเลสหรือเจตนาอ่อน กม็ โี ทษน้อย เช่นฆ่าด้วยโทสะหรอื จงใจเกลยี ดชงั มโี ทษมากกว่าฆ่าเพื่อปอ้ งกนั ตวั เป็นต้น เจตนาในการฆ่าด้วยอานาจโลภะ โทสะ โมหะ หากมีเจตนาแรงกล้าย่อมมีบาปมาก หากเจตนาอ่อนย่อมมีบาปน้อย เช่น การฆ่าด้วยการเห็นแก่อามิสสินจ้างรางวัล การฆ่าด้วย ความอามหิตโหดเหี้ยมเคียดแค้นพยาบาท การฆ่าด้วยความเป็นมิจฉาทิฏฐิ การฆ่าโดยไม่มี เหตุผล หรือการฆ่าเพ่ือความสนุกสนาน ย่อมมีบาปมากน้อยลดหล่ันกันไป ในกรณีที่ไม่มี เจตนาก็ไม่บาป ดังเร่ืองพระจักขุบาลเถระซึ่งมีจักษุบอดทั้งสองข้าง เดินจงกรมเหยียบแมลง เม่าตายเป็นจานวนมาก แต่ไม่มีเจตนาท่ีจะฆ่า ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ขนึ้ ช่อื ว่าเจตนาเปน็ เหตใุ ห้ตายของพระขณี าสพท้งั หลาย มิไดม้ ี” ในการฆ่าสตั วน์ ้ัน ผฆู้ ่าย่อมไดร้ บั กรรมวิบาก ๕ สถาน คอื ๑. ย่อมเกิดในนรก ๒. ยอ่ มเกิดในกาเนดิ สัตวเ์ ดยี รัจฉาน ๓. ย่อมเกิดในกาเนดิ เปรตวสิ ยั ๔. ยอ่ มเปน็ ผู้มอี วัยวะพกิ าร ๕. โทษเบาทสี่ ุด หากเกดิ เปน็ มนษุ ย์ ย่อมเป็นผมู้ อี ายสุ ั้น ตัวอยา่ งโทษของปาณาติบาต เรื่องนายโคฆาตก์ มีเรื่องเล่าว่า ในคร้ังพุทธกาล ในพระนครสาวัตถี มีชายคนหน่ึงช่ือ โคฆาตก์ มีอาชีพ ฆ่าโคขายเน้ือเลี้ยงชีวิต เป็นเวลา ๕๕ ปี ตลอดเวลาท่ีเขาทาอาชีพนี้ ไม่เคยบริจาคทานและ รกั ษาศลี เลย ถ้าวนั ใดขาดเนอ้ื จะไมย่ อมรับประทานอาหาร วันหนึ่ง นายโคฆาตก์ขายเนื้อตอนกลางวันแล้ว มอบเนื้อส่วนหนึ่งให้ภรรยาไว้ ทากับข้าว เสร็จแล้วไปอาบน้า ขณะนั้น เพ่ือนของเขาคนหน่ึงมีแขกมาท่ีบ้าน ไม่มีกับข้าว ต้อนรับจึงมายังบ้านของนายโคฆาตก์ ขอซื้อเน้ือกับภรรยานายโคฆาตก์เพื่อนาไปทาอาหาร ต้อนรับแขก ภรรยานายโคฆาตก์ไม่ยอมขายให้ เพราะไม่มีเน้ือสาหรับขาย มีแต่เน้ือที่เก็บไว้ ทาอาหารให้สามเี ท่านั้น เพราะทราบดีว่านายโคฆาตก์ขาดเนื้อเสียแล้วจะไม่ยอมรับประทาน อาหาร แต่เพื่อนของนายโคฆาตกก์ ็ไมย่ อมฟงั ไดห้ ยบิ ฉวยเอาเนอ้ื น้นั ไปโดยพลการ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๐ นายโคฆาตก์อาบน้าเสร็จแล้วกลับมา ภรรยาจึงคดข้าวมาเพ่ือให้เขากินกับผักต้ม และไดเ้ ล่าเหตุการณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ ให้เขาฟงั เขาไมย่ อมรับประทานอาหาร ได้หยิบฉวยมีดอันคมกริบ เดินเข้าไปหาโคตัวหน่ึง สอดมือเข้าไปในปาก ดึงล้ินออกมาแล้ว เอามีดตัดจนขาด นามาให้ ภรรยาทากบั ข้าว โคตัวนัน้ ก็ส้ินใจตายด้วยความเจ็บปวดทรมาน เมื่อกับข้าวเสร็จแล้ว เขาก็เร่ิมรับประทานอาหาร ทันทีที่เขาใส่ชิ้นเน้ือเข้าไปในปาก ล้ินของเขาก็ได้ขาดตกลงไปในชามข้าว ได้รับผลกรรมทันตาเห็น เพราะการทาปาณาติบาต ด้วยจิตใจท่ีเห้ียมโหด เลือดไหลออกจากปาก เขาเที่ยวคลานไปในบ้านและร้องครวญคราง ด้วยความเจ็บปวดเหมือนโค ครน้ั ตายแล้ว กไ็ ปเกดิ ในอเวจีนรก ๒. อทินนาทาน การลกั ทรัพย์ ความเสยี หายของอทนิ นาทาน ทรพั ย์สมบัติทหี่ ามาได้ด้วยความชอบธรรม เปน็ สิทธิของบุคคลที่เป็นเจ้าของ เพ่ือใช้ เลี้ยงชีพของตนและครอบครัวให้มีความสุขตามอัตภาพ ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจความรัก และหวงแหน ไม่ต้องการให้ใครมาล่วงละเมิดในกรรมสิทธ์ิของตนเอง การลักขโมย เป็นการ ล่วงละเมิดอย่างร้ายแรงต่อทรัพย์สินอันเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้อื่น ปัญหาทุจริตคดโกง ล้วนแล้วแต่เกิดมาจากอทินนาทานทั้งสิ้น ส่งผลให้ไม่ได้รับความเช่ือถือไว้วางใจท้ังในระดับ บุคคลและระดบั นานาชาติ นอกจากนี้ ยงั ก่อให้เกดิ ปญั หาอาชญากรรมทางด้านทรัพย์สินอกี ด้วย อทินนาทาน การลักทรัพย์นั้น คือการกระทาโจรกรรมโดยตรง หมายถึง การถือ เอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ท้ังท่ีเป็นสวิญญาณกทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์ที่มีวิญญาณ เช่น โค กระบือ เป็นต้น และอวิญญาณกทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่มีวิญญาณ เช่น แก้ว แหวน เงิน ทอง เป็นต้น สิ่งของท่ีมิใช่ของใครแต่มีผู้รักษาหวงแหน ได้แก่ ส่ิงของท่ีอุทิศบูชาปูชนียวัตถุ สิ่งของท่ีเป็นสมบัติของส่วนรวม ถือเอาด้วยอาการเป็นโจร นอกจากน้ี ยังรวมถึงกิริยาที่ก้าวล่วง ทรัพยส์ มบัติของผู้อ่นื ๓ ประการ คือ ๑. โจรกรรม ๒. อนุโลมโจรกรรม ๓. ฉายาโจรกรรม หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๑ เฉพาะอนุโลมโจรกรรมกับฉายาโจรกรรมนั้น ต้องพิจารณาถึงเจตนาของผู้กระทาด้วย ถา้ เจตนากระทาให้เขาเสียกรรมสิทธ์ิ กถ็ อื ว่าเปน็ การลักทรัพย์ โจรกรรม หมายถึง การลัก การขโมย การปล้น หรือกิริยาท่ีถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ ไมไ่ ดใ้ ห้ด้วยอาการเปน็ โจร มหี ลายประเภท พรรณนาพอเปน็ ตัวอยา่ ง ดงั น้ี ๑. ลัก ได้แก่ ถือเอาส่ิงของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น คือกิริยาที่ถือเอา สง่ิ ของผู้อื่นดว้ ยอาการเปน็ โจร ๒. ฉก ได้แก่ ฉวยหรือชิงเอาโดยเร็ว คือกิริยาท่ีถือเอาส่ิงของในเวลาท่ีเจ้าของเผลอ หรอื ชงิ เอาทรพั ย์ตอ่ หน้าเจ้าของ ๓. กรรโชก ได้แก่ ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว คือกิริยาที่แสดงอานาจ ให้เจา้ ของตกใจกลัวแลว้ ยอมให้สิง่ ของของตน หรือใช้อาชญาเร่งรัดเอา ๔. ปล้น ได้แก่ ใช้กาลังลอบมาหักโหมแย่งชิงเอาโดยไม่รู้ตัว คือกิริยาท่ียกพวก ไปถือเอาสิง่ ของของคนอน่ื ดว้ ยการใช้อาวธุ ๕. ตู่ ได้แก่ กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว คือกิริยาท่ีร้องเอาของ ผู้อื่นซ่ึงมิได้ตกอยู่ในมือตน คือมิได้ครอบครองดูแลอยู่ หรืออ้างหลักฐานพยานเท็จ หักล้าง กรรมสิทธิ์ของผอู้ ่ืน ๖. ฉ้อ ได้แก่ โกง คือกิริยาที่ถือเอาสิ่งของของผู้อ่ืนอันตกอยู่ในมือตน คือตน ครอบครองดแู ลอยู่ หรอื โกงเอาทรพั ย์ของผอู้ น่ื ๗. หลอก ได้แก่ ทาให้เข้าใจผิด สาคัญผิด คือกิริยาพูดปดเพ่ือถือเอาของผู้อื่น หรอื ปนั้ เร่อื งให้เขาเช่ือเพ่ือจะให้เขามอบทรพั ย์ให้แก่ตน ๘. ลวง ได้แก่ ทาให้หลงผิด คือกิริยาที่ถือเอาสิ่งของของผู้อื่น ด้วยแสดงของอย่าง ใดอย่างหนึ่งเพ่ือให้เข้าใจผิด หรือใช้เล่ห์เอาทรัพย์ด้วยเคร่ืองมือลวงให้เขาเชื่อ เช่น การใชต้ ราชั่งท่ไี ม่ไดม้ าตรฐาน เป็นตน้ ๙. ปลอม ได้แก่ ทาให้เหมือนคนอื่นหรือสิ่งอ่ืน เพ่ือให้หลงผิดว่าเป็นคนนั้นหรือ ส่งิ น้ัน คอื กิริยาท่ที าของไมแ่ ท้ใหเ้ ห็นว่าเปน็ ของแท้ ๑๐. ตระบัด ไดแ้ ก่ ฉ้อโกง คือกิรยิ าท่ยี ืมของเขาไปแลว้ ถือเอาเสยี ๑๑. เบยี ดบัง ได้แก่ ยักเอาไว้เป็นประโยชนข์ องตัว คือกิรยิ ากินเศษกนิ เลย หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๒ ๑๒. สับเปลี่ยน ได้แก่ เปล่ียนแทนท่ีกัน คือกิริยาที่ถือเอาส่ิงของของตนที่เลว เขา้ ไว้แทน และเอาส่ิงของของผอู้ ่นื ทดี่ ีกว่า หรือแอบสลบั เอาของผอู้ ่ืนซ่งึ มคี ่ามากกว่า ๑๓. ลักลอบ ได้แก่ ลอบกระทาการบางอย่าง คือกิริยาท่ีเอาของซ่ึงจะต้องเสียภาษี ซ่อนเข้ามาโดยไม่เสยี ภาษหี รอื หลบหนภี าษขี องหลวง ๑๔. ยักยอก ได้แก่ ถือเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือทรัพย์ของตนซ่ึงผู้อื่นเป็นเจ้าของ ร่วมอยู่ด้วยท่ีอยู่ในความดูแลรักษาของตนไปโดยทุจริต คือใช้อานาจหน้าท่ีที่มีอยู่ถือเอาทรัพย์ โดยไมส่ จุ ริต หรือกิรยิ าท่ยี กั ยอกทรัพย์ของตนทีจ่ ะตอ้ งถกู ยดึ เอาไปไว้เสยี ที่อื่น อนุโลมโจรกรรม หมายถึง กิริยาที่แสวงหาทรัพย์ในทางไม่บริสุทธ์ิ ยังไม่ถึงขั้นเป็น โจรกรรม มีประเภทจะพรรณนาพอเป็นตวั อย่าง ดังน้ี ๑. สมโจร ไดแ้ ก่ กิริยาท่อี ุดหนนุ โจรกรรม เชน่ การรบั ซอ้ื ของโจร ๒. ปอกลอก ได้แก่ ทาให้เขาหลงเช่ือแล้วล่อลวงเอาทรัพย์เขาไป หรือกิริยาท่ีคบคน ด้วยอาการไม่ซื่อสัตย์ มุ่งจะเอาแต่ทรัพย์สมบัติของเขาถ่ายเดียว เมื่อเขาสิ้นเน้ือประดาตัว กล็ ะทงิ้ เขาเสีย ๓. รับสินบน ได้แก่ รับสินจ้างเพื่อกระทาผิดหน้าท่ี คือการถือเอาทรัพย์ท่ีเขาให้ เพื่อช่วยทาธุระให้ในทางที่ผิด การรับสินบนน้ี หากผู้รับมีเจตนาร่วมกับผู้ให้ในการทาลาย กรรมสทิ ธ์ขิ องผอู้ ่ืน กถ็ อื วา่ เป็นการทาโจรกรรมร่วมกนั โดยตรง ถอื ว่าเป็นการลักทรพั ย์ ฉายาโจรกรรม หมายถึง กิริยาที่ทาคล้ายคลึงกับโจรกรรม หรือกิริยาท่ีทาทรัพย์ ของผ้อู ่ืนให้สูญเสียและเป็นสินใช้ตกอย่แู กต่ น ประกอบด้วยลกั ษณะ ๒ อยา่ ง คือ ๑. ผลาญ ได้แก่ ทาลายให้หมดสิ้นไป คือกิริยาท่ีทาความเสียหายแก่ทรัพย์ของผู้อื่น ๒. หยิบฉวย ได้แก่ กิริยาที่ถือเอาทรัพย์ของผู้อ่ืนด้วยความมักง่าย โดยมิได้บอก ให้เจา้ ของรู้ คือการถือเอาด้วยวิสาสะเกินขอบเขต ฉายาโจรกรรมน้ี ถ้ามีเจตนาในทางทาลายกรรมสิทธ์ิของผู้อ่ืนรวมอยู่ด้วย กถ็ อื วา่ เป็นการทาโจรกรรมโดยตรง ถือวา่ เป็นการลักทรพั ย์ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๓ หลักวนิ จิ ฉยั การลกั ทรัพย์ที่สาเร็จเปน็ อทินนาทาน ถึงความเป็นอกศุ ลกรรมบถ มอี งค์ ๕ คือ ๑. ปรปรคิ ฺคหิตํ ของน้นั มเี จ้าของ ๒. ปรปริคคฺ หิตสญฺ ตา รวู้ า่ ของน้ันมเี จา้ ของ ๓. เถยยฺ จิตฺตํ จติ คิดจะลกั ๔. อปุ กกฺ โม พยายามลกั ๕. เตน หรณํ ได้ของมาดว้ ยความพยายามน้ัน โทษของอทนิ นาทาน ผู้ประพฤติอทินนาทาน ถือเอาสิ่งของท่ีเจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมยหรือ ลักทรัพย์ จะมีโทษมากหรือน้อย ตามคุณค่าของสิ่งของ คุณความดีของเจ้าของ และความ พยายามในการลกั ขโมย นอกจากน้ัน ผู้ลกั ทรพั ยย์ ่อมได้รบั กรรมวบิ าก ๕ สถาน คือ ๑. ย่อมเกิดในนรก ๒. ยอ่ มเกดิ ในกาเนิดสัตวเ์ ดียรจั ฉาน ๓. ย่อมเกิดในกาเนิดเปรตวสิ ัย ๔. ยอ่ มเป็นผ้ยู ากจนเขญ็ ใจไรท้ พ่ี ึง ๕. โทษเบาที่สุด หากเกดิ เป็นมนุษย์ ทรัพยย์ อ่ มฉิบหาย ตวั อย่างโทษของอทนิ นาทาน เรือ่ ง เวมานิกเปรต เม่ือครั้งพระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนาอยู่ ณ กรุงสาวัตถี หัวหน้าพ่อค้าชาวสาวัตถี คนหนง่ึ พาพ่อคา้ ๗๐๐ คน ลอ่ งเรือไปค้าขายในดนิ แดนสุวรรณภูมิ ระหว่างเดินทางเรือได้ถูก ลมพลัดหลงไปถึงวิมานทองซ่ึงอยู่กลางทะเล ภายในวิมานทองน้ันมีเทพธิดาแสนสวยอาศัยอยู่ หัวหน้าพอ่ คา้ เห็นเทพธิดาจึงถามวา่ “น้องรปู งามท่ีอยู่ในวิมานนี้เป็นใครกันหนอ ขอเชิญน้อง ออกมาข้างนอกเถิด พ่ีจะขอชมความงามของน้องให้เต็มตา” เทพธิดาตอบว่า “ดิฉันเป็น เวมานิกเปรต เพราะทาบุญไว้น้อยมาก แม้จะมีรูปสวย มีวิมาน แต่ดิฉันต้องเปลือยกายไร้ อาภรณ์ มีเพียงเส้นผมปิดบังกายไว้เท่านั้น ดิฉันอายเหลือเกินที่จะออกไปข้างนอก” หัวหน้า พ่อค้าบอกว่า “น้องนางผู้มีรูปงาม พ่ีจะให้ผ้าเน้ือดี น้องจงนุ่งผ้าแล้วออกมาเถิด” เวมานิกเปรต หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๔ ตอบว่า “ท่านไม่อาจให้ผ้าน้ันแก่ดิฉันด้วยมือท่านได้โดยตรง แต่ถ้าในหมู่พวกท่านมีอุบาสก สาวกของพระสัมมาสมั พุทธเจ้า ขอทา่ นจงให้ทานผ้าน้ันแก่อุบาสกแล้วอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดิฉัน เมอ่ื น้ัน ดฉิ ันจึงจะได้ผา้ นตี้ ามปรารถนา ในเรือนั้นมีอุบาสกผู้มีศีลคนหน่ึง หัวหน้าพ่อค้าจึงบอกให้เขาอาบน้าแล้วได้มอบ ผ้านุ่งผ้าห่มให้ และอุทิศส่วนกุศลไปให้เวมานิกเปรต ทันใดน้ันเวมานิกเปรตก็มีอาภรณ์ทิพย์ สวมใส่ เดินยิ้มออกมาจากวิมาน พร้อมท้ังได้อาหารทิพย์อันเกิดจากการให้ทานของหัวหน้า พ่อค้าเพียงคร้ังเดียว พวกพ่อค้าอัศจรรย์ใจ เกิดความเคารพในอุบาสก จึงพากันเข้าไปไหว้ อุบาสกคนน้ันจึงได้แสดงธรรมให้พวกพ่อค้าฟังตามสมควร พวกพ่อค้าถามเวมานิกเปรตว่า ทาบุญกรรมอะไรไว้จึงมาเกิดเป็นเวมานิกเปรตอยู่กลางทะเล เวมานิกเปรตตอบว่า ในพุทธกาล ที่ล่วงมาแล้ว ดิฉันเกิดในเมืองพาราณสี อาศัยรูปร่างเลี้ยงชีพ ต่อมาวันหน่ึง มีผู้หญิงคนหนึ่ง แกล้งเอายาบารุงผมมาให้ แต่พอใช้แล้วผมกลับร่วงหมดศีรษะ ดิฉันอายจึงหนีออกไปอยู่ นอกเมือง เปล่ียนอาชีพไปคั้นน้ามันงาขาย พร้อมท้ังเปิดร้านขายสุรา วันหน่ึง มีลูกค้ามาดื่ม สุราแล้วเมานอนหลับสนิทอยู่ที่ร้าน ดิฉันฉวยโอกาสน้ัน ลักผ้าที่ลูกค้าคนน้ันนุ่งไว้หลวมๆ ด้วยกรรมน้ัน ดฉิ ันจงึ ไม่มีอาภรณส์ วมใส่ ต่อมาอีกวันหนึ่ง ดิฉันเห็นพระขีณาสพรูปหนึ่งเท่ียวบิณฑบาตอยู่ จึงนิมนต์ท่าน เข้าไปในเรือนแล้วถวายแป้งเค่ียวเจือน้ามันงา ด้วยกุศลกรรมเพียงเท่าน้ี ดิฉันจึงเกิดเป็น เทพธิดารูปงาม และได้วิมานทอง ดิฉันอยู่ในวิมานทองน้ีมาแล้วส้ินระยะเวลา ๑ พุทธันดร แต่ดฉิ ันก็เปน็ ทุกขม์ าก เพราะอีก ๔ เดอื นกุศลกรรมเหลา่ น้ีจะหมดลง วิบากกรรมชั่วอย่างอ่ืน ของดิฉันจะนาดิฉนั ไปหมกไหม้อยใู่ นนรก ได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัสเป็นเวลายาวนาน อุบาสกผู้มีศีล จึงกล่าวเตือนสติเทพธิดาว่า ดูก่อนแม่เทพธิดา เธอได้เสื้อผ้าอาภรณ์ และอาหารทิพย์เพราะผลของทานที่พ่อค้าให้แก่เรา หากเธอให้ทานแก่พ่อค้าเหล่าน้ีบ้าง ผลทานก็จะเกดิ แกเ่ ธอ และยิง่ หากเธอได้ถวายทานแด่พระศาสดา ผลของทานก็จะยิ่งเกิดแก่ เธอมากยิง่ ขึ้น เวมานิกเปรตได้ฟังแล้วก็มีใจยินดี นาข้าวและน้าอันเป็นทิพย์มาเล้ียงพวกพ่อค้า และฝากผ้าทิพย์คู่หน่ึงให้หัวหน้าพ่อค้านาไปถวายพระศาสดาด้วย พวกพ่อค้าเหล่านั้น เดินทางต่อไป ครั้นกลับถึงกรุงสาวัตถีแล้ว หัวหน้าพ่อค้าได้นาผ้าทิพย์ของเธอไปถวายแด่ พระศาสดาแล้วอุทิศส่วนกุศลให้เวมานิกเปรต เม่ือนางได้รับผลบุญนั้นจึงจุติไปเกิดเป็นเทพธิดา ในสวรรค์ชัน้ ดาวดงึ ส์ มเี ทพธิดา ๑,๐๐๐ นางเป็นบริวาร หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๕ เรื่องเวมานิกเปรตนี้ แสดงให้เห็นโทษของการลักขโมย ทาให้เกิดความขัดสน หมกไหม้อยู่ในนรก ได้รับความทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัส ไม่มีเสื้อผ้าอาภรณ์และไม่มี อาหารรับประทาน และยังแสดงให้เห็นถึงอานิสงส์ของการเสียสละให้ทาน ส่งผลให้พ้นจาก อบายไปเกิดในสวรรค์ ๓. กาเมสมุ ิจฉาจาร การประพฤติผิดในกาม ความเสียหายของกาเมสมุ ิจฉาจาร การประพฤติผิดในสามีภรรยาและบุคคลอันเป็นท่ีรักที่หวงแหนของคนอื่น ย่อมเป็น การทาลายความรัก ความอบอุ่นในครอบครัว เป็นการทาลายสถาบันครอบครัว ทาให้ขาด ความเคารพนับถอื จนถงึ ขนั้ เปน็ ศตั รูประหัตประหารซึ่งกนั และกนั กาเมสุมิจฉาจาร คือการประพฤติผิดในกาม หมายถึง การล่วงละเมิดทางเพศต่อ บคุ คลต้องหา้ ม ๒ ประเภท คือ หญงิ ต้องห้าม และชายตอ้ งหา้ ม หากผู้ใดประพฤตผิ ิดกับหญิง หรือชายต้องห้าม ผู้น้ันช่ือว่าประพฤติกาเมสุมิจฉาจาร ถ้าท้ังสองประเภทเป็นผู้ต้องห้ามด้วยกัน ประพฤติผิดร่วมกัน ก็ชื่อว่ากระทาผิดด้วยกันทั้งสองประเภท บุคคลที่เป็นหญิงแต่มีจิตใจเป็นชาย และบคุ คลทีเ่ ป็นชายแตม่ จี ติ ใจเปน็ หญงิ ก็อนุโลมในบคุ คลต้องห้ามตามข้อกาเมสมุ จิ ฉาจารน้ี หญิงตอ้ งหา้ ม หญิงต้องห้าม หมายถงึ บคุ คลตอ้ งห้ามสาหรับชาย มี ๓ ประเภทใหญๆ่ คือ ๑. สสฺสามกิ า หญงิ มสี ามี หมายถึง หญงิ ทีอ่ ย่กู นิ กบั ชายฉันภรรยาสามี ท้ังท่ีแต่งงาน หรือไม่ได้แต่งงาน รวมถึงหญิงที่รับส่ิงของมีทรัพย์เป็นต้นของชายแล้วยอมอยู่กับ ชายนั้น ตลอดถึงหญิงที่ชายรับเล้ียงดูเป็นภรรยา จะได้จดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย หรอื ไม่กต็ าม หญิงประเภทน้ี จะหมดภาวะทีเ่ ปน็ หญิงตอ้ งห้ามก็ต่อเมื่อหย่าขาดจากสามีหรือสามี ตายแล้ว แม้หญิงที่สามีถูกกักขัง เชน่ ถูกจาคุก หากยังไมไ่ ด้หย่าขาดจากกัน ก็ถือว่าเป็นหญิง ต้องห้าม หรอื สามีต้องโทษจาคุกตลอดชีวิต หญิงนั้นก็ยังอยู่ในฐานะต้องห้ามตราบเท่าที่สามี ยงั ต้องโทษอยู่ ชายใดประพฤตผิ ิดตอ่ หญิงมสี ามี ถือวา่ ประพฤตกิ าเมสมุ ิจฉาจาร หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๖ ๒. าติรกฺขิตา หญิงที่ญาติรักษา หมายถึง หญิงที่มีญาติเป็นผู้ปกครอง ไม่เป็น อิสระแก่ตน เพราะอยู่ในการปกครองดูแลพิทักษ์รักษาของบิดามารดา ญาติพ่ีน้อง หรือวงศ์ ตระกูล ชายใดประพฤติผิดตอ่ หญิงทีญ่ าตริ ักษา ถอื ว่าประพฤตกิ าเมสมุ จิ ฉาจาร หญิงที่ญาติรักษาน้ัน เม่ือรับของหม้ันจากฝ่ายชายและตกลงจะแต่งงานกัน นับแต่ รับของหม้ันแล้ว หญิงนั้นชื่อว่าอยู่ในการรักษาทั้งของญาติและของคู่หม้ัน จะพ้นจากการ รักษาของคู่หม้นั กต็ ่อเมื่อได้คืนของหมน้ั หรอื บอกเลิกการหมน้ั น้ันแล้ว ๓. ธมฺมรกฺขิตา หญิงท่ีธรรมรักษา หมายถึง หญิงท่ีมีศีลธรรม กฏหมาย หรือจารีต คมุ้ ครองรกั ษา มี ๒ ประเภท คอื หญงิ ผเู้ ปน็ เทือกเถาเหลา่ กอของตน และหญงิ มขี ้อหา้ ม หญงิ ต้องหา้ มโดยพิสดาร มี ๒๐ ประเภท คือ ๑. มาตรุ กขฺ ติ า หญิงทีม่ ารดารักษา ๒. ปิตุรกฺขิตา หญิงทบี่ ิดารกั ษา ๓. มาตาปติ รุ กฺขติ า หญิงทม่ี ารดาบดิ ารกั ษา ๔. ภาตรุ กขฺ ิตา หญงิ ทพ่ี ีช่ ายน้องชายรักษา ๕. ภคนิ รี กฺขิตา หญิงท่ีพ่ีสาวนอ้ งสาวรักษา ๖. ญาตริ กขฺ ิตา หญิงทญ่ี าติรักษา ๗. โคตตฺ รกฺขิตา หญิงที่ชนมสี กลุ หรอื แซร่ ักษา ๘. ธมมฺ รกฺขติ า หญิงที่ธรรมรักษา ๙. สามริ กฺขิตา หญงิ ที่สามรี ักษา ๑๐. สปรทิ ณฑฺ า หญิงที่กฎหมายคมุ้ ครอง ๑๑. ธนกตี า หญงิ ทช่ี ายซอ้ื มาเปน็ ภรรยา ๑๒. ฉนฺทวาสินี หญงิ ทอ่ี ยู่กับชายด้วยความรกั ใคร่กนั เอง ๑๓. โภควาสนิ ี หญงิ ทอี่ ยเู่ ป็นภรรยาชายดว้ ยโภคสมบตั ิ ๑๔. ปฏวาสนิ ี หญงิ เข็ญใจไดผ้ า้ นุ่งผา้ ห่มแลว้ อย่เู ป็นภรรยา ๑๕. โอทปตฺตกินี หญงิ ที่ชายขอเปน็ ภรรยาด้วยพิธแี ตง่ งาน ๑๖. โอภตจุมพฺ ตา หญิงทช่ี ายช่วยปลงภาระอนั หนกั ลงจากศีรษะแล้วอย่เู ปน็ ภรรยา ๑๗. ทาสีภรยิ า หญงิ คนใชท้ เ่ี ปน็ ภรยิ า หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๗ ๑๘. กมฺมการนิ ีภริยา หญิงรบั จ้างทาการงานทีเ่ ป็นภรยิ า ๑๙. ธชาหฏา หญิงเชลยทีเ่ ป็นภรยิ า ๒๐. มุหุตตฺ ิกา หญิงทีช่ ายอยดู่ ้วยช่ัวคราว ถ้าชายล่วงละเมิดในหญิง ๒๐ จาพวกน้ี แม้จาพวกใดจาพวกหนึ่ง ถือว่าประพฤติ กาเมสมุ จิ ฉาจาร หญิงผู้เป็นเทือกเถาเหล่ากอของตน เทือกเถา หมายถึง หญิงซ่ึงเป็นญาติผู้ใหญ่ นับย้อนขึ้นไปทางบรรพบุรุษ ๓ ช้ัน คือ ย่าทวด ยายทวด ๑ ย่า ยาย ๑ มารดาของตน ๑ เหล่ากอ หมายถึง หญิงผู้สืบสันดานจากตน นับลงไป ๓ ช้ัน คือ ลูก ๑ หลาน ๑ เหลน ๑ ชายใด ประพฤตผิ ดิ ต่อหญิงผ้เู ป็นเทอื กเถาเหล่ากอของตน ถอื ว่าประพฤตกิ าเมสมุ ิจฉาจาร หญิงมขี อ้ หา้ ม มี ๒ ประเภท คอื ๑. หญิงประพฤติพรหมจรรย์ ได้แก่ ภิกษุณี สามเณรี สิกขมานา แม่ชี และ อุบาสิกาผ้รู กั ษาศีล ๘ หรอื อุโบสถศีล ๒. หญิงท่กี ฎหมายจารีตประเพณีรักษา ได้แก่ หญิงที่กฎหมายจารีตประเพณีห้าม มใิ หล้ ว่ งละเมดิ เชน่ หญงิ ท่ียังไมบ่ รรลนุ ิตภิ าวะ หญิงพิการ ทพุ พลภาพ เป็นตน้ ชายตอ้ งหา้ ม ชายต้องห้าม หมายถึง บุคคลต้องห้ามสาหรับหญิง มี ๒ ประเภท คือชายอ่ืน นอกจากสามขี องตนสาหรับหญงิ ที่มีสามี และชายทีจ่ ารตี หา้ มสาหรบั หญิงทว่ั ไป ๑. ชายอื่นนอกจากสามตี