Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นเอก

หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นเอก

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-06-10 15:56:28

Description: หลักสูตรธรรมศึกษา ชั้นเอก (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๗)
คณะสงฆ์และรัฐบาล จัดพิมพ์
เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

๒๗๕ นิยตมิจฉาทิฏฐิท้ัง ๓ นี้ เป็นความเห็นผิดท่ีส่งผลให้เกิดในนิรยภูมิหลังจากตายแล้ว อยา่ งแนน่ อนบคุ คลผู้เปน็ นิยตมจิ ฉาทฏิ ฐิ แม้พระพทุ ธองค์จะทรงโปรดอย่างไรก็ตาม ก็ไม่อาจ ใหส้ าเรจ็ คุณธรรมใดๆ ได้ สาหรับมโนกรรมท้ัง ๓ มีอภิชฌาเป็นต้นเหล่าน้ี เกิดข้ึนโดยไม่เกี่ยวข้องกับวิญญัติ ทั้ง ๒ คือ กายทวารและวจีทวารแต่อย่างใด คงเกิดข้ึนเฉพาะในมโนทวารเท่านั้น ฉะน้ัน ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงแสดงว่าเม่ือเว้นจากกายวิญญัติ และวจีวิญญัติแล้ว ย่อมเกิดใน มโนทวารเป็นส่วนมาก ตัวอยา่ งโทษของมจิ ฉาทิฏฐิ เร่ือง ปูรณกสั สปะ เจ้าลัทธผิ ู้ถอื อกริ ิยทฏิ ฐิ ดังได้สดับมา ตระกูลหนึ่งมีทาส ๙๙ คน ทาสคนหนึ่งเกิดมาก็ครบ ๑๐๐ คนพอดี ด้วยเหตุน้ัน พวกเจ้านายจึงต้ังช่ือเขาว่า “ปูรณะ” การงานที่นายปูรณะนั้น จะทาดี ทาไม่ได้ ยังไม่ทา หรือทาแล้ว พวกเจ้านายจะไม่ว่ากล่าวเขาเลย เพราะถือว่าเขาเป็นทาสผู้เป็นมงคล เมอ่ื เป็นเช่นน้ี เขาคิดว่าเขาอยูไ่ ปก็ไม่มปี ระโยชนอ์ ะไร จึงหลบหนไี ป ต่อมา พวกโจรได้ชิงเอาผ้านุ่งของเขาไป เขาไม่รู้จะปกปิดร่างกายด้วยหญ้าและ ใบไม้ จึงเปลือยกายเข้าไปสู่หมู่บ้านตาบลหนึ่ง พวกชาวบ้านเห็นเขาแล้วเข้าใจว่า “บุรุษน้ี เป็นสมณะ เป็นพระอรหันต์ มีความมักน้อยไม่มีบุคคลอื่นท่ีเป็นเช่นบุรุษนี้” จึงได้ให้ขนม และข้าวเปน็ ต้น เขาคิดว่า “ขนมและข้าวเป็นต้นน้ี เกิดข้ึนเพราะความท่ีเราไม่นุ่งผ้า” ตั้งแต่ นนั้ มา เขาแมจ้ ะได้ผา้ ก็ไม่นุง่ ได้ถอื เพศเปลือยกายเช่นนั้นเป็นการบวช พวกมนุษย์ ๕๐๐ คน พากันบวชในสานกั ของเขา นายปูรณะน้ัน ไดช้ ่ือตามโคตรวา่ “กสั สปะ” เขาได้ตั้งตนเป็นเจ้าลัทธิ ชื่อว่า ปูรณกัสสปะ ยึดถืออกิริยทิฏฐิซึ่งมีคาสอนว่า เมื่อบุคคลทาเองหรือใช้ให้ผู้อ่ืนทา ตัดเอง หรือใช้ให้ผู้อ่ืนตัด เบียดเบียนเอง หรือใช้ให้ผู้อ่ืน เบยี ดเบยี น เศรา้ โศกเอง หรอื ทาให้ผู้อื่นเศร้าโศก ลาบากเอง หรือทาให้ผู้อ่ืนลาบาก ดิ้นรนเอง หรือทาผ้อู ืน่ ให้ดิ้นรน ฆ่าสัตว์ ลกั ทรพั ย์ งดั แงะ ปล้นสะดม ปลน้ บ้าน ดกั อยูท่ ท่ี างเปลี่ยว เป็น ชู้กับภริยาของผู้อื่น พูดเท็จ เมื่อบุคคลกระทาอยู่อย่างนี้ บาป ช่ือว่าไม่เป็นอันทา สรุปว่า เจ้าลัทธิปูรณกัสสปะน้ันเป็นผู้มีวาทะว่าไม่เป็นอันทา ความเป็นเช่นน้ี พระพุทธศาสนาเรียกว่า มิจฉาทิฏฐิ บุคคลผูเ้ ป็น มจิ ฉาทิฏฐิ ครัน้ ตายแลว้ ย่อมไปสู่อบาย หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๗๖ เรือ่ ง มักขลิโคสาล เจา้ ลัทธผิ ถู้ อื อเหตกุ ทฏิ ฐิ บุรุษอีกคนหนึ่งเป็นทาส เจ้านายใช้ให้แบกหม้อน้ามันเดินไปบนพ้ืนที่เป็นโคลนแล้ว กาชับให้เขาระวังอย่าให้ล่ืน แต่เขาก็ล่ืนลงด้วยความประมาท ด้วยความกลัวเจ้านายจึงเร่ิม จะหนีไป เจ้านายจึงวิ่งไปฉุดที่ชายผ้าเขาจึงทิ้งผ้านั้นเสียแล้วเปลือยกายวิ่งหนีไป พวก ชาวบา้ นเกดิ ความเลื่อมใสในการถือเพศเปลือยกายของเขา เชน่ เดียวกบั เร่ืองปูรณกัสสปะ นายมักขลิน้ัน คนทั่วไปมักจะเรียกเขาว่า “โคสาละ” เพราะเขาเกิดในคอกโค จงึ เรียกรวมวา่ นายมักขลโิ คสาล เป็นเจ้าลัทธผิ ถู้ ืออเหตกุ ทิฏฐิ เจ้าลัทธิมักขลิโคสาล ยึดถืออเหตุกทิฏฐิ ซ่ึงมีคาสอนว่า ความเศร้าหมองของสัตว์ ท้ังหลายไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย สัตว์ท้ังหลายเศร้าหมองเอง บริสุทธ์เอง สรุปว่า เจ้าลัทธิมักขลิโคสาล เปน็ ผ้มู วี าทะว่า ไม่มีเหตุ คือ ปฏิเสธเหตุ หมายถึงปฏิเสธกรรม เป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ยึดถือเช่นน้ี ตายแล้วไปเกดิ ในอบาย เรือ่ ง อชติ เกสกมั พล เจ้าลัทธิผถู้ ือนัตถกิ ทฏิ ฐิ บุรุษอีกคนหน่ึง มีชื่อว่า “อชิตะ” และคนมักจะเรียกว่า “เกสกัมพล” เพราะเขา นงุ่ ห่มผ้ากัมพลทีท่ าด้วยผมมนุษย์ เจ้าลัทธิอชิตเกสกมั พลน้นั ยึดถือนัตถิกทิฏฐิซ่ึงมีคาสอนว่า “ทานทใ่ี หแ้ ล้วไม่มีผล การบูชาท่บี ูชาแล้วไม่มีผล” สรปุ ว่า เจา้ ลัทธิอชิตเกสกัมพลน้ัน เป็นผู้มี วาทะวา่ ไม่มีบ้าง ขาดศูนย์บ้าง โดยมีวาทะในเร่ืองความขาดศูนย์ว่า “สัตว์ท้ังหลายหลังจาก ตายแล้วย่อมขาดศนู ย์ ยอ่ มหายไป ย่อมไม่มอี ีก” เจ้าลัทธิทั้ง ๓ น้ี นอกจากทาตนให้ฉิบหายแล้ว ยังทาหมู่ชนผู้กระทาตามลัทธิของ ตนให้ฉิบหายไปด้วย เพราะลัทธิท่ีตนยึดถือนั้นเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิ ส่งผลให้เกิดในนิรยภูมิ หลังจากตายแล้วอย่างแน่นอน แม้พระพุทธองค์จะทรงโปรดอย่างไรก็ตาม ก็ไม่อาจให้สาเร็จ คุณธรรมใดๆ ได้ในชาตนิ ้ัน มโนกรรมเป็นไปทางทวาร ๓ อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิ ทั้ง ๓ น้ี เป็นมโนกรรมย่อมเป็นไปทาง มโนทวารโดยมากแม้ไม่มีการเคล่ือนไหวทางกาย ทางวาจา เพียงแต่คิดในใจก็สาเร็จเป็น อกุศลกรรมบถได้ แต่บางคร้ังอกุศลธรรมท้ัง ๓ อย่างนี้ ย่อมเกิดข้ึนทางกายทวาร และ วจีทวาร หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๗๗ ก็ได้ เช่น บางคนมีใจละโมบอยากได้ของคนอ่ืน จึงยื่นมือไปหยิบของนั้น มีใจโกรธแค้นหยิบมีด หยิบไม้ เพ่ือทาร้ายเขา หรือมีความเห็นผิดไปไหว้กระบือ ๕ ขา เพ่ือขอเลข เป็นต้น กรรมนั้น ของเขาจัดเป็นมโนกรรม ส่วนทวารจัดเป็นกายทวาร ถามว่าทาไม ถึงไม่จัดเป็น กายกรรม แก้ว่าเพราะตรงน้ี ท่านมุ่งถึงอภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทิฏฐิเป็นใหญ่ ไม่ได้มุ่งเจตนา เปน็ ใหญ่ ถา้ มุ่งเจตนาท่ีเป็นเหตกุ ระทาทางกาย กจ็ ัดเปน็ กายกรรมได้ บางคนมีใจละโมบพูดออกมาว่า ทาอย่างไรหนอของส่ิงนั้นจะพึงเป็นของเรา มีใจ โกรธแค้น พดู แชง่ วา่ ทาอย่างไรหนอ คนน้ีจะพึงตายเสียที มีความเหน็ ผิดพดู ว่า ผลของกรรม ดกี รรมชวั่ ไม่มี กรรมของเขา จัดเป็นมโนกรรม ส่วนทวารจดั เปน็ วจีทวาร บางคนไม่มีการกระทาทางกาย หรือพูดทางวาจาคิดละโมบอยากได้ คิดพยาบาท ปองร้ายและเห็นผิดจากทานองคลองธรรมอย่างเดียว กรรมของเขาจัดเป็นมโนกรรม แม้ทวาร ก็จัดเป็นมโนทวาร มโนกรรมทเ่ี ป็นอกุศลยอ่ มเกิดไดท้ างทวารทัง้ ๓ ดังพรรณนามาฉะนี้ อย่างไรก็ตามในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี อกุศลกรรมบถท่ีเกิดทางมโนทวาร มคี วามสาคญั กวา่ ทางกายทวารและวจีทวาร เนื่องจากกายและวาจาส่ังให้ใจกระทาบาปไม่ได้ แต่ใจส่ังใหก้ ายและวาจาทาบาปได้ สมดังท่ีพระพุทธองค์ตรัสว่า ธรรมท้ังหลาย มีใจเป็นใหญ่ มีใจเปน็ หัวหนา้ มใี จประเสรฐิ สดุ สาเร็จมาจากใจ ถ้าใจคิดช่ัวแล้ว ก็จะกระทาชั่ว พูดชั่วตามมา และในบรรดาอกศุ ลกรรมบถท่ีเกิดทางมโนทวาร มิจฉาทิฏฐิถือว่าร้ายแรงกว่าอกุศลกรรมบถ ข้ออน่ื ๆ เพราะถา้ มีความเห็นผดิ แลว้ ก็จะเกิดอกุศลกรรมบถข้ออื่นๆ ได้ ดังนั้น ควรจะระวัง อกศุ ลกรรมบถขอ้ มจิ ฉาทฏิ ฐนิ ้ีให้มาก โทษของอกศุ ลกรรมบถ บุคคลผู้ประพฤติหรือกระทาอกุศลกรรมบถ ๑๐ อย่างนี้ ย่อมตกนรกเหมือนกับ ถูกจับเอาไปวางไว้ ดังพระพุทธองค์ตรัสไว้ในปฐมนิรยสัคคสูตร ปัญจมปัณณาสก์ ทสกนิบาต องั คุตตรนกิ ายวา่ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ย่อมตกนรก เหมอื นถกู จบั เอาไปวางไว้ ธรรม ๑๐ ประการ คอื บุคคลบางคนในโลกน้ี ๑. เป็นผู้มักฆ่าสัตว์ มีมือเปื้อนเลือด คิดแต่ประหัตประหาร ไม่มีความเมตตากรุณา ต่อสตั ว์ทง้ั ปวง หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๗๘ ๒. เป็นผมู้ ักถอื เอาสิง่ ของทเ่ี จ้าของไม่ได้ให้ ไม่วา่ ของนัน้ จะอยู่ในบา้ นของเขา หรือท่ี ไหนๆ ก็ตาม เปน็ ผถู้ ือเอาส่งิ น้ันด้วยจิตคดิ ขโมย ๓. เป็นผู้มักประพฤติผิดในกาม ผิดเพราะการนอกใจคู่ครองของตน ผิดเพราะ ล่วงละเมดิ คูค่ รองของผู้อื่น หรือผิดเพราะล่วงละเมิดตอ่ บคุ คลท่ีตนเองไมม่ สี ทิ ธ์จิ ะทาเชน่ นัน้ ๔. เป็นผู้มักกล่าวคาเท็จ คือ ไม่รู้บอกว่ารู้ ไม่เห็นบอกว่าเห็น หรือรู้บอกว่าไม่รู้ เหน็ บอกว่าไม่เห็น เป็นผู้กล่าวเท็จท้ังๆ ท่ีรู้ เพราะเหตุแห่งตน เพราะเหตุแห่งบุคคลอื่น หรือ เพราะเห็นแก่อามิสสินจา้ ง ๕. เป็นผู้พูดทาลายความสามัคคี ฟังจากฝ่ายน้ีไปบอกฝ่ายโน้น หรือฟังจากฝ่ายโน้น มาบอกฝ่ายน้ี เพอื่ ให้เขาแตกความสามัคคีกัน