Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนากับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา.

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนากับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:25:22

Description: มหาเถรสมาคม.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.

Search

Read the Text Version

ภาคผนวก 91

92

หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลยี่ นแปลง ส่สู ังคมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ ริต สำ�นักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๖๑ 93

หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผ้นู ำ�การเปล่ียนแปลง สู่สังคมทีไ่ ม่ทนตอ่ การทจุ ริต พมิ พ์คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ จำ�นวนพมิ พ์ ๗๔๕ เล่ม ผจู้ ัดพิมพ์ สำ�นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ พมิ พท์ ่ี ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั สาขา ๔ ๑๔๕ , ๑๔๗ ถ.เลยี่ งเมืองนนทบุรี ต.ตลาดขวัญ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙ , ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕ E-mail : [email protected] www.co-opthai.com 94

คำ�น�ำ ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ไดก้ ำ�หนดประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ สรา้ งสังคมที่ไม่ทนตอ่ การทุจรติ ประกอบดว้ ย กลยุทธท์ ่ี ๑ ปรับฐาน ความคิดทุกช่วงวยั ตั้งแต่ปฐมวยั เปน็ ต้นไปให้สามารถแยกระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม กลยทุ ธท์ ่ี ๒ สง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบและกระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมเพอื่ ตา้ นทจุ รติ กลยทุ ธท์ ่ี ๓ ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต และกลยุทธ์ท่ี ๔ เสริมพลังการมี ส่วนร่วมของชุมชน และบูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือต่อต้านการทุจริต จากกลยุทธ์ท่ี ๑ คณะกรรมการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จงึ ไดม้ คี �ำ สงั่ แตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการ จดั ท�ำ หลักสูตรหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละส่ือประกอบการเรียนรู้ด้านการป้องกนั การทจุ ริต ซ่งึ ประกอบด้วย ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นการให้การศกึ ษาและการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ข้นึ เพือ่ ศกึ ษา วิเคราะห์ และรวบรวม ขอ้ มลู กำ�หนดแนวทางและขอบเขตในการจัดท�ำ หลักสูตร ยกรา่ งและจดั ทำ�เนอื้ หาหลกั สูตรหรอื ชุดการเรียนรู้ และสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ รวมทงั้ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ เพม่ิ เตมิ ก�ำ หนดแผนหรอื แนวทางการน�ำ หลกั สตู ร ไปใชใ้ นหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง และดำ�เนนิ การอื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรดู้ า้ นการปอ้ งกนั การทุจริตได้ร่วมกันสร้างชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ประกอบด้วย ๕ หลกั สตู ร ดงั น้ี ๑. หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ) ๒. หลักสตู ร อุดมศกึ ษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with Good Heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการ กลุ่มทหารและตำ�รวจ ๔. หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพื่อการรู้คิดต้านทุจริต ชุดหลักสูตรดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการนำ�ไปทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสำ�หรับการใช้ในกลุ่มเป้าหมายต่อไป นอกจากน้ี คณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรดู้ ้านการปอ้ งกนั การทจุ รติ ยงั ไดค้ ดั เลอื กส่อื การเรียนรูจ้ ากแหลง่ ตา่ งๆ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ รวม ๕๐ ชิ้น เพอ่ื ใช้ในการ เรยี นรู้ ซง่ึ คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ เมอื่ วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โดยใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งน�ำ หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษาไปปรบั ใชใ้ นโครงการหรอื หลกั สตู รฝกึ อบรมของ ข้าราชการ บคุ ลากรของรัฐ หรอื พนักงานรัฐวสิ าหกิจท่บี รรจใุ หม่ หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ จดั ท�ำ โดยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ด้านการศกึ ษาและการฝึกอบรม ในคณะอนกุ รรมการจัดทำ�หลักสูตรหรือชดุ การเรยี นร้แู ละสอื่ ประกอบ การเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต สาระการเรียนรู้ประกอบด้วย (๑) การคิดแยกแยะระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (๒) ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต (๓) การประยุกต์ โมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต (๔) การฝกึ ปฏิบตั กิ ารเป็นวิทยากร 95

คณะกรรมการ ป.ป.ช. หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนว่ ยงานภาครฐั รฐั วสิ าหกจิ รวมถงึ หนว่ ยงานภาค เอกชน ทป่ี ระสงคจ์ ะสรา้ งวทิ ยากรดา้ นการตา้ นทจุ รติ จะน�ำ หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลง สู่สงั คมทไ่ี มท่ นต่อการทุจรติ ในชุดหลักสูตรตา้ นทุจรติ ศึกษา (Anti-Corruption Education) ไปปรบั ใช้ ในโครงการหรือหลักสูตรฝึกอบรมวิทยากรตัวคูณด้านการต้านทุจริต ขยายผลปลูกฝังวิธีคิดป้องกัน การทจุ ริตอย่างเปน็ อัตโนมัติ เพือ่ ร่วมกนั สรา้ งประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้งั ชาตติ ้านทจุ ริต พลตำ�รวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ 96

สารบญั หน้า ค�ำ น�ำ รายละเอยี ดหลักสูตร ๑ ตารางวิเคราะห์หลกั สตู ร ๓ วชิ าที่ ๑ เรอื่ ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๕ วิชาท่ี ๒ เรอ่ื ง ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต ๓๔ วชิ าที่ ๓ เรื่อง การประยกุ ตห์ ลักความพอเพียงดว้ ยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ ๖๑ วิชาที่ ๔ เรอื่ ง การฝึกปฏิบตั ิการเปน็ วิทยากร ๗๓ ภาคผนวก ก รายการสอ่ื ประกอบเนอ้ื หาวิชา ๘๓ ข แบบทดสอบ ๘๙ ค กระดาษค�ำ ตอบและเฉลย ๙๔ ง ค�ำ สง่ั คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐ เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ ๙๕ จัดทำ�หลักสูตร หรอื ชุดการเรียนรแู้ ละสอื่ ประกอบการเรยี นรดู้ า้ นการป้องกนั การทจุ รติ จ รายชื่อผูจ้ ดั ทำ�หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๙๘ 97

-- 98

หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผูน้ �ำการเปล่ยี นแปลงส่สู งั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ รติ ชอ่ื หลักสูตร สรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำการเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ รติ หลักการและเหตผุ ล ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ไดก้ �ำหนด ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ สร้างสังคมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ อนั มีกลยทุ ธว์ ่าดว้ ยเรอื่ งของการปรบั ฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบ และกระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมเพื่อต้านทุจรติ ประยุกตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นเคร่อื งมือ ต้านทุจริต เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพ่ือต่อต้านการ ทุจริต ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จึงได้จัดท�ำหลักสูตรสร้างวิทยากรผู้น�ำการเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เพ่ือน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการฝึกอบรมให้กับบุคลากรของส�ำนักงาน ป.ป.ช. และบุคลากรของหน่วยงาน ภาครัฐต่าง ๆ เพือ่ เปน็ แกนน�ำวทิ ยากรผู้น�ำการเปลีย่ นแปลง (ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การอบรมเนือ้ หา/หลกั สตู รน)้ี ในการน�ำ ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปถา่ ยทอดใหก้ บั บคุ ลากรในหนว่ ยงานนน้ั ๆ ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั เรอ่ื งการคดิ แยกแยะระหวา่ ง ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต การประยุกต์หลัก ความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ ซึง่ คดิ ค้นโดย รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธีรานุวฒั ศิริ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑) S (sufficient ความพอเพียง) 1 ๒) T (transparent ความโปร่งใส) ๓) R (realise ความตื่นรู้) ๔) O (onward มุง่ ไปข้างหน้า) ๕) N (knowledge ความร้)ู ๖) G (generosity ความเอ้อื อาทร) หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผู้น�ำ การเปล่ยี นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริต 99

วตั ถุประสงค์ ๑. เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งเกยี่ วกบั การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจริต และการฝึกปฏิบัติการเปน็ วิทยากร ๒. เพ่ือสร้างวิทยากรทม่ี ที ักษะและสามารถขยายผลองคค์ วามรู้ไปส่กู ลุ่มเปา้ หมายตา่ ง ๆ เพ่ือม่งุ สร้าง สังคมทไี่ มท่ นต่อการทจุ ริต ขอบเขตเนื้อหา วชิ าที่ ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม (๖ ช่ัวโมง) วชิ าที่ ๒ ความอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ (๓ ช่ัวโมง) วชิ าที่ ๓ การประยุกตห์ ลักความพอเพียงดว้ ยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจรติ (๓ ช่ัวโมง) วิชาที่ ๔ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเป็นวทิ ยากร (๖ ชว่ั โมง) ระยะเวลาหลกั สูตร ๓ วนั ๒ คนื กล่มุ เป้าหมาย บุคลากรของส�ำนักงาน ป.ป.ช. บุคลากรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ และภาคประชาสงั คม สื่อการเรียนรู้ Power Point วิดโี อ ภาพยนตรส์ ั้น ใบงาน หรอื สือ่ อ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม การวดั และประเมนิ ผล ๑. การทดสอบความรู้ (๖๐ คะแนน) ๒. การประเมนิ ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเปน็ วิทยากร (๔๐ คะแนน) เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ผ่านการอบรมจะต้องได้คะแนนรวมจากค่าคะแนนจากแบบทดสอบความรู้และค่าคะแนนจาก การประเมินฝึกปฏบิ ตั กิ ารเปน็ วิทยากรรวมกันอย่างนอ้ ยตงั้ แต่ ๖๐ คะแนนขน้ึ ไป 2 หลักสตู รสร้างวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสูส่ ังคมทไี่ ม่ทนต่อการทจุ รติ 100

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลีย่ นแปลงสสู่ ังคมท่ไี มท่ นต่อการทจุ รติ ที่ เรือ่ ง เนื้อหา ชว่ั โมง กระบวนการ การวัดและ ประเมนิ ผล ๑ การคิดแยกแยะ ๑.๑ สาเหตขุ องการทจุ รติ ฯ ๖ การบรรยาย สอบเน้ือหา ระหว่าง ๑.๒ ความหมายของการขดั กนั ระหว่างผลประโยชน์ การคิดวเิ คราะห์ (๒๐ คะแนน) ประโยชน์ สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม รูปแบบของการขดั กัน กรณศี ึกษา สว่ นตนและ ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม การท�ำกิจกรรม ประโยชน์ ๑.๓ กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับการขัดกันฯ กลุ่ม ส่วนรวม ๑.๔ วธิ ีคิดแบบ Analog thinking (ฐาน ๑๐)/Digital การอภิปรายกล่มุ thinking (ฐาน๒) ๑.๕ บทบาทของรฐั /เจา้ หน้าท่ีของรฐั (มาตรฐาน ทางจรยิ ธรรมของเจา้ หน้าทีข่ องรฐั ) ๑.๖ กรณีตัวอยา่ งการคิดแยกแยะระหว่างประโยชน์ ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม ๒ ความละอาย ๒.๑ การทจุ ริต ๓ การบรรยาย สอบเนือ้ หา และความ - ความหมาย/รปู แบบการทจุ รติ การคดิ วิเคราะห์ (๒๐ คะแนน) ไมท่ นตอ่ - สาเหตกุ ารเกิดการทจุ รติ กรณีศกึ ษา การทจุ ริต - สถานการณ์การทุจรติ ในประเทศไทย การท�ำ - ผลกระทบจากการทจุ รติ ต่อการพัฒนาประเทศ กิจกรรมกลุ่ม - ทิศทางการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต การอภิปรายกลมุ่ - กรณตี วั อยา่ งผลทีเ่ กดิ จากการทจุ รติ ๒.๒ ความอายตอ่ การทจุ ริต - ความเปน็ พลเมอื ง - แนวคดิ เกี่ยวกบั ความอายตอ่ การทจุ ริต ๒.๓ ความไมท่ นต่อการทจุ ริต - แนวคิดเกยี่ วกบั ความไมท่ นต่อการทุจรติ ๒.๔ ตัวอยา่ งความอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ การแสดงออกถงึ การไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ๒.๕ ลงโทษทางสังคม ๒.๖ ชอ่ งทางและวิธีการร้องเรยี นการทจุ รติ ๒.๗ มาตรการคุ้มครองช่วยเหลอื พยานและ การกันบุคคลไวเ้ ปน็ พยานโดยไมด่ �ำเนินคดี - มาตรการคมุ้ ครองช่วยเหลอื พยาน - การกนั บุคคลไวเ้ ป็นพยานโดยไมด่ �ำเนนิ คดี - กฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารการใหบ้ �ำเหนจ็ ความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และการให้ ความคุม้ ครองพยาน พ.ศ. ๒๕๕๓ หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้น�ำ การเปล่ียนแปลงสูส่ ังคมท่ไี ม่ทนตอ่ การทุจรติ 3 101

ท่ี เรือ่ ง เนอื้ หา ชว่ั โมง กระบวนการ การวัดและ ประเมนิ ผล ๓ การประยกุ ต์ ๓.๑ ต้นแบบความพอเพียง (ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) ๓ กรณโี ครงการ STRONG สอบเนอ้ื หา หลักความ ๓.๒ โมเดล STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ จติ พอเพียง (๒๐ คะแนน) พอเพียง ตา้ นทจุ ริต ด้วยโมเดล การบรรยาย STRONG : จิตพอเพียง การฝกึ ปฏบิ ัตถิ า่ ยทอดความรู้ ตามท่ีก�ำหนด ๖ - ๓ ชว่ั โมงแรก การ ต้านทจุ ริต ได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม ให้ผูเ้ ข้าร่วม ประเมิน ๔ การฝกึ ปฏบิ ัติ - ความหมายของวิทยากร ทกุ คนแบง่ กลมุ่ ฝกึ ปฏิบตั ิ การเปน็ - บทบาทและหน้าท่ีของวทิ ยากร ฝึกปฏิบตั ิการ การเป็น วทิ ยากร - คุณสมบัติของวทิ ยากรท่ีดี เปน็ วิทยากร วิทยากร - การเปน็ ผนู้ �ำเสนอทด่ี ี โดยส่มุ หัวข้อ (๔๐ คะแนน) - เทคนคิ การเตรียมตวั ท่ดี ีของวทิ ยากร วชิ าการบรรยาย จาก ๓ วิชา โดยให้วิทยากร ประเมิน - ๓ ช่ัวโมง หลัง วทิ ยากร ให้ข้อเสนอแนะ กระบวนการ หลากหลาย 4 หลกั สูตรสร้างวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ 102

วิชาที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลยี่ นแปลงสูส่ งั คมที่ไม่ทนต่อการทุจรติ วิชาที่ ๑ : เรื่อง การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม จ�ำนวนชั่วโมง : ๖ ชว่ั โมง เรอ่ื ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม สาระส�ำคัญ วชิ านเ้ี ปน็ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม กฎหมาย ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง แนวคดิ เกยี่ วกบั การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น สามารถน�ำไปถ่ายทอดได้อยา่ งถกู ต้องและน�ำไปปรบั ใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ เสริมสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ การน�ำไปใช้ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินเกี่ยวกับ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. เพ่ือสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์สว่ นรวมใหผ้ ู้เรียนน�ำไปปรบั ใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสมกับผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. สาเหตุของการทจุ ริต ๒. ความหมายของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม รูปแบบของ การขัดกนั ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๓. กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการขัดกันฯ ๔. วธิ คี ดิ แบบ Analog thinking (ฐาน ๑๐)/Digital thinking (ฐาน๒) ๕. บทบาทของรฐั /เจ้าหน้าทขี่ องรฐั (มาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ๖. กรณตี ัวอยา่ งการคิดแยกแยะระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม วิธีการฝึกอบรม การบรรยาย การคดิ วิเคราะหก์ รณีศึกษา การท�ำกจิ กรรมกลมุ่ การอภปิ รายกลมุ่ สอื่ การเรยี นรู้ Power Point วิดีโอ ภาพยนตรส์ ้ัน ใบงาน หรือส่อื อ่ืน ๆ ทเี่ หมาะสม การวัดและประเมินผล การทดสอบเนอ้ื หา (๒๐ คะแนน) หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปล่ียนแปลงสู่สงั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทจุ รติ 5 103

เนื้อหาโดยสังเขป หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผนู้ �ำการเปลย่ี นแปลงส่สู ังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริต วิชาท่ี ๑ : เรอ่ื ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม จ�ำนวนชวั่ โมง : ๖ ช่วั โมง รายละเอียดเนือ้ หา ๑. สาเหตขุ องการทุจรติ และทิศทางการปอ้ งกนั การทุจรติ ในประเทศไทย การทุจริตเป็นหน่ึงในประเด็นท่ีทั่วโลกแสดงความกังวล อันเน่ืองมาจากเป็นปัญหาท่ีมีความซับซ้อน ยากตอ่ การจดั การและเกยี่ วขอ้ งกบั ทกุ ภาคสว่ น เปน็ ทย่ี อมรบั กนั วา่ การทจุ รติ นนั้ มคี วามเปน็ สากล เพราะมกี ารทจุ รติ เกิดขึ้นในทุกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศท่ีก�ำลังพัฒนา การทุจริตเกิดข้ึนทั้งใน ภาครฐั และภาคเอกชน หรอื แมก้ ระทง่ั ในองคก์ รทไี่ มแ่ สวงหาผลก�ำไรหรอื องคก์ รเพอื่ การกศุ ล ในปจั จบุ นั การกลา่ วหา และการฟอ้ งรอ้ งคดกี ารทจุ รติ ยงั มบี ทบาทส�ำคญั ในดา้ นการเมอื งมากกวา่ ชว่ งทผี่ า่ นมา รฐั บาลในหลายประเทศ มีผลการปฏิบัติงานที่ไม่โปร่งใสเท่าท่ีควร องค์กรระดับโลกหลายองค์กรเสื่อมเสียช่ือเสียง เน่ืองมาจากเหตุผล ด้านความโปร่งใส สื่อมวลชนท่ัวทั้งโลกต่างเฝ้ารอท่ีจะได้น�ำเสนอข่าวอ้ือฉาวและการประพฤติผิดจริยธรรม ด้านการทุจริต โดยเฉพาะบุคคลซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งระดับสูงต่างถูกเฝ้าจับจ้องว่าจะถูกสอบสวนเม่ือใด อาจกล่าวได้ว่า การทุจริตเป็นหนึ่งในปัญหาใหญ่ที่จะขัดขวางการพัฒนาประเทศให้เป็นรัฐสมัยใหม่ ซ่ึงต่างเป็นที่ทราบกันดีว่า การทจุ รติ ควรเป็นประเด็นแรก ๆ ท่ีควรให้ความส�ำคัญในวาระของการพัฒนาประเทศของทกุ ประเทศ เห็นได้ชัดว่าการทุจริตส่งผลกระทบอย่างมากกับการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศ ที่ก�ำลังพัฒนา เช่นเดียวกันกับกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกก็มีความกังวลในปัญหาการทุจริตด้วย เชน่ เดยี วกนั โดยเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ การทจุ รติ เปน็ ปญั หาใหญท่ กี่ �ำลงั ขดั ขวางการพฒั นาเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คม ใหก้ า้ วไปสู่รฐั สมัยใหม่ และควรเป็นปญั หาทค่ี วรจะต้องรีบแก้ไขโดยเรว็ ท่ีสุด การทจุ รติ นน้ั อาจเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นประเทศทมี่ สี ถานการณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) มกี ฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ้ ก�ำหนด จ�ำนวนมากที่เก่ียวข้องกับการด�ำเนินการทางธุรกิจ ซึ่งจะเป็นโอกาสที่จะท�ำให้เกิดเศรษฐผล หรือมูลค่าเพิ่ม หรือก�ำไรส่วนเกินทางเศรษฐกิจ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมาตรการหรือข้อก�ำหนดดังกล่าวมีความซับซ้อน คลมุ เครอื เลือกปฏิบตั ิ เปน็ ความลับหรอื ไม่โปรง่ ใส ๒) เจ้าหนา้ ทีผ่ มู้ อี �ำนาจมีสิทธ์ขิ าดในการใชด้ ุลยพินจิ ซงึ่ ให้ อิสระในการเลือกปฏิบัติเป็นอย่างมากว่าจะเลือกใช้อ�ำนาจใด กับใครก็ได้ ๓) ไม่มีกลไกท่ีมีประสิทธิภาพหรือ องคก์ รทมี่ หี นา้ ทคี่ วบคมุ ดแู ลและจดั การตอ่ การกระท�ำใด ๆ ของเจา้ หนา้ ทท่ี ม่ี อี �ำนาจ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประเทศ ทกี่ �ำลงั พฒั นา ท�ำให้การทจุ รติ มแี นวโน้มทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ได้อย่างมาก โดยไม่ใชเ่ พยี งเพราะว่าลักษณะประชากรน้นั แตกต่างจากภูมิภาคอ่ืนที่พัฒนาแล้ว หากแต่เป็นเพราะกลุ่มประเทศที่ก�ำลังพัฒนาน้ันมีปัจจัยภายในต่าง ๆ ที่เอ้ือหรือสนับสนุนต่อการเกิดการทุจริต อาทิ ๑) แรงขับเคล่ือนที่อยากมีรายได้ เป็นจ�ำนวนมากอันเป็นผล เน่อื งมาจากความจน ค่าแรงในอตั ราทต่ี ำ่� หรือมสี ภาวะความเสีย่ งสงู ในด้านตา่ ง ๆ เช่น ความเจบ็ ป่วย อุบตั ิเหตุ หรอื การวา่ งงาน ๒) มสี ถานการณห์ รอื โอกาสทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ การทจุ รติ ไดเ้ ปน็ จ�ำนวนมาก และมกี ฎระเบยี บตา่ ง ๆ ทอ่ี าจน�ำไปสูก่ ารทจุ รติ ๓) การออกกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทไี่ มเ่ ข้มแขง็ ๔) กฎหมายและประมวล 6 หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริต 104