น เป็นบคุ คลตอ้ งห้ามสาหรบั หญิงที่มสี ามี ๒. ชายที่จารีตห้าม ได้แก่ นักบวชในศาสนาท่ีห้ามเสพเมถุน เช่น ภิกษุ สามเณร เป็นต้น เปน็ บุคคลตอ้ งหา้ มสาหรับหญิงทวั่ ไป ทั้งท่มี ีสามแี ละไม่มสี ามี หญิงใดประพฤติผิดต่อ ชายตอ้ งหา้ ม ถอื ว่าประพฤตกิ าเมสุมิจฉาจาร หากมีความยนิ ดพี ร้อมใจกนั ในการลว่ งประเวณี กผ็ ิดท้ังสอง กาเมสุมิจฉาจารนี้ ผู้ใดประพฤติผิดต่อบุคคลต้องห้ามดังกล่าวมาทั้งหมด ถือว่า กระทาผิด หากท้ังสองมีความยินดีพร้อมใจในการล่วงประเวณี ก็ถือว่ากระทาผิดท้ังสอง หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๘ อน่ึง ในเร่ืองประเวณีนี้ ห้ามการกระทาในสถานที่อันเป็นศาสนสถาน เช่น โบสถ์ วิหาร ลานเจดีย์ เป็นต้น แม้แต่การผูกสมัครรักใคร่ฉันชู้สาว การเกี้ยวพาราสี การพูดแคะ การเล่นหูเล่นตา การใช้ส่ือสารสนเทศกับบุคคลต้องห้ามในเชิงชู้สาวก็ไม่ควรทา เพราะเป็น เหตเุ บอ้ื งต้นของกาเมสมุ ิจฉาจารเชน่ กัน หลกั วินิจฉยั การประพฤติผิดในกามที่สาเร็จเป็นกาเมสุมิจฉาจาร ถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ มีองค์ ๔ คือ ๑. อคมนียวตฺถุ หญิงหรอื ชายนัน้ เป็นบคุ คลตอ้ งหา้ ม ๒. ตสมฺ ึ เสวนจิตฺตํ จิตคดิ จะเสพ ๓. เสวนปฺปโยโค พยายามเสพ ๔. มคฺเคน มคคฺ ปปฺ ฏิปตฺตอิ ธวิ าสนํ อวัยวะเคร่อื งเสพจรดถึงกนั โทษของกาเมสมุ จิ ฉาจาร การประพฤติผดิ ในกาม จะมีโทษมากหรือนอ้ ย ขึน้ อย่กู ับคุณความดีของคนท่ีถูกล่วง ละเมิด ความแรงของกิเลสและความพยายาม นอกจากนั้น ผู้ประพฤติผิดในกาม ย่อมได้รับ กรรมวบิ าก ๕ สถาน คอื ๑. ย่อมเกดิ ในนรก ๒. ย่อมเกดิ ในกาเนิดสัตว์เดยี รจั ฉาน ๓. ยอ่ มเกิดในกาเนดิ เปรตวิสยั ๔. ย่อมเปน็ ผมู้ ีร่างกายทุพพลภาพ ขีเ้ หร่ มากไปดว้ ยโรค ๕. โทษเบาท่ีสดุ หากเกิดเปน็ มนษุ ย์ ย่อมเป็นผมู้ ีศตั รูรอบด้าน หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๔๙ ตัวอยา่ งโทษของกาเมสมุ จิ ฉาจาร เรื่อง นางกินนรีเทวี ในอดีตกาล มีพระราชาพระองค์หนึ่ง ทรงพระนามว่า กินนร เสวยราชย์อยู่ในเมือง พาราณสี มีพระรูปโฉมงามย่ิงนัก อามาตย์หน่ึงพันนาหีบเคร่ืองหอมมาถวายทุกๆ วัน เมอ่ื ประพรมเครอ่ื งหอมในพระราชนิเวศน์ทั่วแล้ว ก็ผ่าหีบทาเป็นไม้ฟืนหอม หุงพระกระยาหาร ถวายพระเจ้ากินนร มีปุโรหิตผู้มีปัญญาหลักแหลมคนหน่ึงช่ือ ปัญจาลจัณฑะ มีอายุเท่ากับ พระองค์ ก็ปราสาทของพระเจ้ากินนรน้ัน มีต้นหว้าต้นหน่ึงอยู่ในกาแพงวัง กิ่งหว้าทอดข้าม กาแพงออกไป บุรุษเปลี้ยคนหน่ึง รูปร่างอัปลักษณ์น่าเกลียด อาศัยอยู่ท่ีร่มไม้หว้าน้ัน อยู่มา วันหน่ึง นางกินรีเทวี มองออกไปตามช่องหน้าต่าง เห็นบุรุษเปลี้ยน้ันแล้วก็เกิดความรักใคร่ ในเวลาราตรี ทรงบาเรอพระเจ้ากินนรให้ทรงยินดีด้วยกิเลสแล้วบรรทมหลับไป จึงค่อยๆ ลุกข้ึนจัดอาหารอันประณีตมีรสอร่อยใส่ขันทองห่อไว้ที่ชายพกแล้วไต่เชือกลงทางหน้าต่าง ปีนขึ้นบนต้นหว้าไต่ลงมาตามก่ิง เชิญบุรุษเปลี้ยให้กินอาหารแล้วทาการอันลามกกับบุรุษเปลี้ย สาเร็จแล้วก็กลับขึ้นปราสาทตามทางเดิม ประพรมสรีระกายด้วยของหอมแล้วก็เข้าไปนอน กับพระเจา้ กนิ นร ประพฤตลิ ามกอย่างนี้เสมอมา พระเจ้ากนิ นรกม็ ไิ ดท้ รงทราบ อยู่มาวันหนึ่ง พระเจ้ากินนรเสด็จประทักษิณพระนคร เวลาเสด็จกลับพระราช- นิเวศน์ ได้ทอดพระเนตรเห็นบุรุษเปล้ียมีอาการน่ากรุณาอย่างย่ิง จึงตรัสถามปุโรหิตว่า เห็นมนุษย์เปรตน่ันหรือไม่ ครั้นปุโรหิตรับพระราชโองการว่า เห็น พระเจ้าข้า จึงตรัสถามต่อไปว่า บุรุษท่ีมีรูปร่างน่าเกลียดอย่างน้ี จะมีหญิงคบหาด้วยอานาจฉันทราคะบ้างหรือไม่ บุรุษเปล้ีย ได้ฟังพระราชดารัสดังน้ัน ก็เกิดมานะขึ้นมาว่า พระเจ้าแผ่นดินพูดอะไรเช่นนี้ ชะรอยจะไม่รู้ ว่า เทวีของพระองค์มาหาเรา คิดแล้วก็ประนมมือไหว้ต้นหว้า กล่าววาจาค่อยๆ ว่า ขอเชิญ เทพยดาซึ่งเป็นเจ้าสิงอยูท่ ตี่ น้ หวา้ ฟงั เราเถิด คนอนื่ ๆ นอกจากท่านแลว้ กไ็ ม่มใี ครรู้ ปุโรหิตเห็นกิริยาของบุรุษเปลี้ยจึงคิดว่า พระอัครมเหสีของพระราชาคงได้ไต่ ต้นหว้ามาทาลามกกับบุรุษเปลี้ยน้ีเป็นแน่แล้ว คิดแล้วจึงทูลถามว่า ในเวลาราตรี พระองค์ ทรงสัมผัสสรีระกายแห่งพระเทวีเป็นเช่นไรบ้าง พระเจ้ากินนรตรัสตอบว่า สิ่งอื่นก็ไม่แลเห็น เป็นแต่เวลาเทย่ี งคนื สรีระกายของนางเยน็ ปุโรหิตจึงทูลว่า ถ้ากระน้ัน หญิงอ่ืนยกไว้ก่อนเถิด พระนางกินรอี ัครมเหสีของพระองค์ได้ประพฤติกรรมอันลามกกับบุรุษเปลี้ยน้ี พระเจ้ากินนร ตรสั ว่า สหายพูดอะไรกัน นางกินรีสมบูรณ์ด้วยรูปร่างอันอุดมเห็นปานน้ัน จะมาร่วมอภิรมย์ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๐ กับบุรษุ เปลย้ี อันนา่ เกลียดอย่างยง่ิ นไ้ี ด้อยา่ งไร ปโุ รหติ กราบทลู วา่ ถ้าอยา่ งนน้ั ขอพระองค์จง สะกดรอยตามคอยจับดเู ถิด พระเจ้ากนิ นรก็ทรงรับ ครั้นเสวยอาหารเย็นแล้วก็เข้าบรรทมกับ นางกินรี ตั้งพระหฤทัยคอยสะกดจับ พอถึงเวลาเคยบรรทมหลับตามปกติก็ทรงแสร้งทา เหมือนหลับไป ฝ่ายนางกินรีก็ลุกขึ้นตามเคย พระเจ้ากินนรก็สะกดรอยตามไปยืนอยู่ท่ีเงา ต้นหว้า วันน้ันบุรุษเปลี้ยโกรธขู่ตะคอกว่า ทาไมถึงมาช้าแล้วเอามือตบเข้าที่กกหูนางเทวี นางเทวีก็ร้องขอโทษว่า นายอย่าเพ่ิงโกรธเลย ข้าพเจ้ารอให้พระราชาหลับจึงมาได้ ว่าแล้ว ก็ประพฤติปฏิบัติบุรุษเปลี้ยเหมือนหญิงบาเรอในเรือน เมื่อบุรุษเปลี้ยตบหูนางกินรีน้ัน กณุ ฑลหน้าราชสีห์หลุดจากหูกระเด็นไปอยู่ใกล้พระบาทพระเจ้ากินนร พระเจ้ากินนรจึงเก็บ เอาไปเปน็ พยาน ฝา่ ยนางกินรีประพฤติอนาจารกับบุรุษเปล้ียน้ันแล้วก็กลับไปเร่ิมจะนอนกับ พระราชา พระเจ้ากินนรก็ทรงห้ามเสีย พอรุ่งขึ้นจึงรับส่ังให้คนไปบอกให้นางกินรีเทวี ประดับเคร่ืองประดับท่ีพระองค์ให้ทั้งหมดเข้ามาเฝ้า นางกินรีก็สั่งให้ทูลว่า กุณฑลหน้าราชสีห์ ส่งไปไว้ที่ช่างทองเสียแล้วนางก็มิได้มาเฝ้า คร้ันพระเจ้ากินนรรับสั่งให้หาอีกนางก็ประดับ กุณฑลข้างเดียวเข้าไปเฝ้า พระเจ้ากินนรตรัสถามว่า กุณฑลไปไหน นางก็ทูลว่าส่งไปที่ช่างทอง พระเจ้ากินนรจึงรับส่ังให้หาช่างทองมาแล้วตรัสถามว่า ทาไมเจ้าจึงไม่ให้กุณฑลแก่นางกินรี ช่างทองก็ทูลว่า มิได้รับเอาไว้เลย พระเจ้ากินนร ก็ทรงพระพิโรธตรัสว่า เฮ้ยนางจัณฑาล คนอย่างข้าน้ีแหละจะเป็นช่างทองของเอ็งละ ตรัสแล้วก็ขว้างกุณฑลลงไปตรงหน้านางกินรี แล้วหันมาตรัสกับปุโรหิตว่า สหายพูดจริงทีเดียว จงไปส่ังตัดหัวนางจัณฑาลนี้เสีย ปุโรหิต ได้พานางกินรีไปซ่อนไว้ในท่ีแห่งหนึ่งภายในพระราชวังน้ันแล้ว กราบทูลพระเจ้ากินนรว่า ธรรมดาว่าหญิงทั้งหลายย่อมเป็นเช่นนี้ การกระทาอย่างนี้เป็นปกติของหญิงทั้งหลาย ขอพระองค์จงงดโทษนางกินรีเสียเถิด พระเจ้ากินนรก็ทรงยกโทษให้รับสั่งให้ไล่ไปเสียจาก พระราชนิเวศน์ เม่ือทรงขับไล่จากตาแหน่งแล้ว ก็ทรงตั้งหญิงอ่ืนเป็นอัครมเหสีแล้วรับส่ัง ใหไ้ ลบ่ รุ ษุ เปล้ียออกไปเสยี จากท่นี ั้น และทรงใหต้ ดั กง่ิ ตน้ หวา้ เสีย เรื่องนางกินนรีเทวี ประพฤติกาเมสุมิจฉาจารนี้ หากพระราชาไม่ทรงงดโทษให้ นางจะต้องได้รับโทษทัณฑ์ถึงตาย กามสุมิจฉาจาร จึงถือว่ามีโทษร้ายแรงมากท้ังโลกน้ี และโลกหนา้ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๑ วจีกรรม ๔ วจีกรรม คือการกระทาทางวาจา หมายถึง การพูดออกมาเป็นถ้อยคา ท้ังทางดี และทางชั่ว วจีกรรมทางชั่วมี ๔ อย่าง คือ มุสาวาท การพูดเท็จ ปิสุณวาจา การพูดส่อเสียด ผรสุ วาจา การพูดคาหยาบ และสมั ผัปปลาปะ การพดู เพอ้ เจ้อ ๑. มสุ าวาท การพดู เทจ็ ความเสียหายของมุสาวาท มพี ระบาลี ได้กลา่ วถึงลกั ษณะของคนชอบพดู เท็จไวว้ ่า “นตฺถิ อการิยํ ปาปํ มุสา- วาทิสฺส ชนฺตุโน” แปลว่า ไม่มีความช่ัวอะไรท่ีคนชอบพูดเท็จจะทาไม่ได้ เพราะคนชอบ พูดเท็จ พูดโกหกหลอกลวง หรือพูดมีเลศนัยในแง่มุมต่างๆ นั้น ได้ชื่อว่าทาลายคุณธรรม ในจิตใจของตนเอง และทาลายประโยชน์ของผู้อื่น ในการพูดเท็จน้ัน คนโกหกเป็นผู้เสียหาย รา้ ยแรงกวา่ เพราะกลายเปน็ คนเหลาะแหละ ขาดความน่าเชือ่ ถอื มุสาวาท การพูดเท็จ คือการพูดมุ่งให้ผิดจากความเป็นจริง มี ๓ อย่าง คือมุสา อนุโลมมุสา และปฏสิ สวะ มุสา แปลว่า เท็จ ได้แก่ โกหก หมายถึง การทาเท็จทุกอย่าง การแสดงความเท็จ เพอ่ื ให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจผิดน้นั ทาได้ทงั้ ทางวาจาและทางกาย ดงั นี้ ทางวาจา คอื พูดออกมาเปน็ คาเทจ็ ตรงกับคาว่า โกหก ซ่งึ เปน็ ที่เข้าใจกันอยู่แลว้ ทางกาย คือ การแสดงกิริยาอาการที่เป็นเท็จ เช่น การเขียนจดหมายโกหก การเขียนรายงานเท็จ การทาหลักฐานปลอม การตีพิมพ์ข่าวสารอันเป็นเท็จ การเผยแพร่ ข่าวสารทางส่ือสารสนเทศอันเป็นเท็จ การทาเคร่ืองหมายปลอมให้คนอ่ืนหลงเชื่อ รวมถึง การใบ้ให้คนอ่ืนเข้าใจผิด เช่น ส่ันศีรษะปฏิเสธในเรื่องควรรับ หรือพยักหน้ารับในเรื่อง ที่ควรปฏิเสธ มสุ า มีประเภทท่ีจะพงึ พรรณนาเปน็ ตวั อย่าง ดังน้ี ปด ได้แก่ มุสาตรงๆ โดยไม่อาศัยมูลเลย เช่น ไม่เห็นบอกว่าเห็น ไม่รู้บอกว่ารู้ ไม่มี บอกวา่ มี เป็นตน้ ส่อเสยี ด คือ พูดยุแยงเพอ่ื ใหเ้ ขาแตกกนั หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๒ หลอก คอื พดู เพ่อื จะโกงเขา พดู ใหเ้ ขาเช่ือ พดู ให้ผู้อน่ื เสยี ของให้ตน ยอ คือ พดู เพอ่ื จะยกย่องเขา พดู ให้เขาลืมตัวและหลงตัวผิด กลบั คาํ คือ พูดไว้แล้วแตต่ อนหลงั ไมย่ อมรับ ปฏเิ สธว่าไม่ไดพ้ ูด ทนสาบาน ได้แก่ กิริยาที่เสี่ยงสัตย์ว่าจะพูดความจริง