หรือเพื่อจะทาตนให้เป็นท่ีรักของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ชอบความแตกแยก หรือส่งเสริมให้คนแตกแยก ชอบต้ังพรรคพวก พูดแต่ถ้อยคาที่จะทาให้ แบง่ พรรคแบง่ พวก ๖. เป็นผู้พูดวาจาที่แผ่ไปเผาผลาญจิตใจของผู้ฟัง เป็นคาพูดบาดหูหยาบคาย เผด็ ร้อนกระทบกระเทียบเปรียบเปรยทาให้ผฟู้ ังเกิดความโกรธและฟงุ้ ซ่าน ๗. เป็นผู้พูดทาลายความสขุ และประโยชน์ที่สัตบุรุษพึงได้รับ พูดคาที่กาจัดทางแห่ง ประโยชน์และความสุขน้ัน ไม่รู้กาลเทศะ พูดปราศจากอรรถ ธรรม หรือวินัยอย่างใดอย่าง หนงึ่ ซึง่ เปน็ เคร่ืองแสดงเหตผุ ลเพือ่ ให้เขา้ ใจประโยชนใ์ นโลกน้แี ละประโยชน์ในโลกหนา้ ๘. เปน็ ผมู้ ากไปดว้ ยความละโมบ จอ้ งหาทางเอาของคนอน่ื มาเปน็ ของตน ๙. เปน็ ผ้มู ีใจพยาบาท มคี วามคดิ ประทษุ ร้ายว่า ขอสัตว์เหลา่ น้ี จงถกู ฆ่า จงถกู จองจา จงหายสาบสญู จงพินาศ จงอย่าอยู่ในโลกน้ี ๑๐. เป็นผู้มีความคิดผิด มีทัศนะที่วิปริตว่า การให้ทานไม่มีผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวงไม่มีผล ผลวิบากของกรรมดีและกรรมช่ัวไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกหน้าไม่มี มารดา ไมม่ ีคณุ บิดาไม่มีคุณ โอปปาติกสัตว์ไม่มี สมณะพราหมณ์ ผู้ปฏิบัติชอบ รู้แจ้งเองแล้ว แสดง โลกน้ี และโลกหน้าไดแ้ จม่ แจง้ ไม่มี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการเหล่าน้ี ย่อมตกนรก เหมอื นถูกจับเอาไปวางไว้ หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๗๙ พฤติกรรมทีเ่ ป็นบาป ๔ อย่าง บุคคลผู้กระทาอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ ย่อมได้รับผลวิบากทาให้ไปตกนรก แนน่ อน แมผ้ ้ชู ักชวน ผ้ยู ินดี ผู้ยกย่องสรรเสริญอกุศลหรือบุคคลผู้ประพฤติอกุศลกรรมเหล่านั้น ก็ล้วนทาให้ไปตกนรกได้เหมือนกัน ดังนั้น ตามหลักพระธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึงพฤติกรรมที่เป็นบาปนาไปสู่นรก ๔ อย่าง ดังพระพุทธพจน์ในกรรมปถวรรค องั คุตตรนกิ าย ความวา่ ดูก่อนภกิ ษทุ ้ังหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมตก นรก เหมือนถกู เขาจบั เอาไปวางไว้ ธรรม ๔ ประการ คอื ๑. เป็นผ้ทู าเอง พดู เอง คดิ เอง ในอกุศลกรรมบถ ๒. เป็นผ้ชู ักชวนผอู้ ่นื ใหท้ า ให้พดู ใหค้ ิด ในอกุศลกรรมบถ ๓. เป็นผู้ยินดกี บั บคุ คลผู้ทา ผูพ้ ูด ผคู้ ิด ในอกศุ ลกรรมบถ ๔. เป็นผู้พดู สรรเสรญิ อกุศลกรรมบถ คนชวั่ ยิ่งกวา่ คนชว่ั อนึ่ง บุคคลผู้ทา ผู้พูด ผู้คิด ทางกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม อันเป็นอกุศล ท้ัง ๑๐ นี้ ถึงแม้ว่าจะทาให้ตกนรกก็จริง ถึงอย่างนั้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ตรัสว่า เป็นคนช่ัวธรรมดาเท่านั้น แต่บางคนนอกจากทา พูด และคิดอกุศลด้วยตนเองแล้ว ยังชักชวน หรือบีบบังคับผู้อื่นให้ทา ให้พูด ให้คิดอกุศลเหล่าน้ันด้วย บุคคลเช่นนี้ พระพุทธองค์ตรัสว่า เปน็ คนชว่ั ย่งิ กวา่ คนชว่ั ดังพระพุทธพจน์ในทสกรรมสตู รวา่ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิด ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคาหยาบ พูดเพ้อเจ้อ โลภอยากได้ของผู้อ่ืน คิดร้ายทาลาย ผู้อน่ื เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ ดกู อ่ นภกิ ษุทัง้ หลาย บุคคลนเ้ี ราเรยี กว่า คนช่ัว ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย แต่บุคคลบางคนในโลกน้ี ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิด ในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคาหยาบ พูดเพ้อเจ้อ โลภอยากได้ของผู้อ่ืน คิดร้ายทาลาย ผู้อ่ืน เป็นมิจฉาทิฏฐิด้วยตนเองแล้ว ยังชักชวนบุคคลอื่นให้ทา ให้พูด ให้คิดอย่างนั้นด้วย ดูกอ่ นภิกษุท้ังหลาย บคุ คลนเ้ี ราเรียกว่า คนช่ัวยง่ิ กว่าคนช่วั หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๐ กุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ หมายถึง ทางแห่งกุศลกรรม ทางทาความดี หรือกรรมดีท่ีเป็นเหตุ นาสัตว์ไปสู่สุคติ กุศลกรรมบถนี้ส่งผลให้เกิดในปฏิสนธิกาลคือในภพหน้ามี ๑๐ อย่าง จาแนกเปน็ กายกรรม ๓ วจกี รรม ๔ และ มโนกรรม ๓ ดงั นี้ กายกรรม ๓ ได้แก่ เจตนางดเวน้ จากการฆ่าสัตว์ ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการลักทรพั ย์ ๒. อทนิ ฺนาทานา เวรมณี เจตนางดเว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม ๓. กาเมสุ มิจฉฺ าจารา เวรมณี วจกี รรม ๔ ได้แก่ เจตนางดเว้นจากการพดู เทจ็ ๑. มสุ าวาทา เวรมณี เจตนางดเว้นการพดู สอ่ เสียด ๒. ปสิ ณุ าย วาจาย เวรมณี เจตนางดเวน้ จากการพูดคาหยาบ ๓. ผรุสาย วาจาย เวรมณี เจตนางดเว้นจากการพูดเพอ้ เจ้อ ๔. สมฺผปปฺ ลาปา เวรมณี มโนกรรม ๓ ไดแ้ ก่ ๑. อนภชิ ฌฺ า การไม่เพง่ เล็งอยากไดข้ องคนอืน่ ๒. อพยฺ าปาท การไม่คิดรา้ ยผู้อน่ื ๓. สมมฺ าทิฏ.