จริยธรรมไม่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัย ๕) ประชากรในประเทศยังคงจ�ำเป็นต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ อยู่เป็นจ�ำนวนมาก ๖) ความไม่มเี สถยี รภาพทางการเมอื ง และเจตจ�ำนงทางการเมืองทไี่ ม่เขม้ แข็ง ปัจจยั ต่าง ๆ ดงั กลา่ ว จะน�ำไปสกู่ ารทจุ รติ ไมว่ า่ จะเปน็ ทจุ รติ ระดบั บนหรอื ระดบั ลา่ งกต็ าม ซงึ่ ผลทตี่ ามมาอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เจน มดี ้วยกันหลายประการ เช่น การทุจรติ ท�ำใหภ้ าพลักษณข์ องประเทศด้านความโปร่งใสนัน้ เลวรา้ ยลง การลงทุน ในประเทศโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ จากนกั ลงทนุ ตา่ งชาตลิ ดนอ้ ยลง สง่ ผลกระทบท�ำใหก้ ารเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ลดนอ้ ย ลงไปดว้ ยเชน่ กนั หรอื การทจุ รติ ท�ำใหเ้ กดิ ชอ่ งว่างของความไมเ่ ท่าเทยี มทก่ี ว้างขน้ึ ของประชากรในประเทศหรอื อกี นยั หนงึ่ คอื ระดบั ความจนนน้ั เพมิ่ สงู ขนึ้ ในขณะทกี่ ลมุ่ คนรวยกระจกุ ตวั อยเู่ พยี งกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ เดยี ว นอกจากนี้ การทุจริตยังท�ำให้การสร้างและปรับปรุงสาธารณูปโภคต่าง ๆ ของประเทศน้ันลดลงท้ังในด้านปริมาณและ คณุ ภาพ รวมทง้ั ยงั อาจน�ำพาประเทศไปสวู่ กิ ฤติทางการเงินที่ร้ายแรงได้อีกดว้ ย การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) จึงเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างมาก ต่อการด�ำเนินงานด้านการ ต่อต้านการทุจริต ตามค�ำปราศรัยของประธานท่ีได้กล่าวต่อท่ีประชุมองค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก สหรฐั อเมรกิ า เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่า “การทุจริตเปน็ หน่งึ ในความทา้ ทายที่มีความส�ำคญั มากในศตวรรษที่ ๒๑ ผนู้ �ำโลกควรจะเพมิ่ ความพยายามขน้ึ เปน็ สองเทา่ ทจ่ี ะสรา้ งเครอื่ งมอื ทมี่ คี วามเขม้ แขง็ เพอื่ รอื้ ระบบการ ทจุ ริตท่ีซ่อนอยู่ออกใหห้ มดและน�ำทรัพย์สนิ กลบั คนื ใหก้ ับประเทศ ตน้ ทางทีถ่ ูกขโมยไป…” ท้ังนี้ ไม่เพยี งแต่ ผนู้ �ำโลกเทา่ นน้ั ทต่ี อ้ งจรงิ จงั มากขน้ึ กบั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เราทกุ คนในฐานะประชากรโลกกม็ คี วามจ�ำเปน็ ทจี่ ะ ต้องเอาจริงเอาจังกับการต่อต้านการทุจริตเช่นเดียวกัน โดยทั่วไปอาจมองว่าเป็นเร่ืองไกลตัว แต่แท้ท่ีจริงแล้ว การทุจริตนั้นเป็นเร่ืองใกล้ตัวทุกคนในสังคมมาก การเปล่ียนแปลงระบบวิธีการคิดเป็นเรื่องส�ำคัญ หรือความ สามารถในการการแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนออกจากประโยชน์ส่วนรวม เป็นส่ิงจ�ำเป็นท่ีจะต้อง เกดิ ขน้ึ กบั ทกุ คนในสงั คม ตอ้ งมคี วามตระหนกั ไดว้ า่ การกระท�ำใดเปน็ การลว่ งลำ้� สาธารณประโยชน์ การกระท�ำใด เปน็ การกระท�ำทอ่ี าจเกดิ การทบั ซอ้ นระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม ตอ้ งค�ำนงึ ถงึ ประโยชน์ ของประเทศชาตเิ ป็นอนั ดับแรกกอ่ นทจี่ ะค�ำนึงถงึ ผลประโยชน์สว่ นตนหรือพวกพอ้ ง การทุจริตในสังคมไทยระหว่างช่วงกว่าทศวรรษท่ีผ่านมาส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาลและเป็น อุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมท่ีเป็นการทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อน อาทิ การรับสินบน การจัดซื้อจัดจ้าง ในปัจจุบันได้ปรับเปล่ียนเป็นการทุจริตท่ีซับซ้อนมากขึ้น ตัวอย่างเช่น การทจุ รติ โดยการท�ำลายระบบการตรวจสอบการใชอ้ �ำนาจรฐั การกระท�ำทเ่ี ปน็ การขดั กนั แหง่ ผลประโยชนห์ รอื ผลประโยชน์ทับซ้อน และการทุจริตเชิงนโยบาย ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้ร่วมกันสร้างเคร่ืองมือ กลไก และก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เร่ิมต้ังแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถงึ ปจั จบุ นั การด�ำเนนิ งานไดส้ ร้างความตนื่ ตวั และเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริตตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องปรับฐานความคิดและสร้าง ความตระหนกั รใู้ หท้ กุ ภาคส่วนของสงั คม ส�ำหรับประเทศไทยได้ก�ำหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตซึ่งมีความสอดคล้องกับ สถานการณท์ างการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และความรนุ แรง รวมถงึ การสร้างความตระหนักในการ ประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริตของคนในสังคม ทั้งนี้ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในฐานะองค์กรหลักด้าน หลักสตู รสร้างวิทยากรผู้น�ำ การเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมทีไ่ ม่ทนต่อการทจุ ริต 7 105

การด�ำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต และเป็นองค์กรท่ีต้องบูรณาการการท�ำงานด้านการต่อต้าน การทุจรติ เขา้ กับทกุ ภาคสว่ น ดงั น้นั สาระส�ำคญั ท่มี ีความเช่อื มโยงกับทศิ ทางการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ มีดงั นี้ ๑. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ๒. วาระการปฏริ ปู ที่ ๑ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ ๓. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ๔. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๕. โมเดลประเทศไทยสคู่ วามม่ันคง มัง่ คัง่ และยั่งยนื (Thailand ๔.๐) ๖. ยทุ ธศาสตรช์ าติวา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๑. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดในหมวดท่ี ๔ หนา้ ทขี่ องประชาชน ชาวไทยว่า“...บุคคลมีหน้าที่ ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่า เปน็ ครง้ั แรกทรี่ ฐั ธรรมนญู ไดก้ �ำหนดใหก้ ารปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ เปน็ หนา้ ทข่ี องประชาชนชาวไทยทกุ คน นอกจากนี้ ยงั ก�ำหนดชดั เจนในหมวดท่ี ๕ หนา้ ทขี่ องรฐั วา่ “รฐั ตอ้ งสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน ถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไก ที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนรวมตวั กนั เพอื่ มสี ว่ นรว่ มในการรณรงคใ์ หค้ วามรู้ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ หรอื ชเี้ บาะแส โดยไดร้ บั ความคุ้มครองจากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญัติ” ในการบริหารราชการแผ่นดินรัฐต้องเสริมสร้างให้ประชาชน ไดร้ บั บรกิ ารทส่ี ะดวก มปี ระสทิ ธภิ าพทสี่ �ำคญั คอื ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ติ ามหลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี ซง่ึ การ บรหิ ารงานบคุ คลของหนว่ ยงานของรฐั ตอ้ งเปน็ ไปตามระบบคณุ ธรรมตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ โดยอยา่ งนอ้ ยตอ้ ง มมี าตรการปอ้ งกนั มใิ หผ้ ใู้ ดใชอ้ �ำนาจหรอื กระท�ำการโดยมชิ อบแทรกแซงการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี หรอื กระบวนการแตง่ ตง้ั หรอื การพจิ ารณาความดคี วามชอบของเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั และรฐั ตอ้ งจดั ใหม้ มี าตรฐานทางจรยิ ธรรม เพอื่ ใหห้ นว่ ย งานใช้เป็นหลักในการก�ำหนดประมวลจริยธรรมส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน ซึ่งต้องไม่ต่�ำกว่ามาตรฐานทาง จริยธรรมดังกล่าว การท่ีรัฐธรรมนูญได้ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารราชการท่ีมีประสิทธิภาพและการบริหาร บุคคลท่ีมีคุณธรรมนั้น สืบเน่ืองมาจากช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาได้เกิดปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารบุคคล มีการโยกย้ายแต่งตั้งที่ไม่เป็นธรรม บังคับหรือชี้น�ำให้ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดม่ัน ในหลกั ผลประโยชนแ์ หง่ รฐั รวมถงึ การมงุ่ เนน้ การแสวงหาผลประโยชนใ์ หก้ บั ตนเองรวมถงึ พวกพอ้ ง รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงได้มีความพยายามที่จะแสดงให้เห็นอย่างชดั เจนวา่ ตอ้ งการสรา้ ง ประสทิ ธภิ าพในระบบการบรหิ ารงานราชการแผน่ ดนิ และเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งยดึ มน่ั ในหลกั ธรรมาภบิ าล และ มีคุณธรรมจรยิ ธรรมตามทก่ี �ำหนดเอาไว้ ๒. วาระการปฏริ ปู ที่ ๑ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตใิ นฐานะองคก์ รทมี่ บี ทบาทและอ�ำนาจหนา้ ทใ่ี นการปฏริ ปู กลไก และปฏบิ ตั งิ านดา้ นการบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ ไดม้ ขี อ้ เสนอเพอ่ื ปฏริ ปู ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ เพอ่ื แกไ้ ข ปญั หาดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ ระบบ มปี ระสทิ ธภิ าพ ยง่ั ยนื เปน็ รปู ธรรมปฏบิ ตั ไิ ด้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานสากลและบรบิ ท ของสงั คมไทย โดยเสนอใหม้ ยี ทุ ธศาสตรก์ ารแกไ้ ขปญั หา ๓ ยทุ ธศาสตร์ ประกอบดว้ ย (๑) ยทุ ธศาสตรก์ ารปลกู ฝงั “คนไทย ไมโ่ กง”เพอ่ื ปฏริ ปู คนใหม้ จี ติ ส�ำนกึ สรา้ งจติ ส�ำนกึ ทต่ี วั บคุ คลรบั ผดิ ชอบชวั่ ดี อะไรควรท�ำ อะไรไมค่ วรท�ำ 8 หลกั สูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงสูส่ งั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทุจริต 106

มองว่าการทุจริตเป็นเรื่องน่ารังเกียจเป็นการเอาเปรียบสังคมและสังคมไม่ยอมรับ (๒) ยุทธศาสตร์การป้องกัน ด้วยการเสริมสร้างสังคมธรรมาภิบาล เพ่ือเป็นระบบป้องกันการทุจริต เสมือนการสร้างระบบภูมิต้านทานแก่ ทกุ ภาคสว่ นในสังคม (๓) ยทุ ธศาสตรก์ ารปราบปราม เพือ่ ปฏริ ปู ระบบและกระบวนการจดั การต่อกรณกี ารทจุ รติ ให้มีประสิทธิภาพ ให้สามารถเอาตัวผู้กระท�ำความผิดมาลงโทษได้ ซึ่งจะท�ำให้เกิดความเกรงกลัวไม่กล้าที่จะ กระท�ำการทจุ ริตขน้ึ อกี ในอนาคต ๓. ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) สภาขับเคลื่อนการปฏริ ูปประเทศได้ก�ำหนดให้ กฎหมายวา่ ดว้ ยยทุ ธศาสตรช์ าตมิ ผี ลบงั คบั ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ หรอื ภายในรฐั บาลน้ี และก�ำหนดใหห้ นว่ ยงาน ของรัฐทุกหนว่ ยงานน�ำยุทธศาสตรช์ าติ ยุทธศาสตรด์ ้านตา่ ง ๆ แผนพัฒนาดา้ นต่าง ๆ มาเป็นแผนแม่บทหลัก ในการก�ำหนดแผนปฏบิ ตั กิ ารและแผนงบประมาณ ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ งั กลา่ วเปน็ ยทุ ธศาสตรท์ ย่ี ดึ วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั แหง่ ชาตเิ ปน็ แมบ่ ทหลกั ทศิ ทางดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ การสรา้ งความโปรง่ ใสและธรรมาภบิ าล ในการบริหารราชการแผ่นดิน ของหนว่ ยงานภาครัฐทุกหนว่ ยงานจะถูกก�ำหนดจากยุทธศาสตร์ชาติฯ สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ วางกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะ ๒๐ ปี โดยมีกรอบวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมนั่ คง มัง่ ค่งั ย่ังยืน เป็นประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” คติพจนป์ ระจ�ำชาติว่า “มนั่ คง มั่งค่ัง ย่ังยนื ” ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ คือ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ความมั่นคง ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การพฒั นาและเสรมิ สร้าง ศกั ยภาพคน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การสรา้ ง การเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ การปรบั สมดลุ และพฒั นา การบรหิ าร จดั การภาครฐั ในยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ ได้ก�ำหนดกรอบแนวทางทส่ี �ำคญั ๖ แนวทาง ประกอบดว้ ย (๑) การปรับปรงุ การบริหารจัดการรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครัฐ (๒) การพัฒนาระบบ การให้บริการประชาชนของหนว่ ยงาน ภาครฐั (๓) การปรบั ปรงุ บทบาท ภารกจิ และโครงสรา้ งของหนว่ ยงานภาครฐั ใหม้ ขี นาดทเี่ หมาะสม (๔) การวาง ระบบบรหิ ารงานราชการแบบบรู ณาการ (๕) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การก�ำลงั คนและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั ในการปฏบิ ัติราชการ (๖) การตอ่ ตา้ นการทุจรติ และประพฤติมิชอบ (๗) การปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั ใหม้ คี วามชดั เจน ทนั สมยั เปน็ ธรรม และสอดคลอ้ งกบั ขอ้ บงั คบั สากลหรอื ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ ตลอดจนพัฒนาหนว่ ยงานภาครัฐและบุคลากรทมี่ ีหน้าที่เสนอความเหน็ ทางกฎหมายใหม้ ศี กั ยภาพ ๔. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ก�ำหนดในยทุ ธศาสตร์ ที่ ๖ การบริหารจัดการภาครัฐ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ในยุทธศาสตร์นี้ ได้ก�ำหนดกรอบ แนวทางการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและคอร์รัปชัน มุ่งเน้น การสง่ เสรมิ และพฒั นาปลกู ฝงั คา่ นยิ ม วฒั นธรรม วธิ คี ดิ และกระบวนทศั นใ์ หค้ นมคี วามตระหนกั มคี วามรเู้ ทา่ ทนั และมีภูมิต้านทาน ต่อโอกาสและการชักจูงให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชันและมีพฤติกรรมไม่ยอมรับการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบ รวมทงั้ สนบั สนนุ ทกุ ภาคสว่ น ในสงั คมไดเ้ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั และปราบรามการทจุ รติ และมุ่งเน้นให้เกิดการส่งเสริมธรรมาภิบาลในภาคเอกชน เพ่ือเป็นการตัดวงจรการทุจริตระหว่างนักการเมือง ขา้ ราชการ และนักธุรกิจออกจากกนั ทง้ั นี้ การบริหารงานของสว่ นราชการต้องมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ๕. โมเดลประเทศไทยสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน (Thailand ๔.๐) เป็นโมเดลท่ีน้อมน�ำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น ๒ ยุทธศาสตร์ ส�ำคญั คือ (๑) การสร้างความเขม้ แข็งจากภายใน (Strength from Within) และ (๒) การเชื่อมโยงกับประชาคม หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทุจริต 9 107

โลกในยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแขง็ จากภายใน Thailand ๔.๐ เน้นการปรบั เปลย่ี น ๔ ทิศทาง และเน้น การพัฒนาที่สมดลุ ใน ๔ มิติ มิติทีห่ ยิบยก คือ การยกระดับศกั ยภาพและคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom) ด้วยการพฒั นาคนไทยใหเ้ ป็น “มนษุ ย์ทีส่ มบูรณ์” ผ่านการปรับเปลีย่ นระบบนเิ วศน์ การเรยี นรเู้ พื่อเสริมสรา้ ง แรงบนั ดาลใจบม่ เพาะความคดิ สรา้ งสรรค์ ปลกู ฝงั จติ สาธารณะ ยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ ทตี่ ง้ั มคี วามซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มีวนิ ัย มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามรับผดิ ชอบ เน้นการสรา้ งคุณคา่ ร่วม และค่านิยมทดี่ ี คอื สังคมท่มี ีความหวงั (Hope) สังคมทีเ่ ป่ยี มสุข (Happiness) และสังคมที่มคี วามสมานฉันท์ (Harmony) ๖. ยุทธศาสตรช์ าตวิ ่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ทก่ี �ำหนดวิสัยทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทัง้ ชาติต้านทุจรติ ” (Zero Tolerance & Clean Thailand) ก�ำหนดยุทธศาสตร์หลกั ออกเปน็ ๖ ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ทสี่ �ำคัญ คือ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ สรา้ งสังคมท่ไี ม่ทน ตอ่ การทจุ ริต เปน็ ยทุ ธศาสตร์ที่มุง่ เน้นการกระบวนการปรับสภาพทางสงั คมใหเ้ กิดภาวะ “ไม่ทนตอ่ การทุจรติ ” โดยเรม่ิ ต้งั แต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม สร้างวฒั นธรรมตอ่ ต้านการทจุ รติ ปลกู ฝังความพอเพียง มวี นิ ัย ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ มจี ิตสาธารณะ จิตอาสา และความเสียสละเพอ่ื ส่วนรวม ปลูกฝงั ความคดิ แบบดจิ ิทลั (Digital Thinking) ให้สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และประยุกต์หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครอื่ งมือต้านทุจริต สาระส�ำคญั ทงั้ ๖ ดา้ นดงั กลา่ ว จงึ เปน็ เครอื่ งมอื ชนี้ �ำทศิ ทางการปฏบิ ตั งิ านและการบรู ณาการดา้ นตอ่ ตา้ น การทุจริตของประเทศ โดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการงานของภาคส่วนต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั และเพอ่ื ใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดยี วกนั ๒. ทฤษฎี ความหมาย และรปู แบบของการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม (Conflict of Interests) ค�ำว่า Conflict of Interests มีผู้ให้ค�ำแปลเป็นภาษาไทยไว้หลากหลาย เช่น “การขัดกันแห่ง ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม” หรอื “การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม” หรือ “การขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชน์ส่วนตน” หรือ “ประโยชน์ทับซ้อน” หรือ “ผลประโยชน์ทับซ้อน” หรือ “ผลประโยชน์ขัดกัน” หรือบางท่านแปลว่า “ผลประโยชน์ขัดแย้ง” หรือ “ความขดั แย้งทางผลประโยชน”์ การขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม หรือท่ีเรยี กว่า Conflict of Interests น้นั ก็มีลักษณะท�ำนองเดียวกันกับกฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หลักคุณธรรมจริยธรรม กล่าวคือ การกระท�ำใด ๆ ทเ่ี ปน็ การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ สงิ่ ทคี่ วรหลกี เลย่ี งไมค่ วรจะ กระท�ำ แตบ่ คุ คลแตล่ ะคน แต่ละกล่มุ แต่ละสงั คม อาจเห็นว่าเรือ่ งใดเปน็ การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตน และประโยชน์ส่วนรวมแตกต่างกันไป หรือเม่ือเห็นว่าเป็นการขัดกันแล้วยังอาจมีระดับของความหนักเบา แตกตา่ งกนั อาจเหน็ แตกตา่ งกนั วา่ เรอื่ งใดกระท�ำไดก้ ระท�ำไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งกนั ออกไปอกี และในกรณที ม่ี กี ารฝา่ ฝนื บางเรอื่ งบางคนอาจเห็นวา่ ไม่เปน็ ไร เป็นเร่อื งเลก็ น้อย หรอื อาจเห็นเป็นเรื่องใหญ่ ตอ้ งถกู ประณาม ต�ำหนิ ติฉนิ นินทา วา่ กลา่ ว ฯลฯ แตกตา่ งกันตามสภาพของสงั คม 10 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผ้นู ำ�การเปลยี่ นแปลงสสู่ งั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทุจริต 108