หรือจะทาตามคาสาบาน แต่ไมไ่ ด้พูดหรอื ทาตามนน้ั เช่น พยานทนสาบานแลว้ เบกิ คาเทจ็ เป็นต้น ทําเล่ห์กระเท่ห์ ได้แก่ กิริยาท่ีอวดอ้างความศักด์ิสิทธิ์อันไม่เป็นจริง เพื่อให้คน หลงเชื่อนิยมยกย่อง และเป็นอุบายหาลาภแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตน เช่น อวดรู้วิชา คงกระพันวา่ ฟันไมเ่ ข้ายงิ ไม่ออก เป็นตน้ มารยา ได้แก่ กิริยาที่แสดงอาการให้เขาเห็นผิดจากที่เป็นจริง เช่น เป็นคนทุศีล ทาท่าทางเคร่งครัดให้เขาเหน็ ว่า เป็นคนมศี ลี ทําเลศ ได้แก่ พูดมุสาเล่นสานวน พูดคลุมเครือให้ผู้ฟังเข้าใจผิด เช่น เห็นคนว่ิงหนี เขามา เมอ่ื ผู้ไลต่ ิดตามมาถาม จึงย้ายไปยนื ที่อืน่ แล้วพูดวา่ ตงั้ แตม่ ายนื ทน่ี ี่ ไมเ่ หน็ ใครเลย เสริมความ ได้แก่ พูดมุสาอาศัยมูลเดิม แต่เสริมความให้มากกว่าท่ีเป็นจริง เชน่ โฆษณาสรรพคุณสินค้าเกนิ ความเปน็ จริง เปน็ ตน้ อําความ ได้แก่ พูดมุสาอาศัยมูลเดิม โดยตัดข้อความที่ไม่ประสงค์จะให้รู้ออกเสีย เพือ่ ใหผ้ ู้ฟังเข้าใจเปน็ อยา่ งอน่ื เช่น เรื่องมากพดู ให้เหลือน้อยเพือ่ ปิดความบกพรอ่ ง บุคคลพูดด้วยวาจาหรือทากิริยาแสดงท่าทางอย่างใดอย่างหน่ึง ผู้อ่ืนรู้แล้วเขาจะ เชือ่ หรอื ไมเ่ ช่อื ไม่เปน็ ประมาณ บุคคลผพู้ ดู หรือแสดงอาการนั้นได้ชือ่ ว่า พูดมุสาในสกิ ขาบทน้ี อนุโลมมสุ า คอื การพูดเรื่องไม่เป็นจริง แต่มิได้มีเจตนาจะทาให้ผู้ฟังเข้าใจผิดหรือ หลงเช่อื เพยี งแต่พูดเพือ่ ให้เจ็บใจ มีประเภททจี่ ะพึงพรรณนาเปน็ ตัวอยา่ ง ดงั นี้ เสียดแทง ได้แก่ กิริยาที่พูดให้ผู้อ่ืนเจ็บใจ ด้วยอ้างเรื่องท่ีไม่เป็นจริง เช่น ประชด คือการกล่าวแดกดัน ยกให้สูงกว่าพ้ืนเพเดิมของเขา หรือ ด่า คือการกล่าวถ้อยคาหยาบช้า เลวทราม กดใหต้ ่ากวา่ พ้ืนเพเดิมของเขา สับปลับ ได้แก่ พูดกลับกรอกเชื่อไม่ได้ พูดด้วยความคะนองปาก แต่ผู้พูดไม่ได้ จงใจจะให้คนอนื่ เข้าใจผิด เชน่ รับปากแล้วไมท่ าตามที่รับนัน้ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๓ อนุโลมมุสานี้ แม้จะมิได้เป็นมุสาคือคาเท็จโดยตรง แต่ก็นับเข้าในมุสา ไม่ควรพูด พูดแล้วมีโทษ ผู้นิยมความสุภาพ แม้จะว่ากล่าวลูกหลาน ก็ไม่ควรใช้คาด่าหรือคาเสียดแทง ควรใชค้ าสภุ าพ แสดงโทษผิดใหร้ ู้สกึ ตัวแลว้ ห้ามปรามมิใหก้ ระทาต่อไป ปฏิสสวะ ได้แก่ การรับคาของคนอ่ืนด้วยความต้ังใจจะทาตามที่รับคานั้นไว้จริง แตภ่ ายหลงั เกิดกลับใจไม่ทาตามท่ีรับคาน้ัน ท้ังที่ตนพอจะทาตามที่รับคานั้นได้ มีประเภทที่จะ พงึ พรรณนาเป็นตวั อย่าง ดังนี้ ผิดสัญญา หมายถึง การไม่ทาตามท่ีตกลงกันไว้ เช่น ตกลงกันว่าจะเลิกค้า ส่งิ เสพติด แตพ่ อได้โอกาสก็กลบั มาคา้ อกี คืนคํา หมายถึง การไม่ทาตามท่ีรับปากไว้ เช่น รับปากจะให้สิ่งของแล้วไม่ได้ให้ ตามทไี่ ด้รบั ปากไว้นัน้ ถอ้ ยคาํ ทไ่ี มจ่ ัดเป็นมุสาวาท ถ้อยคาท่ีผู้พูดพูดตามความสาคัญของตน เรียกว่า ยถาสัญญา หรือตามวรรณกรรม ซ่ึงเป็นคาพูดไม่จริง แต่ไม่มีความประสงค์จะให้ผู้ฟังเช่ือ ไม่เข้าข่ายมุสาวาท มีประเภทที่จะพึง พรรณนาเป็นตวั อย่าง ดงั น้ี โวหาร ได้แก่ ถ้อยคาท่ีใช้เป็นธรรมเนียม เพื่อความไพเราะของภาษา เช่น การเขียนจดหมายที่ลงท้ายว่า ด้วยความเคารพอย่างสูง เป็นโวหารการเขียนตามแบบ ธรรมเนียมสารบรรณ ซึ่งในความเป็นจริงผู้เขียนอาจไม่ได้เคารพอย่างสูง หรืออาจไม่ได้มี ความเคารพเช่นนนั้ เลย นิยาย ได้แก่ เรื่องที่แต่งขึ้น เรื่องท่ีเล่ากันมา เรื่องที่นามาอ้างเพื่อเปรียบเทียบ ให้ได้ใจความเป็นหลัก เช่น นิทาน ละคร ลิเก ซึ่งในท้องเรื่องน้ันอาจมีเนื้อหาที่ไม่เป็น ความจรงิ แตผ่ ้แู ตง่ ไม่ได้ตงั้ ใจให้คนหลงเช่อื เพียงแต่แตง่ แสดงเนื้อหาไปตามท้องเร่ือง สําคัญผิด ได้แก่ คาพูดที่ผู้พูดสาคัญผิดว่าเป็นอย่างนั้น ทั้งที่ความจริงมิได้เป็น เช่นน้ัน คือ ผู้พูดพูดไปตามความเข้าใจของตน เช่น ผู้พูดจาวันผิด จึงบอกผู้ถามไปตามวัน ท่จี าผิดนั้น เป็นต้น พล้ัง ได้แก่ คาพูดที่พลาดไปโดยท่ีไม่ได้ตั้งใจหรือไม่ทันคิด เช่น ผู้พูดต้ังใจจะพูด อย่างหนง่ึ แตก่ ลับพลาดไปพูดเสยี อีกอยา่ งหนงึ่ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๔ หลกั วนิ ิจฉัย การพูดเทจ็ ท่สี าเร็จเป็นมสุ าวาท ถงึ ความเปน็ อกศุ ลกรรมบถ มีองค์ ๔ คือ ๑. อตถํ วตฺถุ เรื่องไมจ่ รงิ ๒. วสิ ํวาทนจิตตฺ ํ จติ คดิ จะพูดให้ผดิ ๓. ตชฺโช วายาโม พยายามพูดออกไป ๔. ปรสสฺ ตทตถฺ วชิ านนํ ผูฟ้ ังเขา้ ใจเนื้อความนัน้ มคี าอธบิ ายองค์ของมุสาวาท ดงั นี้ องค์ที่ ๑ เรื่องไม่จริง คือ เร่ืองที่พูดนั้นไม่มีความจริง ไม่เป็นจริง เช่น ฝนไม่ตก แตก่ ลับพูดว่าฝนตก องค์ท่ี ๒ จิตคดิ จะพูดใหผ้ ดิ คือ ผูพ้ ดู จงใจจะพูดใหผ้ ิดจากความเป็นจริง องค์ท่ี ๓ พยายามพูดออกไป คือ ผู้พูดได้พูดคาไม่จริงน้ันๆ ออกไป หรือได้กระทา เทจ็ ดว้ ยความจงใจ ซ่งึ มใิ ช่เป็นเพียงความคดิ ท่อี ยใู่ นใจ องค์ที่ ๔ ผู้ฟังเข้าใจเน้ือความน้ัน คือผู้ฟังเข้าใจความหมายเหมือนอย่างที่ผู้พูด พดู ออกไป สว่ นผฟู้ งั จะเชื่อหรือไมน่ น้ั ไม่เปน็ สาคัญ โทษของมสุ าวาท ผู้ประพฤติมุสาวาท จะมีโทษมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับประโยชน์ที่จะถูกตัดรอน หมายความว่า ถ้าการพูดเท็จนั้นทาให้เสียประโยชน์มากก็มีโทษมาก เช่นบุคคลท่ีไม่ต้องการให้ ของๆ ตน พูดออกไปว่า ไม่มี ก็ยังมีโทษน้อย แต่ถ้าเป็นพยานเท็จ ก่อให้เกิดความเสียหาย มากก็มีโทษมาก เป็นต้น ในอรรถถาอัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกาย ได้กล่าวถึงกรรมวิบากของ ผู้ประพฤตมิ ุสาวาท ดังน้ี ๑. ยอ่ มเกิดในนรก ๒. ย่อมเกดิ ในกาเนดิ สตั ว์เดยี รจั ฉาน ๓. ย่อมเกดิ ในกาเนิดเปรตวิสัย ๔. โทษเบาที่สดุ หากเกิดเปน็ มนุษย์ จะถูกกล่าวตูอ่ ยเู่ สมอ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๕ ตวั อย่างโทษของมสุ าวาท เร่อื ง กกั การชุ าดก ในอดีตกาล พระเจ้าพรหมทัต ครองราชย์สมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์เป็นเทพบุตรในสวรรค์ช้ันดาวดึงส์ ในสมัยน้ัน พระนครพาราณสีได้จัดให้มี มหรสพเป็นการใหญ่ พวกนาค ครุฑ และภุมมัฏฐกเทวดาเป็นจานวนมาก ก็พากันมาดูมหรสพ มีเทพบุตร ๔ องค์จากสวรรคช์ ้ันดาวดงึ ส์พากันมาดูการเลน่ มหรสพ โดยได้ประดับเทริดซึ่งทา ด้วยดอกไมท้ ิพย์ชอื่ กักการุ ซ่ึงเปน็ ผกั จาพวกบวบ ฟกั แฟง พื้นท่ีของพระนครประมาณ ๑๒ โยชน์ ได้หอมตลบอบอวลไปด้วยกลิ่นดอกไม้ ทิพย์นั้น มหาชนจึงได้เที่ยวค้นหาว่า ใครเป็นคนประดับดอกไม้เหล่านี้ เทพบุตรเหล่านั้น รู้ว่ามหาชนกาลังค้นหาตนเองอยู่ จึงเหาะข้ึนท่ีพระลานหลวง ยืนปรากฎกายอยู่ในอากาศ ด้วยเทวานุภาพอันย่ิงใหญ่ทั้งมหาชน พระราชา เศรษฐี และอุปราชเป็นต้น ต่างก็มาชุมนุมกัน ถามเทพบุตรเหล่านั้นจึงรู้ว่า เป็นเทพบุตรมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อต้องการดูมหรสพ และประดบั ด้วยเทริดดอกไมท้ ิพย์ จึงร้องขอเทรดิ ดอกไมท้ ิพย์นน้ั เทพบุตรโพธิสัตว์ผู้เป็นหัวหน้าบอกว่า ดอกไม้ทิพย์เหล่าน้ีมีอานุภาพมาก เหมาะสม กับเทวดาเท่านั้น ไม่เหมาะสมกับคนเลวทราม ไร้ปัญญา มีอัธยาศัยน้อมไปในทางต่าทราม เป็นคนทุศีลในมนุษยโลก แต่ก็เหมาะสมกับมนุษย์ผู้ประกอบด้วยคุณธรรมคือไม่ลักขโมย แม้กระท่ังเส้นหญ้า ไม่พูดเท็จแม้จะแลกด้วยชีวิต และได้ยศแล้วไม่มัวเมา ผู้น้ันแลย่อมควร ประดับดอกฟักทิพย์ และเทพบุตรจะให้ดอกไมท้ พิ ย์แก่บคุ คลนนั้ ปุโรหิตคนหน่ึง ได้ฟังดังน้ันจึงคิดว่า “แม้เราจะไม่มีคุณสมบัติเช่นน้ัน แต่เรา จักกลา่ วมุสาวาทเพือ่ ใหไ้ ด้ดอกไม้เหล่าน้ีมาประดับตน และมหาชนก็จะเข้าใจว่าเรามีคุณสมบัติ เช่นนั้นจริงๆ จึงได้ดอกไม้ทิพย์มาประดับ” จึงอ้อนวอนขอดอกฟักทิพย์จากเทพบุตรองค์ท่ี ๑ มาประดับ จากนั้นก็ได้อ้อนวอนขอดอกไม้ทิพย์กะเทพบุตรองค์ที่ ๒ เทพบุตรองค์ท่ี ๒ กล่าวว่า ผู้ท่ีแสวงหาทรัพย์สมบัติได้มาโดยบริสุทธ์ิชอบธรรม ไม่ล่อลวงเอาทรัพย์ผู้อื่น ได้โภคทรัพย์แล้วก็ไม่มัวเมา จึงจะเหมาะสมท่ีจะประดับดอกฟักทิพย์ ปุโรหิตน้ันก็บอกว่า ตนเองมีคุณสมบัติเช่นนั้น จึงได้ดอกไม้ทิพย์มาประดับ และยังอ้อนวอนขอดอกไม้ทิพย์ กะเทพบุตรองค์ท่ี ๓ เทพบุตรองค์ที่ ๓ จึงบอกว่า ผู้ท่ีมีจิตไม่จืดจางเร็วเหมือนย้อมด้วยขมิ้น หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๖ และมศี รทั ธาไมค่ ลายงา่ ยๆ ไมบ่ ริโภคของดีแตเ่ พียงผูเ้ ดยี ว แต่ยังแบง่ ปันให้ยาจกและบุคคลที่ ควรให้ จงึ จะเหมาะสมประดับดอกฟักทิพย์ ปุโรหิตก็บอกว่า ตนเองมีคุณสมบัติเช่นนั้น จึงได้ ดอกไม้ทิพย์มาประดับ และยังอ้อนวอนขอกะเทพบุตรองค์ที่ ๔ อีก เทพบุตรองค์ท่ี ๔ จึงบอกว่า ผทู้ ไ่ี ม่บรภิ าษด่าสตั บุรุษคนดี ผู้ประกอบด้วยคุณมีศีลเป็นต้น ท้ังต่อหน้าหรือลับหลัง พูดอย่างใด ทาอย่างน้ัน ผู้น้ันแลย่อมควรซ่ึงดอกฟักทิพย์ ปุโรหิตก็บอกว่า ตนเองมีคุณสมบัติเช่นน้ัน จงึ ได้ดอกไมท้ พิ ยม์ าประดับอีก เทพบุตรท้ัง ๔ องค์ ได้ให้เทริดดอกไม้ทิพย์ท้ัง ๔ เทริดแก่ปุโรหิตนั้นแล้วก็พากัน กลับไปยังเทวโลก ในเวลาท่ีเทพบุตรเหล่าน้ันไปแล้ว ทุกขเวทนาอันแรงกล้าเกิดข้ึนที่ศีรษะ ของปุโรหิต ศีรษะของเขาเป็นเหมือนถูกยอดเขาอันแหลมคมท่ิมแทง และเป็นเหมือนถูก แผ่นเหล็กบีบรัด ปุโรหิตนั้น เสวยทุกขเวทนา นอนกลิ้งไปกล้ิงมา ร้องล่ัน เม่ือมหาชนซักถามว่าเกิด อะไรขึ้น เขาจึงได้บอกว่า ตนได้โกหกเหล่าเทพบุตร เพ่ือให้ได้เทริดดอกไม้มาประดับ ความจริง ตนไม่มีคุณสมบัติเหล่าน้ันเลย แล้วขอร้องให้มหาชนช่วยดึงเทริดออกจากศีรษะของตน มหาชนช่วยกันดึงก็ไม่หลุดจากศีรษะ เหมือนเอาแผ่นเหล็กผูกรัดดอกไม้น้ันไว้ จึงพากัน หามเขากลบั บ้าน เขาต้องเจบ็ ปวดร้องล่ันอยใู่ นบ้านถงึ ๗ วัน พระราชา รับส่ังเรียกประชุมมุขอามาตย์ว่าจะช่วยปุโรหิตผู้ทุศีลที่กาลังจะตาย ได้อย่างไร พวกอามาตย์จึงกราบทูลว่า ต้องจัดมหรสพข้ึนอีกครั้ง เพ่ือให้เทพบุตรเหล่าน้ัน กลับมาชม พระราชาจงึ ให้จัดมหรสพอีก เทพบุตรทั้งหลายก็มาชมมหรสพอีก และได้ประดับ เทริดดอกไม้ทิพย์ส่งกลิ่นหอมฟุ้งไปทั่วพระนคร ปรากฏต่อหน้ามหาชน ณ พระลานหลวง เหมือนเดิม มหาชนไดห้ ามปโุ รหติ มาใหน้ อนหงายอยูข่ า้ งหนา้ ของเทพบตุ รเหลา่ น้ัน ปุโรหิตน้ัน อ้อนวอนขอให้เทพบุตรช่วยชีวิตเขาด้วย เทพบุตรกล่าวตาหนิติเตียน ปโุ รหติ ในทา่ มกลางมหาชนว่า ดอกไมเ้ หล่าน้ีไม่เหมาะสมกับท่านซึ่งเป็นคนเลวทราม ไม่มีศีล มีบาป แต่ท่านได้อวดเก่งว่าจักหลอกลวงเทพบุตร น่าอนาถใจแท้ ท่านได้รับผลแห่งมุสาวาท ของตนแล้ว เมื่อตาหนิแล้วก็ช่วยปลดเทริดดอกไม้ออกจากศีรษะปุโรหิต พร้อมท้ังได้ให้ โอวาทแก่มหาชนและได้กลับไปยงั สถานทอี่ ยขู่ องตน หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๗ ชาดกเรื่องน้ี แสดงให้เห็นว่า คนช่ัวที่กล่าวมุสาวาท เพราะถูกความโลภครอบงา นั้นสามารถจะกระทาความชั่วอื่นๆ เพียงเพ่ือให้ได้สิ่งท่ีตนต้องการ โดยไม่คานึงว่าตนมี คุณธรรมเช่นน้ันหรือไม่ วิบากกรรมชั่วนั้นส่งผลทาให้สิ่งที่เป็นคุณกลับกลายเป็นสิ่งที่เป็น โทษได้ ดังเช่นดอกไม้ทิพย์กลับกลายเป็นของคมแหลมท่ิมแทง และกลายเป็นแผ่นเหล็ก บีบรัดศรี ษะของปโุ รหิต ก่อใหเ้ กดิ ทกุ ขเวทนาอยา่ งแสนสาหสั ๒. ปสิ ุณวาจา การพดู ส่อเสียด ความเสยี หายของปสิ ณุ วาจา การพูดส่อเสียดยุยงให้ผู้อ่ืนเกิดความแตกแยก ไม่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน ทาให้สังคม แตกรา้ วขาดความสามคั คี เป็นการทาลายประโยชน์สุขของหมู่คณะ สังคม และประเทศชาติ ย่ิงไปกว่าน้ัน ผลของการพูดส่อเสียดที่ทาให้สงฆ์แตกแยกกัน จัดเป็นอนันตริยกรรม เป็น กรรมหนกั ห้ามสวรรค์ ห้ามนพิ พาน ปิสุณวาจา การพูดส่อเสียด คือ การพูดยุยงให้ผู้อื่นแตกแยกกัน โดยมีความ ประสงค์ ๒ ประการ คือ ๑. ให้ทงั้ สองฝ่ายเขา้ ใจผิดกนั แตกสามัคคกี ัน ๒. ใหผ้ ู้อื่นรกั ตน และรงั เกียจอกี ฝา่ ยหนึ่ง หลกั วินิจฉัย การพดู ส่อเสียดทส่ี าเร็จเป็นปิสณุ วาจา ถงึ ความเป็นอกุศลกรรมบถ มีองค์ ๔ คือ ๑. ภนิ ทฺ ิตพฺโพ ปโร คนอน่ื ท่ีจะพงึ ถูกทาลาย ๒. เภทปุเรกฺขารตา วา ปิยกมฺยตา วา มีจิตคิดจะพูดให้แตกแยกกันหรือ พดู ประสงค์จะให้เขารักตน ๓. ตชโฺ ช วายาโม พยายามพดู ออกไป ๔. ตทตถฺ วิชานนํ ผฟู้ งั เขา้ ใจเนือ้ ความนนั้ ถา้ ขาดองคใ์ ดองคห์ นง่ึ กรรมบถไมข่ าดและโทษจะเบาลงมา หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๘ โทษของปิสุณวาจา ปสิ ุณวาจาจะมโี ทษมากหรือน้อย ขน้ึ อย่กู บั เหตุดงั ต่อไปนี้ ๑. คุณ ผู้ถูกทาให้แตกแยกมีคุณมากก็มีโทษมาก ผู้ถูกทาให้แตกแยกมีคุณน้อย กม็ โี ทษน้อย ๒. ความแตกแยก ถา้ พดู แลว้ เขาแตกแยกกันกม็ โี ทษมาก ถา้ พูดแลว้ เขาไมแ่ ตกแยก กนั ก็มีโทษน้อย ๓. กิเลส ถา้ ผู้พดู มกี เิ ลสแรงกลา้ กม็ โี ทษมาก ถา้ มกี เิ ลสออ่ นก็มีโทษนอ้ ย ในอรรถถาอัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกาย ได้กล่าวกรรมวิบากของผู้ประพฤติ ปสิ ุณวาจา ดังน้ี ๑. ยอ่ มเกิดในนรก ๒. ยอ่ มเกดิ ในกาเนดิ สตั วเ์ ดียรัจฉาน ๓. ยอ่ มเกดิ ในกาเนิดเปรตวสิ ยั ๔. โทษเบาที่สดุ หากเกดิ เปน็ มนุษย์ ย่อมทาใหเ้ กดิ ความแตกจากมติ ร ตัวอย่างโทษของปสิ ุณวาจา เรอ่ื ง วัสสการพราหมณ์ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงครองแคว้นมคธ มีกรุงราชคฤห์เป็นเมืองหลวง ต้องการ ขยายอาณาจักรไปยังแคว้นวัชชีอันมีพวกกษัตริย์ลิจฉวีปกครอง แต่พระองค์ทรงทราบว่า กษัตริย์ลิจฉวีทุกองค์ล้วนทรงม่ันอยู่ในธรรมที่เรียกว่า “อปริหานิยธรรม ๗” คือ ธรรม อันเป็นไปเพ่ือเหตุแห่งความเจริญ พระองค์จึงวางแผนให้วัสสการพราหมณ์ท่ีเป็นอามาตย์ คนสนิทไปเป็นไส้ศึก วัสสการพราหมณ์ยอมทนรับพระราชอาญาด้วยทุกขเวทนาแสนสาหัส ถึงแก่สลบ เม่ือถูกเนรเทศออกจากแคว้นมคธก็เดินทางมุ่งตรงไปเมืองเวสาลี กษัตริย์ลิจฉวี ทรงตั้งใหเ้ ปน็ ครูสอนศลิ ปวทิ ยาแก่บรรดาราชกุมาร วสั สการพราหมณป์ ฏิบัติหน้าท่ีด้วยความ เตม็ ใจและเอาใจใส่ เป็นท่ไี ว้วางพระทยั ในหมูก่ ษตั ริยล์ จิ ฉวี หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๕๙ หลังจากนั้น วัสสการพราหมณ์จึงได้ดาเนินอุบายเพ่ือทาลายความพร้อมเพรียง และความสามัคคีกันของกษัตริย์ลิจฉวี โดยวัสสการพราหมณ์คอยยุแหย่ส่งเสริมเหตุแห่ง การทะเลาะวิวาทให้บังเกิดข้ึนในหมู่ราชกุมารอยู่เนืองนิตย์ จนกระทั่งราชกุมารทุกพระองค์ แตกสามัคคีเป็นเหตุให้วิวาทกัน ความแตกร้าวก็ลามไปถึงบรรดาพระราชบิดาผู้ซ่ึงเชื่อ ถ้อยคาโอรสของตน หลังจากเวลาผ่านไป ๓ ปี ความสามัคคีก็ถูกทาลายส้ิน วัสสการพราหมณ์ จึงให้คนลอบไปกราบทูลพระเจ้าอชาตศตั รู พระเจ้าอชาตศัตรูก็กรีธาทัพสู่เมืองเวสาลี เมื่อพวกชาวเมืองเวสาลีตกใจกลัวภัย มุขมนตรจี งึ ได้ตกี ลองให้บรรดากษตั ริย์ลจิ ฉวีมาประชุมเพ่ือยกทัพเข้าต่อสู้ข้าศึก แต่เหล่ากษัตริย์ ลิจฉวไี ม่มผี ู้ใดเขา้ ท่ีประชมุ แม้แต่คนเดียว อีกท้ังประตูเมืองก็ไม่มีใครสั่งให้ปิด พระเจ้าอชาตศัตรู จงึ สามารถยึดครองเมอื งเวสาลไี ด้โดยง่าย ปิสุณวาจาน้ี นอกจากเป็นโทษแก่ผู้พูดแล้ว ยังส่งผลให้ผู้รับฟังเกิดความแตกแยก จนถึงเสยี บา้ นเสยี เมอื ง ดังเช่น กษัตรยิ ล์ จิ ฉวเี สยี เมอื งให้แก่พระเจ้าอชาตศัตรู เปน็ ต้น ๓. ผรุสวาจา การพดู คําหยาบ ความเสียหายของผรสุ วาจา การพูดคาหยาบหรือคาด่า ย่อมก่อให้เกิดความเจ็บช้าน้าใจแก่ผู้ฟัง เป็นเหตุ ให้กอ่ เวรผูกพยาบาทถงึ ข้ันประหตั ประหารชีวิตกนั ได้ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความทอ้ แท้ ขาดกาลังใจ ส่งผลให้สญู เสียประโยชน์ทจี่ ะพงึ ไดร้ บั ผรุสวาจา คาว่า ผรุสา หมายถึง เจตนาแผ่ไปเผาผลาญจิตของผู้ฟัง ผรุสวาจา หมายถึง การพูดท่ีมีเจตนามุ่งทาลายแผ่ไปเผาผลาญจิตใจของผู้ฟัง เกิดจากความพยายาม ทางกายและทางวาจา อนั เป็นเหตุทาลายไมตรขี องผอู้ น่ื อกี นยั หนง่ึ ผรสุ วาจา แปลว่า คําหยาบ หมายถงึ คาด่า คารนุ แรง คากระดา้ ง ผรุสวาจานั้น ข้ึนอยู่กับเจตนาที่มุ่งประทุษร้ายและพูดต่อหน้าจึงจัดเป็น อกุศลกรรมบถ ส่วนคาด่าที่พูดด้วยเจตนาดี เหมือนบิดา มารดา และครูอาจารย์ พูดดุด่า บตุ ร ธิดา และศิษย์ เป็นต้น ไมจ่ ัดเป็นผรุสวาจา ไม่ถึงความเปน็ อกุศลกรรมบถ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๐ การพูดท่ีมีจิตอ่อนโยน แม้จะเป็นคาด่า ก็ไม่ชื่อว่าเป็นผรุสวาจา ดังตัวอย่างเร่ือง ปากร้ายใจดี ความว่า เด็กคนหนึ่งไม่เชื่อคาของมารดาเข้าไปในป่า มารดาเมื่อไม่สามารถ จะหา้ มได้จึงพูดวา่ “ขอแมก่ ระบือดุ จงไล่ตามมัน” คร้ันเดก็ เข้าไปในป่า แม่กระบือได้ปรากฏ อย่างที่มารดาพูดไว้ เด็กได้ทาสัจจกิริยาว่า “มารดาของข้าพูดเร่ืองใดด้วยปาก ขอเร่ืองน้ัน จงอย่ามี มารดาคิดเรื่องใดด้วยจิตขอเรื่องน้ัน จงมี” แม่กระบือได้หยุดอยู่เหมือนถูกผูกอยู่ กับที่ เร่ืองน้ีแสดงให้เห็นวา่ มารดาพดู อย่างนนั้ กจ็ รงิ แตไ่ มม่ ีเจตนารา้ ย จึงไม่เป็นผรสุ วาจา ส่วนการพูดท่ีมีจิตหยาบ มีเจตนาประสงค์ร้าย แม้จะเป็นคาพูดท่ีอ่อนหวาน ก็ช่ือ ว่าเป็นผรุสวาจา เช่น คาพูดท่ีประสงค์จะให้ฆ่าคนอื่นด้วยคาว่า “ท่านท้ังหลายจงให้คนน้ี นอนเป็นสขุ เถดิ ” คาพูดเช่นนี้ จดั เปน็ ผรสุ วาจาแท้ หลักวินิจฉยั การพูดคาหยาบ ทีส่ าเร็จเปน็ ผรุสวาจา ถงึ ความเปน็ อกุศลกรรมบถ มีองค์ ๓ คือ ๑. อกฺโกสติ พฺโพ ปโร คนอืน่ ที่จะต้องถกู ด่า ๒. กปุ ิตจติ ฺตํ จติ โกรธ ๓. อกโฺ กสนา พดู ด่าออกไป บรรดาองค์ ๓ ประการนี้ คาว่า จิตโกรธ ท่านมุ่งหมายถึงจิตโกรธด้วยความประสงค์ ในการด่า ไม่ได้มุ่งหมายถึงจิตโกรธด้วยประสงค์จะให้ตาย เพราะเม่ือจิตโกรธด้วยความประสงค์ จะให้ตาย ยอ่ มเปน็ พยาบาท อกั โกสวตั ถุ พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ได้กล่าวถึงเร่ืองสาหรับใช้ด่า เรียกว่า อักโกสวัตถุ มี ๑๐ อย่าง คือ เจ้าเป็นโจร เจ้าเป็นคนพาล เจ้าเป็นคนหลง เจ้าเป็นอูฐ เจา้ เป็นโค เจา้ เปน็ ลา เจ้าเป็นสัตวน์ รก เจ้าเปน็ สตั วเ์ ดียรจั ฉาน เจา้ ไม่มีสคุ ติ เจา้ หวังแต่ทุคติ ดังเรื่องพระนางมาคันธยิ าทใี่ ช้ใหค้ นไปดา่ บริภาษพระพทุ ธเจา้ ความว่า ครั้งหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม เมืองโกสัมพี พระนาง มาคนั ธยิ า ผูเ้ ปน็ มเหสีของพระเจ้าอุเทน ได้ผูกโกรธพระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้จ้างชาวเมืองให้ ไปด่าพระผู้มีพระภาคเจ้า ชาวเมืองผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิไม่เล่ือมใสในพระรัตนตรัย ได้ติดตาม หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๑ พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เสด็จเข้าไปภายในพระนครด่าบริภาษด้วยอักโกสวัตถุ ๑๐ อย่างว่า “เจา้ เปน็ โจร เจ้าเปน็ พาล เจ้าเป็นคนหลง เจ้าเปน็ อูฐ เจ้าเป็นโค เจ้าเป็นลา เจ้าเป็นสัตว์นรก เจ้าเป็นสตั ว์เดยี รจั ฉาน สคุ ตขิ องเจ้าไมม่ ี เจ้าหวังทคุ ตไิ ด้อย่างเดียว” พระอานนท์ฟังคาน้ันแล้วได้กราบทูลพระศาสดาให้เสด็จไปเมืองอ่ืน พระผู้มี พระภาคเจ้า ตรัสว่า “อานนท์ การทาอย่างน้ีไม่ควร อธิกรณ์เกิดข้ึนในที่ใด เมื่ออธิกรณ์น้ัน สงบระงับแล้วในที่นั้นแล จึงควรไปในที่อ่ืน” และตรัสว่า “อานนท์ เราเป็นเช่นกับช้างตัว ก้าวลงสู่สงคราม ก็การอดทนต่อลูกศรอันมาจาก ๔ ทิศ ย่อมเป็นภาระของช้างซ่ึงก้าวลงสู่ สงคราม ฉันใด ชื่อว่า การอดทนต่อถ้อยคาอันคนทุศีลเป็นอันมากกล่าวแล้ว ก็เป็นภาระ ของเรา ฉันนนั้ เหมอื นกัน\" พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรัสวา่ \"อานนท์ เธออย่าคิดไปเลย พวกน้ันจักด่าได้ไม่เกิน ๗ วัน เร่ืองก็จะสงบไปเอง เพราะว่าอธกิ รณ์ที่เกดิ ขน้ึ แกพ่ ระพุทธเจ้าทัง้ หลายยอ่ มไม่เกิน ๗ วนั ” โทษของผรสุ วาจา ผรุสวาจาจะมโี ทษมากหรอื นอ้ ย ขนึ้ อยกู่ ับเหตุ ๓ ประการ คอื ๑. ผรุสวาจาน้ัน ถึงความเป็นกรรมบถ คือประกอบด้วยองค์ ๓ มีโทษมาก ไมค่ รบองค์มโี ทษนอ้ ย ๒. คนทถ่ี กู ดา่ มีคุณธรรมมากมีโทษมาก มีคณุ ธรรมน้อยมีโทษน้อย ๓. ผู้พดู มกี ิเลสแรงกลา้ มีโทษมาก มีกเิ ลสอ่อนมีโทษน้อย ในอรรถถาอัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกาย ได้กล่าวกรรมวิบากของผู้ประพฤติผรุสวาจา ดังนี้ ๑. ยอ่ มเกดิ ในนรก ๒. ยอ่ มเกิดในกาเนิดสตั วเ์ ดยี รัจฉาน ๓. ยอ่ มเกิดในกาเนิดเปรตวสิ ัย ๔. โทษเบาท่สี ดุ หากเกดิ เป็นมนุษย์ จะได้ฟงั เสียงท่ไี มน่ ่าพอใจ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๒ ตวั อยา่ งโทษของผรสุ วาจา เรอ่ื ง โคนนั ทิวิสาล ในสมัยของพระเจ้าคันธาระครองเมืองตักกศิลา แคว้นคันธาระ พระโพธิสัตว์เกิด เป็นโคนามว่า นันทิวิสาล เป็นโคมีรูปร่างสวยงาม มีพละกาลังมาก มีพราหมณ์คนหนึ่งได้เล้ียง และรักโคนั้นเหมือนลูกชาย โคน้ันคิดจะตอบแทนบุญคุณการเลี้ยงดูของพราหมณ์ ในวันหนึ่ง ได้พดู กะพราหมณว์ า่ “พ่อ จงไปท้าพนันกับโควินทกเศรษฐีว่า โคของเราสามารถลากเกวียนหน่ึงร้อยเล่ม ท่ผี ูกติดกนั ใหเ้ คล่ือนไหวได้ พนนั ดว้ ยเงนิ หน่ึงพันกหาปณะเถิด” พราหมณ์ได้ไปท่ีบ้านเศรษฐีและตกลงกันตามน้ัน นัดเดิมพันกันในวันรุ่งข้ึน ในวัน เดิมพัน พราหมณ์ได้เทียมโคนันทิวิสาลเข้าที่เกวียนเล่มแรก เพื่อลากเกวียนหนึ่งร้อยเล่ม ผูกติดกันซ่ึงบรรทุกทราย กรวดและหินเต็มลา แล้วข้ึนไปน่ังบนเกวียน เง้ือปฏักข้ึนพร้อมกับ ตวาดว่า “ไอ้โคโกง โคโง่ เจา้ จงลากเกวยี นไปเดี๋ยวนี้” ฝ่ายโคนันทิวิสาล เม่ือได้ยินพราหมณ์พูดเช่นน้ัน ก็คิดน้อยใจว่า “พราหมณ์เรียก เราผู้ไม่โกงว่าโกง ผู้ไม่โง่ว่าโง่” จึงยืนน่ิงไม่เคลื่อนไหว โควินทกเศรษฐีจึงเรียกให้พราหมณ์ นาเงินหน่ึงพันกหาปณะมาให้แล้วกลับบ้านไป ฝ่ายพราหมณ์ผู้แพ้พนันเงินหนึ่งพันกหาปณะ ปลดโคแล้วก็เข้าไปนอนเศร้าโศกเสียใจอยู่ในบ้าน ส่วนโคนันทิวิสาลเห็นพราหมณ์เศร้าโศก เสยี ใจเชน่ นั้น จึงเขา้ ไปปลอบและกล่าววา่ “พ่อ ฉันอยู่ในเรือนของท่านตลอดมา เคยทาภาชนะอะไรแตกไหม เคยเหยียบ ใครๆ เคยถา่ ยอจุ จาระ ปัสสาวะในทอี่ ันไมค่ วรหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด ทา่ นจึงเรยี กเราว่า โคโกง โคโง่ คร้ังนี้ เป็นความผิดของท่านเอง ไม่ใช่ความผิดของฉัน บัดน้ี ขอให้ท่านไปเดิมพันกับ โควินทกเศรษฐีใหม่ด้วยเงินสองพันกหาปณะ ขออย่างเดียว ท่านอย่าได้เรียกฉันว่า โคโกง โคโง่ ท่านจะไดท้ รัพย์ตามทท่ี า่ นปรารถนา ฉันจะไม่ทาใหท้ า่ นเศรา้ เสียใจ” พราหมณ์ได้ทาตามท่ีโคนันทิวิสาลบอก ในวันเดิมพัน พราหมณ์จึงพูดหวานว่า “นันทิวสิ าลลูกรกั เจ้าจงลากเกวียนท้ังรอ้ ยเลม่ นไี้ ปเถดิ ” โคนันทวิสาลได้ลากเกวียนร้อยเล่มที่ผูกติดกัน ด้วยการออกแรงลากเพียงคร้ังเดียว เท่าน้ัน ทาให้เกวียนเล่มสุดท้ายไปตั้งอยู่ท่ีเกวียนเล่มแรกอยู่ ทาให้พราหมณ์ชนะพนัน ดว้ ยเงนิ สองพนั กหาปณะ พระพทุ ธองค์ เม่ือนาอดตี นิทานมาสาธกแล้วตรสั วา่ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๓ “ภิกษทุ ง้ั หลาย ชื่อว่า คาหยาบ ไมเ่ ปน็ ท่ีชอบใจของใครๆ แมก้ ระท่ังสตั ว์เดียรัจฉาน” แลว้ ได้ตรัสพระคาถาว่า “บุคคลควรพูดแต่คาท่ีน่าพอใจเท่านั้น ไม่ควรพูดคาที่ไม่น่าพอใจในกาลใดๆ เม่ือพราหมณ์พูดคาท่ีน่าพอใจ โคนันทิวิสาลได้ลากสัมภาระอันหนักได้ ทั้งยังทาให้พราหมณ์ ผนู้ ัน้ ได้ทรพั ยอ์ ีกด้วย ส่วนตนเองกเ็ ป็นผปู้ ลืม้ ใจ เพราะการชว่ ยเหลือน้นั ดว้ ย” ๔. สัมผปั ปลาปะ การพดู เพ้อเจ้อ ความเสยี หายของสมั ผัปปลาปะ คาพูดเพ้อเจ้อเป็นคาพูดที่ไร้สาระ ไม่เป็นประโยชน์แก่ทั้ง ๒ ฝ่าย คือท้ังผู้พูดและ ผู้ฟงั ทาให้เสยี เวลาไปโดยเปลา่ ประโยชน์ ผู้พูดก็ไม่มีใครเชื่อถือถ้อยคา ผู้ฟังก็ไม่ได้ประโยชน์ อะไร สัมผัปปลาปะ หมายถึง อกุศลเจตนาท่ีพยายามแสดงออกทางกายและทางวาจา ให้ผ้อู ่นื รู้เร่อื งทมี่ ิใชป่ ระโยชน์ สัมผัปปลาปะ เป็นถ้อยคาท่ีไร้สาระ ปราศจากอรรถ ธรรม และวินัย ทาให้คนอ่ืน หลงเช่ือว่าเป็นเรื่องที่มีสาระ จัดเป็นอกุศลกรรมบถ ส่วนถ้อยคาที่เป็นติรัจฉานกถา ได้แก่ เร่ืองราวที่ไม่ควรนามาถกเถียงสนทนากัน เช่น เรื่องการนานางสีดามา และมหาภารตยุทธ์ เป็นตน้ เพราะทาให้เกิดความฟงุ้ ซ่านและเสยี เวลาแม้จะจัดอยู่ในประเภทสัมผัปปลาปะ แต่ก็ เปน็ เพียงกรรมเทา่ นัน้ ไมเ่ ปน็ อกุศลกรรมบถ สัมผัปปลาปะต่างจากมุสาวาท คือ มุสาวาทน้ันผู้พูดมีเจตนามุ่งจะให้คนอื่นเชื่อใน เรื่องที่ไม่จริงว่าจริง เรื่องจริงว่าไม่จริง ส่วนสัมผัปปลาปะ ผู้พูดมีเจตนาที่มุ่งให้คนอ่ืนเชื่อใน เรื่องที่ไรส้ าระว่าเปน็ เรือ่ งทม่ี สี าระ หลกั วินจิ ฉยั การพูดเพอ้ เจอ้ ท่ีสาเรจ็ เป็นสัมผัปปลาปะ ถึงความเปน็ อกุศลกรรมบถ มอี งค์ ๒ คือ ๑. นริ ตถฺ กกถาปเุ รกขฺ ารตา ความเป็นผ้มู จี ติ มุง่ จะพดู เรื่องเพ้อเจ้อ ๒. ตถารปู ยิ กถากถนํ พูดเรอ่ื งเช่นน้ันออกไป หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๔ การพูดเพ้อเจ้อน้ัน เม่ือผู้อื่นเชื่อถือเร่ืองน้ันเป็นอกุศลกรรมบถ ถ้าผู้อื่นไม่เช่ือถือไม่ เป็นอกุศลกรรมบถ โทษของสัมผปั ปลาปะ สมั ผัปปลาปะ จะมีโทษมากหรอื น้อย ขึ้นอยกู่ ับเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. ผู้พูดมีอาเสวนะ คือความเสพคุ้น ได้แก่ พูดบ่อยๆ จนชินปากมีโทษมาก มีอาเสวนะน้อยมีโทษน้อย ๒. ผู้ฟังเชื่อว่าเปน็ เรอื่ งจริงมีโทษมาก ถา้ ไมเ่ ชื่อมีโทษน้อย ๓. ผพู้ ูดมีกเิ ลสแรงกลา้ คือ พูดด้วยอานาจกิเลสมีโทษมาก มกี ิเลสอ่อนมโี ทษนอ้ ย ในอรรถกถาอัฏฐกนิบาต อังคุตตรนิกาย ได้กล่าวกรรมวิบากของผู้ประพฤติ สมั ผัปปลาปะ ดงั นี้ ๑. ย่อมเกดิ ในนรก ๒. ยอ่ มเกดิ ในกาเนดิ สตั ว์เดียรจั ฉาน ๓. ย่อมเกิดในกาเนดิ เปรตวิสัย ๔. โทษเบาทีส่ ุด หากเกิดเปน็ มนุษย์ ไม่มีใครเชอ่ื ถอื ถอ้ ยคา ตวั อย่างโทษของสัมผปั ปลาปะ เรือ่ ง บรุ ษุ เปลย้ี ในอดีตกาล ในกรุงพาราณสี บุรุษเปลี้ยคนหน่ึงมีความชานาญในศิลปะการดีด ก้อนกรวด สามารถดีดก้อนกรวดใส่ใบไม้ทาเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ได้ บุรุษเปล้ียนั้นชอบมานั่ง ใต้ต้นไทรย้อยใกล้ประตูพระนคร เป็นประจา พวกเด็กชาวบ้านพากันมาให้บุรุษเปล้ียดีดก้อนกรวด ไปเจาะใบไทรทาเป็นรูปช้าง รูปม้า เป็นต้น บุรุษเปลี้ยก็ทาตามความต้องการของพวกเด็กๆ พวกเด็กๆ กต็ อบแทนดว้ ยของกินและของขบเค้ียวเป็นต้น อยู่มาวันหน่ึง พระราชาเสด็จไปสู่ พระราชอุทยานเสด็จไปถึงสถานที่น้ัน พวกเด็กๆ ได้นาบุรุษเปล้ียไปหลบไว้ในระหว่างย่านไทร แล้วพากันหนีไป เมื่อพระราชาเสด็จเข้าไปสู่โคนต้นไม้ในเวลาเที่ยงตรงเงาของช่องส่องต้อง พระสรีระ พระองค์ฉงนพระทัย ทรงตรวจดูด้านบนได้ทอดพระเนตรเห็นรูปช้าง รูปม้า เป็นต้น หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๕ ท่ีใบไม้ท้ังหลาย จึงตรัสถามว่า “ใครทาไว้” ทรงทราบว่า บุรุษเปลี้ยทาไว้ จึงรับส่ังให้นา บรุ ษุ เปลย้ี นน้ั มาเฝา้ แลว้ ตรัสวา่ “ปุโรหิตของเราปากกล้านัก เมื่อเราพูดเพียงนิดหน่อย ก็พูดมากเกินไปย่อม เบียดเบียนเรา เจ้าสามารถดีดมูลแพะประมาณทะนานหน่ึงเข้าปากของปุโรหิตนั้นได้หรือไม่ บุรุษเปลี้ย กราบทูลว่า “ได้พระเจ้าข้า ขอพระองค์จงให้คนนามูลแพะมาแล้วประทับน่ัง ภายในมา่ นกบั ปุโรหิต ข้าพระองค์จกั ทาตามพระประสงค์” พระราชาได้ทรงรับส่ังให้ทาอย่างนั้นแล้ว บุรุษเปลี้ยให้เจาะช่องไว้ที่ม่าน เมื่อปุโรหิต พูดกับพระราชาพออ้าปากก็ดีดมูลแพะไปทีละก้อนๆ ปุโรหิตกลืนมูลแพะที่เข้าปากแล้วก็พูดต่อ เมื่อมูลแพะหมดบุรุษเปลี้ยจึงส่ันม่าน พระราชาทรงทราบจึงตรัสกับปุโรหิตว่า“อาจารย์ เรา พูดกับท่านจาคาพูดไม่ได้เลย ท่านแม้กลืนกินมูลแพะประมาณทะนานหน่ึงแล้วก็ยังไม่หยุดพูด เพราะท่านพูดมากเกินไป” พราหมณ์ได้เป็นผู้เก้อ ต้ังแต่นั้นมาก็ไม่กล้าอ้าปากเจรจากับ พระราชาได้ พระราชารับสั่งให้เรียกบุรุษเปลี้ยมาแล้วตรัสว่า “เราได้ความสุขก็เพราะเจ้า” ทรงพอพระทัยจึงพระราชทานวัตถุส่ิงของให้จานวนมาก พร้อมทั้งได้พระราชทานบ้านส่วย ๔ ตาบลซ่งึ ต้งั อย่ใู นทิศทงั้ ๔ แหง่ พระนครแก่บุรษุ เปลย้ี วจกี รรมแสดงออกได้ ๒ ทาง วจีกรรม ๔ อย่าง คือ มุสาวาท การพูดเท็จ ปิสุณวาจา การพูดส่อเสียด ผรุสวาจา การพดู คาหยาบ และสัมผปั ปลาปะ การพดู เพอ้ เจ้อ แสดงออกได้ ๒ ทาง คอื ๑. ทางกาย เรียกว่า กายประโยค หมายถึง การแสดงกิริยาท่าทางเพ่ือให้อีกฝ่ายรู้ ความหมายของตนเป็นกิริยาที่กระทาผ่านทางกาย เช่น โบกมือ ผงกศรีษะ เขียนหนังสือ เปน็ ต้น จัดเปน็ วจีกรรมที่เปน็ ไปทางกายทวาร ๒. ทางวาจาเรียกว่า วจีประโยค หมายถึง การพูดออกมาเป็นถ้อยคา จัดเป็น วจีกรรมท่เี ป็นไปทางวจีทวาร หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๖ มโนกรรม ๓ มโนกรรม หมายถึง การกระทาทางใจ คือ ทากรรมด้วยการคิด ไม่ว่าจะคิดทาชั่ว หรือคิดทาดี มโนกรรมฝ่ายอกุศล คือการคิดทาชั่ว มี ๓ อย่าง ได้แก่ อภิชฌา การเพ่งเล็ง อยากไดข้ องผอู้ ื่น พยาบาท การคิดปองร้ายผ้อู น่ื และมิจฉาทฏิ ฐิ การเหน็ ผิดจากคลองธรรม ๑. อภชิ ฌา การเพง่ เล็งอยากได้ของผู้อน่ื ความเสยี หายของอภชิ ฌา การเพ่งเล็งอยากไดข้ องผู้อ่นื คอื การมีเจตนาเป็นเหตุให้ละโมบ อยากได้ของของผู้อื่น เป็นสาเหตุสาคัญท่ีนาไปสู่อทินนาทาน มีการลักขโมย การปล้น เป็นต้น เป็นการทาลาย คณุ ธรรมภายในตน เช่น ทาให้จิตไมต่ ้ังมนั่ ไมเ่ ปน็ สมาธิ เปน็ ต้น อภิชฌา แปลว่า การเพ่งเล็งอยากได้ของผู้อ่ืนมาเป็นของตน ด้วยเจตนาเป็นเหตุ ละโมบคิดอยากไดท้ รพั ย์ของผ้อู ืน่ มาเป็นของตน โดยองคธ์ รรม ไดแ้ ก่ โลภเจตสิก โลภะมี ๒ อยา่ ง คือ ๑. ธัมมิยโลภะ ความโลภอยากไดป้ ระกอบดว้ ยธรรม เมอ่ื เกดิ ความอยากได้ส่งิ ต่างๆ ก็เสาะแสวงหามาโดยสุจริต ไมผ่ ิดศลี ธรรม เช่น การซ้อื ขาย แลกเปล่ียน หรอื การขอ เป็นต้น ๒. อธัมมิยโลภะ ความอยากได้ไม่ประกอบด้วยธรรม เม่ือเกิดความอยากได้ ก็คิดหาทางที่จะขโมย ฉ้อโกง จี้ ปล้น หรือใช้กลวิธีต่างๆ เพ่ือที่จะให้ได้มาซึ่งสิ่งเหล่านั้น ในทางมชิ อบ หลักวนิ ิจฉัย การเพ่งเล็งอยากได้ของของผู้อื่นท่ีสาเร็จเป็นอภิชฌา ถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ มอี งค์ ๒ คือ ๑. ปรภณฑฺ ํ ส่ิงของของผู้อน่ื ๒. อตฺตโน ปรฌิ ามนํ การน้อมมาเพื่อเปน็ ของตน หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๗ คาว่า ส่งิ ของของผู้อื่น หมายถงึ อวิญญาณกทรพั ย์ เชน่ ที่ดิน บา้ นเรือน แก้ว แหวน เงิน ทอง และสวิญญาณกทรัพย์ เช่น สัตว์เล้ียงต่างๆ รวมท้ังมนุษย์หญิงชาย ที่มีเจ้าของ หรือคู่หมั้นคู่หมายท่ีจองตัวไว้แล้ว ส่วนคนอ่ืนนอกจากที่ไม่มีเจ้าของหรือผู้จองตัว ไมจ่ ดั ว่าเป็นส่ิงของของผูอ้ ืน่ คาว่า “การน้อมมาเพื่อเป็นของของตน” ในฎีกาสังคีติสูตรกล่าวไว้ว่า “การน้อมมา เพ่อื เปน็ ของของตน มีไดด้ ว้ ยจิตเทา่ นน้ั ” อภิชฌา เจตนาเป็นเหตุละโมบ ในเม่ือเห็นส่ิงของของผู้อ่ืนแล้ว เพ่งเล็งโดยน้อม เข้ามาหาตนว่าทาอย่างไรหนอ ของน้ีจะพึงเป็นของเรา ชื่อว่า อภิชฌาที่ถึงความเป็นอกุศล- กรรมบถ แต่ถ้าเห็นสมบัติของคนอื่นแล้ว ไม่คิดเอามาเป็นของตน เพียงแต่ยินดีว่า ผู้ใช้สอย สมบัติเช่นน้ีมีบุญหนอ เราควรได้ใช้สอยสักชั่วคราว หรือว่าเราควรได้รับของเช่นน้ีบ้าง การคิดอย่างน้ีเป็นเพียงกรรมเท่าน้ัน ไม่เป็นอกุศลกรรมบถ ดังคาของพระอรรถกถาจารย์ ทวี่ ่า “แมค้ วามโลภจะเกิดข้ึนในสมบัติของผู้อ่ืนก็ยังไม่จัดเป็นอกุศลกรรมบถ ตลอดเวลาท่ียัง ไมน่ อ้ มเขา้ มาเปน็ ของตนว่า ไฉนหนอของน้พี ึงเป็นของเรา” โทษของอภชิ ฌา อภชิ ฌาจะมโี ทษมากหรือน้อย ขน้ึ อย่กู บั เหตุ ๓ ประการ คอื ๑. สิ่งของที่เพ่งเลง็ มคี ่ามากกม็ ีโทษมาก มีคา่ น้อยก็มีโทษน้อย ๒. เจา้ ของสง่ิ ของมีคุณมากกม็ ีโทษมาก มคี ุณนอ้ ยกม็ ีโทษนอ้ ย ๓. ผู้เพ่งเล็งมีกิเลสแรงกล้าก็มโี ทษมาก มีกเิ ลสออ่ นก็มโี ทษนอ้ ย ตัวอยา่ งโทษของอภชิ ฌา เร่ือง นายภตั ตภติกะ มีเศรษฐีคนหน่ึง ได้รับมรดกหลังจากบิดามารดาถึงแก่กรรม ผู้รักษาเรือนคลังของ เศรษฐีนั้น ได้เปิดห้องสาหรับเก็บทรัพย์แล้วแจ้งจานวนทรัพย์ให้ทราบว่าทรัพย์ของบรรพบุรุษ มีปู่ เป็นต้น มีจานวนเท่าน้ี ของบิดาท่านมีจานวนเท่านี้ เศรษฐี ดูทรัพย์เหล่านั้นแล้ว ถามว่า ทาไมบรรพบรุ ุษของเราจึงไม่เอาทรัพย์เหล่านี้ไปด้วย ผู้รักษาเรือนคลังบอกว่า เจ้านาย ไม่มี ใครถือเอาทรพั ย์ไปปรโลกได้หรอก สตั ว์ทง้ั หลาย พาเอาไปได้แตบ่ ญุ กบั บาปท่ีตนทาไว้เท่าน้นั หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๘ เศรษฐีคิดว่า บรรพบุรุษของเรา สะสมทรัพย์สินเงินทองเอาไว้มากมายมหาศาล ที่สุดก็เอาไวใ้ หค้ นอ่นื เพราะความโง่แท้ๆ ส่วนเราจะเอาทรัพย์สินเงินทองเหล่านั้นไปให้หมด จึงสั่งให้สร้างคฤหาสน์หรูหราราคาแพง สร้างร้านสาหรับรับประทานอาหาร เพื่อประกาศ ความร่ารวย ให้ชาวเมืองได้เห็นการรับประทานอาหารแต่ละมื้อที่ต้องใช้จ่ายทรัพย์มาก มีทั้ง อาหาร สาวงามคอยปรนนิบัติขับกล่อม โดยเฉพาะวันเพ็ญ ได้จ่ายทรัพย์เป็นจานวนมาก เพื่อเป็นค่าอาหาร จ้างคนไปประกาศให้ชาวเมืองมาดูการรับประทานอาหารของตน ประชาชนไดพ้ ากนั มาดูเป็นจานวนมาก ในที่น้ัน มีคนยากจน ๒ คนเป็นเพื่อนกัน คนหนึ่งอยู่ในเมือง คนหนึ่งอยู่นอกเมือง มีอาชีพหาฟืนขาย พอเศรษฐีเปิดภาชนะบรรจุอาหาร กลิ่นของอาหาร หอมฟุ้งตลบไปท่ัว คนหาฟืนเกิดความอยากท่ีจะรับประทานอาหารน้ัน อดใจไว้ไม่อยู่ เพราะต้ังแต่เกิดมา อย่าว่า แต่ได้รับประทานเลย แม้แต่กลิ่นอย่างนี้ ก็ไม่เคยได้รับ จึงบอกแก่เพื่อนว่า เพ่ือนเอ๋ย เราอยาก กินอาหารน้ันเหลอื เกนิ เพ่ือนจึงตอบว่า อย่าปรารถนาเลยเพ่ือน เราทางานตลอดชีวิต ก็ไม่มี โอกาสไดล้ ้มิ รสอาหารอย่างน้ี เขาขอรอ้ งวา่ เพอื่ นเอย๋ ถา้ ไม่ได้กนิ อาหารนี้ต้องตายแน่ เม่ือไม่ สามารถห้ามได้จึงตะโกนด้วยเสียงอันดังว่า นายครับ ผมไหว้ท่าน ขออาหารในถาดให้เพ่ือน ผมกนิ สกั คาเถิด เศรษฐีตอบว่า ไม่ได้ จึงหันมาถามเพื่อนว่า ท่านได้ยินเศรษฐีพูดไหม เขาตอบว่า ได้ยินแล้ว แต่ยังยืนยันว่า ถ้าไม่ได้รับประทานอาหารน้ีต้องตายแน่ เพ่ือนที่อยู่ในเมืองได้พูด กับเศรษฐีว่า ท่านขอรับ เพื่อนของผมบอกว่า ถ้าเขาไม่ได้อาหาร ชีวิตเขาต้องตายแน่นอน จึงขอรอ้ งเศรษฐวี า่ ขอใหท้ า่ นโปรดให้ชีวิตเขาด้วยเถิด เศรษฐีตอบว่า อาหารนี้ราคาแพงมาก ถ้าทุกคนมาอ้างเหมือนเพ่ือนของแก จะเอาท่ีไหนมาให้ ถ้าเพื่อนของแกอยากกินอาหารจานน้ี จริงๆ ต้องทางานให้ฉัน ๓ ปี ในท่ีสุด ชาวบ้านนอกคนนั้น ก็ยอมท้ิงครอบครัวมาทางาน ในบา้ นเศรษฐี ๓ ปี เพอื่ แลกขา้ วจานเดยี ว เร่ืองนี้ แสดงให้เห็นว่า อภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้อย่างรุนแรงเกิดขึ้น จากส่ิง ล่อใจภายนอกก็ได้ ชาวบ้านนอกคนน้ัน มีชีวิตอยู่ในโลกด้วยความอดอยากยากจนมานานแล้ว เม่ือไม่ได้เห็นความหรูหรา ไม่ได้กล่ินอาหารดี ก็ไม่มีปัญหาอะไร แต่เม่ือได้เห็นความหรูหรา และไดก้ ลิ่นอาหารดีๆของเศรษฐีจนเกดิ ความอยากไดอ้ ย่างรุนแรงถงึ กบั เอาชีวิตเข้าไปแลก หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๖๙ ๒. พยาบาท การคิดปองร้ายผอู้ น่ื ความเสียหายของพยาบาท ผู้คิดปองร้ายผู้อ่ืน ชื่อว่าได้ทาลายประโยชน์สุขให้พินาศไป เพราะมีจิตใจแค้นเคือง เกลียดชัง ผูกใจเจ็บ มองโลกในแง่ร้าย หงุดหงิด ฉุนเฉียว ไม่เห็นอรรถ ไม่เห็นธรรม เป็นเหตุ นาไปสู่การทาปาณาติบาต คอื การทาลายชวี ติ สตั วใ์ ห้ตกล่วงไป พยาบาท หมายถึง ความคิดปองร้ายผู้อื่นให้ได้รับความพินาศ โดยองค์ธรรม ได้แก่ โทสเจตสกิ ความพยาบาทเกิดเพราะความคิด ๑๐ ประการคอื ๑. คดิ วา่ เขาได้ทาความพินาศแกเ่ รา ๒. คิดว่าเขากาลังทาความพนิ าศแกเ่ รา ๓. คิดวา่ เขาจะทาความพินาศแก่เรา ๔. คดิ วา่ เขาได้ทาความพินาศแกค่ นทเี่ รารักและพอใจ ๕. คิดว่าเขากาลงั ทาความพนิ าศแกค่ นท่เี รารกั และพอใจ ๖. คิดวา่ เขาจะทาความพินาศแกค่ นที่เรารักและพอใจ ๗. คดิ ว่าเขาได้ทาประโยชน์แกค่ นที่ไมเ่ ป็นท่รี ักไม่เป็นทพี่ อใจของเรา ๘. คิดวา่ เขากาลังทาประโยชนแ์ ก่คนท่ไี ม่เปน็ ท่รี ักไม่เปน็ ที่พอใจของเรา ๙. คดิ วา่ เขาจะทาประโยชนแ์ กค่ นท่ีไมเ่ ปน็ ที่รักไม่เป็นท่ีพอใจของเรา ๑๐. คดิ พยาบาทโดยไม่มเี หตผุ ล ความคิดท่ีเป็นพยาบาทน้ี นอกจากจะทาลายประโยชน์สุขของผู้อ่ืนแล้ว ยังทาลาย ประโยชน์สุขของตนด้วย ฉะน้ัน จึงควรมีเมตตากรุณา รักใคร่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพ่ือให้ สงั คมมนุษย์อยูร่ ่วมกันอยา่ งสนั ตสิ ุข หลักวินิจฉัย การคิดปองร้ายผู้อ่ืน ที่สาเรจ็ เป็นพยาบาท ถึงความเปน็ อกุศลกรรมบถ มอี งค์ ๒ คือ ๑. ปรสตฺโต สัตว์อ่นื ๒. ตสฺส วินาสจินฺตา คิดจะใหส้ ัตว์น้นั ถงึ ความพนิ าศ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๗๐ ความคิดปองร้ายของผู้มุ่งจะทาร้ายชีวิตของสัตว์อื่นว่า ขอให้สัตว์เหล่านี้ จงพินาศ จงวิบัติ ทาอย่างไร สัตว์เหล่านี้จึงจะพินาศ วิบัติ ไม่เจริญรุ่งเรือง มีชีวิตอยู่ได้ไม่นาน ดังนี้ จัดเป็นอกุศลกรรมบถ ส่วนความโกรธที่ไม่คิดร้ายผู้อื่น เป็นเพียงกรรมเท่าน้ัน ดังคา พระอรรถกถาจารย์ว่า แม้ความโกรธที่เกิดข้ึนเพราะมีสัตว์อื่นเป็นต้นเหตุ ไม่จัดเป็น อกุศลกรรมบถ ตราบใดทยี่ งั ไมค่ ิดร้ายเขาวา่ ทาอยา่ งไรหนอ ผูน้ ี้จะพึงพินาศตายไปเสีย โทษของพยาบาท พยาบาท จะมีโทษมากหรือนอ้ ย ขึ้นอยูก่ บั เหตุ ๒ ประการ คอื ๑. ผู้ทถี่ กู ปองร้ายมคี ณุ มากก็มโี ทษมาก มีคุณนอ้ ยก็มโี ทษน้อย ๒. ผคู้ ดิ ร้ายมกี ิเลสรุนแรงกม็ ีโทษมาก มกี เิ ลสอ่อนกม็ โี ทษน้อย ตวั อย่างโทษของพยาบาท เร่อื ง อชครเปรต ดังได้สดับมา ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสปะ เศรษฐีชื่อว่า สุมังคละ ให้สร้างพระคันธกุฎี ปูพื้นด้วยแผ่นอิฐทองคา ในที่ประมาณ ๒๐ อุสภะ และให้ทา การฉลองด้วยทรัพย์ประมาณเท่าน้ันเหมือนกัน วันหนึ่ง ท่านเศรษฐีไปสู่สานักพระศาสดา