ฐิ การเห็นชอบตามคลองธรรม กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ ทรงแสดงไว้ในพระสูตรมากมาย เฉพาะในอังคุตตรนิกาย มอี ยู่หลายสตู ร มีช่อื เรยี กตา่ งๆ กนั ไป ดังนี้ สาธสุ ูตร เรียกชื่อว่า สาธุธรรม แปลวา่ ธรรมดี อริยธรรมสตู ร เรยี กช่อื ว่า อริยธรรม แปลว่า ธรรมของอารยชน กุศลสูตร เรยี กช่อื ว่า กศุ ลธรรม แปลวา่ ธรรมทท่ี าลายความชั่ว อรรถสูตร เรยี กชอ่ื ว่า อรรถธรรม แปลวา่ ธรรมที่มีประโยชน์ สาสวสตู ร เรยี กช่ือว่า อนาสวธรรม แปลว่า ธรรมที่ไมม่ กี ิเลส วชั ชสตู ร เรียกช่อื ว่า อนวชั ชธรรม แปลว่า ธรรมทีไ่ มม่ ีโทษ ตปนยี สูตร เรียกชื่อว่า อตปนียธรรม แปลวา่ ธรรมทสี่ รา้ งความรม่ เย็น อาจยคามิสูตร เรียกช่ือว่า อปจยคามิธรรม แปลว่า ธรรมท่ีไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๑ ส่วนในสาเลยยกสูตร ปัญจมวรรค มูลปัณณาสก์ เรียกชื่อว่า ธรรมจริยสมจริยา แปลว่า การประพฤติที่เป็นธรรมและการประพฤติท่ีถูกต้อง พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงผลดี ที่พึงจะได้รับจากการประพฤติธรรมจริยสมจริยาดังน้ีว่า ใครจะปรารถนามนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ พรหมสมบัติ มรรค ผล และนิพพาน ก็จะสาเร็จตามปรารถนา ดังความ ในสาเลยยกสูตรว่า สัตว์บางพวกในโลกนี้ หลังจากตายจากโลกน้ีแล้ว ย่อมบังเกิดในสุคติ โลกสวรรค์ เพราะเหตแุ หง่ ธรรมจรยิ สมจริยา ธรรมจรยิ สมจรยิ า เป็นไปในทางกายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ และมโนกรรม ๓ ดงั นี้ ธรรมจรยิ สมจริยาทางกายกรรม ๓ ๑. เป็นผู้ละปาณาติบาต คือเว้นจากการยังสัตว์มีชีวิตให้ตกล่วงไป เป็นผู้มีท่อนไม้ และศสั ตราอนั วางแลว้ มคี วามละอายประกอบด้วยความเอ็นดู เป็นผู้เกื้อกูลอนุเคราะห์สัตว์ ทกุ จาพวก ๒. เป็นผู้ละอทินนาทาน เว้นขาดจากอทินนาทาน ข้ึนช่ือว่า ทรัพย์ของผู้อ่ืน จะอยู่ในบ้าน หรืออยู่ในป่าก็ตาม ย่อมเป็นผู้ไม่ถือเอาทรัพย์นั้นท่ีเจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิต คิดขโมย ๓. เปน็ ผ้ลู ะกาเมสมุ ิจฉาจาร เว้นขาดจากกาเมสุมจิ ฉาจาร ธรรมจรยิ สมจรยิ าทางวจีกรรม ๔ ๑. เป็นผู้ละมุสาวาท เว้นขาดจากมุสาวาท ไปในสภาก็ดี ในบริษัทก็ดี ในท่ามกลาง หมู่ญาติก็ดี ในท่ามกลางเสนาก็ดี ในท่ามกลางแห่งราชตระกูลก็ดี ถูกอ้างเป็นพยาน ซักถาม แน่ะพ่อชาย ท่านจงมา ท่านรู้อย่างไร จงเบิกอย่างนั้น บุคคลนั้นเม่ือไม่รู้ ก็บอกว่า ข้าพเจ้าไม่รู้ หรือรู้อยู่ก็บอกว่า ข้าพเจ้ารู้ เม่ือไม่เห็นก็บอกว่า ข้าพเจ้าไม่เห็น หรือเห็นก็บอกว่า ข้าพเจ้า เห็น ย่อมไม่กล่าวเท็จท้ังที่รู้ เพราะเหตุแห่งตน เพราะเหตุแห่งคนอ่ืน หรือเพราะเหตุแห่ง อามิสสินจ้าง ๒. เปน็ ผูล้ ะคาํ ส่อเสยี ด เวน้ ขาดจากกล่าวส่อเสียด ฟังข้างน้ีแล้วไม่ไปบอกข้างโน้น เพ่ือทาลายคนหมู่น้ี หรือฟังจากข้างโน้นแล้วไม่มาบอกคนหมู่น้ี เพ่ือทาลายคนหมู่โน้น เป็น หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๒ ผสู้ มานคนทง้ั ท่ีแตกกันแลว้ หรอื สนับสนนุ หมู่คนทส่ี ามคั คีกันอยู่แล้ว เปน็ ผมู้ ีความช่ืนชมยินดี ในหมู่คนผู้สามัคคกี นั เป็นผกู้ ลา่ ววาจาท่ีทาให้คนสามคั คกี นั ๓. เป็นผู้ละคําหยาบ เว้นขาดจากการกล่าวคาหยาบ เป็นผู้กล่าววาจาไม่มีโทษ เสนาะโสต เปน็ ที่รกั จับใจ เปน็ คาสุภาพ เปน็ ทช่ี อบใจ พอใจของคนจานวนมาก ๔. เป็นผู้ละการกล่าวเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากการกล่าวเพ้อเจ้อ พูดในเวลาที่ควรพูด พูดคาจริง พูดอิงอรรถ อิงธรรม อิงวินัย มีหลักฐาน มีที่อ้างอิง ไม่พูดมาก พูดแต่คาท่ีมี ประโยชน์ ธรรมจริยสมจริยาทางมโนกรรม ๓ ๑. เป็นผไู้ มเ่ พง่ เลง็ ไมล่ ะโมบอยากได้ทรพั ย์ของผอู้ นื่ มาเป็นของตน ๒. เป็นผู้มีใจไม่พยาบาท ไม่คิดร้ายต่อผู้อื่น คิดแต่ในทางที่ดีว่า ขอสัตว์ท้ังหลาย จงมคี วามสขุ อยูร่ อดปลอดภัยเถดิ ๓. เป็นผู้มคี วามเหน็ ชอบ มีความเห็นไม่วิปริตว่า ทานท่ีให้แล้วมีผล การบูชามีผล ผลวิบากของกรรมดีและกรรมชั่วมีจริง โลกนี้มีจริง โลกหน้ามีจริง มารดามีบุญคุณ บิดามี บญุ คณุ โอปปาตกิ ะมจี ริง สมณพราหมณผ์ ู้ร้แู จง้ โลกนีแ้ ละโลกหน้ามจี รงิ ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย สัตว์บางพวกในโลกน้ี หลังจากตายไปแล้ว ยอ่ มเขา้ ถึงสุคติโลกสวรรค์ เพราะประพฤติธรรมจรยิ สมจรยิ าน้ี ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีท้ังหลาย ถ้าบุคคลผู้ประพฤติธรรมและประพฤติ ที่ถูกต้อง พึงหวังได้ว่า หลังจากที่เราตายแล้ว พึงได้มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพาน สมบตั ิ มนุษย์สมบัติ หมายถึง เกิดเป็นกษตั รยิ ม์ หาศาลและพราหมณ์มหาศาล สวรรค์สมบัติ หมายถึง เกิดเป็นเทวดาตั้งแต่ชั้นจาตุมมหาราชถึงช้ันเนวสัญญานา สัญญายตนะ นิพพานสมบัติ หมายถึง สมบัติคอื พระนพิ พาน หลกั สูตรธรรมศึกษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๓ อานสิ งสข์ องกศุ ลกรรมบถ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการน้ี จัดว่าเป็นศีล บุคคลผู้รักษาศีล ให้บริสุทธ์ิ บริบูรณ์ ย่อมได้รับอานิสงส์ ๓ ประการคือมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ ดังคาสรุป ของศีล ดังนี้ ๑. สเี ลน สคุ ตึ ยนตฺ ิ คนทั้งหลายไปสู่สคุ ติไดเ้ พราะศลี ๒. สีเลน โภคสมฺปทา คนทงั้ หลายถงึ พร้อมด้วยโภคทรัพย์เพราะศลี ๓. สเี ลน นพิ พฺ ตุ ึ ยนตฺ ิ คนทั้งหลายบรรลนุ พิ พานได้เพราะศีล ศีลเป็นเหตุให้ได้ไปสู่สุคติเพราะผลของกุศลกรรมบถ ๑๐ โดยเป็นอุปนิสสยปัจจัย โดยตรง ให้ได้เกดิ เป็นมนษุ ย์ ๑ กามาวจรสวรรค์ ๖ ชน้ั และพรหมโลก ๒๐ ช้นั อปุ นสิ ัย อุปนสิ ัย คอื ความประพฤตทิ ่ีเคยชนิ เป็นพ้ืนมาในสันดาน หรือความดีที่เป็นพื้นฐาน ของจิต มี ๓ ประการ คอื ๑. ทานูปนิสัย อุปนิสัยคือทาน การเสียสละ คนผู้มีอุปนิสัยเช่นน้ี ย่อมกาจัดความ โลภหรือทาความโลภให้เบาบางลงได้ ๒. สีลูปนิสัย อุปนิสัยคือศีล การเว้นจากการเบียดเบียนสัตว์อ่ืน คนผู้มีอุปนิสัย เชน่ น้ี ย่อมไม่มกี ารเบยี ดเบียนสัตวอ์ ่ืน ๓. ภาวนูปนิสัย อุปนิสัยคือภาวนา การส่ังสมความดี คนผู้มีอุปนิสัยเช่นนี้ ย่อม เพยี รพยายามเพ่อื ทาความดีให้สูงยง่ิ ๆ ขน้ึ ไป กุศลกรรมบถ ๑๐ นี้จัดเป็นศีล ดังน้ัน จึงเป็นสีลูปนิสัย ท่ีจะช่วยสนับสนุนให้ได้ บรรลสุ มาธิ ปัญญาและวมิ ตุ ติ ตามพระบาลีว่า สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานิสํโส แปลว่า สมาธิที่ถูกบ่มด้วยศีล ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก อธิบายว่า บุคคลผู้มีศีลบริสุทธ์ิ เมื่อบาเพ็ญสมาธิ ย่อมสามารถทาฌานให้เกิดได้ง่าย คร้ันได้ฌานแล้วตายไปย่อมเกิดเป็น พรหม อย่างน้ีชื่อว่า กุศลกรรมบถ เป็นเหตุให้ได้ไปเกิดในพรหมโลก ส่วนผู้ได้ฌานบางท่าน ทาฌานให้เป็นบาทแห่งการเจริญวิปัสสนา ย่อมรู้แจ้งเห็นจริงได้ง่าย ตามพระบาลีว่า สมาธิ- ปริภาวิตา ปญฺญา มหปฺผลา โหติ มหานิสํสา แปลว่า ปัญญาท่ีถูกบ่มด้วยสมาธิ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก จิตของบุคคลผู้มีปัญญารู้แจ้งเห็นจริง ย่อมหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๔ ตามพระบาลีว่า ปญฺญาปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺมเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ เสยฺยถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวิชชฺ าสวา แปลวา่ จิตท่ีถูกอบรมด้วยปัญญา ย่อมหลุดพ้นโดยชอบจากกามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ อย่างน้ีช่ือว่า กุศลกรรมบถ เป็นเหตุให้ได้บรรลุเจโตวิมุตติและปัญญา วิมุตติ สีลูปนิสัย คือ กุศลกรรมบถ ๑๐ ที่สนับสนุนให้ได้บรรลุสมาธิ ปัญญา และวิมุตติ ดงั กลา่ วแล้ว เปรยี บไดก้ ับส่วนของต้นไม้ สีลูปนิสัยเป็นเสมือนรากไม้ สมาธิเป็นเสมือนลาต้น ปญั ญาเปน็ เสมือนกง่ิ กา้ นและใบ วมิ ุตตเิ ปน็ เสมือนดอกและผลของต้นไม้ กศุ ลกรรมบถโดยอาการ ๕ กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการนี้ พึงทราบวินิจฉัยโดยอาการ ๕ คือ โดยธรรม โดยโกฏฐาสะ โดยอารมณ์ โดยเวทนา และโดยมลู ดังน้ี ๑. โดยธรรม คอื โดยสภาวธรรม กุศลกรรมบถ ๗ ข้อแรก คือกายกรรม ๓ และวจีกรรม ๔ เม่ือว่าโดยสภาวธรรม ไดแ้ กเ่ จตนาหรอื วิรัติ หมายความว่า ถ้าไม่ต้ังใจจะงดเว้น หรือไม่มีการงดเว้น ย่อมสาเร็จเป็น กุศลกรรมบถไมไ่ ด้ มโนกรรม ๓ คอื อนภชิ ฌา โดยสภาวธรรม ไดแ้ ก่ อโลภะ อพยาบาท โดยสภาวธรรม ได้แก่ อโทสะ สมั มาทิฏฐิ โดยสภาวธรรม ได้แก่ อโมหะที่ประกอบดว้ ยเจตนา ๒. โดยโกฏฐาสะ คือโดยส่วนแหง่ ธรรมต่างๆ กศุ ลกรรมบถ ๗ คือ กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ เป็นกรรมบถอย่างเดยี ว ไม่เป็นรากเหง้า ของกศุ ลเหล่าอน่ื ส่วนมโนกรรม ๓ อย่าง คือ อนภิชฌา อพยาบาท และสัมมาทิฏฐิ เป็นทั้งกุศล กรรมบถ เป็นทั้งรากเหง้าของกุศลอ่ืน เพราะท้ัง ๓ นี้ ก็คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ท่ีเป็น กศุ ลมูลนนั่ เอง ๓. โดยอารมณ์ คือ ส่ิงที่ใจเข้าไปยึดแล้วเป็นเหตุให้งดเว้นจากอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ พระอรรถกถาจารย์ อธิบายว่า อารมณ์แห่งอกุศลกรรมบถ ๑๐ นั่นแหละ เป็น หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๕ อารมณ์แห่งกุศลกรรมบถท้ัง ๑๐ ประการ เปรียบเหมือนน้าที่สามารถทาให้เรือลอยก็ได้ ทาใหจ้ มลงก็ได้ ๔. โดยเวทนา คือ ความรู้สึกเป็นสุข เป็นทุกข์ และเฉยๆ พระอรรถกถาจารย์ อธิบายว่า ในขณะทากุศล ทุกขเวทนา คือความเสียใจ ความไม่สบายใจ ย่อมไม่มี เพราะฉะน้ัน ในขณะประพฤติกุศลกรรมบถจึงมีเพียงเวทนา ๒ คือ สุขเวทนา และอุเบกขา เวทนา ๕. โดยมูล คอื โดยกุศลมูล ๓ อย่าง ไดแ้ ก่ อโลภมูล ๑ อโทสมลู ๑ อโมหมลู ๑ กุศลกรรมบถ ๗ คือ กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ ท่ีบุคคลประพฤติด้วยปัญญามีมูล ๓ คือ อโลภมูล ๑ อโทสมูล ๑ อโมหมูล ๑ ท่ีประพฤติโดยขาดปัญญามีมูล ๒ คือ อโลภมูล อโทสมลู อนภชิ ฌาท่ีประพฤติด้วยปัญญา มีมูล ๒ คือ อโลภมูล อโมหมูล ที่ประพฤติ โดยขาด ปญั ญามีมลู เดียว คือ อโลภมูล อพยาบาทท่ีประพฤติด้วยปัญญา มีมูล ๒ คือ อโทสมูล ๑ อโมหมูล ๑ ท่ีประพฤติ โดยขาดปัญญามมี ลู เดยี ว คอื อโทสมูล สมั มาทิฏฐิ มมี ลู ๒ คือ อโทสมลู อโมหมูล กรรมบถ ๒ อย่างนั้น กุศลกรรมบถ เรียกว่า สุจริต อกุศลกรรมบถ เรียกว่า ทุจริต ในสุจรติ และทจุ รติ ทงั้ ๒ อย่างนนั้ ทุจรติ บุคคลไม่ควรทาเพราะเป็นอกรณียกิจ สุจริต บุคคล ควรทาเพราะเป็นกรณียกิจ บคุ คลเมือ่ ทากรณียกิจย่อมไม่ถึงอาทีนพ คือ ไม่ได้รับโทษ มีการ ติเตียนตนเอง เป็นต้น เมื่อบุคคลทาอกรณียกิจย่อมถึงอาทีนพ คือ ได้รับโทษ มีการติเตียน ตนเอง เป็นต้น ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในอานันทสูตร ทุกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า อานนท์ เรากล่าวกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า เป็นอกรณีกิจโดยส่วนเดียว อานนท์ เมื่อบุคคลทากายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ท่ีเรากล่าวว่า เป็นอกรณียกิจโดยส่วนเดียว โทษดังต่อไปนอี้ ันผู้น้ันพงึ ไดร้ บั คือ ๑. แม้ตนเองยอ่ มตเิ ตยี นตนได้ ๒. ผู้รใู้ ครค่ รวญแลว้ ยอ่ มติเตียน ๓. ชอ่ื เสียงอันช่วั ย่อมกระฉ่อนไป ๔. ย่อมหลงทากาลกริ ิยาคือตายโดยขาดสติ ๕. หลงั จากตายแลว้ ย่อมเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๖ และตรัสว่า อานนท์ เรากล่าวกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ว่า เป็นกรณียกิจ โดยส่วนเดียว อานนท์เม่ือบุคคลทากายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ที่เรากล่าวว่า เป็นกรณียกิจ โดยส่วนเดียว อานสิ งสด์ ังตอ่ ไปน้ีอันผู้น้นั พึงได้รบั คือ ๑. แมต้ นเองย่อมตเิ ตียนตนไม่ได้ ๒. ผู้รูใ้ คร่ครวญแลว้ ยอ่ มสรรเสริญ ๓. ชอื่ เสียงอันดยี ่อมขจรไป ๔. ย่อมไมห่ ลงทากาลกริ ิยาคอื ตายอย่างมสี ติ ๕. หลังจากตายแลว้ ย่อมเขา้ ถงึ สคุ ติโลกสวรรค์ ดังนั้น พุทธศาสนิกชนควรละเว้นอกุศลกรรมบถ ประพฤติแต่กุศลกรรมบถเท่านั้น สมกับพระพุทธโอวาทท่ีทรงประทานไว้ให้เป็นหลักปฏิบัติอันสาคัญ คือ ไม่กระทาความชั่ว ทั้งปวง ประกอบกุศลคือคุณงามความดีให้ถึงพร้อม และฝึกอบรมจิตให้สะอาดผ่องแผ้ว ย่อมได้ช่ือว่า เป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี เป็นศาสนทายาทที่ดี เป็นกาลังสาคัญในการเผยแผ่ พระธรรมคาสอน ซง่ึ จะทาใหพ้ ระพทุ ธศาสนามคี วามม่นั คงเจรญิ รุ่งเรืองสืบไป หลกั สูตรธรรมศึกษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๗ บรรณานกุ รม กรมการศาสนา. คู่มอื การศึกษานกั ธรรมและธรรมศึกษาช้นั เอก. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๘. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๓๘. แกว้ ชดิ ตะขบ คมและลกึ ในวิชาพทุ ธ สาํ หรบั ธรรมศึกษาชน้ั ตรี. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พส์ านกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต,ิ ๒๕๔๘. รวมวิชานกั ธรรมชน้ั เอก. พมิ พ์คร้งั ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ านกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๔๘. .________________. หลักการเรยี งความแกก้ ระท้ธู รรม สาํ หรบั นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี-โท-เอก. สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาตจิ ัดพิมพ์เผยแพร.่ กรงุ เทพฯ : โรงพิมพส์ านักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ. ๒๕๔๖. .________________. อธิบายวิชาธรรม สําหรบั นักธรรมและธรรมศกึ ษาชัน้ เอก. สานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาตจิ ดั พมิ พเ์ ผยแพร.่ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ, ๒๕๔๖. พระญาณวโรดม (สนธิ์ ป.๕). อปุ กรณ์กัมมัฏฐาน มหาสตปิ ัฏฐาน และ คริ มิ านนทสตู ร สาํ หรับนกั ธรรมและ ธรรมศกึ ษาชั้นเอก. พิมพ์คร้ังท่ี ๑๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑. พระธรรมกติ ตวิ งศแ์ ละคณะ. คลังธรรม เล่ม ๑ เล่ม ๒ เลม่ ๓ สานักงานทรัพยส์ ินสว่ นพระมหากษัตริย์ จัดพิมพเ์ พือ่ ส่งเสรมิ การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๕๖. พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโต).พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม คณะผ้ศู รทั ธาพมิ พ์เผยแพร่ เปน็ ธรรมทาน. พมิ พค์ ร้งั ที่ ๑๑. กรุงเทพฯ : บริษทั สหธรรมิก จากัด, ๒๕๔๕. .________________. พจนานกุ รมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลศพั ท์. พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑๐. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท เอส อาร์ พร้นิ ติง้ แมส โปรดกั ส์ จากดั , ๒๕๔๖. .________________. พุทธธรรม ฉบบั ขยายความ. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัยพิมพเ์ ผยแพร่. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๓๘. มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั . พทุ ธศาสนสภุ าษติ เลม่ ๓ หลกั สตู รนกั ธรรมและธรรมศกึ ษาช้ันเอก. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑๘. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๓๘. หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๘ .________________. ธรรมสมบัติ หมวดที่ ๑๐ สมถกัมมัฏฐานและวปิ สั สนากัมมฏั ฐาน หลกั สูตรนักธรรม และธรรมศึกาชัน้ เอก. พิมพค์ รัง้ ท่ี ๒๒ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวิทยาลยั . ๒๕๓๘. สนามหลวงแผนกธรรม.เร่ืองสอบธรรม ของ สนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ. ๒๕๕๔, ๒๕๕๕, ๒๕๕๖. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพส์ านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๔, ๒๕๕๕, ๒๕๕๖. สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส. ธรรมวจิ ารณ์ หลักสตู รนกั ธรรมและธรรมศึกษา ชัน้ เอก. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘. .________________. วปิ ัสสนากมั มฏั ฐาน หลักสตู รนักธรรมและธรรมศึกษาชน้ั เอก. พมิ พ์คร้ังที่ ๒๒. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหามกุฏราชวิทยาลยั , ๒๕๓๘. .