โดยพน้ื ฐานแลว้ เรอ่ื งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ กฎศลี ธรรมประเภท หนงึ่ ทบ่ี คุ คลไมพ่ ึงละเมดิ หรอื ฝ่าฝนื แต่เนอื่ งจากมีการฝา่ ฝืนกนั มากข้ึน และบคุ คลผ้ฝู ่าฝนื กไ็ มม่ คี วามเกรงกลัว หรือละอายต่อการฝ่าฝืนนั้น สังคมก็ไม่ลงโทษหรือลงโทษไม่เพียงพอที่จะมีผลเป็นการห้ามการกระท�ำดังกล่าว และในทสี่ ดุ เพอ่ื หยดุ ยงั้ เรอื่ งดงั กลา่ วน้ี จงึ มกี ารตรากฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การขดั กนั แหง่ ผลประโยชนม์ ากขนึ้ ๆ และเป็นเร่ืองทส่ี งั คมใหค้ วามสนใจมากขึ้นตามล�ำดบั คู่มือการปฏิบัติส�ำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพ่ือมิให้ด�ำเนินกิจการท่ีเป็นการขัดกันประโยชนส่วนตนและ ประโยชนส์ ่วนรวม ไดใ้ หค้ วามหมายไว้ ดงั น้ี “ประโยชน์ส่วนตน (Private Interests) คือ การที่บุคคลทั่วไปในสถานะเอกชนหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ในสถานะเอกชนไดท้ �ำกจิ กรรมหรอื ไดก้ ระท�ำการตา่ ง ๆ เพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน ครอบครวั เครอื ญาติ พวกพอ้ ง หรอื ของกลุ่มในสงั คมทีม่ คี วามสมั พันธ์กนั ในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ การประกอบอาชพี การท�ำธรุ กิจ การค้า การลงทนุ เพอื่ หาประโยชน์ในทางการเงินหรอื ในทางธุรกิจ เป็นตน้ ” “ประโยชนส์ ่วนรวมหรอื ประโยชนส์ าธารณะ (Public Interests) คอื การทบี่ ุคคลใด ๆ ในสถานะทเ่ี ป็น เจ้าหน้าท่ีของรัฐ (ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐใน หนว่ ยงานของรฐั ) ไดก้ ระท�ำการใด ๆ ตามหนา้ ทหี่ รอื ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี นั เปน็ การด�ำเนนิ การในอกี สว่ นหนง่ึ ทแี่ ยก ออกมาจากการด�ำเนนิ การตามหนา้ ทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระท�ำการใด ๆ ตามหนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จึงมีวัตถุประสงค์หรือมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม หรือการรักษาประโยชน์ส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ ของรัฐการท�ำหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐจึงมีความเก่ียวเน่ืองเช่ือมโยงกับอ�ำนาจหน้าที่ตามกฎหมายและจะมี รูปแบบของความสัมพันธ์หรือมีการกระท�ำในลักษณะต่าง ๆ กันท่ีเหมือนหรือคล้ายกับการกระท�ำของบุคคล ในสถานะเอกชน เพียงแต่การกระท�ำในสถานะท่ีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐกับการกระท�ำในสถานะเอกชนจะมี ความแตกต่างกันทีว่ ัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายหรือประโยชนส์ ดุ ท้ายทแี่ ตกต่างกัน” “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of Interests) คอื การท่เี จา้ หนา้ ทีข่ องรัฐกระท�ำการใด ๆ หรอื ด�ำเนนิ การในกิจการสาธารณะท่เี ปน็ การด�ำเนนิ การ ตามอ�ำนาจหนา้ ทห่ี รอื ความรบั ผดิ ชอบในกจิ การของรฐั หรอื องคก์ รของรฐั เพอื่ ประโยชนข์ องรฐั หรอื เพอ่ื ประโยชน์ ของสว่ นรวม แตเ่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไดม้ ผี ลประโยชนส์ ว่ นตนเขา้ ไปแอบแฝง หรอื เปน็ ผทู้ ม่ี สี ว่ นไดเ้ สยี ในรปู แบบตา่ ง ๆ หรือน�ำประโยชน์ส่วนตนหรือความสัมพันธ์ส่วนตนเข้ามามีอิทธิพลหรือเก่ียวข้องในการใช้อ�ำนาจหน้าท่ีหรือ ดุลยพินิจในการพิจารณาตัดสินใจในการกระท�ำการใด ๆ หรือด�ำเนินการดังกล่าวน้ัน เพ่ือแสวงหาประโยชน์ ในการทางเงินหรอื ประโยชน์อืน่ ๆ ส�ำหรับตนเองหรือบุคคลใดบุคคลหนึง่ ” ความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม” “จริยธรรม” และ “การทุจรติ “จรยิ ธรรม” เปน็ กรอบใหญท่ างสงั คมทเี่ ปน็ พน้ื ฐานของแนวคดิ เกย่ี วกบั การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตน และประโยชนส์ ว่ นรวมและการทจุ รติ การกระท�ำใดทผ่ี ดิ ตอ่ กฎหมายวา่ ดว้ ยการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตน และประโยชนส์ ่วนรวมและการทุจริต ย่อมเป็นความผิดจรยิ ธรรมด้วย หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผ้นู �ำ การเปล่ียนแปลงส่สู ังคมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ รติ 11 109

แตต่ รงกันข้าม การกระท�ำใดทฝ่ี า่ ฝนื จรยิ ธรรม อาจไมเ่ ป็นความผิดเกยี่ วกบั การขัดกนั ระหว่างประโยชน์ ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมและการทจุ รติ เช่น มพี ฤติกรรมส่วนตวั ไมเ่ หมาะสม มพี ฤติกรรมชู้สาว เป็นตน้ การทุจรติ Corruption ผลประโยชน์ทับซอ้ น Conflict of Interests จริยธรรม Ethics “จริยธรรม” เปน็ หลกั ส�ำคัญในการควบคมุ พฤตกิ รรมของเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั เปรียบเสมอื นโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ที่เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งยึดถือปฏบิ ตั ิ “การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม” เป็นพฤติกรรมท่ีอยู่ระหว่างจริยธรรมกับการทุจริต ทจี่ ะก่อใหเ้ กิดผลประโยชนส์ ่วนตนกระทบตอ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม ซงึ่ พฤติกรรมบางประเภทมกี ารบัญญตั ิ เป็นความผดิ ทางกฎหมายมีบทลงโทษชัดเจน แตพ่ ฤติกรรมบางประเภทยงั ไมม่ กี ารบญั ญัติข้อห้ามไว้ในกฎหมาย “การทุจรติ ” เป็นพฤติกรรมทฝ่ี า่ ฝืนกฎหมายโดยตรง ถือเป็นความผดิ อย่างชัดเจน สงั คมส่วนใหญจ่ ะมกี าร บัญญตั กิ ฎหมายออกมารองรบั มบี ทลงโทษชัดเจน ถอื เป็นความผดิ ขั้นรุนแรงท่ีสุดทีเ่ จ้าหน้าท่ีของรฐั ตอ้ ง ไมป่ ฏิบตั ิ “เจ้าหนา้ ท่ีของรฐั ท่ขี าดจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ โดยเขา้ ไปกระท�ำการใดๆ ทีเ่ ปน็ การขดั กันระหวา่ ง ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม ถอื ว่าเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ผ้นู ้นั ขาดความชอบธรรมในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี และจะเปน็ ต้นเหตุของการทุจริตต่อไป” รูปแบบของการขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมมไี ดห้ ลายรปู แบบไมจ่ �ำกดั อยเู่ ฉพาะในรปู แบบ ของตวั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ เทา่ นน้ั แตร่ วมถงึ ผลประโยชนอ์ น่ื ๆ ทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นรปู แบบของตวั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ดว้ ย ทัง้ นี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จ�ำแนกรูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชน์สว่ นตน และประโยชน์ส่วนรวม ออกเปน็ ๗ รูปแบบ คือ 12 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ ำ�การเปลย่ี นแปลงสสู่ ังคมทีไ่ มท่ นต่อการทจุ ริต 110

๑) การรบั ผลประโยชนต์ ่าง ๆ (Accepting benefits) ซึง่ ผลประโยชน์ต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ทรัพย์สิน ของขวญั การลดราคา การรบั ความบนั เทงิ การรบั บรกิ าร การรบั การฝกึ อบรม หรอื สง่ิ อน่ื ใดในลกั ษณะเดยี วกนั น้ี และผลจากการรับผลประโยชน์ต่าง ๆ น้ัน ได้ส่งผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการด�ำเนินการ ตามอ�ำนาจหน้าท่ี ๒) การท�ำธุรกิจกับตนเอง (Self-dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) เป็นการที่เจ้าหน้าท่ี ของรฐั โดยเฉพาะผมู้ อี �ำนาจในการตดั สนิ ใจเขา้ ไปมสี ว่ นไดเ้ สยี ในสญั ญาทที่ �ำกบั หนว่ ยงานทต่ี นสงั กดั โดยอาจจะ เปน็ เจ้าของบรษิ ทั ทที่ �ำสญั ญาเอง หรอื เปน็ ของเครอื ญาติ สถานการณเ์ ชน่ นเ้ี กดิ บทบาททข่ี ดั แยง้ หรอื เรยี กไดว้ ่า เป็นทงั้ ผูซ้ ื้อและผูข้ ายในเวลาเดียวกนั ๓) การท�ำงานหลงั จากออกจากต�ำแหน่งหน้าท่สี าธารณะหรือหลังเกษียณ (Post-employment) เป็นการท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐลาออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปท�ำงานในบริษัทเอกชนที่ด�ำเนินธุรกิจประเภท เดยี วกนั หรอื บรษิ ทั ทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั หนว่ ยงานเดมิ โดยใชอ้ ทิ ธพิ ลหรอื ความสมั พนั ธจ์ ากทเ่ี คยด�ำรงต�ำแหนง่ ในหน่วยงานเดิมนน้ั หาประโยชนจ์ ากหน่วยงานให้กบั บรษิ ทั และตนเอง ๔) การท�ำงานพเิ ศษ (Outside employment or Moonlighting) ในรปู แบบนี้มไี ด้หลายลกั ษณะ ไม่ว่าจะเป็นการที่เจ้าหน้าทีข่ องรัฐต้งั บริษัทด�ำเนนิ ธรุ กิจ ทเ่ี ปน็ การแขง่ ขันกบั หนว่ ยงานหรอื องคก์ ารสาธารณะ ท่ีตนสังกัด หรือการรับจ้างพิเศษเป็นท่ีปรึกษาโครงการ โดยอาศัยต�ำแหน่งในราชการสร้างความน่าเช่ือถือว่า โครงการของผูว้ า่ จา้ งจะไม่มีปัญหาตดิ ขดั ในการพจิ ารณาจากหน่วยงานที่ท่ีปรึกษาสังกัดอยู่ ๕) การรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) เป็นสถานการณ์ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ประโยชน์จาก การทีต่ นเองรับรู้ขอ้ มูลภายในหน่วยงาน และน�ำข้อมูลนนั้ ไปหาผลประโยชนใ์ หก้ ับตนเองหรอื พวกพอ้ ง อาจจะ ไปหาประโยชน์โดยการขายข้อมูลหรือเขา้ เอาประโยชน์เสียเอง ๖) การใช้ทรัพย์สนิ ของราชการเพือ่ ประโยชนธ์ รุ กจิ ส่วนตวั (Using your employer’s property for private advantage) เปน็ การทีเ่ จา้ หน้าท่ีของรฐั น�ำเอาทรพั ยส์ นิ ของราชการซ่งึ จะต้องใช้เพื่อประโยชน์ ของทางราชการเทา่ นน้ั ไปใชเ้ พอื่ ประโยชนข์ องตนเองหรอื พวกพอ้ ง หรอื การใชใ้ หผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาไปท�ำงานสว่ นตวั ๗) การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตง้ั เพอ่ื ประโยชนท์ างการเมอื ง (Pork-barreling) เปน็ การ ที่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูงอนุมัติโครงการไปลงพ้ืนที่หรือบ้านเกิดของตนเอง หรือ การใช้งบประมาณสาธารณะเพ่อื หาเสยี ง ทง้ั น้ี เมอื่ พจิ ารณา “รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยความผดิ เกยี่ วกบั การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตน กับประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. ....” ท�ำให้มีรูปแบบเพ่มิ เตมิ จาก ทีก่ ล่าวมาแลว้ ขา้ งต้นอกี ๒ กรณี คอื ๘) การใช้ต�ำแหน่งหน้าที่แสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรืออาจจะ เรียกว่าระบบอุปถัมภ์พิเศษ เป็นการท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อ�ำนาจหน้าที่ท�ำให้หน่วยงานของตน เขา้ ท�ำสัญญากับบริษทั ของพน่ี ้องของตน ๙) การใชอ้ ทิ ธพิ ลเขา้ ไปมผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั หรอื หนว่ ยงานของรฐั อน่ื (Influence) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเองหรอื พวกพอ้ ง โดยเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ใชต้ �ำแหนง่ หนา้ ทขี่ ม่ ขผู่ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาใหห้ ยดุ ท�ำการตรวจสอบบรษิ ทั ของเครอื ญาติของตน หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้น�ำ การเปล่ยี นแปลงส่สู งั คมทไ่ี มท่ นต่อการทุจรติ 13 111

ตวั อย่างการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนกับประโยชนส์ ว่ นรวมในรปู แบบตา่ ง ๆ ๑. การรบั ผลประโยชนต์ า่ ง ๆ ๑.๑ นายสจุ รติ ขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญ่ ไดเ้ ดนิ ทางไปปฏบิ ตั ริ าชการในพนื้ ทจี่ งั หวดั ราชบรุ ี ซง่ึ ในวนั ดงั กลา่ ว นายรวย นายก อบต. แห่งหน่งึ ได้มอบงาช้างจ�ำนวนหนึง่ คใู่ หแ้ ก่ นายสจุ ริต เพ่ือเป็นของทีร่ ะลึก ๑.๒ การทเ่ี จ้าหนา้ ทีข่ องรฐั รบั ของขวญั จากผู้บรหิ ารของบริษัทเอกชน เพอ่ื ชว่ ยให้บริษัทเอกชนรายนนั้ ชนะการประมลู รบั งานโครงการขนาดใหญข่ องรฐั ๑.๓ การท่ีบริษัทแห่งหนึ่งให้ของขวัญเป็นทองค�ำมูลค่ามากกว่า ๑๐ บาท แก่เจ้าหน้าที่ในปีท่ีผ่านมา และปนี เ้ี จ้าหน้าท่ีเร่งรัดคืนภาษีให้กบั บรษิ ทั นน้ั เป็นกรณพี เิ ศษ โดยลดั ควิ ให้กอ่ นบริษัทอ่ืน ๆ เพราะคาดว่าจะ ไดร้ ับของขวัญอกี ๑.๔ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจและได้รับความ บันเทิงในรูปแบบต่าง ๆ จากบริษัทเหล่านั้น ซึ่งมีผลต่อการให้ค�ำวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะท่ีเป็นธรรมหรือ เปน็ ไปในลกั ษณะทเ่ี ออ้ื ประโยชน์ ตอ่ บรษิ ทั ผูใ้ หน้ ั้น ๆ ๑.๕ เจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับชุดไม้กอล์ฟจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เม่ือต้องท�ำงานท่ีเก่ียวข้องกับ บรษิ ทั เอกชนแหง่ นนั้ กช็ ว่ ยเหลอื ใหบ้ รษิ ทั นนั้ ไดร้ บั สมั ปทาน เนอื่ งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเ่ี คยไดร้ บั ของขวญั มา ๒. การท�ำธรุ กจิ กบั ตนเองหรอื เปน็ คสู่ ัญญา ๒.๑ การที่เจ้าหน้าท่ีในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างท�ำสัญญาให้หน่วยงานต้นสังกัดซ้ือคอมพิวเตอร์ ส�ำนกั งานจากบริษัทของครอบครัวตนเอง หรอื บรษิ ทั ท่ตี นเองมหี ้นุ ส่วนอยู่ ๒.๒ ผบู้ ริหารหนว่ ยงานท�ำสญั ญาเช่ารถไปสมั มนาและดงู านกับบริษทั ซง่ึ เปน็ ของเจ้าหนา้ ที่หรือบรษิ ัท ที่ผู้บรหิ ารมหี นุ้ ส่วนอยู่ ๒.๓ ผู้บริหารของหน่วยงาน ท�ำสัญญาจ้างบริษัทที่ภรรยาของตนเองเป็นเจ้าของมาเป็นท่ีปรึกษาของ หน่วยงาน ๒.๔ ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงาน ท�ำสญั ญาใหห้ นว่ ยงานจดั ซอ้ื ทดี่ นิ ของตนเองในการสรา้ งส�ำนกั งานแหง่ ใหม่ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซ้ือท่ีดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการก�ำดูแลของธนาคาร แหง่ ประเทศไทย กระทรวงการคลงั โดยอดีตนายกรฐั มนตรี ซ่งึ ในขณะนน้ั ด�ำรงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรใี นฐานะ เจ้าพนักงานมีหน้าท่ีดูแลกิจการของกองทุนฯ ได้ลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยาประมูลซ้ือที่ดินและ ท�ำสัญญาซื้อขายที่ดิน ส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซ้ือที่ดินโฉนดแปลงดังกล่าว อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย มีความผิดตาม พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐ (๑) 14 หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผูน้ ำ�การเปลี่ยนแปลงสู่สงั คมทไ่ี ม่ทนต่อการทุจริต 112

๓. การท�ำงานหลังจากออกจากต�ำแหน่งหนา้ ทสี่ าธารณะหรือหลงั เกษยี ณ ๓.๑ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลแห่งหนึ่งเพ่ิงเกษียณอายุราชการไปท�ำงานเป็นท่ีปรึกษาในบริษัท ผลิตหรอื ขายยา โดยใชอ้ ทิ ธิพลจากท่เี คยด�ำรงต�ำแหนง่ ในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาลซื้อยาจากบรษิ ทั ท่ีตนเองเป็นที่ปรึกษาอยู่ พฤติการณ์เช่นน้ีมีมูลความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญาฐานเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจท�ำให้ผู้อื่นเชื่อว่าตนมีต�ำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งท่ีตนมิได้ มีต�ำแหน่งหรือหน้าท่ีน้ัน เพ่ือแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายส�ำหรับตนเองหรือผู้อื่น ตามพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๓ ๓.๒ การท่ีผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไปท�ำงาน ในบริษทั ผลิตหรือขายยา ๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานที่เกษียณแล้วใช้อิทธิพลท่ีเคยด�ำรงต�ำแหน่ง ในหน่วยงานรัฐ รับเป็นที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนท่ีตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างว่าจะได้ติดต่อกับ หนว่ ยงานรฐั ได้อยา่ งราบร่นื ๓.๔ การว่าจ้างเจ้าหน้าที่ผู้เกษียณมาท�ำงานในต�ำแหน่งเดิมที่หน่วยงานเดิมโดยไม่คุ้มค่ากับภารกิจ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๔. การท�ำงานพิเศษ ๔.๑ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี ๖ ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค ได้จัดตั้งบริษัทรับจ้าง ท�ำบัญชีและให้ค�ำปรึกษาเก่ียวกับภาษีและมีผลประโยชน์เก่ียวข้องกับบริษัท โดยรับจ้างท�ำบัญชีและย่ืนแบบ แสดงรายการให้ผู้เสียภาษีในเขตจังหวัดที่รับราชการอยู่และจังหวัดใกล้เคียง กลับมีพฤติการณ์ช่วยเหลือผู้เสีย ภาษีให้เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจากผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้น�ำไปยื่นแบบ แสดงรายการช�ำระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่า ด้วยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๙ (๗) (๘) และอาศัยต�ำแหน่งหน้าที่ราชการของตน หาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา ๘๓ (๓) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ อีกท้ังเป็นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ ทางราชการโดยร้ายแรง และปฏิบัติหน้าท่ีราชการโดยทุจริต และยังกระท�ำการอันได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑) และ (๔) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ ขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔.๒ นติ ิกร ฝ่ายกฎหมายและเรง่ รัดภาษีอากรค้าง ส�ำนักงานสรรพากรจงั หวัดในส่วนภมู ภิ าคหารายได้ พเิ ศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกนั ชีวิตของบรษิ ัทเอกชน ได้อาศยั โอกาสท่ีตนปฏิบัตหิ นา้ ท่ี เร่งรัดภาษีอากร คา้ งผปู้ ระกอบการรายหนงึ่ หาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองดว้ ยการขายประกนั ชวี ติ ใหแ้ กห่ นุ้ สว่ นผจู้ ดั การของผปู้ ระกอบ การดังกล่าว รวมทัง้ พนักงานของผูป้ ระกอบการนั้นอีกหลายคน ในขณะที่ตนก�ำลังด�ำเนินการเร่งรดั ภาษอี ากร ค้าง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัยต�ำแหน่งหน้าท่ีราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ตามมาตรา ๘๓ (๓) ประกอบมาตรา ๘๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการ พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ ริต 15 113

๔.๓ การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั อาศยั ต�ำแหนง่ หนา้ ทที่ างราชการรบั จา้ งเปน็ ทป่ี รกึ ษาโครงการ เพอ่ื ใหบ้ รษิ ทั เอกชนทีว่ ่าจ้างนนั้ มคี วามน่าเชื่อถอื มากกวา่ บริษัทคู่แข่ง ๔.๔ การท่เี จ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ไมท่ �ำงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากหนว่ ยงานอยา่ งเต็มท่ี แต่เอาเวลาไปรับงาน พิเศษอ่นื ๆ ท่ีอยู่นอกเหนืออ�ำนาจหน้าทที่ ีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากหน่วยงาน ๔.๕ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษา หรือเป็นผู้ท�ำบัญชีให้กับบริษัทที่ต้อง ถูกตรวจสอบ ๕. การรู้ขอ้ มลู ภายใน ๕.๑ นายช่าง ๕ แผนกชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนท่ี องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้น�ำข้อมูล เลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดล็อคไปขายให้แก่ผู้อ่ืน จ�ำนวน ๔๐ หมายเลข เพอื่ น�ำไปปรบั จนู เขา้ กบั โทรศพั ทเ์ คลอื่ นทที่ น่ี �ำไปใชร้ บั จา้ งใหบ้ รกิ ารโทรศพั ทแ์ กบ่ คุ คลทวั่ ไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้มี ลู ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗ และ มาตรา ๑๖๔ และมีความผิด วนิ ยั ตามข้อบังคบั องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยว่าดว้ ยการพนักงาน พ.ศ. ๒๕๓๖ ข้อ ๔๔ และ ๔๖ ๕.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพ่ีน้องไปซื้อที่ดิน บริเวณโครงการดังกล่าว เพื่อขายให้กบั ราชการในราคาท่ีสงู ขึน้ ๕.๓ การทีเ่ จ้าหน้าทีห่ น่วยงานผ้รู บั ผดิ ชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วสั ดอุ ุปกรณ์ ท่ีจะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนท่ีตนรู้จัก เพื่อให้ได้เปรียบในการ ประมูล ๕.๔ เจ้าหน้าท่ีพัสดุของหน่วยงานเปิดเผยหรือขายข้อมูลท่ีส�ำคัญของฝ่ายที่มายื่นประมูลไว้ก่อนหน้า ใหแ้ ก่ผ้ปู ระมลู รายอื่นท่ีให้ผลประโยชน์ ท�ำใหฝ้ า่ ยทมี่ ายนื่ ประมูลไวก้ อ่ นหนา้ เสยี เปรียบ ๖. การใชท้ รพั ย์สนิ ของราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน ๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อ�ำนาจหน้าที่โดยทุจริต ด้วยการสั่งให้เจ้าหน้าท่ีน�ำเก้าอ้ีพร้อม ผ้าปลอกคมุ เก้าอี้ เครือ่ งถ่ายวิดโี อ เครอื่ งเล่นวิดโี อ กล้องถา่ ยรปู และผ้าเต็นท์ น�ำไปใชใ้ นงานมงคลสมรสของ บุตรสาว รวมทง้ั รถยนต์ รถต้สู ่วนกลาง เพ่อื ใช้รับส่งเจา้ หนา้ ที่เขา้ รว่ มพธิ ี และขนย้ายอุปกรณ์ทง้ั ทบี่ ้านพกั และ งานฉลองมงคลสมรสทโ่ี รงแรม ซงึ่ ลว้ นเปน็ ทรพั ยส์ นิ ของทางราชการ การกระท�ำของจ�ำเลยนบั เปน็ การใชอ้ �ำนาจ โดยทจุ รติ เพอื่ ประโยชนส์ ว่ นตนอนั เปน็ การเสยี หายแกร่ ฐั คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดช้ มี้ ลู ความผดิ วนิ ยั และอาญา ตอ่ มาเรอื่ งเขา้ สกู่ ระบวนการในชน้ั ศาล ศาลพเิ คราะหพ์ ยานหลกั ฐานโจทกแ์ ลว้ เหน็ วา่ การกระท�ำของจ�ำเลย เปน็ การ ทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้าที่ฐานเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซ้ือท�ำจัดการหรือรักษาทรัพย์ใด ๆ ใช้อ�ำนาจในต�ำแหน่ง โดยทุจริตอันเป็นการเสียหายแก่รัฐและเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีโดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พพิ ากษาใหจ้ �ำคกุ ๕ ปี และปรบั ๒๐,๐๐๐ บาท ค�ำใหก้ ารรบั สารภาพ เปน็ ประโยชน์ แกก่ ารพิจารณาคดี ลดโทษใหก้ ่งึ หน่ึง คงจ�ำคุกจ�ำเลยไว้ ๒ ปี ๖ เดือนและปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท 16 หลกั สตู รสร้างวิทยากรผนู้ ำ�การเปลยี่ นแปลงส่สู งั คมท่ไี มท่ นต่อการทุจรติ 114

๖.๒ การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผมู้ หี นา้ ทขี่ บั รถยนตข์ องสว่ นราชการ น�ำนำ้� มนั ในรถยนตไ์ ปขาย และน�ำเงนิ มาไว้ใช้จ่ายส่วนตัว ท�ำให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพื่อซื้อน้�ำมันรถมากกว่าท่ีควรจะเป็นพฤติกรรม ดังกล่าวถือเป็นการทุจริต เป็นการเบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพ่ือประโยชน์ของตนเอง และมีความผิด ฐานลักทรพั ย์ตามประมวลกฎหมายอาญา ๖.๓ การทเี่ จ้าหน้าทรี่ ฐั ผมู้ อี �ำนาจอนมุ ตั ใิ หใ้ ชร้ ถราชการหรอื การเบกิ จ่าย คา่ นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ น�ำรถยนต์ ของสว่ นราชการไปใช้ในกจิ ธุระสว่ นตัว ๖.๔ การทีเ่ จ้าหน้าที่รัฐน�ำวัสดคุ รภุ ัณฑข์ องหนว่ ยงานมาใชท้ ีบ่ า้ น หรือใช้โทรศพั ทข์ องหนว่ ยงานตดิ ตอ่ ธรุ ะสว่ นตน หรือน�ำรถส่วนตนมาล้างที่หนว่ ยงาน ๗. การนำ�โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้งั เพ่อื ประโยชนใ์ นทางการเมอื ง ๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งหนึ่งร่วมกับพวก แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ ปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในต�ำบลท่ีตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ และ ตรวจรับงานท้ังที่ไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการที่ก�ำหนด รวมท้ังเมื่อด�ำเนินการแล้วเสร็จได้ติดป้ายชื่อของตน และพวก การกระท�ำดงั กลา่ วมมี ลู เปน็ การกระท�ำการฝา่ ฝนื ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื สวสั ดภิ าพของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอ�ำนาจหน้าท่ี มีมูลความผิดทั้งทางวินัยอย่างร้ายแรงและ ทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นงั สอื แจ้งผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ให้ผมู้ ีอ�ำนาจแต่งตัง้ ถอดถอน และส�ำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้งทราบ ๗.๒ การทน่ี กั การเมอื งในจงั หวดั ขอเพมิ่ งบประมาณเพอ่ื น�ำโครงการตดั ถนน สรา้ งสะพานลงในจงั หวดั โดยใชช้ ่อื หรอื นามสกลุ ของตนเองเป็นช่ือสะพาน ๗.๓ การทร่ี ัฐมนตรีอนุมัตโิ ครงการไปลงในพืน้ ที่หรอื บ้านเกดิ ของตนเอง ๘. การใช้ตำ�แหนง่ หนา้ ทีแ่ สวงหาประโยชน์แกเ่ ครือญาติ พนักงานสอบสวนละเว้นไม่น�ำบันทึกการจับกุมท่ีเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจชุดจับกุมท�ำขึ้นในวันเกิดเหตุรวมเข้า ส�ำนวน แต่กลับเปลี่ยนบันทึกและแก้ไขข้อหาในบันทึกการจับกุม เพ่ือช่วยเหลือผู้ต้องหาซึ่งเป็นญาติของตน ให้รับโทษน้อยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมมี ูลความผดิ ทางอาญาและทางวนิ ยั อย่างร้ายแรง ๙. การใชอ้ ิทธพิ ลเขา้ ไปมผี ลตอ่ การตดั สินใจของเจา้ หนา้ ทร่ี ัฐหรือหนว่ ยงานของรฐั อืน่ ๙.๑ เจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ใชต้ �ำแหนง่ หนา้ ทีใ่ นฐานะผ้บู รหิ าร เขา้ แทรกแซงการปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หน้าที่ ให้ปฏิบัตหิ น้าทโี่ ดยมชิ อบดว้ ยระเบยี บ และกฎหมายหรอื ฝ่าฝนื จริยธรรม ๙.๒ นายเอ เป็นหัวหน้าสว่ นราชการแหง่ หนึ่งในจังหวดั ร้จู ักสนทิ สนมกบั นายบี หัวหน้าสว่ นราชการ อกี แหง่ หน่ึงในจังหวดั เดียวกนั นายเอ จึงใชค้ วามสัมพันธ์สว่ นตวั ฝากลูกชาย คือ นายซี เข้ารบั ราชการภายใต้ สงั กัดของนายบี หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปลี่ยนแปลงส่สู งั คมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ รติ 17 115

๑๐. การขดั กนั แห่งผลประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส์ ่วนรวมประเภทอ่นื ๆ ๑๐.๑ การเดนิ ทางไปราชการตา่ งจงั หวดั โดยไมค่ �ำนงึ ถงึ จ�ำนวนคน จ�ำนวนงาน และจ�ำนวนวนั อยา่ งเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจ�ำนวน ๑๐ วัน แตใ่ ชเ้ วลาในการท�ำงานจรงิ เพียง ๖ วนั โดยอกี ๔ วนั เป็นการเดนิ ทาง ทอ่ งเท่ียวในสถานท่ตี า่ ง ๆ ๑๐.๒ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติไม่ใช้เวลาในราชการปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ี เน่ืองจากต้องการปฏิบัติงาน นอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบกิ เงนิ งบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการได้ ๑๐.๓ เจ้าหน้าท่ีของรัฐลงเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยมิได้อยู่ปฏิบัติงานในช่วงเวลาน้ัน อยา่ งแท้จรงิ แตก่ ลบั ใช้เวลาดังกลา่ วปฏิบตั กิ ิจธรุ ะส่วนตัว ๓. กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๒๖ นอกจากเจา้ พนกั งานของรฐั ทรี่ ฐั ธรรมนญู กําหนดไวเ้ ปน็ การเฉพาะแลว้ หา้ มมใิ หก้ รรมการ ผู้ดํารงตําแหนง่ ในองค์กรอิสระ และเจา้ พนักงานของรฐั ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกําหนด ดําเนนิ กจิ การ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทํากับหน่วยงานของรัฐท่ีเจ้าพนักงานของรัฐผู้น้ันปฏิบัติ หน้าท่ีในฐานะที่เป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ซึ่งมีอํานาจไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรอื ดําเนินคดี (๒) เปน็ หนุ้ สว่ นหรอื ผถู้ อื หนุ้ ในหา้ งหนุ้ สว่ นหรอื บรษิ ทั ทเี่ ขา้ เปน็ คสู่ ญั ญากบั หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ จา้ พนกั งาน ของรัฐผู้น้ันปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะท่ีเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ซ่ึงมีอํานาจไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดําเนินคดี เว้นแต่จะเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดไม่เกิน จํานวนทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (๓) รบั สมั ปทานหรอื คงถอื ไวซ้ ง่ึ สมั ปทานจากรฐั หนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื ราชการ สว่ นทอ้ งถนิ่ หรอื เข้าเป็นคสู่ ัญญากบั รัฐ หน่วยราชการ หน่วยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื ราชการส่วนท้องถิน่ อนั มีลกั ษณะเป็นการผูกขาดตดั ตอน หรือเป็นห้นุ สว่ นหรือผ้ถู อื ห้นุ ในห้างห้นุ ส่วนหรอื บรษิ ทั ทรี่ บั สมั ปทานหรอื เข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ในฐานะท่ีเป็นเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งมีอํานาจ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ในการกํากบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ดําเนนิ คดี เวน้ แตจ่ ะเปน็ ผถู้ อื หนุ้ ในบรษิ ทั จํากดั หรอื บรษิ ทั มหาชนจํากดั ไม่เกนิ จํานวนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (๔) เข้าไปมสี ว่ นได้เสยี ในฐานะเป็นกรรมการ ทีป่ รกึ ษา ตวั แทน พนักงานหรือลูกจ้างในธรุ กจิ ของเอกชน ซง่ึ อยภู่ ายใตก้ ารกํากบั ดแู ล ควบคมุ หรอื ตรวจสอบของหนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี จา้ พนกั งานของรฐั ผนู้ นั้ สงั กดั อยหู่ รอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นฐานะเปน็ เจา้ พนกั งานของรฐั ซงึ่ โดยสภาพของผลประโยชนข์ องธรุ กจิ ของเอกชนนนั้ อาจขดั หรอื แย้งต่อประโยชน์ส่วนรวมหรือประโยชน์ทางราชการหรือกระทบต่อความมีอิสระในการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจ้าพนกั งานของรัฐผูน้ น้ั 18 หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สังคมทีไ่ ม่ทนตอ่ การทจุ รติ 116

ให้นําความในวรรคหนึ่ง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าพนักงานของรัฐตามวรรคหน่ึงด้วย โดยให้ถือว่า การดําเนนิ กจิ การของคสู่ มรสเปน็ การดําเนนิ กจิ การของเจา้ พนกั งานของรฐั เวน้ แตเ่ ปน็ กรณที ค่ี สู่ มรสนนั้ ดําเนนิ การ อยู่กอ่ นที่เจา้ พนกั งานของรัฐจะเขา้ ดํารงตําแหนง่ คสู่ มรสตามวรรคสองใหห้ มายความรวมถงึ ผซู้ งึ่ อยกู่ นิ กนั ฉนั สามภี รยิ าโดยมไิ ดจ้ ดทะเบยี นสมรสดว้ ย ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑท์ ีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด เจา้ พนกั งานของรัฐที่มีลกั ษณะตาม (๒) หรอื (๓) ต้องดําเนนิ การไมใ่ หม้ ีลกั ษณะดงั กลา่ ว ภายในสามสบิ วนั นับแตว่ ันทเ่ี ขา้ ดํารงตําแหน่ง มาตรา ๑๒๗ ห้ามมิให้กรรมการ ผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระ ผู้ดํารงตําแหน่งระดับสูงและผู้ดํารง ตําแหน่งทางการเมืองทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ดําเนนิ การใดตามมาตรา ๑๒๖ (๔) ภายในสองปีนบั แต่ วนั ทพี่ ้นจากตําแหน่ง มาตรา ๑๒๘ หา้ มมใิ หเ้ จา้ พนกั งานของรฐั ผใู้ ดรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดอนั อาจคํานวณ เปน็ เงนิ ได้ จากผู้ใด นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับท่ีออกโดยอาศัย อํานาจตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย เวน้ แตก่ ารรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใด โดยธรรมจรรยาตามหลกั เกณฑ์ และจํานวนท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุพการี ผู้สืบสันดาน หรือ ญาตทิ ี่ให้ตามประเพณี หรอื ตามธรรมจรรยาตามฐานานุรปู บทบัญญัติในวรรคหน่ึงให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของผู้ซ่ึงพ้นจากการเป็น เจา้ พนักงานของรฐั มาแล้วยงั ไมถ่ ึงสองปีด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๑๒๙ การกระทําอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติในหมวดน้ีให้ถือว่าเป็นการกระทําความผิด ตอ่ ตําแหนง่ หน้าทรี่ าชการหรอื ความผิดต่อตําแหนง่ หน้าท่ีในการยุติธรรม ประกาศคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์การรบั ทรพั ย์สนิ หรอื ประโยชนอ์ ่นื ใดโดยธรรมจรรยาของเจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติจึงก�ำหนด หลกั เกณฑแ์ ละจ�ำนวนทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดทเี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะรบั จากบคุ คลไดโ้ ดยธรรมจรรยาไว้ ดงั นี้ ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “การรับทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ่ืนใดโดยธรรมจรรยา” หมายความว่า การรบั ทรพั ยส์ นิ หรือประโยชน์ อ่ืนใดจากญาตหิ รอื จากบุคคลที่ให้กันในโอกาสต่าง ๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวัฒนธรรม หรอื ใหก้ นั ตามมารยาทท่ีปฏิบตั ิกนั ในสังคม “ญาติ” หมายความวา่ ผู้บุพการี ผู้สบื สันดาน พนี่ อ้ งรว่ มบดิ ามารดาหรอื รว่ มบดิ าหรือมารดาเดยี วกัน ลงุ ป้า นา้ อา คูส่ มรส ผบู้ พุ การีหรือผ้สู ืบสนั ดานของคสู่ มรส บตุ รบญุ ธรรมหรอื ผู้รับบตุ รบญุ ธรรม “ประโยชน์อ่ืนใด” หมายความว่า สิ่งที่มูลค่า ได้แก่ การลดราคา การรับความบันเทิง การรับบริการ การรับการฝึกอบรม หรอื สงิ่ อน่ื ใดในลกั ษณะเดียวกัน หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผูน้ �ำ การเปลีย่ นแปลงสสู่ งั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทุจรติ 19 117

ขอ้ ๔ หา้ มมใิ หเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผใู้ ด รบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใด จากบคุ คลนอกเหนอื จากทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นั ควรไดต้ ามกฎหมาย หรอื กฎ ขอ้ บงั คับ ที่ออกโดยอาศยั อ�ำนาจตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย เว้นแตก่ ารรบั ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชน์อืน่ ใดโดยธรรมจรรยาตามทีก่ �ำหนดไว้ในประกาศนี้ ข้อ ๕ เจ้าหน้าทขี่ องรฐั จะรบั ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาได้ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) รบั ทรพั ยส์ นิ หรือประโยชนอ์ ่นื ใดจากญาตซิ ง่ึ ใหโ้ ดยเสน่หาตามจำ�นวนท่เี หมาะสมตามฐานานุรปู (๒) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอ่ืนซ่ึงมิใช่ญาติมีราคาหรือมูลค่าในการรับจากแต่ละ บคุ คล แตล่ ะโอกาสไมเ่ กนิ สามพันบาท (๓) รับทรัพย์สินหรอื ประโยชนอ์ ่ืนใดท่ีการให้นน้ั เปน็ การให้ในลักษณะให้กับบุคคลท่ัวไป ข้อ ๖ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจากต่างประเทศ ซึ่งผู้ให้มิได้ระบุให้เป็นของส่วนตัวหรือมี ราคาหรอื มลู ค่าเกนิ กวา่ สามพนั บาท ไม่วา่ จะระบเุ ป็นของสว่ นตัวหรอื ไม่ แตม่ เี หตผุ ลความจำ�เปน็ ท่จี ะตอ้ งรบั ไว้ เพื่อรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นรายงานรายละเอียด ขอ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนด์ งั กลา่ วใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบโดยเรว็ หากผบู้ งั คบั บญั ชาเหน็ วา่ ไม่มีเหตุท่ีจะอนุญาตให้เจ้าหน้าท่ีผู้นั้นยึดถือทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าวน้ันไว้เป็นประโยชน์ส่วนตน ให้เจ้าหน้าทข่ี องรฐั ผนู้ ัน้ สง่ มอบทรพั ย์สนิ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ทีเ่ จ้าหนา้ ที่ของรฐั ผ้นู ้นั สงั กดั ทันที ขอ้ ๗ การรับทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดทีไ่ มเ่ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ หรอื มีราคาหรอื มีมลู คา่ มากกวา่ ที่ก�ำหนดไว้ในข้อ ๕ ซึ่งเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับมาแล้วโดยมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่ต้องรับไว้เพ่ือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันต้องแจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ การรับทรพั ย์สินหรอื ประโยชนน์ นั้ ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา ซ่งึ เปน็ หวั หน้าสว่ นราชการ ผบู้ รหิ ารสงู สุดของรัฐวสิ าหกิจ หรอื ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของหนว่ ยงาน สถาบนั หรอื องคก์ รทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ น้ั สงั กดั โดยทนั ทที ส่ี ามารถกระท�ำได้ เพ่ือให้วินิจฉัยว่ามีเหตุผลความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และสมควรท่ีจะให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ันรับทรัพย์สิน หรือประโยชนน์ ้นั ไว้เป็นสิทธขิ องตนหรือไม่ ในกรณที ผี่ บู้ งั คบั บญั ชาหรอื ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของรฐั วสิ าหกจิ หนว่ ยงานหรอื สถาบนั หรอื องคก์ รทเ่ี จา้ หนา้ ท่ี ของรัฐผู้นั้นสังกัด มีค�ำสั่งว่าไม่สมควรรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าว ก็ให้คืนทรัพย์สินหรือประโยชน์น้ัน แก่ผู้ให้โดยทนั ที ในกรณที ไ่ี ม่สามารถคนื ให้ได้ ให้เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ผ้นู ้นั สง่ มอบทรพั ย์สินหรอื ประโยชน์ดังกลา่ ว ใหเ้ ป็นสทิ ธิของหนว่ ยงานทเ่ี จา้ หนา้ ทีข่ องรฐั ผนู้ น้ั สงั กัดโดยเรว็ เม่ือได้ด�ำเนินการตามความในวรรคสองแล้ว ให้ถือว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้น้ัน ไม่เคยได้รับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์ดังกลา่ วเลย ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินไว้ตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็น หัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเท่า หรือเป็นกรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือ เป็นกรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรัฐ ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สิน หรอื ประโยชนน์ น้ั ตอ่ ผมู้ อี �ำนาจแตง่ ตง้ั ถอดถอน สว่ นผทู้ ด่ี �ำรงต�ำแหนง่ ประธานกรรมการและกรรมการในองคก์ ร อสิ ระตามรฐั ธรรมนญู หรอื ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทไ่ี มม่ ผี บู้ งั คบั บญั ชาทม่ี อี �ำนาจถอดถอนใหแ้ จง้ ตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งน้ี เพอ่ื ด�ำเนนิ การตามความในวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ในกรณีท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง เป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกสภาท้องถ่ิน ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สินหรือ 20 หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้นำ�การเปลยี่ นแปลงสู่สังคมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ 118

ประโยชนเ์ ทา่ นน้ั ตอ่ ประธาน สภาผแู้ ทนราษฎร ประธานวฒุ สิ ภา หรอื ประธานสภาทอ้ งถน่ิ ทเี่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ น้ั เป็นสมาชิก แลว้ แต่กรณี เพอื่ ด�ำเนินการตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ข้อ ๘ หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามประกาศฉบับน้ีให้ใช้ บังคบั แกผ่ ซู้ ่งึ พน้ จากการเปน็ เจา้ หน้าทข่ี องรัฐมาแล้วไม่ถงึ สองปดี ้วย ระเบียบส�ำ นกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการให้หรอื รับของขวญั ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยที่ผ่านมาคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติคณะรัฐมนตรีเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติในการให้ของขวัญและรับ ของขวญั ของเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไวห้ ลายครง้ั เพอ่ื เปน็ การเสรมิ สรา้ งคา่ นยิ มใหเ้ กดิ การประหยดั มใิ หม้ กี ารเบยี ดเบยี น ขา้ ราชการโดยไม่จ�ำเปน็ และสรา้ งทศั นคติทไี่ ม่ถกู ต้อง เนอ่ื งจากมกี ารแข่งขนั กนั ให้ของขวัญในราคาแพง ทัง้ ยัง เปน็ ชอ่ งทางใหเ้ กดิ การประพฤตมิ ชิ อบอนื่ ๆ ในวงราชการอกี ดว้ ย และในการก�ำหนดจรรยาบรรณของเจ้าหนา้ ที่ ของรฐั ประเภทตา่ ง ๆ กม็ กี ารก�ำหนดในเรอ่ื งท�ำนองเดยี วกนั ประกอบกบั คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริตแห่งชาติได้ประกาศก�ำหนดหลักเกณฑ์และจ�ำนวนท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได้ ฉะน้ัน จึงสมควรรวบรวมมาตรการเหลา่ น้ันและก�ำหนดเป็นหลักเกณฑ์การปฏิบัตขิ อง เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ในการใหข้ องขวญั และรบั ของขวญั ไวเ้ ปน็ การถาวรมมี าตรฐานอยา่ งเดยี วกนั และมคี วามชดั เจน เพ่ือเสริมมาตรการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้เป็นผลอย่างจริงจัง ท้ังน้ี เฉพาะในส่วนทคี่ ณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติไม่ได้ก�ำหนดไว้ อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จงึ วางระเบียบไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ของขวัญ” หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีให้แก่กัน เพ่ืออัธยาศัยไมตรี และให้ หมายความรวมถึงเงนิ ทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชน์อน่ื ใดทใี่ หเ้ ปน็ รางวลั ให้โดยเสน่หาหรอื เพอ่ื การสงเคราะห์ หรอื ใหเ้ ปน็ สนิ นำ�้ ใจ การใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษซงึ่ มใิ ชเ่ ปน็ สทิ ธทิ จ่ี ดั ไวส้ �ำหรบั บคุ คลทว่ั ไปในการไดร้ บั การลดราคาทรพั ยส์ นิ หรอื การใหส้ ทิ ธพิ ิเศษในการได้รับบรกิ ารหรือความบันเทิง ตลอดจนการออกค่าใช้จา่ ยในการเดินทางหรอื ทอ่ งเทย่ี ว ค่าที่พกั ค่าอาหาร หรือส่งิ อน่ื ใดในลกั ษณะเดยี วกนั และไม่ว่าจะให้เป็นบตั ร ตวั๋ หรือหลกั ฐานอ่ืนใด การช�ำระ เงนิ ใหล้ ่วงหน้า หรือการคนื เงนิ ให้ในภายหลัง “ปกตปิ ระเพณนี ยิ ม” หมายความวา่ เทศกาลหรอื วนั ส�ำคญั ซง่ึ อาจมกี ารใหข้ องขวญั กนั และใหห้ มายความ รวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดงความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดงความเสียใจ หรือการให้ ความช่วยเหลอื ตามมารยาทท่ถี ือปฏบิ ัติกันในสงั คมด้วย “ผู้บังคับบัญชา” ให้หมายความรวมถึง ผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าหน่วยงาน ที่แบ่งเป็นการภายในของ หนว่ ยงานของรฐั และผซู้ งึ่ ด�ำรงต�ำแหนง่ ในระดบั ทส่ี งู กวา่ และไดร้ บั มอบหมายใหม้ อี �ำนาจบงั คบั บญั ชาหรอื ก�ำกบั ดแู ลด้วย “บคุ คลในครอบครวั ” หมายความว่า คสู่ มรส บุตร บิดา มารดา พี่น้องรว่ มบดิ ามารดาหรอื รว่ มบิดาหรอื มารดาเดยี วกัน หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสู่สังคมท่ไี ม่ทนตอ่ การทุจริต 21 119

ข้อ ๔ ระเบียบน้ีไม่ใช้บังคับกับกรณีการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของเจ้าหน้าที่ของรัฐซ่ึงอยู่ ภายใต้บงั คับกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ข้อ ๕ เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะให้ของขวัญแก่ผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลในครอบครัวของผู้บังคับบัญชา นอกเหนือจากกรณปี กตปิ ระเพณีนิยมทีม่ กี ารใหข้ องขวญั แก่กันมไิ ด้ การใหข้ องขวญั ตามปกตปิ ระเพณนี ยิ มตามวรรคหนง่ึ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จะใหข้ องขวญั ทมี่ รี าคาหรอื มลู คา่ เกินจ�ำนวนที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนดไว้ส�ำหรับการรับทรัพย์สินหรือ ประโยชน์อ่ืนใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการปอ้ งกันและ ปราบปรามการทจุ รติ มิได้ เจา้ หน้าทข่ี องรัฐจะท�ำการเร่ยี ไรเงินหรือทรัพย์สินอนื่ ใดหรือใชเ้ งินสวัสดกิ ารใด ๆ เพ่อื มอบให้หรือจัดหา ของขวัญให้ผู้บงั คบั บญั ชาหรอื บคุ คลในครอบครวั ของผบู้ ังคบั บญั ชาไมว่ ่ากรณใี ด ๆ มิได้ ขอ้ ๖ ผบู้ งั คับบัญชาจะยนิ ยอมหรือรเู้ หน็ เป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรบั ของขวัญจากเจ้าหนา้ ที่ ของรัฐซงึ่ เป็นผู้อย่ใู นบังคบั บญั ชามไิ ด้ เว้นแต่เปน็ การรบั ของขวญั ตามข้อ ๕ ข้อ ๗ เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจากผู้ท่ี เกี่ยวขอ้ งในการปฏบิ ัติหนา้ ทขี่ องเจา้ หน้าท่ขี องรัฐมไิ ด้ ถ้ามิใชเ่ ป็นการรับของขวญั ตามกรณที ี่ก�ำหนดไวใ้ น ขอ้ ๘ ผูท้ ่เี กี่ยวข้องในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีข่ องเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ตามวรรคหนงึ่ ได้แก่ ผู้มาติดต่องานหรือผซู้ งึ่ ไดร้ ับ ประโยชน์จากการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (๑) ผู้ซ่ึงมีคำ�ขอให้หน่วยงานของรัฐดำ�เนินการอย่างหน่ึงอย่างใด เช่น การขอใบรับรอง การขอให้ ออกคำ�สงั่ ทางปกครอง หรือการร้องเรยี น เปน็ ต้น (๒) ผซู้ ่ึงประกอบธรุ กิจหรือมีสว่ นได้เสียในธุรกจิ ที่ท�ำ กับหน่วยงานของรัฐ เชน่ การจดั ซ้อื จัดจ้าง หรือ การได้รับสมั ปทาน เป็นตน้ (๓) ผซู้ งึ่ ก�ำ ลงั ด�ำ เนนิ กจิ กรรมใด ๆ ทม่ี หี นว่ ยงานของรฐั เปน็ ผคู้ วบคมุ หรอื ก�ำ กบั ดแู ล เชน่ การประกอบ กิจการโรงงาน หรอื ธุรกิจหลกั ทรัพย์ เป็นตน้ (๔) ผู้ซึ่งอาจได้รับประโยชน์หรือผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าท่ีหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีของ เจา้ หน้าท่ขี องรัฐ ข้อ ๘ เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจากผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ไดเ้ ฉพาะกรณี การรบั ของขวญั ทใ่ี หต้ ามปกตปิ ระเพณนี ยิ ม และ ของขวัญนั้นมีราคาหรือมูลค่าไม่เกินจำ�นวนที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติกำ�หนด ไว้สำ�หรับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ตามกฎหมายประกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต ขอ้ ๙ ในกรณที บ่ี คุ คลในครอบครวั ของเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั รบั ของขวญั แลว้ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทราบในภายหลงั ว่าเป็นการรับของขวัญโดยฝ่าฝืนระเบียบน้ี ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนดไว้ส�ำหรับการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของ เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีมีราคาหรือมูลค่าเกินกว่าที่ก�ำหนดไว้ ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต 22 หลกั สูตรสร้างวิทยากรผนู้ ำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมทไี่ ม่ทนต่อการทจุ ริต 120

ข้อ ๑๐ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดจงใจปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ของขวัญหรือรับของขวัญโดยฝ่าฝืน ระเบียบน้ี ใหด้ �ำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็นข้าราชการการเมือง ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นประพฤติปฏิบัติ ไมเ่ ปน็ ไปตามคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม และใหด้ �ำ เนนิ การตามระเบยี บทน่ี ายกรฐั มนตรกี �ำ หนดโดยความเหน็ ชอบ ของคณะรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการการเมือง (๒) ในกรณที เ่ี จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั เปน็ ขา้ ราชการประเภทอนื่ นอกจาก (๑) หรอื พนกั งานขององคก์ รปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่น หรือพนกั งานของรัฐวิสาหกิจใหถ้ ือวา่ เจา้ หน้าที่ของรัฐผู้นน้ั เปน็ ผกู้ ระท�ำ ความผิดทางวนิ ยั และให้ ผบู้ งั คบั บญั ชามหี นา้ ที่ดำ�เนนิ การให้มีการลงโทษทางวนิ ยั เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐผู้นน้ั ข้อ ๑๑ ให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีมีหน้าที่สอดส่อง และให้ค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติตาม ระเบียบน้ีแก่หน่วยงานของรัฐ ในกรณีที่มีผู้ร้องเรียนต่อส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายรัฐมนตรีว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผู้ใดปฏิบัติในการให้ของขวัญหรือรับของขวัญฝ่าฝืนระเบียบน้ี ให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีแจ้งไปยัง ผบู้ ังคบั บัญชาของเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ผนู้ ้ันเพื่อด�ำเนนิ การตามระเบียบน้ี ข้อ ๑๒ เพื่อประโยชน์ในการเสริมสร้างให้เกิดทัศนคติในการประหยัดแก่ประชาชนท่ัวไปในการแสดง ความยนิ ดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอ้ นรบั หรอื การแสดงความเสยี ใจในโอกาสตา่ ง ๆ ตามปกติ ประเพณีนิยม ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐพยายามใช้วิธีการแสดงออกโดยใช้บัตรอวยพร การลงนามในสมุดอวยพร หรอื ใชบ้ ตั รแสดงความเสยี ใจ แทนการใหข้ องขวัญ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีเสริมสร้างค่านิยมการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดง การต้อนรับ หรือการแสดงความเสียใจ ด้วยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง แนะน�ำหรือก�ำหนดมาตรการจูงใจ ท่ีจะพัฒนาทศั นคติ จติ ส�ำนึกและพฤติกรรมของผ้อู ยู่ในบงั คับบญั ชาให้เปน็ ไปในแนวทางประหยัด ระเบียบส�ำ นกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการเรีย่ ไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้ “การเรี่ยไร” หมายความว่า การเก็บเงินหรือทรัพย์สิน โดยขอร้องให้ช่วยออกเงินหรือทรัพย์สิน ตามใจสมัคร และให้หมายความรวมถึงการซ้ือขาย แลกเปล่ียน ชดใช้หรือบริการซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือ โดยปรยิ ายวา่ มใิ ชเ่ ปน็ การซอ้ื ขาย แลกเปลยี่ น ชดใชห้ รอื บรกิ ารธรรมดา แตเ่ พอ่ื รวบรวมเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทไ่ี ดม้ า ทัง้ หมด หรือบางสว่ นไปใช้ในกิจการอยา่ งใดอย่างหน่ึงน้นั ดว้ ย “เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไร” หมายความว่า เข้าไปช่วยเหลือโดยมีส่วนร่วมในการจัดให้มี การเรยี่ ไรในฐานะเปน็ ผ้รู ว่ มจดั ใหม้ กี ารเรี่ยไร หรือเปน็ ประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะท�ำงาน ที่ปรึกษา หรือในฐานะอ่นื ใดในการเรยี่ ไรน้ัน ขอ้ ๖ หนว่ ยงานของรฐั จะจัดให้มีการเรย่ี ไรหรอื เข้าไปมีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเรย่ี ไรมไิ ด้ เว้นแต่เปน็ การ เร่ยี ไร ตามขอ้ ๑๙ หรือได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการควบคมุ การเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ (กคร.) หรอื กคร. จงั หวดั แล้วแตก่ รณี ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑท์ ก่ี �ำหนดไวใ้ นระเบยี บน้ี หนว่ ยงานของรฐั ซงึ่ จะตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตในการเรยี่ ไรตามกฎหมายวา่ ดว้ ย การควบคมุ การเรย่ี ไร นอกจาก จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคมุ การเรย่ี ไรแลว้ จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท์ กี่ �ำหนดไวใ้ นระเบยี บ หลกั สูตรสร้างวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปลยี่ นแปลงสสู่ งั คมท่ีไม่ทนต่อการทจุ รติ 23 121

นด้ี ว้ ย ในกรณนี ี้ กคร. อาจก�ำหนดแนวทางปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานรฐั ดงั กลา่ วใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎหมายวา่ ดว้ ยการ ควบคุมการเรีย่ ไรกไ็ ด้ ข้อ ๘ ใหม้ ีคณะกรรมการควบคมุ การเร่ยี ไรของหน่วยงานของรฐั เรยี กโดยย่อว่า “กคร.” ประกอบดว้ ย รองนายกรฐั มนตรที นี่ ายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ ผแู้ ทนส�ำนกั นายกรฐั มนตรี ผแู้ ทนกระทรวง กลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวง สาธารณสุข ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ ผู้แทนส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังอีกไม่เกิน ส่ีคนเป็นกรรมการ และผ้แู ทนส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรฐั มนตรเี ปน็ กรรมการและเลขานุการ กคร. จะแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการในส�ำนกั งานปลดั ส�ำนกั นายกรฐั มนตรจี �ำนวนไมเ่ กนิ สองคนเปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร กไ็ ด้ ขอ้ ๑๘ การเรีย่ ไรหรือเข้าไปมีสว่ นเกยี่ วข้องกับการเรยี่ ไรท่ี กคร. หรอื กคร. จังหวดั แลว้ แตก่ รณี จะพิจารณาอนุมตั ิให้ตามขอ้ ๖ ได้นัน้ จะตอ้ งมีลกั ษณะและวัตถปุ ระสงคอ์ ยา่ งหน่ึงอย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นการเรี่ยไรทห่ี น่วยงานของรฐั เป็นผู้ด�ำ เนนิ การเพ่อื ประโยชนแ์ กห่ น่วยงานของรฐั น้นั เอง (๒) เปน็ การเรยี่ ไรทห่ี นว่ ยงานของรฐั เปน็ ผดู้ �ำ เนนิ การเพอื่ ประโยชนแ์ กก่ ารปอ้ งกนั หรอื พฒั นาประเทศ (๓) เปน็ การเรี่ยไรทีห่ นว่ ยงานของรฐั เป็นผู้ด�ำ เนินการเพ่ือสาธารณประโยชน์ (๔) เปน็ กรณที ีห่ น่วยงานของรัฐเข้าไปมสี ว่ นเก่ยี วข้องกบั การเร่ยี ไรของบคุ คลหรือนิติบคุ คล ทไี่ ด้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ยี ไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคมุ การเร่ียไรแลว้ ขอ้ ๑๙ การเร่ยี ไรหรือเข้าไปมีสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเร่ียไรดังต่อไปน้ี ให้ไดร้ บั ยกเวน้ ไม่ตอ้ งขออนมุ ัตจิ าก กคร. หรอื กคร. จังหวดั แลว้ แต่กรณี (๑) เป็นนโยบายเรง่ ดว่ นของรฐั บาล และมีมตคิ ณะรฐั มนตรใี ห้เรี่ยไรได้ (๒) เป็นการเร่ียไรที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจำ�เป็นต้องดำ�เนินการ เพื่อช่วยเหลือผู้เสียหายหรือ บรรเทาความเสยี หายทีเ่ กดิ จากสาธารณภัยหรอื เหตกุ ารณ์ใดท่สี ำ�คัญ (๓) เป็นการเร่ียไรเพอ่ื รว่ มกนั ท�ำ บญุ เน่ืองในโอกาสการทอดผา้ พระกฐนิ พระราชทาน (๔) เป็นการเร่ียไรตามข้อ ๑๘ (๑) หรือ (๓) เพื่อให้ได้เงินหรือทรัพย์สินไม่เกินจำ�นวนเงินหรือมูลค่า ตามที่ กคร. ก�ำ หนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๕) เปน็ การเขา้ ไปมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเรยี่ ไรตามขอ้ ๑๘ (๔) ซง่ึ กคร. ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ยกเว้นให้หน่วยงานของรัฐดำ�เนนิ การได้โดยไม่ต้องขออนุมัติ (๖) เป็นการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐอ่ืนท่ีได้รับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นในการขออนุมัติ ตามระเบยี บน้แี ลว้ ขอ้ ๒๐ ในกรณที หี่ นว่ ยงานของรฐั ไดร้ บั อนมุ ตั หิ รอื ไดร้ บั ยกเวน้ ตามขอ้ ๑๙ ใหจ้ ดั ใหม้ กี ารเรย่ี ไรหรอื เขา้ ไป มีส่วนเกย่ี วขอ้ งกบั การเรีย่ ไร ให้หนว่ ยงานของรฐั ด�ำเนินการดงั ต่อไปนี้ (๑) ใหก้ ระท�ำ การเรีย่ ไรเปน็ การทั่วไป โดยประกาศหรือเผยแพรต่ ่อสาธารณชน (๒) กำ�หนดสถานที่หรือวิธีการทจ่ี ะรบั เงนิ หรอื ทรัพยส์ ินจากการเร่ียไร (๓) ออกใบเสร็จหรือหลักฐานการรับเงินหรือทรัพย์สินให้แก่ผู้บริจาคทุกคร้ัง เว้นแต่โดยลักษณะ แหง่ การเรย่ี ไรไมส่ ามารถออกใบเสรจ็ หรอื หลกั ฐานดงั กลา่ วได้ กใ็ หจ้ ดั ท�ำ เปน็ บญั ชกี ารรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ นน้ั ไว้ เพอ่ื ให้สามารถตรวจสอบได้ 24 หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปล่ียนแปลงสู่สงั คมทีไ่ ม่ทนต่อการทจุ ริต 122

(๔) จดั ท�ำ บญั ชกี ารรบั จา่ ยหรอื ทรพั ยส์ นิ ทไี่ ดจ้ ากการเรยี่ ไรตามระบบบญั ชขี องทางราชการภายในเกา้ สบิ วนั นับแตว่ นั ทส่ี ้ินสุดการเร่ยี ไร หรอื ทุกสามเดอื น ในกรณีทเ่ี ป็นการเร่ยี ไรทก่ี ระท�ำ อย่างต่อเนื่องและปดิ ประกาศ เปดิ เผย ณ ทที่ �ำ การของหนว่ ยงานของรฐั ทไี่ ดท้ �ำ การเรยี่ ไรไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ วนั เพอื่ ใหบ้ คุ คลทวั่ ไปไดท้ ราบและ จดั ใหม้ เี อกสารเกยี่ วกบั การด�ำ เนนิ การเรย่ี ไรดงั กลา่ วไว้ ณ สถานทสี่ �ำ หรบั ประชาชนสามารถใชใ้ นการคน้ หาและ ศึกษาข้อมูลข่าวสารของราชการดว้ ย (๕) รายงานการเงนิ ของการเร่ยี ไรพรอ้ มทงั้ สง่ บญั ชีตาม (๔) ให้สำ�นักงานการตรวจเงินแผน่ ดินภายใน สามสิบวันนับแต่วันท่ีได้จัดทำ�บัญชีตาม (๔) แล้วเสร็จ หรือในกรณีท่ีเป็นการเร่ียไรท่ีได้กระทำ�อย่างต่อเนื่อง ใหร้ ายงานการเงนิ พร้อมทง้ั ส่งบัญชดี ังกล่าวทกุ สามเดอื น ข้อ ๒๑ ในการเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนินการ ดังต่อไปน้ี (๑) ก�ำ หนดประโยชนท์ ผี่ บู้ รจิ าคหรอื บคุ คลอื่นจะได้รบั ซงึ่ มใิ ช่ประโยชนท์ หี่ น่วยงานของรฐั ได้ประกาศไว้ (๒) ก�ำ หนดใหผ้ บู้ รจิ าคตอ้ งบรจิ าคเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ เปน็ จ�ำ นวนหรอื มลู คา่ ทแี่ นน่ อน เวน้ แต่ โดยสภาพ มีความจำ�เป็นต้องกำ�หนดเป็นจำ�นวนเงินที่แน่นอน เช่น การจำ�หน่ายบัตรเข้าชมการแสดงหรือบัตรเข้าร่วม การแขง่ ขัน เป็นตน้ (๓) กระทำ�การใด ๆ ท่เี ปน็ การบงั คบั ใหบ้ ุคคลใดทำ�การเรย่ี ไรหรอื บรจิ าค หรอื กระทำ�การในลักษณะ ท่ที ำ�ให้บคุ คลน้ันต้องตกอยใู่ นภาวะจำ�ยอมไมส่ ามารถปฏเิ สธหรอื หลกี เล่ยี งท่ีจะไมช่ ่วยทำ�การเรี่ยไรหรอื บริจาค ไมว่ ่าโดยทางตรงหรือทางออ้ ม (๔) ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีของรัฐออกทำ�การเร่ยี ไร หรอื ใช้ สั่ง ขอรอ้ ง หรอื บงั คับให้ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาหรอื บคุ คล อ่นื ออกท�ำ การเรี่ยไร ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลท่ีได้รับอนุญาต จากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเร่ียไรซ่ึงมิใช่หน่วยงานของรัฐจะต้อง ไมก่ ระท�ำการดังตอ่ ไปน้ี (๑) ใช้หรือแสดงตำ�แหน่งหน้าที่ให้ปรากฏในการดำ�เนินการเรี่ยไรไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาด้วยสิ่งพิมพ์ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการพิมพ์หรือสอ่ื อยา่ งอ่นื หรือด้วยวิธกี ารอ่ืนใด (๒) ใช้ ส่ัง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลใดช่วยทำ�การเร่ียไรให้ หรือกระทำ� ในลักษณะที่ทำ�ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือบุคคลอื่นน้ันต้องตกอยู่ในภาวะจำ�ยอมไม่สามารถปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยง ทจ่ี ะไมช่ ว่ ยทำ�การเร่ยี ไรใหไ้ ด้ ไมว่ ่าโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม ๔. วธิ คี ิดแบบฐาน ๑๐ (Analog thinking)/ฐาน ๒ (Digital thinking) แนวทางการแก้ปัญหาการทุจริตอย่างยั่งยืน ต้องเร่ิมต้นแก้ไขท่ีตัวบุคคล โดยการปรับเปล่ียนระบบ การคิดของคนในสงั คมแยกแยะใหไ้ ด้วา่ … “เรอ่ื งใดเป็นประโยชนส์ ว่ นตน...เรอื่ งใดเป็นประโยชน์สว่ นรวม” ต้องแยกออกจากกันให้ได้อย่างเด็ดขาด ไม่น�ำมาปะปนกัน ไม่เอาประโยชน์ส่วนรวมมาเป็นประโยชน์ ส่วนตน ไม่เอาผลประโยชน์ส่วนรวมมาทดแทนบุญคุณส่วนตน ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง เหนือกวา่ ประโยชน์สว่ นรวม กรณีเกดิ ผลประโยชนข์ ดั กนั ตอ้ งยึดประโยชน์ส่วนรวมเหนือกวา่ ประโยชนส์ ่วนตน หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้น�ำ การเปลยี่ นแปลงสูส่ งั คมท่ไี มท่ นตอ่ การทจุ รติ 25 123

โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่ม “เจ้าหน้าท่ีของรัฐ” ซึ่งมีอ�ำนาจหน้าท่ีที่จะต้องกระท�ำการหรือใช้ดุลยพินิจ ในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของส่วนรวม หากปล่อยให้มีผลประโยชน์ส่วนตนหรือความสัมพันธ์ สว่ นตนเขา้ มามสี ว่ นในการตดั สนิ ใจแลว้ ยอ่ มตอ้ งเกดิ การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม หรือผลประโยชน์ทับซอ้ น (Conflict of Interest) ขึน้ แน่นอน และความเสียหายก็จะตกอยกู่ บั ประชาชนและ ประเทศชาตนิ ั่นเอง ระบบคิดท่ีจะกล่าวต่อไปน้ี… เป็นการน�ำมาประยุกต์ใช้และเปรียบเทียบ เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐน�ำไป เป็น “หลักคิด” ในการปฏบิ ัตงิ านให้สามารถแยกประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวมได้อยา่ งเด็ดขาด คือ “ระบบคิด ฐานสบิ (Analog)” กับ “ระบบคดิ ฐานสอง (Digital)” ทำ�ไม จงึ ใชร้ ะบบเลขฐานสิบ (Analog) และระบบเลขฐานสอง (Digital) มาใช้แยกแยะการแกท้ ุจริต เรามาท�ำ ความเข้าใจในระบบ… ฐานสบิ (Analog), ฐานสอง (Digital) กันเถอะ 26 หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปล่ยี นแปลงสสู่ ังคมทีไ่ ม่ทนต่อการทุจรติ 124

ระบบเลข “ฐานสบิ ” (decimal number system) หมายถงึ ระบบเลขทมี่ ตี วั เลข ๑๐ ตัว คอื ๐ , ๑ , ๒ , ๓ , ๔ , ๕ , ๖ , ๗ , ๘ , ๙ เปน็ ระบบคิดเลขทเ่ี ราใชใ้ นชวี ิต ประจ�ำวนั กนั มา ต้ังแต่จ�ำความกันได้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้บอกปริมาณหรือบอกขนาด ช่วยให้เกิดความเข้าใจ ที่ตรงกันในการสื่อความหมาย สอดคลอ้ งกับระบบ “Analog” ทีใ่ ช้ค่าต่อเนื่องหรือสัญญาณ ซึ่งเปน็ ค่าตอ่ เนอ่ื ง หรือแทนความหมายของข้อมลู โดยการใชฟ้ ังชัน่ ท่ีต่อเนื่อง (Continuous) ระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) หมายถงึ ระบบเลขท่มี สี ญั ลกั ษณ์ เพียงสองตัว คอื ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หนึ่ง) สอดคลอ้ งกับการท�ำ งานระบบ Digital ทม่ี ีลกั ษณะ การทำ�งานภายในเพียง ๒ จังหวะ คือ ๐ กบั ๑ หรือ ON กบั OFF (Discrete) ตดั เด็ดขาด จากทก่ี ล่าวมา... เม่ือน�ำระบบเลข “ฐานสบิ Analog” และ ระบบเลข “ฐานสอง Digital” มาปรบั ใช้ เป็นแนวคิด คือ ระบบคดิ “ฐานสิบ Analog” และ ระบบคดิ “ฐานสอง Digital” จะเห็นได้วา่ ... ระบบคิด “ฐานสิบ Analog” เป็นระบบการคิดวิเคราะห์ข้อมูลที่มีตัวเลขหลายตัว และอาจหมายถึง โอกาสที่จะเลือกไดห้ ลายทาง เกดิ ความคดิ ท่ีหลากหลาย ซบั ซอ้ น หากน�ำมาเปรียบเทยี บกับการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าทีข่ องรฐั จะท�ำใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งคิดเยอะ ต้องใช้ดุลยพินิจเยอะ อาจจะน�ำประโยชนส์ ่วนตนและ ประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกันได้ แยกประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมออกจากกนั ไม่ได้ ระบบคิด “ฐานสอง Digital” เป็นระบบการคดิ วเิ คราะห์ข้อมูลท่สี ามารถเลือกไดเ้ พียง ๒ ทางเทา่ นัน้ คอื ๐ (ศูนย์) กับ ๑ (หน่งึ ) และอาจหมายถึงโอกาสท่ีจะเลือกได้เพียง ๒ ทาง เช่น ใช่ กับ ไมใ่ ช่, เท็จ กบั จรงิ , ท�ำได้ กับ ท�ำไม่ได,้ ประโยชนส์ ว่ นตน กับ ประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ ต้น จึงเหมาะกบั การน�ำมาเปรยี บเทยี บกบั การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องสามารถแยกเร่ืองต�ำแหน่งหน้าที่กับเร่ืองส่วนตัวออกจากกันได้อย่าง เด็ดขาด และไมก่ ระท�ำการทเ่ี ป็นการขัดกนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม ระบบคดิ “ฐานสบิ Analog” Vs ระบบคิด “ฐานสอง Digital” “การปฏบิ ตั งิ านแบบใชร้ ะบบคดิ ฐานสบิ (Analog)” คอื การทเี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั มรี ะบบการคดิ ทยี่ งั แยก เร่ืองต�ำแหน่งหน้าท่ีกับเร่ืองส่วนตนออกจากกันไม่ได้ น�ำประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกัน ไปหมด แยกแยะไม่ออกว่าสง่ิ ไหนคอื ประโยชนส์ ว่ นตน ส่งิ ไหนคือประโยชน์สว่ นรวม น�ำบคุ ลากรหรือทรัพย์สนิ หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผู้น�ำ การเปล่ียนแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ รติ 27 125

ของราชการมาใช้เพ่ือประโยชน์ส่วนตน เบียดบังราชการ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน เครือญาติ หรือพวกพ้อง เหนอื กวา่ ประโยชนข์ องสว่ นรวมหรอื ของหนว่ ยงาน จะคอยแสวงหาประโยชนจ์ ากต�ำแหนง่ หนา้ ทรี่ าชการ กรณี เกดิ การขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม จะยดึ ประโยชน์ส่วนตนเป็นหลัก “การปฏบิ ตั งิ านแบบใชร้ ะบบคดิ ฐานสอง (Digital)” คอื การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั มรี ะบบการคดิ ทสี่ ามารถ แยกเรื่องต�ำแหนง่ หนา้ ท่กี บั เรื่องสว่ นตนออกจากกนั แยกออกอย่างชดั เจนว่าสิ่งไหนถกู ส่ิงไหนผดิ ส่งิ ไหนท�ำได้ สิง่ ไหนท�ำไม่ได้ ส่งิ ไหนคอื ประโยชน์ส่วนตนสิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนรวม ไม่น�ำมาปะปนกนั ไมน่ �ำบุคลากรหรือ ทรพั ยส์ นิ ของราชการมาใชเ้ พอื่ ประโยชนส์ ว่ นตน ไมเ่ บยี ดบงั ราชการ เหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมหรอื ของหนว่ ยงาน เหนอื กวา่ ประโยชนข์ องสว่ นตน เครอื ญาติ และพวกพอ้ ง ไมแ่ สวงหาประโยชนจ์ ากต�ำแหนง่ หนา้ ทรี่ าชการ ไมร่ บั ทรัพย์สินหรอื ประโยชน์อืน่ ใดจากการปฏบิ ัตหิ น้าที่ กรณเี กดิ การขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ สว่ นรวม ก็จะยดึ ประโยชน์สว่ นรวมเปน็ หลัก ๕. บทบาทของรฐั /เจ้าหน้าที่ของรฐั (มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ) หลักคิดการแยกประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมอย่างเด็ดขาด ดังกล่าวน้ี สอดคล้องกับ แนวปฏิบตั ขิ องเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ตามประมวลจรยิ ธรรมข้าราชการพลเรอื น ข้อ ๕ ท่กี �ำหนดใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีของรัฐ ตอ้ งแยกเรอ่ื งสว่ นตวั ออกจากต�ำแหนง่ หนา้ ท่ี และยดึ ถอื ประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศชาติ เหนอื กวา่ ประโยชน์ สว่ นตน โดยอย่างนอ้ ยตอ้ งวางตน ดังนี้ (๑) ไมน่ �ำความสมั พนั ธส์ ่วนตวั ท่ตี นมตี ่อบคุ คลอืน่ ไมว่ ่าจะเป็นญาติพี่น้อง พรรคพวก เพอื่ นฝูง หรอื ผมู้ ี บุญคณุ ส่วนตวั มาประกอบการใชด้ ลุ พินจิ ใหเ้ ป็นคณุ หรอื เปน็ โทษแกบ่ ุคคลนนั้ หรอื ปฏบิ ัตติ อ่ บคุ คลนน้ั ต่างจาก บุคคลอ่นื เพราะชอบหรอื ชัง (๒) ไมใ่ ช้เวลาราชการ เงิน ทรัพยส์ ิน บคุ ลากร บรกิ าร หรอื สง่ิ อ�ำนวยความสะดวกของทางราชการไป เพอื่ ประโยชน์สว่ นตัวของตนเองหรือผอู้ นื่ เวน้ แต่ไดร้ ับอนุญาตโดยชอบดว้ ยกฎหมาย (๓) ไมก่ ระท�ำการใด หรอื ด�ำรงต�ำแหนง่ หรอื ปฏบิ ตั กิ ารใดในฐานะสว่ นตวั ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเคลอื บแคลง หรือสงสยั วา่ จะขดั กบั ประโยชน์สว่ นรวมที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของหน้าที่ ในกรณมี คี วามเคลอื บแคลงหรอื สงสยั ใหข้ า้ ราชการผนู้ น้ั ยตุ กิ ารกระท�ำดงั กลา่ วไวก้ อ่ นแลว้ แจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บัญชา หัวหน้าส่วนราชการ และคณะกรรมการจริยธรรมพิจารณา เม่ือคณะกรรมการจริยธรรมวินิจฉัย เป็นประการใดแล้วจงึ ปฏบิ ตั ติ ามนนั้ (๔) ในการปฏิบัติหน้าที่ที่รับผิดชอบในหน่วยงานโดยตรงหรือหน้าที่อ่ืนในราชการรัฐวิสาหกิจ องค์การ มหาชน หรอื หนว่ ยงานของรฐั ขา้ ราชการตอ้ งยดึ ถอื ประโยชนข์ องทางราชการเปน็ หลกั ในกรณที มี่ คี วามขดั แยง้ ระหว่างประโยชน์ของทางราชการหรือประโยชน์ส่วนรวม กับประโยชน์ส่วนตนหรือส่วนกลุ่ม อันจ�ำเป็นต้อง วินจิ ฉัยหรือช้ีขาด ตอ้ งยึดประโยชนข์ องทางราชการและประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ ส�ำคัญ 28 หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ ำ�การเปลยี่ นแปลงสู่สังคมทีไ่ ม่ทนตอ่ การทจุ รติ 126

นอกจากน้ี ยงั สอดคลอ้ งกบั แนวปฏบิ ตั ขิ องเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ในระดบั สากล ซง่ึ องคก์ รในระดบั สากลตา่ งกใ็ ห้ ความส�ำคญั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากจรรยาบรรณสากลส�ำหรบั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตามประกาศขององคก์ ารสหประชาชาติ และอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ (United Nations Convention Against Corruption- UNCAC) ค.ศ. ๒๐๐๓ ที่ก�ำหนดให้การแยกเรื่องส่วนตัวออกจากต�ำแหน่งหน้าที่เป็นมาตรฐานความประพฤติ ส�ำหรบั เจา้ หน้าที่ของรฐั ในการปฏิบัติงานของรฐั แต่ละรฐั และระหว่างรัฐ จรรยาบรรณระหวา่ งประเทศส�ำหรับเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ จรรยาบรรณระหว่างประเทศส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ท่ีระบุในภาคผนวกของมติสหประชาชาติ คร้ังที่ ๕๑/๕๙ เม่อื วันท่ี ๑๒ ธนั วาคม ๑๙๙๖ (พ.ศ. ๒๕๓๙) ผลประโยชน์ขัดกัน และการขาดคุณสมบตั ิ ๔. เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่พึงใช้อ�ำนาจในต�ำแหน่งหน้าที่ของตนในการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตนหรือ ผลประโยชนท์ างการเงนิ อนั ไมส่ มควรส�ำหรบั ตนหรอื สมาชกิ ในครอบครวั ไมพ่ งึ ประกอบธรุ กรรมเขา้ รบั ต�ำแหนง่ หรือหน้าท่ีหรือมีผลประโยชน์ทางการเงิน การค้า หรือผลประโยชน์อื่นใดในท�ำนองเดียวกันซ่ึงขัดกับต�ำแหน่ง บทบาทหนา้ ที่ หรือการปฏบิ ัตใิ นต�ำแหนง่ หรอื บทบาทหนา้ ที่นน้ั ๕. เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตามขอบเขตทกี่ �ำหนดโดยต�ำแหนง่ หนา้ ทขี่ องตนภายใตก้ ฎหมายหรอื นโยบายในการ บรหิ าร พงึ แจง้ เกยี่ วกบั ผลประโยชนท์ างธรุ กจิ การคา้ และการเงนิ หรอื กจิ การอนั ท�ำเพอื่ ผลตอบแทนทางการเงนิ ซงึ่ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชนข์ ดั กนั ไดใ้ นสถานการณท์ มี่ โี อกาสจะเกดิ หรอื ทด่ี เู หมอื นวา่ ไดเ้ กดิ กรณผี ลประโยชน์ ขัดกันขึ้นระหว่างหน้าท่ีและผลประโยชน์ส่วนตนของเจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใด เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นพึงปฏิบัติตาม มาตรการทีก่ �ำหนดไว้เพอ่ื ลดหรือขจดั ซง่ึ ผลประโยชนข์ ดั กนั นน้ั ๖. เจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่พึงใช้เงิน ทรัพย์สิน บริการ หรือข้อมูลซ่ึงได้มาจากการปฏิบัติงาน หรือเป็นผล มาจากการปฏบิ ัตงิ าน เพอ่ื กจิ การอนื่ ใดโดยไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั งานในต�ำแหน่งหนา้ ทโ่ี ดยไม่สมควรอย่างเดด็ ขาด ๗. เจ้าหน้าท่ีของรัฐ พึงปฏิบัติมาตรการซึ่งก�ำหนดโดยกฎหมายหรือนโยบายในการบริหาร เพื่อมิให้ ผลประโยชน์จากต�ำแหน่งหน้าท่ีเดิมของตนโดยไม่สมควรเมือ่ พน้ จากต�ำแหน่งหน้าทไ่ี ปแล้ว การรับของขวญั หรือของก�ำนลั ๙. เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไมพ่ งึ เรยี กรอ้ ง หรอื รบั ของขวญั หรอื ของก�ำนลั อน่ื ไมว่ า่ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม ซงึ่ อาจ มีอิทธิพลตอ่ การปฏบิ ตั งิ านตามบทบาท การด�ำเนนิ งานตามหนา้ ทห่ี รือการวนิ ิจฉยั ของตน หลักสตู รสร้างวิทยากรผนู้ �ำ การเปล่ียนแปลงสู่สงั คมท่ไี มท่ นต่อการทุจรติ 29 127

๖. กรณตี วั อยา่ งระบบคิดเพือ่ แยกแยะระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม 30 หลกั สตู รสร้างวิทยากรผูน้ ำ�การเปลยี่ นแปลงส่สู งั คมทไ่ี มท่ นตอ่ การทจุ รติ 128

หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ รติ 31 129

คิดแบบไหน? ...ไม่ทุจรติ คิดได้ - คิดกอ่ นท�ำ (กอ่ นกระท�ำการทจุ ริต) - คิดถึงผลเสียผลกระทบตอ่ ประเทศชาติ (ความเสยี หายทเี่ กดิ ขน้ึ กบั ประเทศในทุก ๆ ด้าน) - คดิ ถงึ ผู้ไดร้ ับบทลงโทษจากการทุจรติ (เอามาเปน็ บทเรียน) - คดิ ถงึ ผลเสยี ผลกระทบท่จี ะเกิดขนึ้ กบั ตนเอง (จะตอ้ งอยู่กบั ความเสยี่ งทีจ่ ะถูกร้องเรยี น ถูกลงโทษไลอ่ อกและตดิ คุก) - คิดถงึ คนรอบขา้ ง (เสอื่ มเสียต่อครอบครวั และวงศต์ ระกลู ) - คิดอยา่ งมสี ติสมั ปชัญญะ - คดิ แบบพอเพยี ง ไม่เบียดเบยี นตนเอง ไม่เบยี ดเบยี นผ้อู ่ืน และ คิดดี ไมเ่ บยี ดเบยี นประเทศชาติ - คดิ อยา่ งรับผิดชอบตามบทบาทหนา้ ท่ี กฎระเบยี บ - คิดตามคณุ ธรรม ว่า “ท�ำดีได้ดี ท�ำชั่วได้ช่วั ” คดิ เปน็ - คดิ แยกเร่ืองประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวมออกจากกนั อยา่ งชดั เจน - คดิ แยกเรอื่ งต�ำแหน่งหน้าที่ กบั เร่อื งสว่ นตวั ออกจากกัน - คิดทจ่ี ะไม่น�ำประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกัน มากา้ วก่ายกัน - คิดท่จี ะไมเ่ อาประโยชนส์ ่วนรวมมาเปน็ ประโยชน์สว่ นตน - คิดท่จี ะไมเ่ อาผลประโยชน์ส่วนรวมมาตอบแทนบญุ คุณส่วนตน - คดิ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน เครือญาติ และพวกพ้อง - คดิ ฐานสองและท้งิ ฐานสบิ 32 หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผ้นู ำ�การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ ริต 130

บรรณานกุ รม ก�ำชยั จงจกั รพนั ธ.์ (ม.ป.ป.). การขดั กนั แหง่ ผลประโยชนแ์ ละมาตรา ๑๐๐ พ.ร.บ. ป.ป.ช.. นนทบรุ :ี ส�ำนกั งาน คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาต.ิ ม.ป.ท.: ม.ป.พ. พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๖๑. (ม.ป.ป.). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต. สืบค้นเม่ือ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐, จาก https://www.nacc.go.th/ more_news.php?cid=๓๖ สทุ ธนิ นั ท์ สารมิ าน. (๒๕๕๒). การก�ำหนดต�ำแหนง่ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทต่ี อ้ งหา้ มด�ำเนนิ กจิ การอนั เปน็ การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวม ตามบทบญั ญตั มิ าตรา ๑๐๐ พระราชบญั ญตั ิ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบณั ฑิต, ภาควชิ านติ ศิ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ). สวุ รรณา ตลุ ยวศนิ พงศ์ และคณะ. (๒๕๔๖). รายงานผลการวจิ ยั เรอ่ื งความขดั แยง้ ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชน์ส่วนรวม. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. ส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. (๒๕๕๘). คมู่ อื แนวทางการสรา้ งมาตรฐานความโปรง่ ใสของสว่ น ราชการ. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น. ส�ำนักงานปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. (ม.ป.ป.) ค่มู ือการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักงานปลัดกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม. ส�ำนักงานปลดั กระทรวงพาณชิ ย์. (๒๕๕๙). คมู่ ือการป้องกนั ผลประโยชน์ทบั ซ้อน. กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานปลัด กระทรวงพาณชิ ย.์ ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๕๙). คมู่ ือการป้องกนั ผลประโยชนท์ ับซอ้ น. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . ส�ำนกั งานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตร.ี (๒๕๖๐). คมู่ ือป้องกนั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น. กรุงเทพฯ: ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร ต่อต้านการทจุ ริต (ศปท.). หนงั สอื ชดุ ความรกู้ ารเฝา้ ระวังการทุจรติ ของหนว่ ยงานภาครฐั ชดุ ท่ี ๓. (ม.ป.ป). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผู้น�ำ การเปล่ยี นแปลงสู่สังคมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ ริต 33 131

วิชาที่ ๒ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต หลักสตู รสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลย่ี นแปลงส่สู งั คมทีไ่ ม่ทนต่อการทจุ รติ วชิ าท่ี ๒ : เรื่อง ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต จ�ำนวนช่วั โมง : ๓ ช่วั โมง เรอ่ื ง : ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ สาระสำ�คัญ วชิ าน้ีเปน็ การเรียนรเู้ ก่ียวกบั แนวคิดเก่ียวกับความอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ความเปน็ พลเมือง ทไี่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ การแสดงออกถงึ การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ กรณศี กึ ษาปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ ในประเทศและ ต่างประเทศ ท่สี ะทอ้ นถึงความอายและความไมท่ นต่อการทุจริต เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถน�ำไปถา่ ยทอดได้อย่าง ถูกต้องและน�ำไปปรับใช้ได้อยา่ งเหมาะสมกบั ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม วตั ถุประสงค์ ๑. เพือ่ เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ การน�ำไปใช้ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และการประเมนิ เกี่ยวกับ ความไม่ทนและความอายต่อการทุจรติ ๒. เพอื่ สามารถถา่ ยทอดองคค์ วามรอู้ ยา่ งถกู ตอ้ งในเรอ่ื งความอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ใหผ้ เู้ รยี น น�ำไปปรับใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมกับผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. การทจุ รติ - ความหมาย/รูปแบบการทุจรติ - สาเหตุการเกดิ การทุจรติ - สถานการณ์การทุจรติ ในประเทศไทย - ผลกระทบจากการทจุ ริตตอ่ การพัฒนาประเทศ - ทิศทางการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ - กรณตี ัวอย่างผลท่ีเกิดจากการทจุ ริต ๒. ความอายต่อการทุจริต - ความเปน็ พลเมอื ง - แนวคิดเก่ียวกบั ความอายตอ่ การทจุ รติ ๓. ความไม่ทนต่อการทจุ ริต แนวคิดเกยี่ วกับความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๔. ตวั อยา่ งความอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ การแสดงออกถึงการไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๕. ลงโทษทางสงั คม 34 หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลยี่ นแปลงสู่สงั คมท่ีไมท่ นต่อการทจุ รติ 132

๖. ชอ่ งทางและวิธกี ารร้องเรยี นการทุจริต ๗. มาตรการคมุ้ ครองช่วยเหลอื พยานและการกนั บุคคลไวเ้ ป็นพยานโดยไมด่ �ำเนนิ คดี - มาตรการคมุ้ ครองช่วยเหลือพยาน - การกันบคุ คลไว้เปน็ พยานโดยไม่ด�ำเนนิ คดี - กฎ ก.พ. วา่ ด้วยหลักเกณฑ์และวิธกี ารการใหบ้ �ำเหน็จความชอบ การกันเป็นพยาน การลดโทษ และการใหค้ วามคุ้มครองพยาน พ.ศ. ๒๕๕๓ วธิ ีการฝึกอบรม การบรรยาย การคิดวิเคราะหก์ รณศี ึกษา การท�ำกิจกรรมกลุ่ม การอภิปรายกลุม่ ส่อื การเรียนรู้ PowerPoint วดิ โี อ หรือส่อื อืน่ ๆ ที่เหมาะสม การวดั และประเมินผล การทดสอบเนื้อหา (๒๐ คะแนน) หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผู้น�ำ การเปล่ยี นแปลงสูส่ ังคมที่ไม่ทนตอ่ การทุจรติ 35 133

เนอ้ื หาโดยสงั เขป หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้น�ำการเปลยี่ นแปลงสู่สังคมทีไ่ มท่ นต่อการทจุ ริต วิชาที่ ๒ : เรอื่ ง ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ จ�ำนวนชั่วโมง : ๓ ชวั่ โมง รายละเอียดเนื้อหา ๑. การทุจริต ปัญหาการทุจรติ เปน็ ปญั หาทสี่ �ำคัญทั้งของประเทศไทยและประเทศอืน่ ๆ ท่วั โลก ปัญหาการทุจริตจะ ท�ำใหเ้ กิดความเสือ่ มในดา้ นตา่ ง ๆ เกิดขน้ึ ทงั้ สงั คม เศรษฐกจิ การเมือง และนับวนั ปญั หาดงั กล่าวกจ็ ะรนุ แรง มากขนึ้ และมรี ปู แบบการทจุ รติ ทซ่ี บั ซอ้ น ยากแกก่ ารตรวจสอบมากขน้ึ จากเดมิ ทก่ี ระท�ำเพยี งสองฝา่ ย ปจั จบุ นั การทจุ รติ จะกระท�ำกนั หลายฝา่ ย ทง้ั ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื ง เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั และเอกชน โดยประกอบดว้ ย สองส่วนใหญ่ ๆ คอื ผ้ใู ห้ผลประโยชน์กับผู้รบั ผลประโยชน์ ซ่งึ ทั้งสองฝ่ายนีจ้ ะมีผลประโยชนร์ ว่ มกัน ตราบใดท่ี ผลประโยชนส์ มเหตสุ มผลตอ่ กนั กจ็ ะน�ำไปสปู่ ญั หาการทจุ รติ ได้ บางครง้ั ผทู้ รี่ บั ผลประโยชนก์ เ็ ปน็ ผใู้ หป้ ระโยชน์ ได้เชน่ กัน โดยผูร้ บั ผลประโยชนแ์ ละผูใ้ ห้ผลประโยชน์ คอื ผรู้ บั ผลประโยชน์ จะเปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ซง่ึ มอี �ำนาจหนา้ ทใ่ี นการกระท�ำ การด�ำเนนิ การตา่ ง ๆ และรบั ประโยชนจ์ ะเปน็ ไปในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การจัดซื้อจดั จ้าง การเรยี กรบั ประโยชนโ์ ดยตรง การก�ำหนดระเบยี บ หรือคุณสมบัติทีเ่ ออ้ื ตอ่ ตนเองและพวกพอ้ ง ผูใ้ หผ้ ลประโยชน์ เช่น ภาคเอกชน โดยการเสนอผลตอบแทนในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น เงิน สทิ ธิพิเศษอืน่ ๆ เพื่อจูงใจให้นักการเมือง เจ้าหน้าที่ของรัฐ กระท�ำการหรือไม่กระท�ำการอย่างใดอย่างหน่ึงในต�ำแหน่งหน้าท่ี ซ่งึ การกระท�ำดงั กล่าวเป็นการกระท�ำท่ีฝา่ ฝนื ตอ่ ระเบยี บหรือผดิ กฎหมาย เปน็ ต้น ๑.๑ ทุจริต คืออะไร ค�ำวา่ ทจุ รติ มกี ารใหค้ วามหมายไดม้ ากมายหลากหลาย ขนึ้ อยกู่ บั วา่ จะมกี ารใหค้ วามหมายดงั กลา่ วไวว้ า่ อยา่ งไร โดยที่ค�ำว่าทจุ ริตนนั้ จะมกี ารให้ความหมายโดยหน่วยงานของรัฐ หรอื การให้ความหมายโดยกฎหมาย ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมายจากแหล่งใด เนื้อหาส�ำคัญของค�ำว่าทุจริตก็ยังคงมีความหมายที่สอดคล้อง กนั อยู่ น่นั คือ การทุจริตเปน็ ส่ิงทไ่ี ม่ดี มกี ารแสวงหาหรอื เอาผลประโยชนข์ องส่วนรวม มาเป็นของส่วนตัว ทง้ั ๆ ทต่ี นเองไมไ่ ด้มสี ทิ ธิในส่งิ ๆ นั้น การยดึ ถือเอามาดงั กลา่ วจึงถอื เป็นสิ่งทีผ่ ิดท้งั ในแง่ของกฎหมายและศีลธรรม ในแง่ของกฎหมายนัน้ ประเทศไทยได้มกี ารก�ำหนดถงึ ความหมายของการทุจรติ ไว้หลกั ๆ ในกฎหมาย ๒ ฉบับ คอื ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) “โดยทุจริต” หมายถึง “เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ โดยชอบดว้ ยกฎหมายส�ำหรบั ตนเองหรือผอู้ ่ืน” พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔ ค�ำวา่ “ทจุ รติ ต่อหน้าที่” หมายถึง “ปฏิบตั ิหรอื ละเวน้ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งใดในต�ำแหนง่ หรือหน้าท่ีหรอื 36 หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสสู่ งั คมท่ไี มท่ นต่อการทจุ รติ 134

ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ ท่ีอาจท�ำให้ผู้อ่ืนเช่ือว่ามีต�ำแหน่งหรือหน้าที่ท้ังท่ีตนมิได้มี ต�ำแหน่งหรือหน้าที่นั้น หรือใช้อ�ำนาจในต�ำแหน่งหรือหน้าท่ี ทั้งน้ี เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบ ส�ำหรบั ตนเองหรอื ผ้อู ื่น” นอกจากนี้ ค�ำว่าทุจริต ยังได้มีการบัญญัติให้ความหมายเอาไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยระบไุ วว้ ่าทจุ รติ หมายถงึ “ความประพฤติชว่ั คดโกง ฉอ้ โกง” ในค�ำภาษาองั กฤษ ค�ำว่าทุจรติ จะตรงกบั ค�ำว่า Corruption (คอรร์ ัปชนั ) โดยในประเทศไทยมักมีการ กลา่ วถงึ ค�ำวา่ คอรร์ ัปชนั มากกว่าการใช้ค�ำวา่ ทุจริต โดยการทุจริตนีส้ ามารถใช้ไดก้ ับทุกที่ไม่วา่ จะเป็นหนว่ ยงาน ราชการ หนว่ ยงานของเอกชน หากเกดิ กรณกี ารยึดเอา ถือเอาซง่ึ ประโยชนส์ ว่ นตนมากกว่าส่วนร่วม ไมค่ �ำนงึ ถงึ วา่ สงิ่ ๆ นนั้ เปน็ ของตนเอง หรอื เปน็ สทิ ธทิ ต่ี นเองควรจะไดม้ าหรอื ไมแ่ ลว้ นน้ั กจ็ ะเรยี กไดว้ า่ เปน็ การทจุ รติ เชน่ การทจุ ริตในการเบกิ จ่ายเงิน ไมว่ ่าจะเกดิ ขน้ึ ในหน่วยงานของรฐั หรอื ของเอกชน การกระท�ำเชน่ นี้ กถ็ อื เปน็ การ ทุจรติ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากคอร์รัปชันมิได้เกิดเฉพาะในวงราชการเท่าน้ัน ดังน้ัน ในอีกมุมหน่ึงคอร์รัปชัน จงึ ต้องหมายรวมถึงการแสวงหาผลประโยชนข์ องภาคธรุ กิจเอกชน ในรูปของการให้สินบนหรือสง่ิ ตอบแทนแก่ นกั การเมอื งหรอื ขา้ ราชการเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ผลประโยชนท์ ตี่ นเองอยากไดใ้ นรปู แบบของการประมลู การสมั ปทาน เป็นต้น รูปแบบเหล่าน้ีจะสามารถสร้างก�ำไรให้แก่ภาคเอกชนเป็นจ�ำนวนมาก หากภาคเอกชนสามารถเข้ามา ด�ำเนินงานได้ รวมถึงการท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีความต้องการทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นนอกเหนือจากส่ิงท่ีได้รับ ตามปกติ เม่ือเหตุผลของทั้งสองฝา่ ยสามารถบรรจบหากันได้ การทจุ รติ ก็เกดิ ขนึ้ ได้ จากนยิ ามของการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ไมเ่ พยี งแตจ่ ะกนิ ความถงึ การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ในระบบราชการเทา่ นนั้ แต่ยงั ครอบคลุมไปถงึ เรอ่ื งกิจกรรมทางการเมอื ง เศรษฐกิจและสังคมในภาคเอกชนอกี ดว้ ย ซึ่งอาจกล่าว ไดว้ า่ การทุจริตคอรร์ ัปชนั คอื การทจุ รติ และ การประพฤติมชิ อบของข้าราชการ ดังนัน้ การทจุ ริต คอื การคดโกง ไม่ซ่อื สตั ย์สุจรติ การกระท�ำท่ผี ิดกฎหมาย เพอ่ื ใหเ้ กิดความได้เปรียบ ในการแข่งขัน การใช้อ�ำนาจหน้าที่ในทางที่ผิดเพื่อแสวงหาประโยชน์หรือให้ได้รับสิ่งตอบแทน การให้หรือ การรบั สนิ บน การก�ำหนดนโยบายที่เอ้ือประโยชนแ์ ก่ตนหรือพวกพอ้ งรวมถงึ การทุจรติ เชิงนโยบาย ๑.๒ รปู แบบการทุจรติ รปู แบบการทจุ รติ ที่เกดิ ขึน้ สามารถแบง่ ได้ ๓ ลักษณะ คือ แบ่งตามผู้ท่เี กี่ยวขอ้ ง แบ่งตามกระบวนการ ท่ใี ช้ และแบง่ ตามลกั ษณะรูปธรรม ดงั นค้ี อื ๑) แบ่งตามผู้ท่ีเก่ียวข้อง เป็นรูปแบบการทุจริตในเรื่องของอ�ำนาจและความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ระหว่างผู้ที่ให้การอุปถัมภ์ (ผู้ให้การช่วยเหลือ) กับผู้ถูกอุปถัมภ์ (ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ) โดยในกระบวนการ การทจุ ริตจะมี ๒ ประเภทคือ (๑) การทุจริตโดยข้าราชการ หมายถึง การกระท�ำท่ีมีการใช้หน่วยงานราชการเพ่ือมุ่งแสวงหา ผลประโยชน์จากการปฏิบัติงานของหน่วยงานนั้น ๆ มากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของสังคมหรือประเทศ โดยลกั ษณะของการทจุ ริตโดยข้าราชการสามารถแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภทยอ่ ย ดังนี้ ก) การคอรร์ ปั ชนั ตามน้�ำ (corruption without theft) จะปรากฏข้ึนเมือ่ เจา้ หนา้ ที่ของรฐั ตอ้ งการสนิ บนโดยใหม้ กี ารจา่ ยตามชอ่ งทางปกตขิ องทางราชการ แตใ่ หเ้ พมิ่ สนิ บนรวมเขา้ ไวก้ บั การจา่ ยคา่ บรกิ าร ของหน่วยงานนั้น ๆ โดยท่ีเงินค่าบริการปกติท่ีหน่วยงานน้ันจะต้องได้รับก็ยังคงได้รับต่อไป เช่น การจ่ายเงิน หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผูน้ �ำ การเปลยี่ นแปลงสสู่ ังคมที่ไมท่ นตอ่ การทุจริต 37 135

พิเศษใหแ้ ก่เจา้ หน้าท่ีในการออกเอกสารต่าง ๆ นอกเหนอื จากคา่ ธรรมเนียมปกติทีต่ อ้ งจา่ ยอยแู่ ลว้ เปน็ ต้น ข) การคอรร์ ปั ชนั ทวนนำ้� (corruption with theft) เปน็ การคอรร์ ปั ชนั ในลกั ษณะทเ่ี จ้าหนา้ ที่ ของรฐั จะเรยี กรอ้ งเงนิ จากผขู้ อรบั บรกิ ารโดยตรง โดยทห่ี นว่ ยงานนนั้ ไมไ่ ดม้ กี ารเรยี กเกบ็ เงนิ คา่ บรกิ ารแตอ่ ยา่ งใด เชน่ ในการออกเอกสารของหนว่ ยงานราชการไม่ไดม้ กี ารก�ำหนดให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการด�ำเนนิ การ แต่กรณี นม้ี กี ารเรียกเก็บค่าใชจ้ ่ายจากผู้ท่ีมาใช้บรกิ ารของหนว่ ยงานของรฐั (๒) การทุจริตโดยนักการเมือง (political corruption) เป็นการใช้หน่วยงานของทางราชการ โดยบรรดานกั การเมอื งเพอื่ มงุ่ แสวงหาผลประโยชนใ์ นทางการเงนิ มากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นรวมของสงั คมหรอื ประเทศ เชน่ เดยี วกัน โดยรปู แบบหรือวธิ ีการท่วั ไปจะมลี กั ษณะเช่นเดยี วกับการทจุ รติ โดยข้าราชการ แต่จะเปน็ ในระดับ ทส่ี งู กว่า เชน่ การทุจรติ ในการประมูลโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ และมกี ารเรียกรับ หรือยอมจะรบั ทรัพย์สนิ หรือประโยชนต์ ่าง ๆ จากภาคเอกชน เปน็ ตน้ ๒) แบง่ ตามกระบวนการทใ่ี ช้ มี ๒ ประเภท คอื (๑) เกดิ จากการใชอ้ �ำนาจในการก�ำหนด กฎ กตกิ าพน้ื ฐาน เช่น การออกกฎหมาย และกฎระเบียบต่าง ๆ เพ่ืออ�ำนวยประโยชน์ต่อกลุ่มธุรกิจของตนหรือพวกพ้อง และ (๒) เกิดจากการใช้อ�ำนาจหน้าท่ีเพ่ือแสวงหาผลประโยชน์จากกฎ และระเบียบที่ด�ำรงอยู่ ซ่ึงมักเกิดจากความ ไม่ชัดเจนของกฎและระเบียบเหล่านั้นที่ท�ำให้เจ้าหน้าที่สามารถใช้ความคิดเห็นของตนได้ และการใช้ความคิด เหน็ นนั้ อาจไมถ่ ูกต้องหากมกี ารใช้ไปในทางทผี่ ิดหรือไมย่ ตุ ิธรรมได้ ๓) แบง่ ตามลกั ษณะรูปธรรม มีทง้ั หมด ๔ รปู แบบคอื (๑) คอร์รัปชันจากการจัดซ้ือจัดหา (Procurement Corruption) เช่น การจัดซ้ือส่ิงของใน หน่วยงาน โดยมีการคิดราคาเพิ่มหรือลดคณุ สมบตั แิ ต่ก�ำหนดราคาซ้ือไวเ้ ท่าเดิม (๒) คอร์รัปชันจากการให้สัมปทานและสิทธิพิเศษ (Concessionaire Corruption) เช่น การให้ เอกชนรายใดรายหนง่ึ เข้ามามีสทิ ธใิ นการจดั ท�ำสัมปทานเปน็ กรณพี เิ ศษตา่ งกบั เอกชนรายอน่ื (๓) คอร์รปั ชนั จากการขายสาธารณสมบตั ิ (Privatization Corruption) เช่น การขายกจิ การของ รัฐวิสาหกจิ หรอื การยกเอาที่ดนิ ทรพั ยส์ ินไปเป็นสิทธกิ ารครอบครองของต่างชาติ เปน็ ต้น (๔) คอรร์ ปั ชนั จากการก�ำกบั ดแู ล (Regulatory Corruption) เชน่ การก�ำกบั ดแู ลในหนว่ ยงานแลว้ ท�ำการทจุ ริตต่าง เปน็ ตน้ นักวิชาการท่ีได้ศึกษาเก่ียวกับปัญหาการทุจริต ได้มีการก�ำหนดหรือแบ่งประเภทของการทุจริตเป็น รปู แบบตา่ ง ๆ ไว้ เชน่ การวจิ ยั ของรองศาสตราจารย์ ดร.นวลนอ้ ย ตรรี ตั น์ และคณะ ไดแ้ บง่ การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ออกเป็น ๓ รูปแบบ ได้แก่ ๑) การใช้อ�ำนาจในการอนุญาตให้ละเว้นจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ เพือ่ ลดตน้ ทนุ การท�ำธรุ กิจ ๒) การใชอ้ �ำนาจในการจัดสรรผลประโยชน์ในรปู ของสงิ่ ของ และบริการ หรอื สิทธิ ให้แก่เอกชน และ ๓) การใช้อ�ำนาจในการสร้างอุปสรรคในการให้บริการแก่ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เนอื่ งจากเงินเดือนและผลตอบแทนในระบบราชการตำ�่ เกินไปจนขาดแรงจูงใจในการท�ำงาน นอกจากน้ี จากผลการสอบสวนและศึกษาเรอ่ื งการทจุ รติ ของคณะกรรมการวสิ ามญั พิจารณาสอบสวน และศึกษาเร่ืองเก่ียวกับการทุจริตของวุฒิสภา (วิชา มหาคุณ) มีการแบ่งรูปแบบการทุจริตคอร์รัปช่ันออกเป็น ๕ ประเภท ได้แก่ 38 หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปล่ียนแปลงสู่สงั คมทไี่ มท่ นต่อการทจุ ริต 136

๑) การทุจริตเชิงนโยบาย เปน็ รูปแบบใหม่ของการทจุ ริตทแี่ ยบยล โดยอาศยั รูปแบบของกฎหมายหรอื มติของคณะรฐั มนตรี หรือ มติของคณะกรรมการเป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ ท�ำให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็น การกระท�ำทถี่ ูกต้องชอบธรรม ๒) การทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้าทีร่ าชการ เปน็ การใชอ้ �ำนาจและหนา้ ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบของตนในฐานะเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั เออื้ ประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเอง หรอื บคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ หรอื กลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่ ปจั จบุ นั มกั เกดิ จากความรว่ มมอื กนั ระหวา่ งนกั การเมอื ง พอ่ คา้ และ ขา้ ราชการประจ�ำ ๓) การทุจริตในการจัดซอื้ จัดจา้ ง การทจุ รติ ประเภทนจ้ี ะพบไดท้ ง้ั รปู แบบของการสมยอมราคา ตง้ั แตข่ นั้ ตอนการออกแบบ ก�ำหนดรายละเอยี ด หรือสเป็กงาน ก�ำหนดเง่ือนไข ค�ำนวณราคากลาง ออกประกาศประกวดราคา การขายแบบ การรับและ เปดิ ซอง การประกาศผล การอนมุ ตั ิ การท�ำสญั ญาทกุ ขน้ั ตอนของกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จา้ งลว้ นมชี อ่ งโหวใ่ หม้ กี าร ทจุ รติ กันได้อย่างง่าย ๆ นอกจากน้ี ยังมีการทจุ รติ ที่มาเหนือเมฆ คือ การอาศยั ความเปน็ หน่วยงานราชการดว้ ย กนั จงึ ไดร้ ับการยกเว้นและการไมถ่ ูกเพ่งเลง็ แต่ความจริง ผลประโยชนจ์ ากการรบั งานและเงนิ ทไ่ี ด้จากการรบั งานไมไ่ ดน้ �ำสง่ กระทรวงการคลงั แตเ่ ปน็ ผลประโยชนข์ องกลมุ่ บคุ คล ซงึ่ ไมแ่ ตกตา่ งอะไรกบั การจา้ งบรษิ ทั เอกชน ๔) การทุจรติ ในการให้สัมปทาน เปน็ การแสวงหาหรอื เออ้ื ประโยชนโ์ ดยมชิ อบจากโครงการหรอื กจิ การของรฐั ซงึ่ รฐั ไดอ้ นญุ าตหรอื มอบให้ เอกชนด�ำเนินการแทนให้ลักษณะสัมปทานผกู ขาดในกจิ การใดกิจการหน่งึ เช่น การท�ำสัญญาสัมปทานโรงงาน สรุ า การท�ำสญั ญาสมั ปทานโทรคมนาคม เปน็ ต้น ๕) การทุจริตโดยการท�ำลายระบบตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรฐั เปน็ การพยายามด�ำเนนิ การใหไ้ ดบ้ คุ คลซง่ึ มสี ายสมั พนั ธก์ บั ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื งในอนั ทจี่ ะเขา้ ไป ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีอ�ำนาจหน้าท่ีในการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ เช่น คณะ กรรมการการเลอื กต้งั คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ เป็นตน้ ท�ำให้องค์กรเหล่านี้ มีความอ่อนแอ ไม่สามารถตรวจสอบการใหอ้ �ำนาจรัฐไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๓ สาเหตุทีท่ �ำใหเ้ กิดการทจุ ริต จากการศึกษาวิจยั โครงการประเมนิ สถานการณ์ด้านการทจุ ริตในประเทศไทยของเสาวนยี ์ ไทยรุง่ โรจน์ ไดร้ ะบุ เง่อื นไข/สาเหตุทท่ี �ำให้เกดิ การทจุ รติ คอรร์ ปั ช่นั อาจมาจากสาเหตุภายในหรือสาเหตภุ ายนอก ดังนี้ (๑) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ พฤติกรรมส่วนตัวของข้าราชการบางคนที่เป็นคนโลภมาก เห็นแก่ได้ ไม่รู้จกั พอ ความเคยชินของข้าราชการที่คนุ้ เคยกบั การท่ีจะได้ “ค่าน�้ำร้อนน�ำ้ ชา” หรอื “เงินใตโ้ ตะ๊ ” จากผูม้ า ติดตอ่ ราชการ ขาดจิตส�ำนกึ เพ่อื ส่วนรวม (๒) ปัจจัยภายนอก ประกอบดว้ ย ๑) ดา้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ รายไดข้ องขา้ ราชการนอ้ ยหรอื ตำ่� มากไมไ่ ดส้ ดั สว่ นกบั คา่ ครองชพี ทส่ี งู ขน้ึ การเตบิ โตของระบบทนุ นยิ มทเ่ี นน้ การบรโิ ภค สรา้ งนสิ ยั การอยากได้ อยากมี เมอ่ื รายไดไ้ มเ่ พยี งพอกต็ อ้ งหาทาง ใชอ้ �ำนาจไปทุจริต หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปลย่ี นแปลงสูส่ งั คมทไ่ี มท่ นตอ่ การทุจริต 39 137

๒) ด้านสังคม ไดแ้ ก่ ค่านิยมของสังคมทีย่ กยอ่ งคนมเี งิน คนร่�ำรวย และไม่สนใจว่าเงนิ น้ันไดม้ า อยา่ งไร เกิดลัทธเิ อาอย่าง อยากได้ส่ิงทีค่ นรวยมี เมื่อเงนิ เดอื นของตนไมเ่ พยี งพอ กห็ าโดยวิธีมชิ อบ ๓) ด้านวัฒนธรรม ได้แก่ การนิยมจ่ายเงินของนักธุรกิจให้กับข้าราชการที่ต้องการความสะดวก รวดเรว็ หรอื การบรกิ ารทดี่ กี ว่าดว้ ยการลดตน้ ทุนท่ีจะตอ้ งปฏิบัติตามระเบียบ ๔) ดา้ นการเมือง ไดแ้ ก่ การทุจรติ ของข้าราชการแยกไม่ออกจากนักการเมือง การร่วมมอื ของคน สองกล่มุ นเี้ กิดขึ้นไดใ้ นประเด็นการใช้จ่ายเงนิ การหารายได้และการตัดสนิ พิจารณาโครงการของรฐั ๕) ด้านระบบราชการ ไดแ้ ก่ - ความบกพรอ่ งในการบรหิ ารงานเปดิ โอกาสใหเ้ กดิ การทจุ ริต - การใช้ดุลพนิ ิจมากและการผูกขาดอ�ำนาจจะท�ำให้อัตราการทุจรติ ในหน่วยงานสงู - การทขี่ ั้นตอนของระเบียบราชการมมี ากเกนิ ไป ท�ำใหผ้ ทู้ ่ไี ปติดตอ่ ตอ้ งเสียเวลามาก จึงเกิด การสมยอมกนั ระหวา่ งผู้ใหก้ บั ผ้รู ับ - การตกอยใู่ ตภ้ าวะแวดลอ้ มและอทิ ธพิ ลของผทู้ จุ รติ มที างเปน็ ไปไดท้ ผี่ นู้ นั้ จะท�ำการทจุ รติ ดว้ ย - การรวมอ�ำนาจ ระบบราชการมลี กั ษณะทร่ี วมศนู ย์ ท�ำใหไ้ มม่ รี ะบบตรวจสอบทเี่ ปน็ จรงิ และ มปี ระสิทธภิ าพ - ต�ำแหน่งหน้าท่ีในลักษณะอ�ำนวยต่อการกระท�ำผิด เช่น อ�ำนาจในการอนุญาต การอนุมัติ จดั ซอ้ื จดั จา้ ง ผู้ประกอบการเอกชนมักจะยอมเสยี เงินตดิ สนิ บนเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื ให้เกดิ ความสะดวกและรวดเรว็ - การที่ข้าราชการผู้ใหญ่ทุจริตให้เห็นเป็นตัวอย่างแล้วไม่ถูกลงโทษ ข้าราชการชั้นผู้น้อยจึง เลยี นแบบกลายเปน็ ความเคยชนิ และมองไมเ่ หน็ วา่ การกระท�ำเหลา่ นนั้ จะเปน็ การคอรร์ ปั ชน่ั หรอื มคี วามสบั สน ระหว่างสินนำ�้ ใจกับคอรร์ ปั ช่นั แยกออกจากกัน ๖) กฎหมายและระเบยี บ ไดแ้ ก่ - กฎหมายหลายฉบับทีใ่ ช้อยยู่ ังมี “ช่องโหว่” ที่ท�ำให้เกดิ การทจุ รติ ทดี่ �ำรงอย่ไู ด้ - การทุจริตไม่ได้เป็นอาชญากรรมให้คู่กรณีทั้งสองฝ่าย หาพยานหลักฐานได้ยาก ย่ิงกว่าน้ัน คู่กรณีท้ังสองฝ่ายมักไม่ค่อยมีฝ่ายใดยอมเปิดเผยออกมา และถ้าหากมีฝ่ายใดต้องการที่จะเปิดเผยความจริง ในเรือ่ งน้ี กฎหมายหมิ่นประมาทกย็ ับยง้ั เอาไว้ อกี ทัง้ กฎหมายของทกุ ประเทศเอาผดิ กับบุคคลผู้ใหส้ นิ บนเทา่ ๆ กับผูร้ ับสินบน จึงไม่ค่อยมผี ูใ้ ห้สินบนรายใดกล้าด�ำเนนิ คดกี บั ผ้รู บั สินบน - ราษฎรที่รู้เห็นการทุจริตก็เป็นโจทก์ฟ้องร้องมิได้เน่ืองจากไม่ใช่ผู้เสียหาย ย่ิงกว่าน้ัน กระบวนการพิจารณาพิพากษายังยงุ่ ยากซบั ซ้อนจนกลายเปน็ ผลดแี กผ่ ทู้ ุจรติ - ขน้ั ตอนทางกฎหมายหรือระเบียบปฏบิ ัตยิ ่งุ ยาก ซบั ซอ้ น มขี ัน้ ตอนมาก ท�ำให้เกิดช่องทาง ใหข้ า้ ราชการหาประโยชนไ์ ด้ ๗) การตรวจสอบ ไดแ้ ก่ - ภาคประชาชนขาดความเข้มแข็ง ท�ำให้กระบวนการต่อต้านการทุจริตจากฝ่ายประชาชน ไมเ่ ขม้ แขง็ เทา่ ทคี่ วร - การขาดการควบคมุ ตรวจสอบ ของหนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ทตี่ รวจสอบหรอื ก�ำกบั ดแู ลอยา่ งจรงิ จงั 40 หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปลย่ี นแปลงส่สู ังคมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ 138

๘) สาเหตอุ ื่น ๆ - อิทธิพลของภรรยาหรือผู้หญิง เน่ืองจากเป็นผู้ใกล้ชิดสามีอันเป็นตัวการส�ำคัญท่ีสนับสนุน และส่งเสริมใหส้ ามีของตนท�ำการทจุ ริตเพือ่ ความเปน็ อยู่ของครอบครัว - การพนนั ท�ำให้ขา้ ราชการท่ีเสียพนันมแี นวโนม้ จะทุจริตมากข้นึ ๑.๔ ระดับการทจุ ริตในประเทศไทย ๑) การทจุ รติ ระดบั ชาติ เปน็ รปู แบบการทจุ รติ ของนกั การเมอื งทใ่ี ชอ้ �ำนาจในการบรหิ ารราชการ รวมถงึ อ�ำนาจนิติบัญญัติ เป็นเคร่ืองมือในการออกกฎหมาย แก้ไขกฎหมาย การออกนโยบายต่าง ๆ โดยการอาศัย ชอ่ งว่างทางกฎหมาย ๒) การทุจริตในระดับท้องถิ่น การบริหารราชการในรูปแบบท้องถิ่นเป็นการกระจายอ�ำนาจเพื่อให้ บรกิ ารต่าง ๆ ของรัฐสามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนได้มากขนึ้ แตก่ ารด�ำเนินการในรปู แบบ ของทอ้ งถิ่นกก็ ่อให้เกดิ ปญั หาการทจุ รติ เป็นจ�ำนวนมาก ผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ จะเป็นนกั การเมอื งทีอ่ ยใู่ นท้องถิน่ นน้ั หรอื นักธุรกิจทีป่ รับบทบาทตนเองมาเปน็ นักการเมือง และเมือ่ เป็นนกั การเมือง เปน็ ผู้บรหิ ารท้องถิน่ แล้วกเ็ ป็น โอกาสในการแสวงหาผลประโยชนส์ �ำหรบั ตนเองและพวกพ้องได้ ระดับการทุจริตในประเทศไทยท่ีแบ่งออกเป็นระดับชาติและระดับท้องถ่ินส่วนใหญ่มักจะมีรูปแบบการ ทุจริตที่คล้ายกัน เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การประมูล การซื้อขายต�ำแหน่ง โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่นท่ีมีข่าว จ�ำนวนมากเกยี่ วกบั ผบู้ รหิ ารทอ้ งถนิ่ เรยี กรบั ผลประโยชนใ์ นการปรบั เปลยี่ นต�ำแหนง่ หรอื เลอ่ื นต�ำแหนง่ เปน็ ตน้ โดยการทุจริตท่ีเกิดขึ้นอาจจะไม่ใช่การทุจริตที่เป็นตัวเงินให้เห็นได้ชัดเจนเท่าใด แต่จะแฝงตัวอยู่ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ หากไม่พจิ ารณาใหด้ แี ลว้ อาจมองไดว้ า่ การกระท�ำดังกล่าวไม่ใช่การทุจริต แต่แทจ้ ริงแลว้ การกระท�ำนั้น เปน็ การทจุ รติ อยา่ งหนงึ่ และรา้ ยแรงมากพอทจี่ ะสง่ ผลกระทบ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ สงั คม ประเทศชาตไิ ด้ เชน่ กนั ตวั อยา่ งเชน่ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านซงึ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาใหค้ ะแนนประเมนิ พเิ ศษแกล่ กู นอ้ งทตี่ นเอง ชอบ ท�ำให้ได้รับเงินเดือนในอัตราที่สูงกว่าความเป็นจริงที่บุคคลนั้นควรจะได้รับ เป็นต้น การกระท�ำดังกล่าว ถอื เปน็ ความผดิ ทางวนิ ยั ซงึ่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จะมบี ทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั ประมวลจรยิ ธรรมขา้ ราชการพลเรอื นใหย้ ดึ ถอื ปฏิบตั ิอยูแ่ ลว้ ๑.๕ สถานการณ์การทจุ รติ ของประเทศไทย การทุจริตท่ีเกิดข้ึนย่อมส่งผลต่อภาพลักษณ์ของประเทศ หากประเทศใดมีการทุจริตน้อยจะส่งผลให้ ประเทศน้ันมีความเป็นอยู่ที่ดี นักลงทุนมีความต้องการที่จะมาลงทุนในประเทศ ซ่ึงหมายถึงเศรษฐกิจของ ประเทศจะสามารถพัฒนาไปได้อย่างต่อเน่ือง แต่หากมีการทุจริตเป็นจ�ำนวนมากนักธุรกิจย่อมไม่กล้าที่จะ ลงทนุ ในประเทศนั้น ๆ เนือ่ งจากตอ้ งเสียค่าใช้จ่ายในการท�ำธุรกิจทีม่ ากกว่าปกติ แตห่ ากสามารถด�ำเนินธรุ กจิ ดงั กลา่ วได้ ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ยอ่ มตกแกผ่ บู้ รโิ ภคทจ่ี ะตอ้ งซอื้ สนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี รี าคาสงู หรอื อกี กรณหี นงึ่ คอื การใช้ สินคา้ และบรกิ ารทไ่ี มม่ คี ณุ ภาพ ดังนน้ั จึงไดม้ กี ารวัดและจดั อนั ดับประเทศต่าง ๆ เพ่อื บ่งบอกถงึ สถานการณ์ การทจุ รติ ซงึ่ การทจุ รติ ทผี่ า่ นมานอกจากจะพบเหน็ ขา่ วการทจุ รติ ดว้ ยตนเอง และผา่ นสอื่ ตา่ ง ๆ แลว้ ยงั มตี วั ชวี้ ดั ที่ส�ำคัญอีกตัวหนึ่งท่ีได้รับการยอมรับ คือ ตัวช้ีวัดขององค์กรเพ่ือความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International : TI) ได้จดั อันดบั ดัชนีการรบั ร้กู ารทจุ รติ ประจ�ำปี ๒๕๖๐ พบว่า ประเทศไทยได้ ๓๗ คะแนน จากคะแนนเตม็ ๑๐๐ คะแนน อยูอ่ นั ดับที่ ๙๖ จากการจดั อนั ดับทั้งหมด ๑๘๐ ประเทศท่ัวโลก หากเทียบกบั ปี ๒๕๕๙ ประเทศไทยได้คะแนน ๓๕ คะแนน อยู่ล�ำดบั ที่ ๑๐๑ เท่ากบั ว่าประเทศไทย มคี ะแนนความโปร่งใส ดีข้ึน แต่ยังแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยยังมีการทุจริตคอร์รัปชันอยู่ในระดับสูงซ่ึงสมควรได้รับการแก้ไขอย่าง เร่งด่วน โดยคะแนนของประเทศไทยมดี ังตารางนี้ หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมท่ไี ม่ทนต่อการทุจรติ 41 139

ตารางที่ ๑ แสดงค่าคะแนนดชั นีการรับรูก้ ารทจุ ริตของประเทศไทย ระหว่างปี ๒๕๔๗-๒๕๖๐ ปี พ.ศ. คะแนน อนั ดบั จ�ำนวนประเทศ ๒๕๔๗ ๓.๖๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๖๔ ๑๔๖ ๒๕๔๘ ๓.๘๐ (คะแนนเตม็ ๑๐) ๕๙ ๑๕๙ ๒๕๔๙ ๓.๖๐ (คะแนนเตม็ ๑๐) ๖๓ ๑๖๓ ๒๕๕๐ ๓.๓๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๔ ๑๗๙ ๒๕๕๑ ๓.๕๐ (คะแนนเตม็ ๑๐) ๘๐ ๑๘๐ ๒๕๕๒ ๓.๔๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๘๔ ๑๘๐ ๒๕๕๓ ๓.๕๐ (คะแนนเต็ม ๑๐) ๗๘ ๑๗๘ ๒๕๕๔ ๓.๔๐ (คะแนนเตม็ ๑๐) ๘๐ ๑๘๓ ๒๕๕๕ ๓๗ (คะแนนเตม็ ๑๐๐) ๘๘ ๑๗๖ ๒๕๕๖ ๓๕ (คะแนนเต็ม ๑๐๐) ๑๐๒ ๑๗๗ ๒๕๕๗ ๓๘ (คะแนนเต็ม ๑๐๐) ๘๕ ๑๗๕ ๒๕๕๘ ๓๘ (คะแนนเตม็ ๑๐๐) ๗๖ ๑๖๘ ๒๕๕๙ ๓๕ (คะแนนเตม็ ๑๐๐) ๑๐๑ ๑๗๖ ๒๕๖๐ ๓๗ (คะแนนเต็ม ๑๐๐) ๙๖ ๑๘๐ และเมอ่ื จดั อนั ดบั ประเทศในกลมุ่ อาเซยี น จ�ำนวน ๑๐ ประเทศ เพอื่ เปรยี บเทยี บดชั นรี บั รกู้ ารทจุ รติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ประเทศสงิ คโปรย์ ังคงอันดบั หน่ึงในกลมุ่ อาเซียนเชน่ เดียวกบั ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ตามตารางดา้ นลา่ งนี้ ตารางท่ี ๒ แสดงค่าคะแนนดัชนีการรบั รู้การทุจริต ประจ�ำปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ในภมู ภิ าคอาเซยี น อันดับประเทศ ประเทศ คะแนนปี ๒๕๖๐ คะแนนปี ๒๕๕๙ คะแนนปี ๒๕๕๘ ในอาเซยี น สิงคโปร์ ๘๔ ๘๔ ๘๕ ๑ บรไู น ๖๒ ๕๘ - ๒ มาเลเซยี ๔๗ ๔๙ ๕๐ ๓ อินโดนีเซยี ๓๗ ๓๗ ๓๖ ๔ ไทย ๓๗ ๓๕ ๓๘ ๕ เวียดนาม ๓๕ ๓๓ ๓๑ ๖ ฟลิ ิปปนิ ส์ ๓๔ ๓๕ ๓๕ ๗ พมา่ ๓๐ ๒๘ ๒๒ ๘ ลาว ๒๙ ๓๐ ๒๖ ๙ กัมพชู า ๒๑ ๒๑ ๒๑ ๑๐ 42 หลกั สูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปลยี่ นแปลงสู่สังคมท่ไี ม่ทนต่อการทจุ ริต 140