แต่เช้าตรู่ เห็นโจรคนหนึ่ง นอนเอาผ้ากาสาวะคลุมร่างตลอดถึงศีรษะ ทั้งที่มีเท้าเปื้อนโคลน อยู่ในศาลาหลังหนึ่ง ใกล้ประตูพระนคร จึงกล่าวว่า “เจ้าคนนี้ มีเท้าเป้ือนโคลน คงจักเป็น มนุษยท์ เ่ี ทีย่ วเตร่ในเวลากลางคืนแลว้ มานอน” โจรเปิดหน้าเห็นเศรษฐีแล้วคิดในใจว่า เราจะทากรรมให้สาสมกับที่เศรษฐีได้กล่าว วา่ เรา ได้ผูกอาฆาตในเศรษฐีไว้ ไดเ้ ผานาของเศรษฐี ๗ ครั้ง ตัดเท้าโคทั้งหลายในคอก ๗ ครั้ง เผาเรือน ๗ คร้ัง ถึงอย่างน้ันก็ยังไม่หายแค้น จึงเข้าไปทาความสนิทชิดเช้ือกับคนใช้ของ เศรษฐีน้ันแล้วถามว่า “อะไรเป็นที่รักของเศรษฐีนายของท่าน” ได้ทราบว่า พระคันธกุฎี เป็นท่ีรักย่ิงของเศรษฐี จึงคิดว่า เราจะแก้แค้นให้หายแค้นด้วยการเผาพระคันธกุฎี เม่ือพระศาสดาเสด็จเข้าไปบิณฑบาต จึงทุบหม้อน้าสาหรับดื่ม และน้าสาหรับใช้ ได้จุดไฟ ทพ่ี ระคนั ธกฎุ แี ล้ว หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๗๑ เศรษฐีได้ทราบว่าพระคันธกุฎีถูกไฟไหม้ จึงเดินทางมาถึงขณะที่พระคันธกุฎีถูกไฟ ไหม้แล้ว แลดูพระคันธกุฎีท่ีไฟไหม้แล้วก็มิได้มีความเสียใจเลย แต่ได้ปรบมือเป็นการใหญ่ ขณะน้ันประชาชนยืนอยู่ ณ ที่ใกลถ้ ามท่านเศรษฐีว่า “ทาไม ท่านจึงปรบมือเมื่อเห็นพระคันธกุฎี ทที่ า่ นสละทรัพยจ์ านวนมากสรา้ งไวถ้ กู ไฟไหม้” เศรษฐีตอบว่า “ข้าพเจ้าบริจาคทรัพย์ประมาณเท่าน้ี ได้ฝังทรัพย์ไว้ในพระศาสนา ที่ไมส่ าธารณะแก่อันตรายมีไฟเป็นต้น ข้าพเจ้าจึงมีใจยินดีปรบมือด้วยคิดว่าจักได้สละทรัพย์ ประมาณเท่าน้ี สร้างพระคันธกุฎถี วายพระศาสดาใหม่” เศรษฐีได้สละทรัพย์ประมาณเท่าน้ัน สร้างพระคันธกุฎีอีก ได้ถวายแด่พระศาสดา ซ่ึงมีภิกษุ ๒ หม่ืนรูป เป็นบริวาร โจรเห็นกิริยานั้นแล้วจึงคิดที่จะฆ่าเศรษฐี ได้ซ่อนกฤชไว้ใน ระหว่างผา้ น่งุ แม้เดินเตร่อยใู่ นวิหารถงึ ๗ วนั กไ็ ม่ได้โอกาส ฝ่ายมหาเศรษฐี ถวายทานแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขส้ิน ๗ วัน ถวายบังคมพระศาสดาแล้วกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุรุษผู้หน่ึงเผานาของ ข้าพระองค์ ๗ คร้ัง ตัดเท้าโคในคอก ๗ คร้ัง เผาเรือน ๗ คร้ัง บัดน้ี แม้พระคันธกุฎีก็จักเป็น เจ้าคนนัน้ แหละเผา ข้าพระองคข์ อให้สว่ นบญุ ในทานนีแ้ ก่เขากอ่ น” โจรได้ยินคานั้น ระทมทุกข์ว่า “เราทากรรมหนักหนอ ถึงอย่างนั้น เศรษฐีน้ีก็มิได้ มีแม้เพียงความแค้นเคืองในตัวเราผู้ทาผิด กลับให้ส่วนบุญในทานน้ีแก่เราก่อน เราคิดประทุษร้าย ในเศรษฐีน้ี ไม่สมควรเลยแม้เทวทัณฑ์พึงตกลงบนกระหม่อมของเราผู้ไม่ให้บุรุษเห็นปานน้ี อดโทษให้” จึงไปหมอบลงทใี่ กล้เท้าของเศรษฐขี อให้เศรษฐอี ดโทษให้ เศรษฐีระลึกถึงถ้อยคา ท่ีตนเคยพูดปรารภโจรน้ันได้แล้วให้โจรอดโทษให้แล้ว กล่าวยกโทษให้โจรน้ัน ในกาลส้ินอายุ โจรนั้นได้บังเกิดในอเวจี เสวยทุกขเวทนาส้ินกาลนาน บัดน้ี ไดเ้ กดิ เปน็ อชครเปรต ถูกไฟไหม้อย่ทู ีเ่ ขาคชิ ฌกูฏดว้ ยวบิ ากแห่งกรรมท่ยี ังเหลอื พระศาสดาตรัสว่า “ภิกษุท้ังหลาย ธรรมดาคนพาลทากรรมอันลามกอยู่ ย่อมไม่รู้ แต่ภายหลงั เรา่ ร้อนอยู่ เพราะกรรมอันตนทาแล้ว ยอ่ มเปน็ เช่นกับไฟไหม้ป่าด้วยตนของตนเอง” ความพยาบาทปองร้าย เป็นเหตุนาทุกข์ภยันตรายมาสู่ตนและคนอื่นดังกล่าวมา ฉะนั้น จึงควรมีเมตตากรุณา รักใคร่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันดีกว่า เพื่อให้โลกของเราอยู่ รว่ มกันอยา่ งสันติสขุ และพ่งึ พาอาศยั กันได้ตอ่ ไป หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๗๒ ๓. มจิ ฉาทิฏฐิ การเหน็ ผดิ จากคลองธรรม ความเสยี หายของมิจฉาทิฏฐิ บุคคลผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ ย่อมไม่เห็นอรรถ ไม่เห็นธรรม สามารถกระทาความชั่ว ไดท้ ุกอย่างถึงขั้นทาอนันตรยิ กรรม ซึ่งเปน็ กรรมหนกั ห้ามสวรรคห์ ้ามนิพพาน มิจฉาทิฏฐิ แปลว่า การเห็นผิดจากคลองธรรม เช่น เห็นว่า ทาดีได้ช่ัว ทาชั่วได้ดี บาปไม่มี บุญไม่มี มารดาบิดาไม่มีคุณ เป็นต้น เจตนาเป็นเหตุให้เห็นผิด เพราะไม่มีการ ถือเอาตามความเป็นจริง คัดค้านข้อประพฤติปฏิบัติของสัตบุรุษทั้งหมด โดยนัยเป็นต้นว่า ทานทใ่ี หแ้ ล้วไม่มผี ล ชอ่ื ว่า มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐินี้ มีหลายประเภท ๒ ประเภทบ้าง ๓ ประเภทบ้าง ๖๒ ประเภทบ้าง ดังนี้ ทฏิ ฐิ ๒ ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเท่ียง ความเห็นว่ามีอัตตาและโลกซ่ึงเท่ียงแท้ย่ังยืน คงอยู่ตลอดไป ๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ ความเห็นว่ามีอัตตาและโลกซึ่งจักพินาศ ขาดสูญหมดสน้ิ ไป ทฏิ ฐิ ๓ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทา ๑. อกริ ิยทฏิ ฐิ ความเห็นว่าไมม่ ีเหตุ ๒. อเหตุกทิฏฐิ ความเหน็ ว่าไม่มี ๓. นตั ถกิ ทฏิ ฐิ ทฏิ ฐิ ๖๒ มีความเหน็ ว่า ขนั ธ์ ๕ คอื รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นตัวตน เป็นตน้ ในมโนทุจริตน้ี จะกล่าวเฉพาะทิฏฐิ ๓ ประการ ท่ีเรียกว่า นิยตมิจฉาทิฏฐิ ซ่ึงเป็นทิฏฐิท่ีมีโทษร้ายแรง เป็นมิจฉาทิฏฐิท่ีดิ่งลงไปสู่อบาย ถึงความเป็นอกุศลกรรมบถ ส่วนมจิ ฉาทิฏฐิอยา่ งอื่นไม่ถึงความเป็นอกศุ ลกรรมบถ หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๗๓ นิยตมิจฉาทฏิ ฐิ ๓ ๑. อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทา คือ เห็นว่ากรรมท่ีทาแล้วไม่เป็นอันทา สักว่าเป็นเพียงกิริยาเท่านั้น จะทาความดีหรือความช่ัวก็ไม่เป็นอันทาทั้งสิ้น หมายความว่า เมื่อคนทาบาปมีการฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ เป็นต้น ก็ไม่จัดว่าเป็นการทาบาป เมื่อคนให้ทาน รกั ษาศีล เป็นต้น ก็ไม่จัดว่าเป็นการทาบญุ อกิริยทิฏฐิดังกล่าวมานี้ ผิดจากหลักพระพุทธศาสนาท่ีสอนว่าการกระทาของ บุคคลนั้น เม่ือมีเจตนาจงใจทา ก็จัดเป็นกรรม การกระทาช่ัวก็เป็นกรรมชั่ว การกระทาดี ก็เป็นกรรมดี ๒. อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ คือ เห็นว่าเหตุแห่งความเศร้าหมอง ความ บริสุทธิ์ของสัตว์ท้ังหลายไม่มี สัตว์ทั้งหลายเศร้าหมองเอง บริสุทธิ์เอง ทุกข์เอง สุขเอง ไม่มี อานาจ กาลัง หรือเหตุอะไรที่จะทาให้สัตว์ทั้งหลายเศร้าหมอง และบริสุทธ์ิได้ หรือเห็นว่าสัตว์ ท้ังหลายที่กาลังได้รับความลาบากหรือสบาย ไม่ได้อาศัยอะไรเป็นเหตุให้เกิดข้ึนเลย เป็นไป เองท้งั น้นั ๓. นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี คือ เห็นว่าทาอะไรก็ตาม ผลที่พึงได้รับน้ันไม่มี ความเห็นผดิ ชนิดนีจ้ ดั เป็นอุจเฉททิฏฐดิ ว้ ย คือเหน็ วา่ สตั วท์ ั้งหลายตายแล้วสูญ ไม่มกี ารเกดิ อีก ในสามญั ผลสูตร แสดงนัตถิกทฏิ ฐไิ ว้ ๑๐ ประการ คือ ๓.๑ นตถฺ ิ ทนิ ฺนํ ทานทใ่ี ห้แล้วไม่มีผล ๓.๒ นตฺถิ ยิฏฐฺ ํ การบชู าไมม่ ผี ล ๓.๓ นตฺถิ หุตํ การเชื้อเชิญตอ้ นรับไม่มีผล ๓.๔ นตฺถิ สุกตทุกฺกฏานํ กมฺมานํ ผลํ วิปาโก ผลวิบากของกรรมดีและ กรรมชัว่ ไม่มี ๓.๕ นตถฺ ิ อยํ โลโก โลกนี้ไมม่ ี ๓.๖ นตฺถิ ปโร โลโก โลกหนา้ ไม่มี ๓.๗ นตฺถิ มาตา มารดาไมม่ ี ๓.๘ นตถฺ ิ ปิตา บิดาไมม่ ี ๓.๙ นตฺถิ สตฺตา โอปปาตกิ า สัตวท์ ีผ่ ดุ เกิดขึน้ เองไมม่ ี หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
๒๗๔ ๑๐. นตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา เย อิมญฺจ โลกํ ปรญฺจ โลกํ สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตวฺ า ปเวเทนตฺ ิ สมณพราหมณ์ที่รู้แจ้งโลกน้ีโลกหน้า ทีส่ ามารถชี้แจงแนะนาให้เขา้ ใจ ทีถ่ งึ พรอ้ มด้วยความสามัคคีและปฏบิ ตั ิชอบไม่มี นิยตมิจฉาทิฏฐิท้ัง ๓ ประการนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ล้วนปฏิเสธกรรม และผล ของกรรมท้ังสิ้นจัดเป็นอกุศลกรรมบถ บุคคลที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิ ๓ ประการนี้แล้ว พระพุทธองค์ตรัสว่า เป็นดังตอในวัฏฏะ คือ เป็นบุคคลที่ถูกมิจฉาทิฏฐิครอบงาฝังแน่น ในจิตใจ เป็นเหตุให้กระทาอกุศลกรรมต่างๆ ข้ามภพข้ามชาติ เวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏะ สงสารไม่มที ีส่ ้นิ สุด ไม่มีใครท่จี ะถอนความเป็นมิจฉาทิฏฐิของเขาได้ ท้ังตนเองก็ไม่คิดท่ีจะละ หรอื กลบั ใจ จงึ กลายเปน็ บุคคลผู้เฝ้าแผน่ ดิน ดังตอในวฏั ฏะไม่มีโอกาสได้บรรลุมรรคผลนิพพาน ก็ในทิฏฐิ ๓ อย่าง เหล่าน้ี อกิริยทิฏฐิ ห้ามกรรม คือ ปฏิเสธกรรม นัตถิกทิฏฐิ ห้ามวิบาก คือ ปฏิเสธผลของกรรม อเหตุกทิฏฐิ ห้ามท้ัง ๒ อย่าง คือ ปฏิเสธทั้งกรรมและ ผลของกรรม หลกั วินจิ ฉยั มจิ ฉาทฏิ ฐิ ทถ่ี งึ ความเปน็ อกศุ ลกรรมบถ มีองค์ ๒ คือ ๑. วตฺถุโน คหิตาการวปิ รีตตา เรอื่ งท่ียดึ ถือน้ันผิดจากความเป็นจริง ๒. ยถา ตํ คณฺหาติ ตถาภาเวน ตสฺสุปฏ.ฐานํ มีความเห็นยึดมั่นในเรื่องท่ี ผดิ จากความเป็นจรงิ นั้นวา่ ถูกต้อง ในอรรถกถาอฏั ฐสาลินี กล่าวไว้ว่า “ในมิจฉาทิฏฐนิ ้ัน กรรมบถยอ่ มขาดด้วยนตั ถิกทิฏฐิ อเหตกุ ทฏิ ฐิ และอกริ ิยทิฏฐิเท่าน้ัน หาขาดด้วยทิฏฐิเหลา่ อืน่ ไม่” มิจฉาทิฏฐิมโี ทษมาก เพราะเหตุ ๒ ประการคอื ๑. มีอาเสวนะมาก คือ มีความเสพคุ้นมาก หมายถึง ทามากหรือทาบ่อยก็มีโทษมาก มีอาเสวนะนอ้ ยก็มโี ทษนอ้ ย ๒. มีนิยตมิจฉาทิฏฐิ คือ มีความยึดม่ันความเห็นผิดแบบฝังรากลึกก็มีโทษมาก มมี จิ ฉาทฏิ ฐนิ อกจากนก้ี ็มโี ทษนอ้ ย หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318