________________. สมถกมั มัฏฐาน หลกั สูตรนักธรรมและธรรมศกึ ษาชั้นเอก. พิมพ์ครั้งที่ ๒๑. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวิทยาลยั , ๒๕๓๘. สานกั ค้นควา้ ทางวญิ ญาณ. วิสทุ ฺธมิ คคฺ ปกรณํ (ป โม-ทุติโย ภาโค) คัมภีร์วสิ ุทธิมรรค (ภาค ๑ - ภาค ๒). สานกั คน้ ควา้ ทางวิญญาณตรวจชาระจดั พมิ พเ์ ผยแพร่. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๙. สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ. พระไตรปฎิ ก ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในการจดั งานฉลองสิริ ราชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี พทุ ธศักราช ๒๕๔๙ มหาเถรสมาคมจัดพิมพ์. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั อมรินทร์ พรน้ิ ติ้ง แอนด์ พบั ลิชชงิ่ จากดั , ๒๕๕๑. หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๘๙ คณะกรรมการ ปรบั ปรงุ หลักสตู ร ๒๕๕๗ หลักสูตรธรรมศึกษา วิชาธรรม ชน้ั ตรี - โท - เอก ๑. พระราชวรมนุ ี (ป.ธ.๙, พธ.บ., Ph.D) หัวหนา้ คณะทางาน วัดสงั เวชวศิ ยาราม / กรุงเทพมหานคร ๒. พระราชเวที (ป.ธ.๙, พธ.บ., ศษ.บ., อ.ม.) คณะทางาน วัดพระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม / กรงุ เทพมหานคร ๓. พระศรวี ิสทุ ธาภรณ์ (ป.ธ.๙) คณะทางาน วัดบรมนิวาส / กรงุ เทพมหานคร ๔. พระอมรโมลี (ป.ธ.๙) คณะทางาน วัดปทมุ วนาราม / กรุงเทพมหานคร ๕. พระมหาเสนญิ สุ ม์ สมทสสฺ ี (ป.ธ.๙, พธ.บ., รป.ม.) คณะทางาน วดั สทุ ศั นเทพวราราม / กรงุ เทพมหานคร ๖. พระมหาอภสิ ทิ ธิ์ วิริโย (ป.ธ.๙, พธ.ม.) คณะทางานและเลขานุการ วดั สังเวชวิศยาราม / กรุงเทพมหานคร ๗. นายปญั ญา สละทองตรง (ป.ธ.๙, พ.กศ.) คณะทางาน ๘. นายวิชยั ธรรมเจรญิ (ป.ธ.๙, พ.ม.) คณะทางาน ๙. นายแกว้ ชิดตะขบ (ป.ธ.๙, พ.ม., ศษ.บ.) คณะทางาน ผู้อานวยการส่วนการศึกษาพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา กองพทุ ธศาสนศึกษา สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ หลักสูตรธรรมศึกษา วชิ าพทุ ธประวตั ิ ชน้ั ตรี - โท – เอก ๑. พระสธุ ีรัตนาภรณ์ (ป.ธ.๙, รป.ม.) หัวหนา้ คณะทางาน วดั สุทัศนเทพวราราม / กรงุ เทพมหานคร คณะทางาน คณะทางาน ๒. พระราชพิพฒั นโกศล (ป.ธ.๗, พธ.บ.) คณะทางาน วัดเศวตฉัตร / กรงุ เทพมหานคร ๓. พระปัญญารัตนากร (ป.ธ.๗, พธ.ม.) วดั สงั ข์กระจาย / กรุงเทพมหานคร ๔. พระกววี รญาณ (ป.ธ.๗, ศน.บ.) วัดศุขเกษมธรรมิการาม / อา่ งทอง หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๙๐ คณะทางาน ๕. พระอดุ มธีรคุณ (ป.ธ.๕, ศน.บ., M.A.) คณะทางาน วดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม / กรุงเทพมหานคร คณะทางานและเลขานุการ ๖. พระครโู สภณเมธาวัฒน์ (ป.ธ.๔) วัดนรนาถสนุ ทรกิ าราม / กรุงเทพมหานคร คณะทางาน คณะทางาน ๗. พระมหาสริ ิชัย สุขญาโณ (ป.ธ.๗) คณะทางาน วัดราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม / กรุงเทพมหานคร คณะทางาน ๘. นายเอนก ขาทอง (ป.ธ. ๙) ๙. นายสนั ติ ผลิผล (ป.ธ. ๙, M.A.) ๑๐. พล.ร.ต. ดร.สรุ จิต สงสกุล (ป.ธ.๘, Ph.D.) ๑๑. นายวชิ ยั ธรรมเจริญ (ป.ธ.๙, พ.ม.) หลักสูตรธรรมศกึ ษา วชิ าวนิ ัย ชน้ั ตรี - โท - เอก ๑. พระราชปัญญาภรณ์ (ป.ธ.๙, พ.ม., ศษ.บ., พธ.ม., พธ.ด.) หวั หน้าคณะทางาน วดั นางชี / กรุงเทพมหานคร คณะทางานและเลขานุการ ๒. พระวิสทุ ธธิ ีรพงศ์ (ป.ธ.๗, พธ.บ., พธ.ม.) วัดนางชี / กรุงเทพมหานคร คณะทางาน คณะทางาน ๓. ดร. พิสิฐ เจรญิ สขุ (ป.ธ.๙, อ.ม. (จฬุ าฯ), Ph.D.) คณะทางาน ๔. พ.อ. ตอ่ พรต เจนการ (ป.ธ.๙) คณะทางาน ๕. พ.อ. วิสทิ ธ์ิ วไิ ลวงศ์ (ป.ธ.๘.,พ.ม.,พธ.บ.,อม. (จฬุ าฯ)) หวั หนา้ แผนกอบรม กองอนุศาสนาจารย์ทหารบก ๖. พ.อ. เสน่ห์ เขยี วมณี (ป.ธ.๙, พธ.บ.) ช่วยราชการกองอนศุ าสนาจารย์ กรมยุทธศกึ ษาทหารบก ประจากรมยุทธศกึ ษาทหารบก หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชนั้ เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๙๑ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม

๒๙๒ หลกั สูตรธรรมศกึ ษาชน้ั เอก สนามหลวงแผนกธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook