Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนากับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา.

หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนากับหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:25:22

Description: มหาเถรสมาคม.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.

Search

Read the Text Version

ในการประเมนิ ดชั นกี ารรบั รกู้ ารทจุ รติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จะถกู ประเมนิ จากแหลง่ ขอ้ มลู ๙ แหลง่ ครอบคลมุ ด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง การจัดการของรัฐบาล ความสามารถในการแข่งขันระดับประเทศ ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การรบั รกู้ ารทจุ รติ ประสทิ ธภิ าพของภาครฐั และภาคเอกชนในการด�ำเนนิ งานและการวดั ดา้ น ความเปน็ ประชาธปิ ไตยของประเทศ โดยวดั จากความคดิ เหน็ ของประชาชนวา่ ประเทศนนั้ มคี วามเปน็ ประชาธปิ ไตย มากนอ้ ยแคไ่ หน เชน่ การมสี ว่ นรว่ ม ความเปน็ เอกฉนั ท์ การเลอื กตง้ั ความเทา่ เทยี ม ความเปน็ เสรี โดยทงั้ หมดนี้ จะใช้รปู แบบของการสอบถามจากนกั ลงทนุ ชาวต่างชาตทิ ี่เขา้ มาท�ำธุรกจิ ในประเทศ ๑.๖ ผลกระทบจากการทุจริตตอ่ การพฒั นาประเทศ การทุจริตมีผลกระทบตอ่ การพฒั นาประเทศในทุก ๆ ด้าน เป็นพ้ืนฐานทกี่ ่อให้เกิดความขดั แยง้ ของคน ในชาติ จากการเห็นประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ของประเทศ ประชาชนได้รับบริการสาธารณะหรือ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกไม่เต็มที่อย่างที่ควรจะเป็น เงินภาษีของประชาชนตกไปอยู่ในกระเป๋าของผู้ทุจริต และ ผลกระทบอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากนีแ้ ลว้ หากพจิ ารณาในแง่การลงทนุ จากต่างประเทศเพือ่ ประกอบกิจการ ตา่ ง ๆ ภายในประเทศ พบวา่ นกั ลงทนุ ตา่ งประเทศจะมองวา่ การทจุ รติ ถอื วา่ เปน็ ตน้ ทนุ อยา่ งหนงึ่ ซงึ่ นกั ลงทนุ จาก ตา่ งประเทศจะใชป้ ระกอบการพิจารณาการลงทุนประกอบกบั ปัจจัยด้านอืน่ ๆ ทั้งน้ี หากตน้ ทุนท่ีต้องเสียจาก การทุจริตมีต้นทุนท่ีสูง นักลงทุนจากต่างประเทศอาจพิจารณาตัดสินใจการลงทุนไปยังประเทศอ่ืน ส่งผลให้ การจา้ งงาน การสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชนลดลง เมอ่ื ประชาชนมรี ายไดล้ ดลงกจ็ ะสง่ ผลตอ่ การจดั เกบ็ ภาษอี ากร ซ่งึ เปน็ รายได้ของรัฐลดลง จึงส่งผลตอ่ การจดั สรรงบประมาณและการพัฒนาประเทศ มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทยไดส้ �ำรวจดชั นีสถานการณค์ อร์รปั ชนั ไทยจากกลุ่มตวั อย่าง ๒,๔๐๐ ตวั อย่าง จากประชาชนท่ัวไป ผู้ประกอบการภาคเอกชน และข้าราชการ/ภาครัฐ เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ พบว่า หากเปรียบเทียบความรุนแรงของปัญหาการทุจริตในปัจจุบันกับปีที่ผ่านมา พบว่า ผู้ท่ีตอบว่ารุนแรงเพ่ิมข้ึนมี ๓๘% รุนแรงเท่าเดิม ๓๐% สว่ นสาเหตกุ ารทจุ รติ อันดบั หน่งึ คือ กฎหมายเปดิ โอกาสให้เจ้าหน้าที่ใชด้ ุลพนิ ิจ ทเ่ี ออื้ ตอ่ การทจุ ริต อันดบั สอง ความไม่เขม้ งวดของการบังคบั ใชก้ ฎหมาย อนั ดบั สาม กระบวนการทางการเมอื ง ขาดความโปรง่ ใส ตรวจสอบไดย้ ากสว่ นรปู แบบการทจุ รติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ บอ่ ยทสี่ ดุ อนั ดบั หนง่ึ คอื การใหส้ นิ บน ของก�ำนลั หรอื รางวลั อันดับสอง การใช้ช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อแสวงหาประโยชน์สว่ นตวั อันดบั สาม การใช้ต�ำแหน่ง ทางการเมืองเพอ่ื เอ้อื ประโยชนแ์ กพ่ รรคพวก ส�ำหรับความเสียหายจากการทุจริต โดยการประเมินจากงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๕๙ ที่ ๒.๗๒ ล้านล้านบาท ว่าแม้จะมีการจ่ายเงินใต้โต๊ะ แต่อัตราการจ่ายอยู่ท่ีเฉล่ีย ๑-๑๕% โดยหากจ่ายที่ ๕% ความเสยี หายจะอยทู่ ่ี ๕๙,๖๑๐ ลา้ นบาท หรอื ๒.๑๙% ของงบประมาณ และมผี ลท�ำใหอ้ ตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ลดลง ๐.๔๒% แตห่ ากจา่ ยท่ี ๑๕% คดิ เปน็ ความเสยี หาย ๑๗๘,๘๓๐ ลา้ นบาท หรอื ๖.๕๗% ของเงนิ งบประมาณ และมผี ลท�ำใหเ้ ศรษฐกจิ ลดลง ๑.๒๗% โดยการลดการเรยี กเงนิ สนิ บนลงทกุ ๆ ๑% จะท�ำใหม้ ลู คา่ ความเสยี หาย จากการทจุ ริตลดลง ๑๐,๐๐๐ ลา้ นบาท ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศไทยมีหน่วยงานหลักที่ด�ำเนินการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ คอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (ส�ำนกั งาน ป.ป.ช.) นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอ่ืนที่มีภารกิจในลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกับส�ำนักงาน ป.ป.ช. เช่น ส�ำนักงาน การตรวจเงนิ แผ่นดนิ ส�ำนกั งานผู้ตรวจการแผ่นดิน ส�ำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ในภาครฐั นอกจากนยี้ งั มหี นว่ ยงานภาคเอกชนทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ อกี หลาย หลักสตู รสร้างวิทยากรผ้นู �ำ การเปลยี่ นแปลงสู่สงั คมทไ่ี ม่ทนต่อการทุจรติ 43 141

หน่วยงาน และส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) เพ่อื เป็นมาตรการ แนวทางการด�ำเนินงาน ทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ๑.๗ ทศิ ทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประเทศไทยได้มีความพยายามในการแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ มาอยา่ งต่อเน่ือง โดยอาศยั ความรว่ มมอื ทง้ั หนว่ ยงานของรฐั หนว่ ยงานของเอกชน และภาคประชาชนในการรว่ มมอื ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ รวมถงึ ได้มีการออกกฎหมายลงโทษผู้ที่กระท�ำความผิด มีการจัดตั้งศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเพื่อท�ำ หนา้ ทใี่ นการด�ำเนนิ คดกี บั บคุ คลทที่ �ำการทจุ รติ นอกจากนยี้ งั ไดม้ กี ารก�ำหนดยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ซ่ึงฉบบั ปัจจบุ ันเป็นฉบบั ท่ี ๓ มกี �ำหนดใช้ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ โดยมวี ิสัยทศั น์ ว่า “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาติตา้ นทจุ รติ (Zero Tolerance & Clean Thailand) และมพี ันธกจิ คือ สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และ ปฏริ ูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ทั้งระบบใหม้ ีมาตรฐานสากล โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ยทุ ธศาสตรช์ าติวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตรช์ าตฯิ ระยะที่ ๓ ประกอบดว้ ยยทุ ธศาสตร์ จ�ำนวน ๖ ยทุ ธศาสตร์ เปน็ การด�ำเนนิ การป้องกนั และปราบปรามการทุจริตท้ังระบบ ต้ังแต่การป้องกันการทุจริตโดยใช้ประบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ผ่านกจิ กรรมและการเรยี นการสอน รวมถงึ การป้องกันการทจุ รติ เชิงระบบ นอกจากนีร้ วมไปถึงการด�ำเนินการ ในส่วนการตรวจสอบทรัพย์สิน ที่เป็นการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ ของรัฐว่าจะมีแนวทางในการด�ำเนินงานอย่างไร และด้านการปราบปรามการทุจริตเพื่อให้การด�ำเนินการด้าน ปราบปรามการทจุ รติ มีประสิทธภิ าพมากข้นึ ทั้งน้ี เพอื่ เปน็ การยกระดับค่า CPI ให้ไดค้ ะแนน ๕๐ คะแนน ตาม ทตี่ ้งั เป้าหมายไว้ โดยมีรายละเอยี ดแต่ละยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : สร้างสังคมทไ่ี มท่ นต่อการทุจริต มีวัตถุประสงค์ในการปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยให้มีค่านิยมร่วมต้านทุจริต มีจิตส�ำนึกสาธารณะ และ สามารถแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม และสร้างกระบวนการกลอ่ มเกลาทาง สงั คมในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ อยา่ งเปน็ ระบบ รวมถงึ การบรู ณาการและเสรมิ พลงั การมสี ว่ นรว่ ม ของทุกภาคสว่ นในการผลักดันให้เกดิ สงั คมทไ่ี มท่ นตอ่ การทุจริต ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ : ยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมอื งในการตอ่ ต้านการทุจรติ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เจตจ�ำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตของประชาชนได้รับการปฏิบัติ ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม และเพ่ือรักษาเจตจ�ำนงทางการเมืองในการแก้ไขปัญหาการทุจริตให้เป็นส่วนหน่ึง ของนโยบายรฐั บาลในแตล่ ะชว่ ง ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ : สกดั กนั้ การทจุ รติ เชิงนโยบาย มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้กระบวนการนโยบายเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล สามารถกระจายผลประโยชน์ สู่ประชาชนอย่างเป็นธรรม และไม่มีลักษณะของการขัดกันแห่งผลประโยชน์ และเพ่ือแก้ไขปัญหาการทุจริต เชิงนโยบายทุกระดับ 44 หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปลยี่ นแปลงส่สู ังคมท่ีไม่ทนต่อการทจุ ริต 142

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ : พัฒนาระบบปอ้ งกันการทจุ ริตเชงิ รกุ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลไกการป้องกันการทุจริตให้เท่าทันต่อสถานการณ์การทุจริตพัฒนา กระบวนการท�ำงานดา้ นการป้องกันการทจุ รติ ใหส้ ามารถปอ้ งกนั การทุจริตใหม้ ีประสทิ ธิภาพ เพือ่ ให้เกิดความ เข้มแข็งในการบูรณาการการท�ำงานระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริต และเป็นการป้องกัน ไม่ใหม้ กี ารทจุ ริตเกดิ ข้นึ ในอนาคต ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๕ : ปฏิรูปกลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจรติ มีวัตถุประสงค์เพ่ือปรับปรุงและพัฒนากลไกและกระบวนการปราบปรามการทุจริตให้มีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเท่าทันต่อพลวัตของการทุจริต การตรากฎหมายและปรับปรุงกฎหมายให้กระบวนการ ปราบปรามการทจุ รติ มปี ระสทิ ธภิ าพ บรู ณาการกระบวนการปราบปรามการทจุ รติ ของหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งทง้ั ระบบ และเพอ่ื ให้ผกู้ ระท�ำความผดิ ถูกด�ำเนนิ คดแี ละลงโทษอย่างเปน็ รูปธรรมและเทา่ ทนั ต่อสถานการณ ์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ : ยกระดบั คะแนนดชั นกี ารรับรกู้ ารทุจรติ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ยกระดบั คะแนนดชั นีการรับรกู้ ารทจุ ริตของประเทศไทยให้มีระดบั ร้อยละ ๕๐ ขน้ึ ไป เปน็ เปา้ หมายทต่ี อ้ งการยกระดบั คะแนนใหม้ คี า่ สงู ขน้ึ หากไดร้ บั คะแนนมากจะหมายถงึ การทป่ี ระเทศนนั้ มกี าร ทจุ รติ น้อย ดงั น้ัน ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ นี้ จงึ ถอื เปน็ เป้าหมายส�ำคัญในการท่จี ะต้องมงุ่ มนั่ ในการด�ำเนนิ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ๑.๘ กรณีตวั อยา่ งผลทเ่ี กิดจากการทจุ รติ คดีทจุ รติ จดั ซื้อรถและเรอื ดับเพลิงของกรุงเทพมหานคร แตเ่ ดมิ ภารกจิ ด้านการดบั เพลงิ เปน็ ภารกจิ ของต�ำรวจดบั เพลงิ มฐี านะเปน็ กองบงั คบั การต�ำรวจดบั เพลงิ ปฏบิ ัติงานทางดา้ นป้องกนั ระงับอคั คภี ัยและบรรเทาสาธารณภยั จนกระทั่งไดม้ ีแนวคิดทีจ่ ะปรบั ปรงุ โครงสร้าง ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานต้นสังกัดของ กองบังคับการต�ำรวจดับเพลิง ให้มีขนาดเล็กลง โดยมแี นวคดิ ทจ่ี ะโอนภารกจิ ทไ่ี มใ่ ชห่ นา้ ทข่ี องต�ำรวจโดยตรงใหไ้ ปอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ท่ี รบั ผดิ ชอบโดยตรง งานดา้ นดบั เพลงิ และกภู้ ยั ถอื เปน็ ภารกจิ หนง่ึ ทม่ี ใิ ชห่ นา้ ทโี่ ดยตรงของส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาติ จงึ เหน็ ควรทีจ่ ะโอนภารกิจดงั กล่าวให้กรงุ เทพมหานครรับไปด�ำเนินการ โดยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ คณะรัฐมนตรี ไดม้ ีมติใหส้ �ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติถา่ ยโอนภารกิจปอ้ งกันและระงับอคั คีภัยให้กรุงเทพมหานคร มสี ถานะเปน็ ส�ำนกั ชอื่ วา่ ส�ำนกั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คดีทุจริตจัดซื้อรถและเรือดับเพลิงของกรุงเทพมหานคร มีผู้เกี่ยวข้องท้ังเจ้าหน้าท่ีของรัฐและเอกชน โดยเอกชนทเ่ี ขา้ มาท�ำธุรกจิ การขายรถและเรือดบั เพลงิ คอื บริษัท ส. โดยเม่ือเดอื นตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บรษิ ทั สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จ�ำกัด ถูกบริษัท General Dynamics Worldwide Holdings, Inc. ของสหรัฐอเมรกิ าซอื้ กจิ การท้ังหมด แต่ยงั คงเปน็ บริษทั ถูกต้องตามกฎหมายของประเทศออสเตรยี บริษทั สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาหร์ ซอยก์ จ�ำกัด ว่าจ้างบริษทั Somati Vehicle N.V. ของประเทศเบลเยีย่ ม เป็นผู้รับจ้างจัดหา ผลิตและประกอบรถดับเพลิงและอุปกรณ์บรรเทาสาธารณภัย (ยกเว้นเรือดับเพลิง) ให้กับ กรุงเทพมหานครโดยไดร้ บั คา่ จ้างผลิตราว ๒๘ ล้านยูโร หรือราว ๑,๔๐๐ ล้านบาท บริษัท สไตเออร์ฯ จึงไมใ่ ช่ ผู้ผลิตและประกอบสินค้าเพื่อเสนอขายโดยตรง แต่เป็นเพียงนายหน้าและบริหารจัดการในการจัดหาสินค้า ให้กับกรุงเทพมหานครเท่านัน้ หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมทไี่ ม่ทนตอ่ การทุจรติ 45 143

ในชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๔๖ เอกอคั รราชทตู ออสเตรยี ประจ�ำประเทศไทยไดม้ หี นงั สอื ถงึ รฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงมหาดไทยเสนอโครงการขายรถดับเพลิงและอุปกรณ์บรรเทาสาธารณภัยของ บริษัท สไตเออร์เดม เลอรพ์ ุคสเปเชยี ลฟาหร์ ซอยก์ จ�ำกัด โดยเปน็ ขอ้ เสนอให้ด�ำเนนิ การในลักษณะรัฐตอ่ รัฐ และบรษิ ทั สไตเออรฯ์ ได้เชิญนาย ป. รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงมหาดไทยดงู านโรงงานผลติ ของบริษทั MAN ซ่ึงผลติ ตวั รถดับเพลิง ให้ บรษิ ัท สไตเออร์ฯ ทป่ี ระเทศออสเตรยี และเบลเย่ียม และนาย ส. ผ้วู ่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้อนมุ ัติ โครงการจัดซ้ือครุภัณฑ์เพ่ือใช้ในกิจการดับเพลิง ตามท่ี พล.ต.ต. อ. ผู้อ�ำนวยการส�ำนักป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยกรุงเทพมหานครเสนอ ได้แก่ รถดับเพลิงชนิดต่าง ๆ และรถบรรทุกน�้ำรวม ๓๑๕ คัน และเรือ ดบั เพลิง ๓๐ ล�ำตลอดจนอุปกรณ์สาธารณภยั อนื่ ๆ ซึ่งตรงกนั กบั รายการในใบเสนอราคาของบริษทั สไตเออรฯ์ ผา่ นเอกอคั รราชทตู ออสเตรยี จากนน้ั คณะรฐั มนตรมี มี ตอิ นมุ ตั ใิ นหลกั การโดยมกี ารจดั ท�ำ A.O.U. (Agreement of Understanding) และข้อตกลงซ้ือขาย (Purchase/Sale Agreement) โดยทูตพาณิชย์แห่งสาธารณรัฐ ออสเตรียยื่นร่าง A.O.U.ให้แก่พล.ต.ต. อ. ซึ่งน�ำเสนอต่อนาย ส. โดยตรงโดยไม่ผ่านปลัดกรุงเทพมหานคร นายส.ลงนามรบั ทราบบนั ทกึ และเสนอตอ่ นายภ.รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยและหลงั จากทไ่ี ดม้ กี ารลงนาม รว่ มกันคุณหญิง ณ. ปลดั กรุงเทพมหานคร ได้ส่งรา่ งขอ้ ตกลงซอื้ ขายยานพาหนะและอปุ กรณด์ บั เพลงิ ระหว่าง กรงุ เทพมหานครกบั บรษิ ทั สไตเออรฯ์ ใหส้ �ำนกั งานอยั การสงู สดุ ตรวจพจิ ารณาตามขอ้ บญั ญตั กิ รงุ เทพมหานคร เรอ่ื งการพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๓๘ และคณะรฐั มนตรีได้มีมติอนุมัติให้กระทรวงมหาดไทย (กรุงเทพมหานคร) ด�ำเนนิ การกอ่ หน้ผี กู พนั ข้ามปีงบประมาณโครงการจัดซ้ือรถและเรือดบั เพลิงในวงเงนิ ๖,๖๘๗,๔๘๙,๐๐๐ บาท และ อนมุ ตั วิ งเงินเพมิ่ เตมิ เพ่อื เป็นค่าธรรมเนยี มในการเปิด Letter of Credit (L/C) อีกจ�ำนวน ๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ตามจ�ำนวนทจี่ า่ ยจรงิ รวมทง้ั ใหก้ ระทรวงพาณชิ ยเ์ รง่ รดั ด�ำเนนิ การเกย่ี วกบั การคา้ ตา่ งตอบแทนตามมตคิ ณะ รัฐมนตรเี มือ่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗ โดยให้เนน้ ไก่ต้มสกุ เปน็ สินคา้ ท่จี ะด�ำเนนิ การเปน็ ล�ำดบั แรก ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดม้ กี ารเปล่ยี นแปลงผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเปน็ นาย อ. และกอ่ นมอบหมาย งานในหน้าที่ให้กับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่ นาย ส. ซึ่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนเดิม ได้มหี นงั สอื ถงึ ผู้จดั การธนาคารกรุงไทย ขอเปดิ L/C วงเงิน ๑๓๓,๗๔๙,๗๘๐ ยูโรให้กบั บรษิ ทั สไตเออรฯ์ โดย กรงุ เทพมหานครช�ำระคา่ ธรรมเนยี ม เปน็ เงิน ๒๐,๐๐๐,๐๐๐บาท และมอบอ�ำนาจให้พล.ต.ต. อ. ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรงุ เทพมหานครเปน็ ผู้ด�ำเนินการและลงนาม ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดด้ �ำเนนิ การไตส่ วนการด�ำเนนิ การดงั กลา่ วของกรงุ เทพมหานคร และยนื่ ฟอ้ งตอ่ ศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื ง จากการกระท�ำดงั กลา่ วทเ่ี กดิ ขนึ้ กอ่ ให้ เกดิ ผลกระทบทเ่ี สยี หายและรนุ แรง โดยราคาของรถและเรอื ดบั เพลงิ ทก่ี รงุ เทพมหานครซอื้ มานน้ั มรี าคาทสี่ งู มาก สง่ ผลใหร้ ัฐสูญเสยี งบประมาณไปอย่างน่าเสยี ดาย ซ่ึงความเสียหายทเี่ กดิ ขนึ้ มีดงั นี้ 46 หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทจุ ริต 144

ตารางท่ี ๓ เปรยี บเทยี บราคาจากการจดั ซอื้ ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๗ กับ กรุงเทพมหานคร รถดบั เพลงิ ๔x๔ + สูบน้ำ� แบกหาม รายละเอียด ความแตกต่าง โครงประธานรถเครื่องยนต์ย่ีห้อมิตซูบิชิ ๒,๕๐๐ ซีซี ๔x๔ กรงุ เทพมหานครซอื้ แพงกว่า คนั ละ ๒,๑๕๔,๐๕๐ บาท ประกอบโดย บริษัท กาญจนาอิควิปเม้นท์ จ�ำกดั รวม ๗๒ คนั เปน็ เงนิ แพงกว่า๑๕๔,๘๗๕,๖๐๐ บาท เครอ่ื งดับเพลงิ ชนิดหาบหามจากญป่ี ุน่ รถดับเพลงิ + บันได ๑๓ เมตร รายละเอยี ด ความแตกต่าง โครงประธานรถผลิตภณั ฑ์ฟนิ แลนด์ ซ้ือจาก บริษัท เชส เอ็น กรงุ เทพมหานครซอ้ื แพงกว่า คนั ละ ๑๗,๑๔๓,๒๐๐ บาท เตอร์ไพรส์ (สยาม) จ�ำกัดมาตรฐานใกล้เคียงกันเคร่ืองสูบน้�ำ รวม ๙ คัน เปน็ เงินแพงกว่า ๑๕๔,๘๗๕,๖๐๐ บาท สมรรถนะสูงกวา่ รถดบั เพลิง ๒,๐๐๐ ลติ ร รายละเอียด ความแตกต่าง ซอื้ จาก บรษิ ทั ตรีเพชรอซี ูซุเซลส์ กรงุ เทพมหานครซื้อแพงกว่า คันละ ๑๕,๔๕๕,๓๗๐ บาท รวม ๑๔๔ คนั เปน็ เงนิ แพงกว่า ๒,๒๒๕,๕๗๓,๒๘๐ บาท รถถงั นำ้� ๒๐,๐๐๐ ลติ ร รายละเอียด ความแตกต่าง ขนาด ๑๐,๐๐๐ ลิตรซ้ือจาก บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส กรงุ เทพมหานครซือ้ แพงกว่า คนั ละ ๑๕,๑๘๙,๑๐๐ บาท (ประเทศไทย) จ�ำกดั รวม ๗๒ คนั เปน็ เงนิ แพงกว่า๑,๐๙๓,๖๑๕,๒๐๐ บาท รถไฟฟ้าสอ่ งสว่าง ๓๐ KVA รายละเอียด ความแตกต่าง ซือ้ จาก บรษิ ทั มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกดั กรงุ เทพมหานครซื้อแพงกว่า คนั ละ ๕๖,๕๗๗,๒๕๐ บาท รวม ๗ คนั เปน็ เงนิ แพงกว่า๓๙๖,๐๔๐,๗๕๐ บาท ตารางที่ ๔ เปรยี บเทยี บข้อมูลและราคาเรือดบั เพลิง ข้อมูลเรอื ดับเพลิง บริษัท สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จ�ำกัด บริษัท สไตเออร์เดมเลอร์พุคสเปเชียลฟาห์รซอยก์ จ�ำกัด ซ้อื เรอื ดับเพลงิ จาก บริษัท ซที โบ๊ต จ�ำกัด ผลติ และประกอบ ขายให้ กรงุ เทพมหานคร ราคาล�ำละ ๒๕,๔๖๒,๑๐๐ บาท ทีเ่ มืองพัทยา ราคาล�ำละ ๑๔,๓๐๐,๐๐๐ บาท จากตารางขา้ งตน้ แสดงให้เห็นถึงความเสยี หายทเ่ี กิดขน้ึ จากการทุจริต ความเสยี หายทีเ่ กดิ ข้นึ นอกจาก จะสามารถแสดงเปน็ ตวั เลขให้ไดเ้ หน็ วา่ สญู เสยี งบประมาณจ�ำนวนเทา่ ไร แต่การสญู เสียดังกล่าวแทนท่ีรัฐ และ ประชาชนจะได้ใช้ประโยชน์จากรถและเรือดับเพลิง ซ่ึงถือเป็นส่ิงจ�ำเป็นท่ีช่วยในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั โดยเฉพาะอคั คภี ยั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตเ่ มอื่ มกี ารทจุ รติ แลว้ ยงั สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถน�ำรถและเรอื ดบั เพลงิ มาใชง้ านได้ เทา่ กบั วา่ สูญเสียงบประมาณแลว้ ยังไม่สามารถน�ำส่งิ เหลา่ นีม้ าใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ีก หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ ริต 47 145

๒. ความอายต่อการทุจริต แนวคดิ เกี่ยวกับความอายตอ่ การทจุ ริต พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของค�ำว่าละอาย หมายถึง การรู้สึกอายท่ีจะท�ำในส่ิงท่ี ไมถ่ กู ไม่ควร เชน่ ละอายทีจ่ ะท�ำผิด ละอายใจ ความละอาย เปน็ ความละอายและความเกรงกลวั ต่อส่ิงทีไ่ ม่ดี ไมถ่ ูกตอ้ ง ไม่เหมาะสม เพราะเหน็ ถึงโทษ หรอื ผลกระทบท่ีจะได้รับจากการกระท�ำนนั้ จึงไมก่ ล้าทจี่ ะกระท�ำ ท�ำให้ตนเองไมห่ ลงท�ำในสิง่ ท่ีผิด นนั่ คอื มีความละอายใจ ละอายต่อการท�ำผิด ลักษณะของความละอายต่อการทจุ ริต ลักษณะของความละอายสามารถแบ่งได้ ๒ ระดับ คือ ความละอายระดับต้น หมายถึง ความละอาย ไมก่ ลา้ ทจ่ี ะท�ำในสง่ิ ทผ่ี ดิ เนอื่ งจากกลวั วา่ เมอื่ ตนเองไดท้ �ำลงไปแลว้ จะมคี นรบั รู้ หากถกู จบั ไดจ้ ะไดร้ บั การลงโทษ หรอื ได้รบั ความเดือดรอ้ นจากสงิ่ ทีต่ นเองไดท้ �ำลงไป จงึ ไม่กล้าที่จะกระท�ำผิด และในระดบั ทีส่ องเป็นระดบั ที่สูง คือ แม้ว่าจะไม่มีใครรับรู้หรือเห็นในสิ่งที่ตนเองได้ท�ำลงไป ก็ไม่กล้าที่จะท�ำผิด เพราะนอกจากตนเองจะได้รับ ผลกระทบแลว้ ครอบครวั สงั คมกจ็ ะไดร้ บั ผลกระทบตามไปดว้ ย ทงั้ ชอ่ื เสยี งของตนเองและครอบครวั กจ็ ะเสอ่ื มเสยี บางคร้ังการทุจริตบางเร่ืองเป็นส่ิงเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การลอกข้อสอบ อาจจะไม่มีใครใส่ใจหรือสังเกตเห็น แต่หากเป็นความละอายขั้นสูงแล้ว บุคคลนั้นกจ็ ะไม่กล้าท�ำ ๓. ความไมท่ นตอ่ การทุจรติ ๓.๑ ความเปน็ พลเมอื ง ค�ำว่า “พลเมอื ง” มนี ักวิชาการใหค้ วามหมาย สรุปได้พอสงั เขป พจนานุกรมนกั เรียนฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน ใหค้ วามหมาย “พลเมอื ง” หมายถงึ ชาวเมอื ง ชาวประเทศ ประชาชน “วิถ”ี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน และ “ประชาธปิ ไตย” หมายถงึ แบบการปกครองทถ่ี อื มติ ปวงชนเปน็ ใหญ่ ดังนน้ั ค�ำวา่ “พลเมืองดีในวถิ ีประชาธปิ ไตย” จึงหมายถงึ พลเมอื งทม่ี ีคณุ ลักษณะที่ส�ำคัญ คือ เป็นผู้ทีย่ ึดม่ันในหลักศลี ธรรมและคุณธรรมของศาสนา มหี ลักการทางประชาธปิ ไตยในการด�ำรงชวี ิตปฏิบัตติ น ตามกฎหมายด�ำรงตนเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม โดยมกี ารชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู กนั อนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาสงั คมและ ประเทศชาติ ให้เปน็ สังคมและประเทศประชาธปิ ไตยอย่างแทจ้ รงิ วราภรณ์ สามโกเศศ อธบิ ายวา่ ความเปน็ พลเมอื ง หมายถงึ การเปน็ คนทร่ี บั ผดิ ชอบไดด้ ว้ ยตนเองมคี วาม ส�ำนกึ ในสันตวิ ิธี มกี ารยอมรบั ความคิดเหน็ ของผ้อู นื่ ปริญญา เทวานฤมติ รกลุ กล่าวว่า ความเป็นพลเมืองของระบอบประชาธปิ ไตย หมายถงึ การทสี่ มาชิก มอี ิสรภาพ ควบคูก่ ับความรบั ผดิ ชอบ และมีอิสรเสรีภาพควบคู่กับ “หน้าท่ี ” จากความหมายของนกั วิชาต่าง ๆ พอสรปุ ได้ว่า “พลเมอื ง” หมายถึง ประชาชนทน่ี อกจากเสียภาษีและ ปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองแล้ว ยังต้องมีบทบาทในทางการเมือง คือ อย่างน้อยมีสิทธิไปเลือกต้ัง แต่ย่ิงไป กวา่ นน้ั คอื มสี ิทธใิ นการแสดงความคดิ เห็นตา่ ง ๆ ตอ่ ทางการหรือรฐั ได้ ท้ังยังมสี ิทธิเข้ารว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆ กบั รฐั และอาจเปน็ ฝา่ ยรกุ เพอ่ื เรยี กรอ้ งกฎหมาย นโยบายและกจิ กรรมของรฐั ตามทเี่ หน็ พอ้ ง พลเมอื งนน้ั จะเปน็ คนที่รู้สกึ เปน็ เจา้ ของในสิง่ สาธารณะ มคี วามกระตือรอื รน้ อยากมีส่วนรว่ ม เอาใจใส่การท�ำงานของรฐั และเป็น ประชาชนท่ีสามารถแกไ้ ขปญั หาสว่ นรวมได้ในระดับหนง่ึ โดยไม่ต้องรอให้รัฐมาแกไ้ ขให้เทา่ นัน้ 48 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สงั คมทไี่ ม่ทนต่อการทจุ รติ 146

๓.๒ แนวคิดเกี่ยวกบั ความไมท่ นตอ่ การทุจริต พจนานกุ รมราชบณั ฑิตยสถาน ใหค้ วามหมายของค�ำว่า “ทน” หมายถงึ การอดกลนั้ ได้ ทานอย่ไู ด้ เช่น ทนดา่ ทนทุกข์ ทนหนาว ไมแ่ ตกหกั หรอื บบุ สลายง่าย ความอดทน คอื การรจู้ กั รอคอยและคาดหวงั เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความมนั่ คง แนว่ แนต่ อ่ สงิ่ ทร่ี อคอย หรือสงิ่ ที่จูงใจให้กระท�ำในส่งิ ท่ีไม่ดี ไมท่ น หมายถงึ ไมอ่ ดกล้ัน ไม่อดทน ไมย่ อม ดงั นน้ั ความไมท่ น หมายถงึ การแสดงออกตอ่ การกระท�ำทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตนเอง บคุ คลทเ่ี กยี่ วขอ้ งหรอื สงั คม ในลักษณะที่ไมย่ นิ ยอม ไมย่ อมรับในสิ่งที่เกิดขน้ึ ความไมท่ นสามารถแสดงออกไดห้ ลายลกั ษณะ ทงั้ ในรูปแบบ ของกริยาทา่ ทางหรอื ค�ำพดู ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ หรอื การกระท�ำที่ไม่ถกู ต้อง ตอ้ งมกี ารแสดงออกอย่างใดอย่างหน่ึงเกดิ ขึ้น เช่น การแซงควิ เพื่อซอ้ื ของ การแซงควิ เปน็ การกระท�ำทีไ่ มถ่ กู ตอ้ ง ผถู้ กู แซงคิวจงึ ต้องแสดงออกใหผ้ ้ทู ่ีแซงควิ รับรู้ว่า ตนเองไม่พอใจ โดยแสดงกิริยาหรือบอกกล่าวให้ทราบ เพ่ือให้ผู้ท่ีแซงคิวยอมท่ีจะต่อท้ายแถว กรณีนี้แสดงให้ เหน็ วา่ ผทู้ ถี่ กู แซงควิ ไมท่ นตอ่ การกระท�ำทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และหากผทู้ แี่ ซงควิ ไปตอ่ แถวกจ็ ะแสดงใหเ้ หน็ วา่ บคุ คลนนั้ มีความละอายต่อการกระท�ำท่ีไมถ่ ูกต้อง เปน็ ตน้ ความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต บคุ คลจะมีความไมท่ นต่อการทุจริตมาก-น้อย เพยี งใด ขน้ึ อยกู่ บั จติ ส�ำนกึ ของ แตล่ ะบคุ คลและผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการกระท�ำนนั้ ๆ แลว้ มพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมา ซงึ่ การแสดงกรยิ าหรอื การกระท�ำจะมหี ลายระดบั เชน่ การวา่ กลา่ วตกั เตอื น การประกาศใหส้ าธารณชนรบั รู้ การแจง้ เบาะแส การรอ้ งทกุ ข์ กล่าวโทษ การชุมนุมประท้วงซ่ึงเป็นขั้นตอนสุดท้ายที่รุนแรงท่ีสุด เน่ืองจากมีการรวมตัวของคนจ�ำนวนมาก และสร้างความเสียหายอย่างมากเชน่ กนั ความไม่ทนของบุคคลต่อส่ิงต่าง ๆ รอบตัวที่ส่งผลในทางไม่ดีต่อตนเองโดยตรง สามารถพบเห็นได้ง่าย ซ่ึงปกติแล้วทุกคนมักจะไม่ทนต่อสภาวะ สภาพแวดล้อมท่ีไม่ดีและส่งผลกระทบต่อตนเองแล้ว มักจะแสดง ปฏกิ ริ ยิ าออกมา แตก่ ารทบ่ี คุ คลจะไมท่ นตอ่ การทจุ รติ และแสดงปฏกิ ริ ยิ าออกมานน้ั อาจเปน็ เรอ่ื งยาก เนอื่ งจาก ปัจจุบันสังคมไทยมีแนวโน้มยอมรับการทุจริต เพ่ือให้ตนเองได้รับประโยชน์หรือให้งานสามารถด�ำเนินต่อไปสู่ ความส�ำเรจ็ ซงึ่ การยอมรบั การทจุ รติ ในสงั คมไมเ่ วน้ แมแ้ ตเ่ ดก็ และเยาวชน มองวา่ การทจุ รติ เปน็ เรอ่ื งไกลตวั และ ไม่มผี ลกระทบกบั ตนเองโดยตรง ๓.๓ ลกั ษณะของความไมท่ นต่อการทุจริต ความไม่ทนต่อการทุจริต จากความหมายที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ เป็นการแสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่ง เกดิ ขนึ้ เพอ่ื ใหร้ บั รวู้ า่ จะไมท่ นตอ่ บคุ คลหรอื การกระท�ำใด ๆ ทท่ี �ำใหเ้ กดิ การทจุ รติ ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ สามารถ แบง่ ระดับตา่ ง ๆ ไดม้ ากกว่าความละอาย ใช้เกณฑค์ วามรุนแรงในการแบ่งแยก เช่น หากเพื่อนลอกข้อสอบเรา และเราเห็นซ่ึงเราจะไม่ยินยอมให้เพื่อนทุจริตในการลอกข้อสอบ เราก็ใช้มือหรือกระดาษมาบังส่วนท่ีเป็น ค�ำตอบไว้ เชน่ น้กี เ็ ปน็ การแสดงออกถงึ การไมท่ นต่อการทุจริต นอกจากการแสดงออกด้วยวธิ ีดังกล่าวทีถ่ ือเปน็ การแสดงออกทางกายแลว้ การวา่ กลา่ วตกั เตอื นตอ่ บคุ คลทที่ จุ รติ การประณาม การประจาน การชมุ นมุ ประทว้ ง ถอื วา่ เปน็ การแสดงออกซง่ึ การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ทงั้ สน้ิ แตจ่ ะแตกตา่ งกนั ไปตามระดบั ของการทจุ รติ ความตนื่ ตวั ของประชาชน และผลกระทบที่เกิดขนึ้ จากการทุจริต โดยท้ายบทน้ีได้ยกตัวอย่างกรณศี ึกษาที่มสี าเหตุมาจาก การทุจริต ท�ำให้ประชาชนไม่พอใจและรวมตวั ต่อต้าน หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลี่ยนแปลงส่สู งั คมที่ไม่ทนต่อการทจุ รติ 49 147

ความจ�ำเป็นของการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตถือเป็นส่ิงส�ำคัญ เพราะการทุจริตไม่ว่าระดับเล็กหรือใหญ่ ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ สงั คม ประเทศชาติ ดงั เชน่ ตวั อยา่ งคดรี ถและเรอื ดบั เพลงิ ของกรงุ เทพมหานคร ผลของ การทจุ รติ สรา้ งความเสยี หายไวอ้ ยา่ งมาก รถและเรอื ดบั เพลงิ กไ็ มส่ ามารถน�ำมาใชไ้ ด้ รฐั ตอ้ งสญู เสยี งบประมาณ ไปโดยเปล่าประโยชน์ และประชาชนเองก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์ด้วยเช่นกัน หากเกิดเพลิงไหม้พร้อมกันหลายแห่ง รถ เรอื และอปุ กรณด์ บั เพลงิ จะไมม่ ไี มเ่ พยี งพอทจ่ี ะดบั ไฟไดท้ นั เวลา เพยี งแคค่ ดิ จากมลู คา่ ความเสยี หายทร่ี ฐั สญู เสยี งบประมาณไปยงั ไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ ความเสยี หายทเ่ี กดิ จากความเดอื ดรอ้ นหากเกดิ เพลงไหมแ้ ลว้ ถอื เปน็ ความเสยี หาย ทสี่ งู มาก ดงั นนั้ หากยงั มกี ารปลอ่ ยใหม้ กี ารทจุ รติ ยนิ ยอมใหม้ กี ารทจุ รติ โดยเหน็ วา่ เปน็ เรอ่ื งของคนอนื่ เปน็ เรอื่ ง ของเจ้าหน้าท่ีรัฐ ไม่เกี่ยวข้องกับตนเองแล้ว สุดท้ายความสูญเสียท่ีจะได้รับตนเองก็ยังคงท่ีจะได้รับผลน้ันอยู่ แมไ้ มใ่ ช่ทางตรงก็เปน็ ทางออ้ ม ๔. ตวั อย่างความอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ การทจุ รติ มผี ลกระทบตอ่ การพฒั นาประเทศ ท�ำใหเ้ กิดความเสยี หายอย่างมากในดา้ นตา่ ง ๆ หากน�ำเอา เงนิ ทท่ี จุ รติ มาพฒั นาในสว่ นอนื่ ความเจรญิ หรอื การไดร้ บั โอกาสของผทู้ ด่ี อ้ ยโอกาสกจ็ ะมมี ากขนึ้ ความเหลอื่ มลำ�้ ทางด้านโอกาส ทางด้านสังคม ทางด้านการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดน้อยลง ดังท่ีเห็น ในปจั จบุ นั วา่ ความเจริญต่าง ๆ มกั อยกู่ ับคนในเมอื งมากกวา่ ชนบท ทัง้ ๆ ท่คี นชนบทก็คือประชาชนสว่ นหนึง่ ของ ประเทศ แตเ่ พราะอะไรท�ำไมประชาชนเหลา่ นน้ั ถงึ ไมไ่ ดร้ บั โอกาสใหท้ ดั เทยี มหรอื ใกลเ้ คยี งกบั คนในเมอื ง ปจั จยั หน่ึงคือการทุจริต สาเหตุการเกิดทุจริตมีหลายประการตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น แต่ท�ำอย่างไรถึงท�ำให้มีการ ทจุ รติ ไดม้ าก อยา่ งหนงึ่ คอื การลงทนุ เมอื่ มกี ารลงทนุ กย็ อ่ มมงี บประมาณ เมอ่ื มงี บประมาณกเ็ ปน็ สาเหตใุ หบ้ คุ คล ทค่ี ดิ จะทจุ รติ สามารถหาชอ่ งทางดงั กลา่ วในทางทจุ รติ ได้ แมว้ า่ ประเทศไทยจะมกี ฎหมายหลายฉบบั เพอื่ ปอ้ งกนั การทจุ รติ ปราบปรามการทจุ รติ แตน่ น่ั กค็ อื ตวั หนงั สอื ทไี่ ดเ้ ขยี นเอาไว้ แตก่ ารบงั คบั ใชย้ งั ไมจ่ รงิ จงั เทา่ ทคี่ วร และ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ หากประชาชนเหน็ วา่ เรอ่ื งดงั กลา่ วไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ตนเองกม็ กั จะไมอ่ ยากเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ ง เนอ่ื งจาก ตนเองกไ็ มไ่ ดร้ บั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ แตก่ ารคดิ ดงั กลา่ วเปน็ สง่ิ ทผ่ี ดิ เนอ่ื งจากวา่ ตนเองอาจจะไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบ โดยตรงตอ่ การทม่ี ีคนทุจริต แตโ่ ดยอ้อมแล้วถือว่าใช่ เช่น เมอ่ื มกี ารทุจริตมาก งบประมาณของประเทศท่ีจะใช้ พฒั นาหรือลงทุนก็นอ้ ย อาจสง่ ผลใหป้ ระเทศไม่สามารถจา้ งแรงงานหรอื ลงทนุ ได้ ความเสียหายทเี่ กดิ จากการทุจรติ หากเปน็ การทุจริตในโครงการใหญ่ ๆ แล้ว ปรมิ าณเงนิ ท่ีทจุ รติ ยอ่ มมี มาก ความเสียหายก็ย่อมมีมากตามไปด้วย โดยในบทน้ีได้ยกกรณีตัวอย่างที่เกิดข้ึนจากการทุจริตไว้ในท้ายบท ซ่ึงจะเห็นได้ว่าความเสียหายท่ีเกิดข้ึนนั้นมีมูลค่ามากมาย และน้ีเป็นเพียงโครงการเดียวเท่าน้ัน หากรวมเอา การทุจริตหลาย ๆ โครงการ หลาย ๆ กรณีเข้าดว้ ยกัน จะพบว่าความเสยี หายที่เกิดข้นึ มาน้ันมากมายมหาศาล ดังน้ัน เม่ือเป็นเช่นนี้แล้ว ประชาชนจะต้องมีความต่ืนตัวในการที่จะร่วมมือในการป้องกันและปราบปราม การทุจริต การร่วมมือกันในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สถานการณ์ที่อาจเกิดการทุจริตได้ เม่ือประชาชนรวมถึง ภาคเอกชน ภาคธรุ กจิ มคี วามตน่ื ตวั ทจี่ ะรว่ มมอื กนั ในการแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว ปญั หาการทจุ รติ จะถอื เปน็ ปญั หา เพียงเล็กน้อยของประเทศไทย เพราะไม่ว่าจะท�ำอย่างไรก็จะมีการสอดส่อง ติดตาม เฝ้าระวังเรื่องการทุจริต อย่างต่อเน่ือง ดังนั้นแล้วส่ิงส�ำคัญส่ิงแรกท่ีจะต้องสร้างให้เกิดขึ้น คือ ความตระหนักรู้ถึงผลเสียที่เกิดข้ึนจาก การทุจริต สรา้ งให้เกิดความตืน่ ตวั ต่อการปราบปราบการทุจรติ การไมท่ นต่อการทุจริต ใหเ้ กิดขนึ้ ในสงั คมไทย 50 หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปล่ยี นแปลงสู่สังคมทีไ่ มท่ นตอ่ การทจุ ริต 148

เมอื่ ประชาชนในประเทศมีความตนื่ ตัวท่ีวา่ “ไม่ทนต่อการทุจรติ ” แล้ว จะท�ำให้เกิดกระแสการตอ่ ตา้ น ต่อการกระท�ำทุจริต และคนท่ีท�ำทุจริตก็จะเกิดความละอายไม่กล้าที่จะท�ำทุจริตต่อไป เช่น หากพบเห็นว่ามี การทุจริตเกิดข้ึนอาจมีการบันทึกเหตุการณ์หรือลักษณะการกระท�ำ แล้วแจ้งข้อมูลเหล่านั้นไปยังหน่วยงาน หรอื สอ่ื มวลชนเพอ่ื รว่ มกนั ตรวจสอบการกระท�ำทเี่ กดิ ขนึ้ และยงิ่ ในปจั จบุ นั เปน็ สงั คมสมยั ใหม่ และก�ำลงั เดนิ หนา้ ประเทศไทยก้าวสยู่ ุคไทยแลนด์ ๔.๐ แต่การจะเป็น ๔.๐ ใหส้ มบูรณแ์ บบได้นั้น ปัญหาการทุจริตจะต้องลดนอ้ ย ลงไปด้วย เมื่อประชาชนมีความตื่นตัวต่อการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตแล้ว ผลท่ีเกิดข้ึนจะเป็นอย่างไร ตัวอย่าง ทจี่ ะน�ำมากลา่ วถงึ ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ กรณที เ่ี กดิ ขนึ้ ในตา่ งประเทศ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ทปี่ ระชาชน ไดล้ ุกขน้ึ มาตอ่ สู้ ต่อต้านตอ่ นักการเมอื งท่ที �ำทจุ ริต จนน�ำในที่สุดนักการเมอื งเหลา่ นนั้ หมดอ�ำนาจทางการเมือง และได้รับบทลงโทษทัง้ ทางสงั คมและทางกฎหมาย ดังนี้ ๑. ประเทศเกาหลใี ต้ เกาหลใี ตถ้ อื เปน็ ประเทศหนงึ่ ทปี่ ระสบความส�ำเรจ็ ในดา้ นของการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจรติ แตก่ ย็ งั คงมีปัญหาการทจุ ริตเกดิ ขึน้ อยูบ่ ้าง เชน่ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ มขี า่ วกรณีของประธานาธิบดีถูก ปลดออกจากต�ำแหน่งเพราะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการ เอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง โดยการถูกกล่าวหาว่าให้เพื่อน สนิทของครอบครัวเข้ามาแทรกแซงการบริหารประเทศ รวมถึงใช้ความสัมพันธ์ท่ีใกล้ชิดกับประธานาธิบดีแสวงหา ประโยชน์ส่วนตัว ผลท่ีเกิดข้ึนคือถูกด�ำเนินคดีและตั้ง ข้อหาวา่ พัวพนั การทุจริตและใช้อ�ำนาจหนา้ ทใ่ี นทางมชิ อบเพ่อื เออ้ื ผล ประโยชน์ใหแ้ กพ่ วกพอ้ ง กรณที เ่ี กดิ ข้นึ น้ี ประชาชนเกาหลีใต้ได้มีการรวมตัวกันประท้วงกว่าพันคนเรียกร้องให้ประธานาธิบดีคนดังกล่าวลาออกจาก ต�ำแหนง่ หลงั มเี หตอุ ้ือฉาวทางการเมือง อีกกรณีท่ีจะกล่าวถึงเพ่ือเป็นตัวอย่างการต่อต้าน การกระท�ำทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง คือ การท่นี กั ศกึ ษาคนหนึ่งได้เขา้ เรยี น ในมหาวิทยาลัยท้ังท่ีผลคะแนนท่ีเรียนมาน้ันไม่ได้สูง และ การที่คุณสมบัติของนักศึกษาดังกล่าวมีคุณสมบัติไม่ตรงกับ การคัดเลือกโควตานักกีฬาท่ีก�ำหนดไว้ว่าจะต้องผ่านการ แข่งขันประเภทเดี่ยว แต่นักศึกษาคนดังกล่าวผ่านการแข่งขัน ประเภททีม เท่ากับว่าคณุ สมบัติไมถ่ กู ตอ้ งแต่ไดร้ บั เขา้ เรยี นใน มหาวิทยาลัยดังกล่าว การกระท�ำเช่นนี้จึงเป็นสาเหตุหน่ึงของ การน�ำไปส่กู ารประท้วง ตอ่ ต้านจากนักศกึ ษาและอาจารย์ของ มหาวิทยาลัยดังกล่าว ซ่ึงทางมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถให้ ค�ำตอบทีช่ ดั เจนแกก่ ลุม่ ผู้ประท้วงได้ จนในท่ีสุด ประธานของมหาวิทยาลัยดังกล่าวจึง ลาออกจากต�ำแหนง่ หลกั สูตรสร้างวิทยากรผนู้ �ำ การเปลยี่ นแปลงสสู่ ังคมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ รติ 51 149

๒. ประเทศบราซิล ปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชาชนในประเทศบราซิลได้มีการชุมนุมประท้วงการ ทุจริตที่เกิดข้ึน เป็นการแสดงออกถึงความไม่พอใจต่อ วัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมี ประชาชนจ�ำนวนหลายหมนื่ คนเขา้ รว่ มการชมุ นมุ ในครงั้ นี้ และมกี ารแสดงภาพหนเู พอ่ื เปน็ สญั ลกั ษณใ์ นการประณาม ต่อนักการเมืองท่ีทุจริต การประท้วงดังกล่าวยังถือว่ามี ขนาดเลก็ กวา่ ครงั้ กอ่ น เพราะทผี่ า่ นมาไดม้ กี ารทจุ รติ เกดิ ขน้ึ และมีการประท้วง จนในท่ีสุดประธานาธิบดีได้ถูกปลด จากต�ำแหนง่ เนอ่ื งจากการกระท�ำทล่ี ะเมดิ ตอ่ กฎระเบยี บ เรือ่ งงบประมาณ จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความต่ืนตัวของประชาชนที่ออกมาต่อต้านต่อการทุจริต ไม่ว่าจะ เป็นการทุจรติ ในระดับหนว่ ยเลก็ ๆ หรือระดับประเทศ เปน็ การแสดงออกซึ่งการไม่ทนตอ่ การทจุ ริต การไมท่ น ต่อการทุจริตสามารถแสดงออกมาได้หลายระดับต้ังแต่การเห็นคนท่ีท�ำทุจริตแล้วตนเองรู้สึกไม่พอใจ มีการส่ง เรอ่ื งตรวจสอบ รอ้ งเรยี น และในทส่ี ดุ คอื การชมุ นมุ ประทว้ ง ตามตวั อยา่ งทไี่ ดน้ �ำมาแสดงใหเ้ หน็ ขา้ งตน้ ตราบใด ท่ีสามารถสร้างให้สังคมไม่ทนต่อการทุจริตได้ เมื่อน้ันปัญหาการทุจริตก็จะลดน้อยลง แต่หากจะให้เกิดผลดี ยงิ่ ขึน้ จะตอ้ งสร้างใหเ้ กดิ ความละอายตอ่ การทุจริต ไม่กล้าทจี่ ะท�ำทจุ ริต โดยน�ำเอาหลกั ธรรมทางศาสนามาเปน็ เคร่ืองมือในการสั่งสอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดขึ้นกระบวนการในการแสดงออกต่อการ ไม่ทนต่อการทจุ ริตจะต้องเกิดข้นึ และมกี ารเปิดเผยช่ือบุคคลทีท่ ุจริตใหก้ ับสาธารณะชนได้รบั ทราบอย่างทว่ั ถึง เมื่อสังคมมีท้ังกระบวนการในการป้องกันการทุจริต การปราบปรามการทุจริตที่ดี รวมถึงการสร้างให้สังคม เปน็ สังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทจุ รติ มีความละอายตอ่ การท�ำทุจริตแลว้ ปัญหาการทุจรติ จะลดน้อยลง ประเทศชาติ จะสามารถพฒั นาไดม้ ากขน้ึ ส�ำหรบั ระดบั การทจุ รติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไมว่ า่ จะเปน็ ในระดบั ใดลว้ นแลว้ แตส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สงั คมและประเทศชาติ ท้งั สน้ิ บางคร้งั การทุจรติ เพยี งนดิ เดยี วอาจน�ำไปสกู่ ารทุจรติ อย่างอน่ื ที่มากกว่าเดิมได้ การมีวัฒนธรรม ค่านิยม หรือความเชอ่ื ทีไ่ ม่ถูกต้องกส็ ง่ ผลให้เกิดการทุจริตได้เชน่ กนั เช่น การมอบเงนิ อุดหนุนแกส่ ถานศึกษาเพอื่ ให้บตุ ร ของตนได้เข้าศึกษาในสถานท่ีแห่งน้ัน หากพิจารณาแล้วอาจพบว่าเป็นการช่วยเหลือสถานศึกษาเพ่ือที่สถาน ศกึ ษาแหง่ นน้ั จะไดน้ �ำเงนิ ทไี่ ดไ้ ปพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม การเรยี นการสอนของทางสถานศกึ ษาตอ่ ไป แตก่ ารกระท�ำ ดงั กล่าวนไี้ ม่ถกู ต้อง เปน็ การปลูกฝงั สิ่งทไ่ี ม่ดีให้เกิดขึน้ ในสังคม และตอ่ ไปหากกระท�ำเชน่ น้ีเรอื่ ย ๆ จะมองว่า เปน็ เรอ่ื งปกตทิ ที่ กุ คนท�ำกนั ไมม่ คี วามผดิ แตอ่ ยา่ งใด จนท�ำใหแ้ บบแผนหรอื พฤตกิ รรมทางสงั คมทด่ี ถี กู กลนื หาย ไปกับการกระท�ำท่ไี ม่เหมาะสมเหลา่ นี้ ตัวอย่างการมอบเงนิ อดุ หนุนแก่สถานศึกษายังคงเกิดขึ้นในประเทศไทย อย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยเฉพาะในสถานศกึ ษาทมี่ ชี อ่ื เสียงซ่งึ หลายคนอยากให้บตุ รของตนเข้าศกึ ษาในสถานทแ่ี ห่งน้นั แตด่ ว้ ยขอ้ จ�ำกดั ทไ่ี มส่ ามารถรบั นกั เรยี น นกั ศกึ ษาไดท้ ง้ั หมด จงึ ท�ำใหผ้ ปู้ กครองบางคนตอ้ งใหเ้ งนิ กบั สถานศกึ ษา เพอื่ ใหบ้ ุตรของตนเองได้เข้าเรียน 52 หลกั สตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สงั คมท่ไี มท่ นตอ่ การทจุ รติ 150

๕. การลงโทษทางสงั คม (Social Sanction) ค�ำวา่ “การลงโทษโดยสงั คม” หรอื เรยี กวา่ “การลงโทษทางสงั คม” ซงึ่ ตรงกบั ภาษาองั กฤษค�ำวา่ “Social Sanction” พจนานกุ รมศัพท์สงั คมวทิ ยาฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (๒๕๓๒ : ๓๖๑-๓๖๒) ไดใ้ หค้ วามหมายของ ค�ำว่า “Social Sanction” เปน็ ภาษาไทยวา่ สทิ ธานุมัตทิ างสังคม หมายถึง การขู่ว่าจะลงโทษหรอื การสญั ญาว่าจะให้ รางวลั ตามทกี่ ลมุ่ ก�ำหนดไวส้ �ำหรบั การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องสมาชกิ เพอ่ื ชกั น�ำใหส้ มาชกิ กระท�ำตามขอ้ บงั คบั และ กฎเกณฑ์ Radcliffe-Brown (๑๙๕๒ : ๒๐๕) อธิบายการลงโทษโดยสังคมว่าเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางสังคม อย่างหน่ึงและเป็นการแสดงออกถึงพฤติกรรมที่เป็นด้านตรงกันข้ามระหว่างการเห็นชอบกับการไม่เห็นชอบ พดู อีกอย่างหนึ่งกค็ อื การลงโทษโดยสังคมน้ันมีคุณลกั ษณะวิภาษ (Dialectic) คอื มที งั้ ด้านบวกและด้านลบอยู่ ภายในความหมายของตวั เองส�ำหรบั การลงโทษโดยสงั คมเชงิ บวก (Positive Social Sanction) จะอยใู่ นรปู ของ การใหก้ ารสนบั สนุนหรือการสรา้ งแรงจูงใจ ฯลฯ ใหแ้ กป่ จั เจกบุคคลและสังคมให้ประพฤตปิ ฏิบัติใหส้ อดคลอ้ ง กบั ปทสั ถานของชุมชนหรอื ของสังคม จากการศึกษายังพบด้วยว่าการลงโทษโดยสังคมเชงิ บวกนั้นอาจเปน็ การ สร้างแรงจูงใจให้แก่สังคม เพ่ือยกระดับปทัสถานของสังคมในระดับท้องถิ่นให้ไปสอดคล้องกับปทัสถานใหม่ ในระดับระหวา่ งประเทศ Whitmeyer (๒๐๐๒ : ๖๓๐-๖๓๒) กล่าวว่า การลงโทษโดยสงั คม มที งั้ เชงิ บวกและเชิงลบ เป็นการ ท�ำงานตามกลไกของสังคม การลงโทษโดยสังคมเป็นมาตรการควบคุมทางสังคมที่ต้องการให้สมาชิกในสังคม ประพฤติปฏิบัติตามมาตรฐานหรือกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับร่วมกัน เมื่อสมาชิกปฏิบัติตามก็จะมีการให้รางวัล เปน็ แรงจงู ใจ และลงโทษเมอ่ื สมาชกิ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑข์ องสงั คมและจะแสดงการไมย่ อมรบั สมาชกิ คนหนงึ่ หรอื กลุ่มคนกลุ่มหน่งึ โดยสรปุ แลว้ การลงโทษโดยสงั คม (Social Sanction) หมายถงึ ปฏกิ ริ ยิ าปฏบิ ตั ทิ างสงั คม เปน็ มาตรการ ควบคุมทางสังคมทีต่ อ้ งการให้สมาชิกในสงั คมประพฤติปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานหรอื กฎเกณฑท์ ส่ี งั คมก�ำหนด โดย มที ั้งดา้ นลบและดา้ นบวก การลงโทษโดยสังคมเชงิ ลบ (Negative Social Sanction) เป็นการลงโทษโดยการ กดดันและแสดงปฏิกิริยาต่อต้านพฤติกรรมของบุคคลท่ีไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสังคม ท�ำให้บุคคลน้ันเกิด ความอับอายขายหน้า ส�ำหรับการลงโทษโดยสังคมเชิงบวกหรือการกระตุ้นสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanction) เป็นการแสดงออกในเชิงสนบั สนนุ หรอื ใหร้ างวลั เปน็ แรงจูงใจ เพือ่ ให้บคุ คลในสงั คมประพฤตปิ ฏบิ ัติ ตามกฎเกณฑ์ของสงั คม การลงโทษทางสังคม เป็นการลงโทษกับบุคลท่ีปฏิบัติตนฝ่าฝืนกับธรรมเนียม ประเพณี หรือแบบแผน ทป่ี ฏบิ ตั ติ อ่ ๆ กันมาในชุมชน มกั ใช้ในลักษณะการลงโทษทางสงั คมเชงิ ลบมากกวา่ เชิงบวก การฝ่าฝนื ดังกลา่ ว อาจจะไม่ผิดกฎหมาย แต่ด้วยธรรมเนียมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาน้ันถูกละเมิด ถูกฝ่าฝืน หรือถูกดูหมิ่นเก่ียวกับ ความเชอ่ื ของชมุ ชน กจ็ ะน�ำไปสกู่ ารตอ่ ตา้ นจากคนในชมุ ชน แมว้ า่ การฝา่ ฝนื ดงั กลา่ วจะไมผ่ ดิ กฎหมายกต็ าม และท่ี ส�ำคัญไปกวา่ นัน้ หากการกระท�ำดงั กลา่ วผดิ กฎหมายด้วยแล้ว อาจสรา้ งให้เกิดความไมพ่ อใจข้ึนได้ ไม่เพียงแต่ ในชุมชนนนั้ แต่อาจเก่ยี วเนอื่ งไปกบั ชุมชนอ่ืนรอบข้าง หรือเปน็ ชมุ ชนท่ใี หญ่ท่สี ดุ นัน่ คอื ประชาชนทงั้ ประเทศ ซงึ่ การลงโทษทางสงั คมมที ง้ั ด้านบวกและดา้ นลบ ดังน้ี หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปล่ียนแปลงสสู่ ังคมท่ไี มท่ นต่อการทุจรติ 53 151

การลงโทษโดยสงั คมเชงิ บวก (Positive Social Sanction) จะอยใู่ นรปู ของการใหก้ ารสนบั สนนุ หรอื การ สรา้ งแรงจงู ใจ หรอื การใหร้ างวลั ฯลฯ แกบ่ คุ คลและสงั คม เพอื่ ใหป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั สิ อดคลอ้ งกบั ปทสั ถาน (Norm) ของสังคมในระดับชุมชนหรอื ในระดบั สงั คม การลงโทษโดยสงั คมเชิงลบ (Negative Social Sanctions) จะอยูใ่ นรปู แบบของการใชม้ าตรการตา่ ง ๆ ในการจัดระเบียบสงั คม เช่น การวา่ กลา่ วตักเตอื น ซ่ึงเป็นมาตรการขั้นต่�ำสดุ เรือ่ ยไปจนถงึ การกดดันและบีบคั้น ทางจติ ใจ (Moral Coercion) การต่อตา้ น (Resistance) และการประท้วง (Protest) ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่า จะโดยปัจเจกบุคคลหรือการชมุ นุมของมวลชน การลงโทษทางสังคมทางลบ จะสร้างใหเ้ กิดการลงโทษตอ่ บคุ คลท่ถี กู กระท�ำ การลงโทษประเภทนเี้ ปน็ ลงโทษเพอ่ื ใหห้ ยดุ กระท�ำในสงิ่ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง และบคุ คลทถ่ี กู ลงโทษจะเกดิ การเขด็ หลาบ ไมก่ ลา้ ทจ่ี ะท�ำในสง่ิ นนั้ อกี การลงโทษประเภทน้ีมีความรนุ แรงแตกต่างกัน ต้ังแต่ การว่ากล่าวตกั เตอื น การนินทา การประจาน การชมุ นมุ ขบั ไล่ ซง่ึ เปน็ การแสดงออกถงึ การไมท่ น ไมย่ อมรบั ตอ่ สง่ิ ทบี่ คุ คลอน่ื ไดก้ ระท�ำไป ดงั นน้ั เมอื่ มใี ครทที่ �ำพฤตกิ รรม เหลา่ น้นั ข้นึ จงึ เป็นการสร้างให้เกดิ ความไม่พอใจแก่บคุ คลรอบข้าง หรือสงั คม จนน�ำไปสูก่ ารตอ่ ต้านดังกล่าว การลงโทษทางสงั คมจะมคี วามรนุ แรงมากหรอื นอ้ ย กข็ น้ึ อยกู่ บั การกระท�ำของบคุ คลนน้ั วา่ รา้ ยแรงขนาดไหน หากเป็นเร่ืองเล็กน้อยจะถูกต่อต้านน้อย แต่หากเรื่องนั้นเป็นเรื่องร้ายแรงท่ีเกิดขึ้นประจ�ำ หรือมีผลกระทบ ต่อสังคม การลงโทษก็จะมีความรุนแรงมากข้ึนด้วย เช่น หากมีการทุจริตเกิดข้ึนก็อาจน�ำไปเป็นประเด็นทาง สังคมจนน�ำไปสู่การต่อต้านจากสังคมได้ เพราะการทุจริตถือว่าเป็นส่ิงท่ีไม่ถูกต้อง ผิดกฎหมาย และผิดต่อ ศลี ธรรม บ่อยครง้ั ท่ีมีการทจุ รติ เกดิ ขึ้นจนเปน็ สาเหตุของการชุมนุมประท้วง เพอ่ื กดดัน ขบั ไลใ่ ห้บคุ คลนัน้ หยดุ การกระท�ำดังกล่าว หรือการออกจากต�ำแหน่งน้ัน ๆ หรือการน�ำไปสู่การตรวจสอบและลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหัวข้อสุดท้ายของชุดวิชานี้ ได้น�ำเสนอตัวอย่างท่ีได้แสดงออกถึงความไม่ทนต่อการทุจริตท่ีมีการชุมนุม ประทว้ ง บางเหตกุ ารณผ์ ทู้ ถ่ี กู กลา่ วหาไดล้ าออกจากต�ำแหนง่ ซงึ่ การลาออกจากต�ำแหนง่ นน้ั ถอื เปน็ ความรบั ผดิ ชอบ อย่างหน่งึ และเปน็ การแสดงออกถึงความละอายในสงิ่ ที่ตนเองไดก้ ระท�ำ ๖. ช่องทางและวธิ กี ารรอ้ งเรยี นการทจุ รติ สามารถรอ้ งเรียนมายงั ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้โดยมีวิธีการดงั น้ี ๑) ท�ำเป็นหนงั สอื “เรยี น เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช.” และสง่ ไปท่ีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เลขท่ี ๓๖๑ ถนนนนทบรุ ี ต�ำบลทา่ ทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ หรอื สง่ มาท่ีตู้ ปณ. ๑๐๐ ถนนพิษณุโลก | เขตดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ หรอื สง่ มาทสี่ �ำนกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัดใกลบ้ ้านของทา่ น ๒) กลา่ วหาดว้ ยวาจาโดยตรงตอ่ เจา้ หนา้ ทข่ี องส�ำนกั งาน ป.ป.ช. สว่ นกลาง หรอื ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำ จังหวดั เพอ่ื ให้เจ้าหน้าทท่ี �ำการบนั ทึกค�ำกลา่ วหาไวเ้ ป็นพยานหลกั ฐาน ๓) ทางโทรศัพทห์ มายเลข ๐ ๒๕๒๘ ๔๘๐๐-๔๙ หรือสายด่วน ป.ป.ช. โทร. ๑๒๐๕ ๔) ทางเวบ็ ไซตส์ �ำนกั งาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th หัวขอ้ “ร้องเรียน” โดยในค�ำกล่าวหา ต้องมรี ายละเอียด ดงั นี้ ๑) ช่ือ-สกุล ทอ่ี ยู่ และหมายเลขโทรศัพทข์ องผูก้ ล่าวหา ๒) ชอ่ื -สกลุ ต�ำแหนง่ สงั กัด ของผถู้ กู กล่าวหา ๓) ระบขุ ้อกลา่ วหาการกระท�ำความผิด 54 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผูน้ ำ�การเปลยี่ นแปลงสสู่ ังคมทไี่ ม่ทนตอ่ การทุจริต 152

๔) บรรยายการกระท�ำความผดิ อยา่ งละเอยี ดตามหวั ขอ้ ดงั น้ี ๔.๑ หากเปน็ การกระท�ำความผดิ ตอ่ หนา้ ที่ การกระท�ำความผดิ ตอ่ ต�ำแหนง่ หนา้ ทร่ี าชการ การกระท�ำ ความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม จะต้องระบุว่า การกระท�ำความผิดเกิดขึ้นเม่ือใด มีข้ันตอนหรือ รายละเอยี ดการกระท�ำความผดิ อยา่ งไร มพี ยานบคุ คลรเู้ หน็ เหตกุ ารณห์ รอื ไม่ มเี อกสารหลกั ฐานทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรอื ไม่ (ถ้าไม่สามารถน�ำมาได้ให้ระบุว่าใครเป็นผู้เก็บรักษา) และในเรื่องน้ีได้ร้องเรียนต่อหน่วยงานใดบ้าง เมื่อใด และผลเปน็ ประการใด ๔.๒ หากเปน็ การกลา่ วหาวา่ รำ่� รวยผดิ ปกติ หรอื มที รพั ยส์ นิ เพม่ิ ขนึ้ ผดิ ปกติ จะตอ้ งระบวุ า่ ฐานะเดมิ ของผ้ถู ูกกล่าวหา และภรรยาหรือสามี รวมทั้งบิดามารดาของทัง้ สองฝ่ายเป็นอยา่ งไร ผถู้ กู กล่าวหา และภรรยา หรือสามี มอี าชพี อน่ื ๆ หรอื ไม่ ถา้ มีอาชีพอืน่ แล้วมีรายไดม้ ากน้อยเพยี งใด และทรพั ย์สนิ ท่ีจะแสดงให้เหน็ ว่า ร่�ำรวยผดิ ปกติมีอะไรบา้ ง เชน่ - บา้ น มจี �ำนวนก่หี ลงั ตง้ั อย่ทู ีใ่ ด (เลขทีบ่ ้าน ถนน ซอย ต�ำบล/แขวง อ�ำเภอ/เขต จังหวดั ) ซ้อื เมื่อใด และราคาขณะซ้ือเทา่ ใด - ที่ดิน มจี �ำนวนกแ่ี ปลง ตงั้ อยทู่ ใี่ ด (ถนน ซอย ต�ำบล/แขวง อ�ำเภอ/เขต จงั หวัด) ซอ้ื เม่ือใด และราคาขณะซอื้ เทา่ ใด - รถยนต์ มจี �ำนวนก่ีคัน ยี่ห้อ รุ่น สี หมายเลขทะเบียนรถ ซือ้ เมอื่ ใด จากใคร และราคาขณะ ซอ้ื เท่าใด - มเี งินฝากทธี่ นาคารใด สาขาใด รวมทัง้ ทรพั ย์สินอืน่ ๆ ส�ำคญั ทีส่ ุด คือ ตอ้ งใหข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั ช่อื -สกุล ท่อี ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ของผกู้ ล่าวหาทีส่ ามารถติดต่อ ได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับเพื่อยืนยันการกล่าวหาร้องเรียน ขอทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติม ให้ชัดเจนจนสามารถด�ำเนินการต่อไปได้ และรายงานผลใหผ้ กู้ ล่าวหาทราบ ท้ังนี้ ขอ้ มลู จะถกู เกบ็ เปน็ ความลับ ที่สุด ถ้าไม่ต้องการให้มีการเปิดเผยช่ือ ก็ให้บอกด้วยว่าให้ปกปิดชื่อ-ที่อยู่ไว้เป็นความลับ ตอนท�ำค�ำส่ังไต่สวน จะได้ระบไุ ว้ตามความประสงค์ กรณกี ารรอ้ งเรยี นโดยไมแ่ จง้ ชอ่ื -สกลุ จรงิ ถอื วา่ เปน็ “บตั รสนเทห่ ”์ จะตอ้ งระบพุ ยานหลกั ฐานใหช้ ดั เจน เพยี งพอท่จี ะด�ำเนินการไต่สวนข้อเท็จจรงิ ได้ ซง่ึ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจจะรับไว้พจิ ารณา ทั้งน้ี ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. จะแจ้งกลบั ไปใหผ้ ู้กล่าวหาทราบวา่ รับเรอ่ื งไว้พิจารณาและแจง้ ผลการพจิ ารณา ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. แต่หากประสงค์จะติดตามเร่อื งร้องเรียน ก็สามารถติดตามไดท้ างน้ี ๑) ติดต่อดว้ ยตนเองทีส่ �ำนกั งาน ป.ป.ช. ส่วนกลาง หรือส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวดั ๒) ทางโทรศพั ทห์ มายเลข ๐ ๒๕๒๘ ๔๘๐๐-๔๙ หรือสายด่วน ป.ป.ช. โทร. ๑๒๐๕ ๓) ทางเวบ็ ไซต์ www.nacc.go.th หวั ข้อ “ติดตามเร่อื งร้องเรียน” ทงั้ นี้ โปรดจ�ำเลขรับเรอื่ งจากส�ำนกั งาน ป.ป.ช. /วัน เดอื น ปี ทย่ี ื่นเรื่อง/ช่ือ-สกลุ เร่ือง ของผถู้ ูกกล่าวหา นอกจากนี้ ยงั สามารถร้องเรยี นไปยงั หน่วยงานตา่ ง ๆ ไดด้ ังน้ี ๑) ศูนย์บริการประชาชน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี (สายด่วน) ท�ำเนียบรัฐบาลหมายเลข ๑๑๑๑ บรกิ ารรับแจง้ เรือ่ งรอ้ งทกุ ข์ ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง หรอื รบั รอ้ งเรียนผ่านทาง โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๒๗๑-๘๔ ๒) ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน โทร. ๐ ๒๒๗๑ ๘๐๐๐ หลกั สูตรสร้างวทิ ยากรผู้น�ำ การเปลีย่ นแปลงสสู่ ังคมท่ไี ม่ทนต่อการทจุ รติ 55 153

๓) ส�ำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั (ส�ำนักงาน ป.ป.ท.) สายด่วน โทร. ๑๒๐๖ ๔) ศูนยด์ �ำรงธรรม กระทรวงมหาดไทย สายดว่ น โทร. ๑๕๖๗ หรือศนู ยด์ �ำรงธรรมจังหวดั ๕) คณะกรรมการธรรมาภบิ าลจงั หวัด ในแตล่ ะจงั หวัด ๖) แจ้งความ ร้องทุกข์ กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน ณ สถานีต�ำรวจในเขตอ�ำนาจสอบสวน โดย พนักงานสอบสวนจะส่งเร่ืองทห่ี ากอยูใ่ นอ�ำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไปยังส�ำนกั งาน ป.ป.ช. เพือ่ ด�ำเนนิ การต่อไป ๗. มาตรการคมุ้ ครองช่วยเหลอื พยาน และการกนั บุคคลไวเ้ ป็นพยานโดยไมด่ ำ�เนินคดี ๗.๑ มาตรการคุม้ ครองช่วยเหลือพยาน ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้ก�ำหนดให้มีมาตรการคุ้มครองช่วยเหลือพยาน (ตามพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๑ และระเบยี บคณะกรรมการ ป.ป.ช. วา่ ด้วยการคุ้มครองชว่ ยเหลือพยาน พ.ศ. ๒๕๕๔) - ผู้ทม่ี สี ทิ ธริ ้องขอใหค้ มุ้ ครองช่วยเหลือพยาน ส�ำหรบั ผ้ทู ม่ี ีสิทธริ ้องขอใหค้ ้มุ ครองชว่ ยเหลือพยาน ไดแ้ ก่ ผกู้ ลา่ วหา ผเู้ สียหาย ผู้ท�ำค�ำรอ้ ง ผ้รู ้องทุกข์กลา่ วโทษ ผู้ให้ถ้อยค�ำ หรือผู้ท่ีแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลเก่ียวกับการทุจริตต่อหน้าที่ การร�่ำรวยผิดปกติ การตรวจสอบ ทรัพย์สนิ และหนี้สิน หรือข้อมูลอื่นท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อการด�ำเนินการตามพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต และกฎหมายอ่ืนท่เี ก่ียวขอ้ ง รวมถงึ สามี ภริยา ผบู้ พุ การี ผู้สืบสันดาน ของบคุ คลดังกลา่ ว และผทู้ มี่ คี วามสัมพันธ์ใกลช้ ิดกับบุคคลดังกลา่ ว - การร้องขอคมุ้ ครองช่วยเหลือพยาน การรอ้ งขอคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื พยานท�ำได้โดยยื่นค�ำร้องต่อส�ำนกั งาน ป.ป.ช. สว่ นกลาง หรือส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวัดด้วยตนเองไดเ้ ลย หรือต่อหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องกับการคุ้มครองพยาน (ส�ำนักงานคมุ้ ครอง พยาน กรมคมุ้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ หรอื ส�ำนกั งานต�ำรวจแหง่ ชาต)ิ หากมาดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ สามารถยน่ื ค�ำรอ้ ง เปน็ หนงั สอื หรอื จดหมาย หรอื ทางโทรศพั ท์ หรอื อาจมอบอ�ำนาจใหผ้ อู้ นื่ ด�ำเนนิ การแทนได้ โดยระบชุ อื่ นามสกลุ ทอี่ ย่ขู องผรู้ ้องขอ และพฤติการณ์ทแ่ี สดงให้เห็นว่าอาจไม่ได้รบั ความปลอดภยั พร้อมทั้งลงลายมอื ช่ือ ๗.๒ การกันบุคคลไวเ้ ป็นพยานโดยไมด่ �ำเนินคดี ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ไดก้ �ำหนดใหม้ มี าตรการการกนั บคุ คลไวเ้ ปน็ พยานโดยไมด่ �ำเนนิ คดี (ตามพระราชบญั ญตั ิ ประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๓๕ และประกาศคณะ กรรมการ ป.ป.ช. เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขในการกนั บคุ คลหรอื ผถู้ กู กลา่ วหาไวเ้ ปน็ พยานโดยไมด่ �ำเนนิ คดี พ.ศ. ๒๕๕๔) มีรายละเอยี ดดังน้ี ผู้ถูกกล่าวหารายใดที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการทุจริตร่วมกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐรายอ่ืน และยังไม่ได้ถูกแจ้ง ขอ้ กลา่ วหา คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจเหน็ สมควรกนั ไวเ้ ปน็ พยานโดยไมต่ อ้ งด�ำเนนิ คดกี ไ็ ด้ หากบคุ คลดงั กลา่ ว มีลักษณะดงั นี้ ๑) เป็นผู้รู้เห็นเหตุการณ์และมีส่วนเกี่ยวข้องในการกระท�ำความผิดกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐรายอื่นที่ อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อเท็จจริง หรือการแสวงหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานก่อนการไต่สวน ข้อเท็จจริง หรอื อยรู่ ะหวา่ งการไตส่ วนข้อเท็จจรงิ 56 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสูส่ งั คมท่ไี มท่ นต่อการทจุ รติ 154

๒) เปน็ ผใู้ หถ้ อ้ ยค�ำทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื การแสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ และรวบรวม พยานหลักฐาน หรือการไต่สวนข้อเท็จจริง หรือให้ถ้อยค�ำ หรือแจ้งเบาะแส หรือข้อมูลที่เป็นสาระส�ำคัญ จนสามารถใช้เปน็ พยานหลักฐานในการวนิ ิจฉัยชมี้ ูลความผดิ เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั รายอน่ื ทีเ่ ป็นตวั การส�ำคญั ๓) เต็มใจที่จะให้ถ้อยค�ำหรือแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลตามข้อ ๒ พร้อมกับรับรองว่าจะไปเบิกความ เป็นพยานในชัน้ ศาลตามทใ่ี ห้การหรือใหถ้ อ้ ยค�ำไว้ - การรอ้ งขอใหก้ นั ตนเองไว้เปน็ พยานในคดี สามารถมคี �ำขอด้วยวาจาหรอื ท�ำเปน็ หนงั สือยื่นต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพอื่ ขอกันตนเองไว้เปน็ พยาน ในคดนี ัน้ นบั แตว่ นั ทไ่ี ดท้ ราบเหตแุ หง่ การกลา่ วหา ซงึ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะพจิ ารณาค�ำขอโดยค�ำนงึ ถงึ เหตุ ดงั ต่อไปนี้ ๑) หากไมก่ นั บคุ คลหรอื ผถู้ กู กลา่ วหาคนใดคนหนงึ่ เปน็ พยานแลว้ พยานหลกั ฐานทมี่ อี ยอู่ าจไมเ่ พยี งพอ และไมอ่ าจแสวงหาพยานหลกั ฐานอน่ื แทนเพอ่ื ใหเ้ พยี งพอในการด�ำเนนิ คดกี บั ผถู้ กู กลา่ วหารายอน่ื ทเี่ ปน็ ตวั การ ส�ำคญั ๒) บคุ คลนั้นจะต้องเบิกความตามทใี่ ห้การไว้ เมอ่ื คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตใิ ห้กนั บุคคลหรือผ้ถู กู กล่าวหานน้ั ไว้เปน็ พยานแล้ว ถือว่าบคุ คลดังกลา่ ว อย่ใู นฐานะพยานของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในคดนี น้ั และอาจไดร้ บั การคุ้มครองช่วยเหลอื ตามกฎหมายต่อไป ๗.๓ กฎ ก.พ. วาดว ยหลักเกณฑแ ละวิธกี ารการใหบําเหนจ็ ความชอบ การกนั เปน พยาน การลดโทษ และการใหค วามคมุ ครองพยาน พ.ศ.๒๕๕๓ ขอ ๓ ขาราชการพลเรอื นสามญั ผใู ดใหข อ มลู ตอ ผบู งั คบั บญั ชาหรอื ใหถ อ ยคําในฐานะพยาน ตอ ผมู หี นาที่ สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ อันเปนประโยชนและเปนผลดียิ่ง ตอ ทางราชการ ใหถ อื วาผนู นั้ ปฏบิ ตั หิ นาทร่ี าชการ ซง่ึ ไดร บั ความคมุ ครองพยานและอาจไดร บั บําเหนจ็ ความชอบ เปน กรณพี ิเศษ ตามกฎ ก.พ. นี้ ขอมูลหรือถอยคําตามวรรคหนึ่งจะถือวาเปนประโยชนและเปนผลดีย่ิงตอทางราชการตอเม่ือ เปน ปจ จยั สําคญั ทที่ ําใหด ําเนนิ การทางวนิ ยั ได หรอื เปน ปจ จยั สําคญั ทท่ี ําใหล งโทษทางวนิ ยั แกผ กู ระทําความผดิ ได และมผี ลทําใหส ามารถประหยดั งบประมาณแผน ดนิ เปน อยางมากหรอื มผี ลทําใหส ามารถรกั ษาไวซ ง่ึ ระบบบรหิ าร ราชการทีด่ โี ดยรวมได ในกรณที ขี่ าราชการผนู นั้ เปน ผกู ระทําผดิ วนิ ยั นน้ั เสยี เองหรอื อาจจะถกู กลาวหาวามสี ว นรว มในการกระทํา ผิดวนิ ัยน้นั ดว ย ไมใหไ ดร บั บําเหน็จความชอบเปน กรณีพเิ ศษตามขอน้ี ขอ ๔ ขาราชการพลเรอื นสามญั ผทู อ่ี าจจะถกู กลาวหาวามสี ว นรว มในการกระทําผดิ วนิ ยั กบั ขาราชการอนื่ ถาไดใ หข อ มลู ตอ ผบู งั คบั บญั ชา หรอื ใหถ้ อ ยคําเกย่ี วกบั การกระทําผดิ วนิ ยั ทไ่ี ดก ระทํามาตอ บคุ คลหรอื คณะบคุ คล ท่ีมหี นาท่สี ืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรอื ระเบียบของทางราชการ และขอมลู หรือถอ ยคํานัน้ เปนปจ จยั สําคญั จนเปนเหตุใหมกี ารสอบสวนทางวนิ ยั แกผูเปนตน เหตแุ หง การกระทําผิด อาจไดร ับการกนั เปน พยาน การลดโทษ หรือการใหค วามคุม ครองพยานตามกฎ ก.พ. น้ี ขอ ๕ การใหข อมูลหรือใหถ อ ยคําตามขอ ๓ หรือขอ ๔ ทจ่ี ะไดร ับประโยชนตามกฎ ก.พ. น้ี จะตอ งเปน ความเชอื่ โดยสจุ รติ วามกี ารกระทําผดิ วนิ ยั หรอื เปน ไปตามทต่ี นเองเชอ่ื วาเปน ความจรงิ และไมม กี ารกลบั ถอ ยคํา น้นั ในภายหลงั หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นต่อการทุจริต 57 155

การใหขอ มลู หรอื ถอ ยคําตามวรรคหน่งึ ไมถอื เปนการเปดเผยความลบั ของทางราชการ และไมเปน การ กระทําการขามผบู งั คับบญั ชาเหนือตน ขอ ๖ ผบู งั คบั บญั ชาตามลําดบั ชน้ั ทไี่ ดร บั ขอ มลู มหี นาทร่ี ายงานใหผ บู งั คบั บญั ชาซง่ึ เปน ผมู อี �ำนาจสงั่ บรรจุ และแตง ตงั้ เพื่อทราบและพิจารณาดําเนนิ การตอ ไป ขอ ๗ ผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นและผูมีอํานาจสั่งบรรจุและแตงตั้งมีหนาที่ใหความคุมครองพยาน ดังตอไปนี้ (๑) ไมเ ปดเผยชื่อหรือขอมูลใด ๆ ทีจ่ ะทําใหทราบวาผูใดเปน ผใู หข อมลู หรือใหถ อยคํา (๒) ไมใชอ ํานาจไมว าในทางใดหรือกระทําการอื่นใดอันเปน การกลนั่ แกลงหรือไมเ ปน ธรรม ซง่ึ อาจมีผลทําใหก ระทบสทิ ธิหรือหนาที่ของผูนนั้ ในทางเสยี หาย (๓) ใหความคุมครองมใิ หผ นู นั้ ถกู กลั่นแกลง หรือถูกขมขเู พราะเหตุทมี่ ีการใหข อ มลู หรอื ถอยคํา (๔) ประสานงานกับพนักงานอัยการเพื่อเปนทนายแกต างคดีใหถาผนู น้ั ถกู ฟอ งเปน คดตี อศาล ในกรณที พ่ี ยานผใู ดรอ งขอเปน หนงั สอื ผมู อี ํานาจสงั่ บรรจแุ ละแตง ตงั้ จะพจิ ารณายายผนู น้ั หรอื พจิ ารณา ดําเนนิ การอน่ื ใดทเ่ี หน็ วาจําเปน เพอ่ื ใหผ นู นั้ ไดร บั ความคมุ ครอง โดยไมต อ งไดร บั ความยนิ ยอมหรอื เหน็ ชอบจาก ผบู ังคับบัญชาของผนู นั้ และไมต องปฏิบตั ติ ามข้ันตอนหรือกระบวนการตามทีก่ ฎหมายบัญญัติไวก ไ็ ด ขอ ๘ พยานผูใดเห็นวาผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ันยังไมไดใหการคุมครองตามขอ ๗ หรือการใหการ คมุ ครองดงั กลาวยงั ไมเ พยี งพอ อาจยน่ื คํารอ งเปน หนงั สอื ตอ ผมู อี ํานาจสงั่ บรรจุ และแตง ตงั้ เพอื่ พจิ ารณาดําเนนิ การ ขอ ๙ เมอ่ื ผมู อี ํานาจสง่ั บรรจแุ ละแตง ตง้ั ไดร บั คํารอ งตามขอ ๘ แลว หากมมี ลู นาเชอื่ วาเปน ไปตามทพี่ ยาน กลาวอาง ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจแุ ละแตงต้ังดําเนนิ การใหความคุม ครองพยานในโอกาสแรกทส่ี ามารถกระทําได ขอ ๑๐ พยานผูใดเห็นวาผมู อี ํานาจส่งั บรรจแุ ละแตงต้ังยงั ไมไ ดใ หก ารคมุ ครองตามหมวดน้ี หรอื การให การคุมครองดังกลาวยงั ไมเพยี งพอ อาจยน่ื คํารองเปนหนังสอื ตอ สํานกั งาน ก.พ. ได ขอ ๑๑ เมื่อสํานักงาน ก.พ. ไดรับคํารองตามขอ ๑๐ แลว หากมีมูลนาเช่ือวาเปนไปตามท่ีพยาน กลาวอางใหส ํานกั งาน ก.พ. ดําเนนิ การใหม กี ารยายหรอื โอน หรอื ดําเนนิ การอนื่ ใดตามที่ เหน็ สมควรเพอ่ื ใหผ นู น้ั ไดรับความคุมครอง โดยไมตองไดรับความยินยอมหรือเห็นชอบจากผูมีอํานาจส่ังบรรจุและแตงตั้งกอน หรือ ไมตองปฏบิ ัติตามข้ันตอนหรือกระบวนการตามทีก่ ฎหมายกําหนด ในกรณีทผ่ี มู ีอํานาจส่งั บรรจแุ ละแตงต้งั ไมดําเนนิ การตามที่สํานกั งาน ก.พ. กําหนด ตามวรรคหนง่ึ หรือ ในกรณที ่ีเห็นสมควร ใหสํานกั งาน ก.พ. เสนอ ก.พ. เพ่ือพิจารณาดําเนินการตามมาตรา ๙ ตอ ไป ขอ ๑๒ การใหค วามคมุ ครองพยานตามหมวดน้ี ใหพ จิ ารณาดําเนนิ การในโอกาสแรกทส่ี ามารถกระทําได และใหเ ริ่มตั้งแตม ีการใหขอ มูลหรอื ใหถ อยคําตามขอ ๓ หรือขอ ๔ แลว แตก รณี จนกวาจะมกี ารสัง่ ยุตเิ รือ่ งหรอื การดําเนนิ การทางวินยั ตามกฎหมายนีแ้ กผเู ปน ตน เหตเุ สรจ็ ส้ิน ขอ ๑๓ กอนมีการแจงเรื่องกลาวหาวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทําผิดวินัย ถาผูใหขอมูลหรือ ใหถ อ ยคําตามขอ ๔ ไมใชผ เู ปนตน เหตแุ หง การกระทําผิดวนิ ัยในเร่อื งนั้น และเปน กรณี ทไ่ี มอาจแสวงหาขอมูล หรือพยานหลักฐานอื่นใดเพื่อดําเนินการทางวินัยแกผูเปนตนเหตุแหงการกระทําความผิดวินัยในเร่ืองน้ันได นอกจากจะไดข อ มูลหรอื พยานหลักฐานจากผนู ั้น ผูมีอํานาจสัง่ บรรจแุ ละแตงตั้งอาจกนั ผนู นั้ เปนพยานได้ ขอ ๑๔ ในกรณีท่ีผูท่ีถูกกันเปนพยานตามขอ ๑๓ ไมมาใหถอยคําตอบุคคลหรือคณะบุคคล ผูมีหนาที่ สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ หรือมาแตไมใหถอยคํา หรือ 58 หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปล่ยี นแปลงส่สู งั คมท่ไี มท่ นต่อการทุจริต 156

ใหถ อยคําแตไมเปนประโยชนตอ การดําเนินการ หรือใหถอยคําอันเปน เท็จ หรอื กลับคําใหการ ใหก ารกันผนู ้ัน ไวเปนพยานเปน อนั สน้ิ สุดลง ขอ ๑๕ ใหผูบังคับบัญชาผูมอี ํานาจส่ังบรรจุและแตงต้ังแจงเร่ืองการกนั ขาราชการพลเรอื นสามัญ ตาม ขอ ๑๓ ไวเปน พยาน หรอื การสิน้ สดุ การกนั เปน พยานตามขอ ๑๔ ใหบคุ คลหรอื คณะบคุ คล ทีม่ ีหนาทสี่ ืบสวน สอบสวนหรอื ตรวจสอบตามกฎหมายหรอื ระเบียบของทางราชการและขาราชการผูน นั้ ทราบ ขอ ๑๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใหขอมูลหรือใหถอยคําตามขอ ๔ ผูใดไดใหขอมูลหรือใหถอยคํา ทส่ี ําคญั จนเปน เหตใุ หล งโทษทางวนิ ยั แกผ เู ปน ตน เหตแุ หง การกระทําผดิ ได และผนู นั้ ตอ งถกู ลงโทษทางวนิ ยั เพราะ เหตุที่ไดรวมกระทําผิดวินัยน้ันดวย ถาผูมีอํานาจส่ังบรรจุและแตงตั้งพิจารณาเห็นวาผูน้ันมิไดเปนตนเหตุ แหง การกระทําความผดิ วินยั นนั้ หรอื ไดรว มกระทําความผิดวินยั ไปเพราะตกอยูในอํานาจบังคบั หรือกระทําไป โดยรูเทาไมถึงการณ ผูมีอํานาจสั่งบรรจุและแตงต้ังอาจพิจารณาลดโทษใหผูน้ันต�่ำกวาโทษท่ีควรไดรับจริงได แตทงั้ น้ตี อ งไมตำ่� กวาการลดโทษที่อาจกระทําไดต ามท่กี ฎหมายกําหนด ขอ ๑๗ ผูมอี ํานาจส่ังบรรจุและแตง ตั้งอาจพิจารณาใหบําเหนจ็ ความชอบเปน กรณีพิเศษ แกผใู หข อ มลู หรือถอ ยคําตามขอ ๓ ไดดังน้ี (๑) ใหถ อื วาการใหข อ มลู หรอื ใหถ อ ยคํานนั้ เปน ขอ ควรพจิ ารณาอนื่ ตามกฎ ก.พ. วาดว ยการเลอ่ื นเงนิ เดอื น ท่ผี ูบ ังคับบญั ชาตองนําไปใชเปน ขอ มลู ประกอบในการพจิ ารณาเลือ่ นเงินเดือน (๒) เครอ่ื งหมายทเี่ ห็นสมควรเพื่อเปน เครื่องเชดิ ชเู กียรติ (๓) รางวลั (๔) คําชมเชยเปน หนังสอื ขอ ๑๘ ใหผูมีอํานาจส่ังบรรจุและแตงตั้งพิจารณาใหบําเหน็จความชอบเปนกรณีพิเศษตามขอ ๑๗ แกผ ใู หข อ มลู หรอื ใหถ อ ยคําตามขอ ๓ ตามระดบั ความมากนอ ยของประโยชนแ ละผลดยี งิ่ ตอ ทางราชการทไ่ี ดร บั จากการใหขอ มลู หรือถอยคําน้ัน หลกั สูตรสร้างวิทยากรผู้น�ำ การเปลยี่ นแปลงสู่สังคมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ 59 157

บรรณานกุ รม กรมสรรพากร. (๒๕๕๙). คมู่ อื การป้องกันผลประโยชนท์ บั ซอ้ น. กรุงเทพฯ: กรมสรรพากร. ดชั นชี ี้วัดภาพลกั ษณค์ อร์รัปชนั โลก ปี ๒๕๕๙ คะแนนไทยร่วงจาก ๓๘ เป็น ๓๕ อันดับตกจาก ๗๖ เป็น ๑๐๑ จาก ๑๗๖ ประเทศ. (๒๕๖๐). สืบค้นเม่ือ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐, จาก http://thaipublica. org/2017/01/corruption-perceptions-index-2016-thailand/ พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑. (ม.ป.ป.). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ . สบื คน้ เมอ่ื ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐, จาก https:// www.nacc.go.th/ more_news.php?cid=36 สังศิต พิริยะรังสรรค์ และคณะ. (๒๕๕๙). โครงการส่งเสริมและสนับสนุนมาตรการลงโทษทางสังคม. ทุนสนับสนุนการวิจัยจากส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. สังศิต พริ ิยะรงั สรรค.์ Social Sanction. วารสารสงั คมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ ปที ี่ ๔๖ ฉบบั ท่ี ๒ กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๕๙. หน้าที่ ๖๕ เสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์ และคณะ. (๒๕๕๓). โครงการประเมินดา้ นสถานการณ์ด้านการทจุ ริตในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะอนกุ รรมการฝา่ ยวิจยั ส�ำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการ ทจุ รติ แหง่ ชาติ ส�ำนกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาต.ิ (๒๕๕๘). เปดิ แฟม้ ๑๐ คดที จุ รติ บทเรยี น ราคาแพงของคนไทย. กรงุ เทพมหานคร : อมรินพร้นิ ตงิ้ แอนด์พบั ลชิ ช่ิง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. (ม.ป.ป.) คมู่ ือการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม. ส�ำนักงานปลดั กระทรวงพาณิชย์. (๒๕๕๙). คมู่ ือการป้องกนั ผลประโยชน์ทับซ้อน. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานปลดั กระทรวงพาณชิ ย.์ ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๕๙). คู่มอื การป้องกนั ผลประโยชน์ทับซ้อน. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั งาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ส�ำนักงานปลดั ส�ำนักนายกรฐั มนตร.ี (๒๕๖๐). คมู่ อื ปอ้ งกนั ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์ปฏิบตั กิ าร ตอ่ ต้านการทจุ รติ (ศปท.). หอการค้าไทยเผยดัชนีคอร์รัปชัน มิ.ย. ปรับตัวลด. สืบค้นเมื่อ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐, จากhttp://www. thairath.co.th/content/661992 Radcliffe-Brown, A.R. (1952). Structure and function in primitive society. Illinois: The free Press. 60 หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไมท่ นต่อการทจุ ริต 158

วิชาที่ ๓ การประยกุ ต์หลกั ความพอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจรติ หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ ำ�การเปลี่ยนแปลงสสู่ ังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจรติ วิชาที่ ๓ : เรื่อง การประยกุ ต์หลักความพอเพยี งดว้ ยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ จ�ำนวนช่ัวโมง : ๓ ชั่วโมง เร่อื ง การประยุกต์หลกั ความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจริต สาระส�ำ คัญ วชิ านเี้ ปน็ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ทม่ี า ความหมายของโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ การน�ำโมเดล STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ไปประยุกต์ในบริบทต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน�ำไปถ่ายทอดได้อย่าง ถูกตอ้ งและน�ำไปปรบั ใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมกับผู้เข้ารับการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ เสริมสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจ การน�ำไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมนิ เกยี่ วกับ การประยกุ ต์หลกั ความพอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพียงต้านทุจริต ๒. เพ่ือสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างถูกต้องในเรื่องการประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต ใหผ้ ้เู รยี นน�ำไปปรบั ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. ต้นแบบความพอเพยี ง (ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง) ๒. STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต วิธกี ารฝกึ อบรม การอภิปราย กรณีโครงการ STRONG การบรรยาย ส่อื การเรยี นรู้ PowerPoint สารคดี หรือส่ืออ่นื ๆ ท่เี หมาะสม การวัดและประเมินผล การทดสอบเนอ้ื หา (๒๐ คะแนน) หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลีย่ นแปลงส่สู งั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ 61 159

เนื้อหาโดยสงั เขป หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผู้น�ำการเปลย่ี นแปลงสูส่ ังคมท่ีไมท่ นต่อการทจุ รติ วชิ าท่ี ๓ : เรือ่ ง การประยกุ ตห์ ลักความพอเพยี งด้วยโมเดล STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต จ�ำนวนช่วั โมง : ๓ ชวั่ โมง รายละเอยี ดเน้อื หา ๑. ต้นแบบความพอเพยี ง (ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง) เมือ่ วนั ท่ี ๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดเ้ สด็จขึน้ เถลิง ถวลั ยราชสมบตั ิ และเมอื่ วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ณ พระทนี่ ง่ั ไพศาลทกั ษณิ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช นบั เปน็ เวลา ๗๐ ปี ทพี่ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชทรงครองราชย์ ทรงมีพระราชปณิธาณท่ีจะให้ประชาชนชาวไทยได้ประโยชน์และความสุข อยา่ งทว่ั ถงึ กนั ท้งั ประเทศ โดย “คน” เปน็ ศนู ย์กลางในการพัฒนา และทรงพระวริ ยิ ะอุตสาหะทจี่ ะขจัดปญั หา ตา่ ง ๆ อาทิ ปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ เกษตรกรรม สงั คม การศกึ ษา เปน็ ตน้ เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ชาวไทยสามารถพ่ึงพาตนเองอยา่ งมน่ั คงและย่งั ยนื ตอ่ ไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชทานแนวพระราชด�ำริหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง จากพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วนั พฤหสั บดที ี่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ โดยมใี จความตอนหนงึ่ วา่ “...การพฒั นาประเทศจ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำตามล�ำดบั ขัน้ ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกนิ พอใชข้ องประชาชนสว่ นใหญเ่ ปน็ เบอ้ื งตน้ ก่อน โดยใช้วิธกี ารและใช้ อปุ กรณท์ ปี่ ระหยดั แตถ่ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ า เมอ่ื ไดพ้ นื้ ฐานมน่ั คงพรอ้ มพอควรและปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสรา้ งคอ่ ย เสรมิ ความเจรญิ และฐานะเศรษฐกจิ ขนั้ ทส่ี งู ขน้ึ โดยล�ำดบั ตอ่ ไป หากมงุ่ แตจ่ ะทมุ่ เทสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ข้ึนให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชน โดยสอดคล้องดว้ ย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเร่ืองต่าง ๆ ขึ้นซ่ึงอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่ อารยประเทศหลายประเทศก�ำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงอยู่ในเวลาน้ี...” ซ่ึงเป็นแนวพระ ราชด�ำริท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชพระราชทานแก่ราษฎร มานานกว่า ๔๐ ปี เพ่อื ให้ ราษฎรสามารถด�ำรงชีวิตด้วยการพึงพาตนเอง มีสติอยู่อย่างประมาณตนสามารถด�ำรงชีพปกติสุขอย่างมั่นคง และยงั่ ยืน เมอื่ วันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ องค์การสหประชาชาติ (United Nations :UN) โดยนายโคฟี อนั นัน เลขาธิการองคก์ ารสหประชาชาติได้ทลู เกล้าทลู กระหมอ่ ม ถวายรางวัลความส�ำเร็จสูงสุดดา้ นการพฒั นามนษุ ย์ ของโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ(The Human Development Lifetime Achievement Award) เพอื่ เทดิ พระเกียรตเิ ป็นกรณีพเิ ศษ ในวโรกาสที่ทรงครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี โดยนายโคฟี อนั นนั ไดก้ ลา่ วสดดุ ี พระเกยี รตคิ ณุ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และกลา่ วถงึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งวา่ เปน็ หลักการที่มุ่งเน้นการกลั่นกรองในการบริโภคเน้นความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันในตัวสามารถต้านทาน 62 หลกั สูตรสร้างวทิ ยากรผ้นู ำ�การเปลี่ยนแปลงสู่สงั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทุจรติ 160

ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ “ทางสายกลาง” จึงเป็นการตอกย�้ำแนวทางที่สหประชาชาติท่ีมุ่งเน้นคน เป็นศูนย์กลางการพัฒนาเพ่ือคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ส�ำนักงานโครงการพัฒนา แห่งสหประชาชาติประจ�ำประเทศไทย (United Nations Development Programme : UNDP) ไดก้ ล่าวถงึ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยจดั พิมพ์ในรายงานประจ�ำปี ๒๐๐๗ เพื่อเผยแพรป่ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปยงั ประเทศสมาชกิ กว่า ๑๕๐ ประเทศทวั่ โลก ๒. โมเดล STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ได้มี การวเิ คราะหภ์ าพอนาคตของประชาชนและสังคมไทยในระยะ ๕ ปีขา้ งหนา้ ไวว้ ่า หากยุทธศาสตร์ชาตฯิ ไดร้ บั ความร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนของสังคมไทยในการน�ำไปปฏิบัติจริง ประชาชนไทยจะมีความตื่นตัวต่อ การทจุ รติ มากขนึ้ มกี ารใหค้ วามสนใจตอ่ ขา่ วสารและตระหนกั ถงึ ผลกระทบของการทจุ รติ ทม่ี ตี อ่ ประเทศมากขน้ึ มีการแสดงออกซึ่งการต่อต้านการทุจริตทั้งในชีวิตประจ�ำวันและการแสดงออกผ่านส่ือสาธารณะและสื่อสังคม ออนไลนต์ า่ ง ๆ ประชาชนในแตล่ ะชว่ งวยั ไดร้ บั กระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมวา่ การทจุ รติ ถอื เปน็ พฤตกิ รรม ท่นี อกจากจะผิดกฎหมายและท�ำให้เกิดความเสยี หายต่อประเทศแลว้ ยงั เป็นพฤติกรรมท่ผี ดิ จรยิ ธรรม ไมไ่ ด้รับ การยอมรับจากสังคม ประชาชนจะเริ่มเรียนรู้การปรับเปลี่ยนฐานความคิดท่ีท�ำให้สามารถแยกแยะระหว่าง ผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ วฒั นธรรมทางสงั คมทมี่ ฐี านอยบู่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จะหล่อหลอมให้ประชาชนไม่กระท�ำการทุจริตเนื่องจากมีพื้นฐานจิตที่พอเพียง มีความละอายต่อการทุจริต ประพฤตมิ ชิ อบ และไม่ยอมใหผ้ ้อู น่ื กระท�ำการทุจรติ อนั สง่ ผลให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ สงั คมสว่ นรวม เพื่อให้ภาพอนาคตดังกล่าวสามารถบรรลุผลได้จริง หน่วยงานทุกภาคส่วนต้องให้ความส�ำคัญอย่าง แทจ้ รงิ กบั การปรบั ประยกุ ตห์ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชป้ ระกอบกบั หลกั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ อน่ื ๆ เพอื่ สรา้ งฐานคดิ จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ใหเ้ กดิ ขนึ้ เปน็ พน้ื ฐานความคดิ ของปจั เจกบคุ คล โดยประยกุ ตห์ ลกั “STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ ” ซงึ่ คดิ คน้ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธรี านวุ ฒั ศริ ิ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มาเป็นแนวทางในการพัฒนาวฒั นธรรมหน่วยงาน หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผูน้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมทไี่ มท่ นต่อการทุจริต 63 161

ค�ำอธบิ ายความหมายของ “STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต” ๑) S (sufficient) : ความพอเพยี ง ผูน้ �ำ ผูบ้ ริหาร บุคคลทกุ ระดบั องคก์ รและชุมชนน้อมน�ำปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์เป็นหลักความพอเพียงในการท�ำงาน การด�ำรงชีวิต การพัฒนาตนเอง และส่วนรวม รวมถงึ การปอ้ งกันการทจุ รติ อยา่ งยั่งยนื ความพอเพียงต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึง ของมนุษย์แม้ว่าจะแตกต่างกันตามพื้นฐาน แต่การตัดสินใจว่าความ พอเพยี งของตนเองตอ้ งตงั้ อยบู่ นความมีเหตุมีผลรวมทง้ั ต้องไมเ่ บยี ดเบยี นตนเอง ผ้อู น่ื และสว่ นรวม ความพอเพียงดังกล่าวจึงเป็นภูมิคุ้มกันให้บุคคลน้ันไม่กระท�ำการทุจริต ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจ (knowledge) และปลุกใหต้ ่นื รู้ (realize) ๒) T (transparent) : ความโปร่งใส ผ้นู �ำ ผูบ้ รหิ าร บุคคลทุกระดบั องคก์ รและชมุ ชนต้องปฏบิ ัตงิ าน บนฐานของความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ดงั นัน้ จงึ ตอ้ งมแี ละปฏิบัตติ ามหลกั ปฏิบัติ ระเบยี บ ขอ้ ปฏบิ ัติ กฎหมาย ดา้ นความโปร่งใส ซง่ึ ตอ้ งให้ความรคู้ วามเข้าใจ (knowledge) และปลุกให้ตื่นรู้ (realize) ๓) R (realize) : ความตืน่ รู้ ผ้นู �ำ ผู้บริหาร บุคคลทุกระดบั องคก์ รและชุมชน มคี วามรู้ความเขา้ ใจและ ตระหนกั รถู้ งึ รากเหง้าของปัญหาและภัยรา้ ยแรงของการทุจรติ ประพฤตมิ ชิ อบภายในชุมชนและประเทศ ความ ตื่นรู้จะบังเกิดเม่ือได้พบเห็นสถานการณ์ที่เส่ียงต่อการทุจริต ย่อมจะมีปฏิกิริยาเฝ้าระวังและไม่ยินยอมต่อการ ทุจริตในทสี่ ุดซ่ึงต้องใหค้ วามรูค้ วามเข้าใจ (knowledge) เก่ียวกบั สถานการณก์ ารทจุ ริตท่ีเกิดขนึ้ ความรา้ ยแรง และผลกระทบตอ่ ระดับบคุ คลและสว่ นรวม ๔) O (onward) : ม่งุ ไปขา้ งหน้า ผู้น�ำ ผูบ้ รหิ าร บคุ คลทกุ ระดับ องคก์ รและชุมชน ม่งุ พฒั นาและ ปรบั เปลยี่ นตนเองและสว่ นรวมใหม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งยงั่ ยนื บนฐานความโปรง่ ใส ความพอเพยี งและรว่ มสรา้ ง วัฒนธรรมสจุ ริตใหเ้ กิดขึน้ อยา่ งไมย่ ่อทอ้ ซ่ึงตอ้ งมีความรคู้ วามเขา้ ใจ (knowledge) ในประเดน็ ดังกลา่ ว ๕) N (knowledge) : ความรู้ ผู้น�ำ ผบู้ รหิ าร บุคคลทกุ ระดบั องค์กรและชมุ ชน ตอ้ งมคี วามรูค้ วาม เข้าใจสามารถน�ำความรไู้ ปใช้ สามารถวิเคราะหรึ ร่ทื่ สงั เคราะห์ ประเมนิ ได้อย่างถ่องแท้ ในเร่อื ง สถานการณ์ การทจุ รติ ผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสว่ นรวม ความพอเพยี งตา้ นทจุ รติ การแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตวั และ ผลประโยชน์ส่วนรวมทมี่ คี วามส�ำคัญยง่ิ ต่อการลดการทุจรติ ในระยะยาว รวมท้งั ความอายไมก่ ล้าท�ำทุจริตและ ความไม่ทนเมอ่ื พบเห็นว่ามีการทจุ ริตเกิดขึน้ เพอ่ื สร้างสงั คมไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ๖) G (generosity) : ความเอื้ออาทร คนไทยมีความเอ้ืออาทร มีเมตตา น�้ำใจ ต่อกันบนฐานของ จิตพอเพียงตา้ นทุจริต ไมเ่ อ้ือต่อการรบั หรือการให้ผลประโยชน์หรอื ตอ่ พวกพอ้ ง ความพอเพียง พระราชด�ำรสั พระราชทานแกบ่ คุ คลตา่ ง ๆ ทเ่ี ขา้ เฝา้ ฯ ถวายชยั มงคลเนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสติ วันศกุ รท์ ่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ “...ค�ำวา่ พอเพยี ง มคี วามหมายกวา้ งออกไปอกี ไมไ่ ดห้ มายถงึ การมพี อส�ำหรบั ใชข้ องตวั เอง มคี วามหมาย วา่ พอมีพอกิน พอมพี อกินน้ี ถ้าใครไดม้ าอยทู่ ีน่ ี่ ในศาลาน้ีเมือ่ ๒๔ ปี ๒๕๑๗ ถงึ ๒๕๔๑ ก็ ๒๔ ปี ใช่ไหม วันนัน้ ไดพ้ ดู ถงึ วา่ เราควรจะปฏบิ ตั ใิ หพ้ อมพี อกนิ พอมพี อกนิ นก้ี แ็ ปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพยี งนนั่ เองถา้ แตล่ ะคนพอมพี อกนิ ก็ใชไ้ ด้ ยิง่ ถ้าท้ังประเทศพอมีพอกินกย็ งิ่ ดี และประเทศไทยก็เวลาน้ันกเ็ รมิ่ จะเป็นไม่พอมี พอกนิ บางคนกม็ ีมาก 64 หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปลีย่ นแปลงสสู่ ังคมท่ไี ม่ทนต่อการทุจรติ 162

บางคนก็ไม่มีเลย สมัยก่อนนี้พอมีพอกิน มาสมัยน้ีชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายที่จะท�ำเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพ่อื ทจี่ ะใหท้ ุกคนมพี อเพยี งได.้ ..” “...ค�ำวา่ พอกเ็ พยี งพอ เพยี งนกี้ พ็ อดงั นนั้ เอง คนเราถา้ พอในความตอ้ งการ กม็ คี วามโลภนอ้ ย เมอ่ื มคี วาม โลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอ่ืนน้อย ถ้าทุกประเทศใดมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าท�ำอะไรต้อง พอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมขี องหรหู รากไ็ ด้ แตว่ า่ ตอ้ งไมไ่ ปเบยี ดเบยี นคนอน่ื ตอ้ งใหพ้ อประมาณ พดู จากพ็ อเพยี ง ท�ำอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏบิ ัตติ นกพ็ อเพียง…” “...อยา่ งเคยพดู เหมอื นกนั วา่ ทา่ นทงั้ หลายทนี่ ง่ั อยตู่ รงนี้ ถา้ ไมพ่ อเพยี งคอื อยากจะไปนงั่ บนเกา้ อขี้ องผทู้ ่ี อยขู่ า้ ง ๆ อันนน้ั ไมพ่ อเพยี งและท�ำไมไ่ ด้ ถ้าอยากนัง่ อย่างนน้ั ก็เดือดร้อนกันแนเ่ พราะวา่ อดึ อัด จะท�ำใหท้ ะเลาะ กัน และเมอื่ มกี ารทะเลาะกนั กไ็ มม่ ีประโยชนเ์ ลย ฉะนัน้ ควรทีจ่ ะคิดวา่ ท�ำอะไรพอเพยี ง...” “...ถ้าใครมีความคิดอย่างหน่ึงและต้องการให้คนอื่นมีความคิดอย่างเดียวกับตัวซ่ึงอาจจะไม่ถูก อันนี้ก็ ไม่พอเพียง การพอเพียงในความคิดก็คือแสดงความคิด ความเห็นของตัวและปล่อยให้อีกคนพูดบ้าง และมา พิจารณาว่าที่เขาพูดกับท่ีเราพูด อันไหนพอเพียงอันไหนเข้าเรื่อง ถ้าไม่เข้าเร่ืองก็แก้ไขเพราะว่าถ้าพูดกันโดยท่ี ไม่รู้เร่ืองกนั ก็จะกลายเป็นการทะเลาะ จากการทะเลาะดว้ ยวาจากก็ ลายเป็นการทะเลาะด้วยกาย ซึ่งในทส่ี ุดก็ น�ำมาสคู่ วามเสียหาย เสียหายแกค่ นสองคนทเี่ ป็นตวั การ เปน็ ตัวละครทัง้ สองคน ถ้าเป็นหมูก่ เ็ ลยเป็นการตกี ัน อย่างรุนแรง ซง่ึ จะท�ำใหค้ นอน่ื อกี มากเดือดร้อน ฉะนนั้ ความพอเพยี งนก้ี แ็ ปลว่า ความพอประมาณและความ มเี หตผุ ล...” ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ประมวลและกลั่นกรองจาก พระราชด�ำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช เรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง และขอพระราชทาน พระบรมราชานญุ าตน�ำไปเผยแพร่ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชทรงพระกรณุ าปรบั ปรงุ แกไ้ ขและทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม พระราชทานพระบรมราชานญุ าตตามทีข่ อพระมหากรณุ า โดยมใี จความว่า “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหด้ �ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพือ่ ใหก้ า้ วทันตอ่ โลกยคุ โลกาภวิ ัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถงึ ความจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบภมู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ พี อสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทง้ั ภายนอกและภายใน ทง้ั นี้ จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อย่างยงิ่ ในการน�ำวชิ าการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผนและการด�ำเนนิ การทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตอ้ ง เสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี ส�ำนกึ ในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจรติ และให้มีความรอบรทู้ ่ีเหมาะสม ด�ำเนินชวี ติ ดว้ ยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและ กวา้ งขวางทงั้ ด้านวตั ถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี” คณุ ลกั ษณะทสี่ �ำคญั ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งประกอบด้วย ๓ หว่ ง ๒ เง่ือนไข คือ แนวทางการ ด�ำเนนิ ชวี ติ ใหอ้ ยบู่ นทางสายกลางตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ พน้ จากภยั และวกิ ฤตกิ ารณต์ า่ ง ทเี่ กดิ ขนึ้ กอ่ ให้เกิดคุณภาพชีวติ ที่ดีอยา่ งม่ันคงและยงั่ ยืน หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผนู้ �ำ การเปลยี่ นแปลงสู่สงั คมทีไ่ มท่ นตอ่ การทุจริต 65 163

• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจ�ำเป็น ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไปและต้องไม่ เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ น่ื • ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจด�ำเนินการเร่ืองต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย หลักศีลธรรมจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมที่ดีงาม คดิ ถงึ ปัจจยั ทเ่ี กี่ยวข้องอย่างถ่ถี ้วน โดยค�ำนงึ ถงึ ผล ทีค่ าดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระท�ำนน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ • มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้าน เศรษฐกจิ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ มทีจ่ ะเกิดขึน้ เพอื่ ใหส้ ามารถปรับตัวและรบั มอื ไดอ้ ย่างทนั ท่วงที เง่อื นไขในการตดั สินใจในการด�ำเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบ ท่จี ะน�ำความร้เู หลา่ น้นั มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏิบตั ิ ๒. เงือ่ นไขคุณธรรม ที่จะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วามซ่อื สตั ย์ สจุ รติ และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการด�ำเนนิ ชวี ิต ทม่ี า : ส�ำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ แนวทางด�ำเนนิ ชีวิตทางสายกลาง การพึ่งตนเอง รจู้ กั ประมาณตนอย่าง มีเหตุผล อยู่บนพ้ืนฐานความรู้และคุณธรรมในการพิจารณา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด�ำเนินการไม่ได้เฉพาะ เจาะจงในเรอื่ งของเศรษฐกิจแต่เพยี งอยา่ งเดยี ว แต่ยงั ครอบคลุมไปถงึ การด�ำเนนิ ชวี ติ ดา้ นอ่นื ๆ ของมนุษย์ให้ อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข อย่างเช่น หากเรามีความพอเพียง เราจะไม่ทุจริต คดโกง ไม่ลักขโมยของ เบียดเบียนผู้อนื่ ก็จะส่งผลใหผ้ อู้ ื่นไม่เดอื ดร้อน สังคมกอ็ ยไู่ ดอ้ ย่างปกติสขุ 66 หลกั สตู รสร้างวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลี่ยนแปลงสสู่ ังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทุจริต 164

แบบอย่างในเร่ืองของความพอเพยี ง เรือ่ ง ฉลองพระองค์ บนความ “พอเพยี ง”: หนงั สอื พมิ พ์คม ชัด ลึก ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ นายสุนทร ชนะศรีโยธิน เจ้าของร้านสูท “วินสัน เทเลอร์” ได้บอกเล่าพระราชจริยวัตรในด้าน “ความพอเพยี ง” ทพี่ ระองคท์ า่ นทรงปฏบิ ตั มิ าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งวา่ “นายต�ำรวจน�ำมาใหผ้ มซอ่ ม เปน็ ผา้ รดั อกส�ำหรบั เลน่ เรอื ใบสภาพเกา่ มากแลว้ นายต�ำรวจทา่ นนน้ั บอกวา่ ไมม่ รี า้ นไหนยอมซอ่ มใหเ้ ลย ผมเหน็ วา่ ยงั แกไ้ ขไดก้ ร็ บั มา ซ่อมแซมใหไ้ ม่คดิ เงนิ เพราะแคน่ ึกอยากบรกิ ารแก้ไขใหด้ ีให้ลูกค้าประทับใจ แต่ไม่รู้มาก่อนวา่ เขาเป็นเจา้ หนา้ ท่ี ในพระราชส�ำนักตอนนั้นผมบอกไม่คิดค่าตัดบอกเขาว่าไม่รับเงิน แก้ไขแค่นี้ ผมมีน�้ำใจ ผมเปิดร้านเส้ือเพราะ ต้องการให้มีชื่อเสียงด้านคุณภาพและบริการลูกค้ามากกว่า แก้ไขนิดเดียวก็อยากท�ำให้เขาดี ๆ ไม่ต้องเสียเงิน ตอนนั้นเขาถามผมอีกว่า แล้วจะเอามาให้ท�ำอีกได้ไหม เราก็บอกได้เลยผมบริการให้ จากนั้นเราก็รับแก้ชุดให้ ใหน้ ายต�ำรวจทา่ นนี้เรอ่ื ย ๆ เขาขอใหค้ ดิ เงนิ ก็ไมค่ ดิ ให้ พอครั้งท่ี ๕ นี่สิ ท่านเอาผา้ มา ๔-๕ ผืน จะให้ตดั ถามผม วา่ เทา่ ไหร่ ๆ แล้วกร็ บี ควกั นามบตั รมาใหผ้ ม ท่านช่อื พล.ต.ต.จรัส สดุ เสถยี ร ต�ำแหนง่ เขยี นวา่ เป็นนายต�ำรวจ ประจ�ำราชส�ำนัก ทา่ นบอกว่า “สงิ่ ทเ่ี ถ้าแกท่ �ำใหเ้ ปน็ ของพระเจ้าอยหู่ ัวนะ” ผมอึ้งมากรบี ยกมือท่วมหัว ดใี จที่ ไดร้ ับใชเ้ บื้องพระยุคลบาทแลว้ ” นายสนุ ทรเลา่ ด้วยน�้ำเสยี งต้ืนตันใจแตล่ ะฉลองพระองคท์ ่ไี ดร้ บั มาใหซ้ ่อมแซม ถ้าเป็นคนอ่ืนผ้าเก่าขนาดนัน้ เขาไม่ซ่อมกนั แลว้ เอาไปทิ้งหรือให้คนอนื่ ๆ ได้แลว้ แต่พระเจา้ อยู่หัวรชั กาลท่ี ๙ ทรงมีความมธั ยัสถ์ แตล่ ะองคท์ ่ีเอามาเกา่ มาก เชน่ เส้อื สูทสฟี ้าชยั พัฒนา ผ้าเก่าสีซดี มากแล้ว ตรงตราชยั พัฒนา มวั หมอง ตรงดน้ิ ทองก็หลุดเกอื บหมด ผมเอามาแกะหมดเลยใหโ้ รงงานปักใหม่ใหเ้ หมอื นแบบเดิม เพราะเขา้ ใจ วา่ ทา่ นอยากไดฉ้ ลองพระองค์องค์เดมิ แต่เปลีย่ นตราให้ดูใหม่ ถา้ สมมตุ วิ ันนีม้ ีเจา้ หน้าทมี่ าสง่ ซ่อม พรงุ่ น้ีเยน็ ๆ ผมก็ท�ำเสร็จส่งคืนเข้าไป เจ้าหน้าท่ีที่มารับฉลองพระองค์ชอบถามว่า ท�ำไมท�ำไว ผมตอบเลยว่า เพราะต้ังใจ ถวายงานครบั ผมอย่ผู ืนแผ่นดินไทย ใตร้ ม่ พระบารมขี องพระองค์ ผมก็อยากไดร้ ับใช้เบอื้ งพระยุคลบาทสักเร่อื ง ผมเป็นแค่ช่างตัดเส้อื ได้รบั ใชข้ นาดนี้ผมก็ปลื้มปตี ิท่ีสุดแลว้ “ผมถือโอกาสน�ำหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านมาใช้ตลอด เส้ือผ้าเก่า ๆ ท่ีได้รับมาวันแรก ท�ำให้รูว้ า่ พระองค์ทรงอยอู่ ยา่ งประหยดั มธั ยสั ถ์ ทรงเป็นแบบอยา่ งความพอเพียงให้แก่ประชาชน และเมอ่ื ได้ ถวายงานบอ่ ยครง้ั ท�ำใหผ้ มตระหนกั วา่ คนเราวนั หนงึ่ ตอ้ งคดิ พจิ ารณาตวั เองวา่ สง่ิ ไหนบกพรอ่ งกต็ อ้ งแกไ้ ขสง่ิ นนั้ ทุกคนต้องแก้ไขสิ่งท่ีบกพร่องก่อน งานถึงจะบรรลุเป้าหมาย และเมื่อประสบความส�ำเร็จแล้วอย่าลืมต้ังใจท�ำ สิ่งดี ๆ ให้ประเทศชาตติ ลอดไป” ขอ้ คดิ และข้อปฏิบัติดี ๆ ที่ไดจ้ ากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั ของช่างสนุ ทร ฉลองพระบาท ก.เปรมศลิ ป์ ชา่ งซอ่ มฉลองพระบาท รอยเทา้ ในหลวง ร. ๙ รอยเทา้ ของความพอเพยี ง นายศรไกร แนน่ ศรนี ิลหรือช่างไก่ ช่างนอกราชส�ำนักผู้ถวายงานซอ่ มฉลองพระบาท ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ มานานกว่า ๑๐ ปี ปจั จบุ นั ยงั เปน็ เจา้ ของร้านซ่อมรองเท้า ก.เปรมศลิ ป์ บริเวณส่แี ยกพิชยั เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ประมาณปี ๒๕๔๖ มีลูกค้าสวมชุดพระราชส�ำนักมา ๒ คน เดินประคองถุงผ้าลายสก๊อต ด้านในเป็นรองเท้า เข้ามาในร้าน พอวางรองเท้าลงก็ก้มลงกราบ เลยถามว่า เอาอะไรมาให้ ลูกค้ารายนั้นตอบว่า ฉลองพระบาท ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ไดย้ นิ เท่าน้นั ท�ำตวั ไม่ถูก ขนลุก พดู อะไรไม่ถูก ในใจคิดแต่เพยี งว่าโชคดีแล้ว ไม่นึกไม่ฝันว่าจะมีโอกาสได้ซ่อมรองเท้าของเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ช่างไก่ เล่าว่า รองเท้าคู่แรกที่ในหลวง ร. ๙ ทรงน�ำมาซอ่ ม เปน็ รองเทา้ หนงั สดี �ำ ทรงคทั ชู แบรนดไ์ ทย เปน็ ฉลองพระบาทคโู่ ปรดของพระองค์ เบอร์ ๔๓ เทา่ ทส่ี งั เกตสภาพช�ำรดุ ทรดุ โทรม ราวกบั ใสใ่ ชง้ านมาแลว้ หลายสบิ ปี ภายในรองเทา้ ผกุ รอ่ นหลดุ ลอกหลายแหง่ ถา้ เปน็ คนท่วั ไปจะแนะน�ำให้ทงิ้ แลว้ ซอ้ื ใหม่ หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงส่สู ังคมทไี่ ม่ทนตอ่ การทจุ ริต 67 165

“จรงิ ๆ ผมใชเ้ วลาซอ่ มรองเทา้ คนู่ นั้ ไมถ่ งึ ๑ ชว่ั โมงกเ็ สรจ็ แตด่ ว้ ยความทอี่ ยากใหร้ องเทา้ คนู่ น้ั อยใู่ นบา้ น ใหน้ าน เลยบอกเจา้ หนา้ ทวี่ ่า ใช้เวลาซอ่ ม ๑ เดอื น ซึง่ ฉลองพระบาทค่นู ี้ ทรงโปรดใช้ทรงดนตร”ี นับจากนั้นเป็นต้นมาช่างไก่ยังมีโอกาสได้ถวายงานซ่อมฉลองพระบาทอีกหลายคู่ ซ่ึงคู่ท่ี ๒ และคู่ที่ ๓ เป็นรองเท้าหนังสีด�ำ ทรงคัทชู คทู่ ี่ ๔ ฉลองพระบาทหนงั วัว ทรงฮาฟมกั ใส่ในงานราชพิธี ซ่งึ ฉลองพระบาทคู่น้ี มรี อยพระบาทติดมากับแผ่นรองเทา้ ช่างไกเ่ ก็บแผ่นรองเทา้ ไว้ท่รี า้ นเพ่อื ความเป็นสิรมิ งคล สว่ นฉลองพระบาท คูท่ ี่ ๕ ทรงน�ำมาเปล่ยี นพื้น ฉลองพระบาทคทู่ ่ี ๖ เปน็ รองเท้าเปดิ สน้ ซ่ึงคุณทองแดง สุนัขทรงเล้ียงกัด รวมแล้ว ทงั้ หมด ๖ คู่ “ผมซอ่ มฉลองพระบาททกุ คอู่ ยา่ งสดุ ความสามารถ ซง่ึ รองเทา้ ของพระองคจ์ ะน�ำไปวางปนกบั ของลกู คา้ คนอ่ืนไม่ได้ เลยซื้อพานมาใส่พร้อมกับผ้าสีเหลืองมารอง แล้วน�ำไปวางไว้ที่สูงท่ีสุดในร้าน เพราะท่านคงทรง โปรดมาก สภาพรองเท้าช�ำรุดมาก ซับในรองเท้าหลุดออกมาหมด ถ้าเป็นเศรษฐีทั่วไปคงจะไม่น�ำมาใช้แล้ว แต่น่ีพระองค์ยังทรงใช้ค่เู ดิมอยู”่ ประการส�ำคญั ทท่ี �ำใหช้ ายผนู้ ไี้ ดเ้ รยี นรจู้ ากพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช คอื “ความ พอเพยี ง” ขนาดฉลองพระบาทขาดและเกา่ ยงั สง่ มาซอ่ ม หากคนไทยเดนิ ตามรอยของพระองคท์ า่ น ชวี ติ ไมฟ่ งุ้ เฟอ้ จะเปน็ สุขกนั มากกวา่ น้ี “ดร.สเุ มธ ตันติเวชกลุ ” เขยี นไวใ้ นหนังสอื “ใต้เบอื้ งพระยคุ ลบาท” “...พระองคท์ า่ น ทรงเปน็ ผนู้ �ำอยา่ งแทจ้ รงิ ดแู คฉ่ ลองพระบาทเปน็ ตน้ พวกตามเสดจ็ ฯ ทงั้ หลายใสร่ องเทา้ นอก และยิ่งมาจากต่างประเทศใส่แล้วนุ่มเท้าดี พระองค์กลับทรงรองเท้าท่ีผลิตในเมืองไทยคู่ละร้อยกว่าบาท สดี �ำเหมอื นอย่างที่นักเรียนใส่กนั แมก้ ระท่ังพวกเรายงั ไมซ่ อ้ื ใสเ่ ลย...” “ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกุล” เขียนไวใ้ นหนงั สือ “ใต้เบอื้ งพระยคุ ลบาท” นาฬิกาบนขอ้ พระกร วนั งานเปดิ ตวั รายการทวี ี “ธรรมดที พี่ อ่ ท�ำ” และงานสมั มนา “ถอดรหสั ” ธรรมดที พี่ อ่ ท�ำ พอเรมิ่ บรรยาย ดร.สุเมธ ตนั ติเวชกุล ถามผู้ฟงั วา่ พวกเรามเี สื้อผ้าคนละก่ีชดุ ใส่นาฬกิ าเรือนละเทา่ ไหร่ หลายคนแย่งกนั ตอบ และพากนั องึ้ เม่ือ ดร.สุเมธ ตนั ตเิ วชกุล เล่าว่า “คร้งั หนงึ่ ผมพยายามจะแอบดวู า่ พระองค์ท่านใส่นาฬิกายหี่ อ้ อะไร จนพระองค์ท่านรู้สึกได้ว่าผมพยายามอยากจะดูยี่ห้อ ท่านจึงย่ืนข้อพระหัตถ์มาให้ดูตรงหน้า จึงทราบ ว่าพระองค์ท่านใส่นาฬิการาคาเพียงเรือนละ ๗๕๐ บาทเท่าน้ันซ่ึงก็เดินตรงเหมือนกันกับนาฬิกาเรือนแพง แม้กระท่ังฉลองพระองค์ก็ทรงมีไม่ก่ีชุด ทรงใช้จนเปื่อยซีด แต่พวกเรามักคิดว่า การมีแบบเหลือกินเหลือใช้ จงึ จะดี เพราะคนสมยั นเี้ รมิ่ ไมเ่ อาเกษตรกรรม แตเ่ ลอื กทจี่ ะท�ำอตุ สา่ หากรรม (เปน็ ศพั ทท์ บี่ ญั ญตั ขิ น้ึ เอง) สดุ ทา้ ย อนาคตก็จะอดกนิ ” ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ถามอีกว่า คนในห้องน้ีมีรองเท้าคนละกี่คู่ ก็มีนักธุรกิจสตรีตอบว่า ร้อยกว่าคู่ ดร.สเุ มธ จงึ ถามตอ่ วา่ วนั นใ้ี สม่ ากค่ี ู่ ถา้ จะใชใ้ หค้ มุ้ ท�ำไมไมเ่ อามาแขวนคอดว้ ย (ท�ำเอาบรรยากาศในหอ้ งเงยี บสงดั เพราะโดนใจกนั เต็ม ๆ) ก่อนจะบอกว่า พระองคท์ รงฉลองพระบาทคูล่ ะ ๓๐๐-๔๐๐ บาท ขณะท่ขี ้าราชบริพาร ใส่รองเท้าคู่ละ ๓-๔ พัน แต่เวลาท่ีพระองค์ทรงออกเยี่ยมราษฎรในพ้ืนที่ห่างไกล ท่ีสุดแล้วข้าราชบริพาร ก็เดินตามพระองค์ไม่ทันอยู่ดี เวลาเดินคนเราใส่รองเท้าได้คู่เดียว อีกท้ังฉลองพระบาทของพระองค์ยังถูกน�ำ ส่งไปซอ่ มแล้วซอ่ มอีก 68 หลักสูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมทีไ่ ม่ทนตอ่ การทุจริต 166

ดินสอทรงงาน สารคดเี ฉลมิ พระเกยี รติเน่อื งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ หมวด พระบารมีบันดาล ตอน ดินสอของพระเจา้ อยูห่ ัว ดินสอธรรมดาซ่ึงคนท่ัวไปอาจหาซื้อได้ด้วยราคาเพียงไม่ก่ีบาทนี้เป็นดินสอชนิดเดียวที่ปรากฏอยู่บน พระหัตถข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว ขณะทรงงานอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริตา่ ง ๆ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงดนิ สอไมธ้ รรมดา ๆ โดยมบี ันทกึ ว่าในปหี น่ึง ๆ ทรงเบิกดินสอใช้เพียง ๑๒ แท่ง โดยทรงใช้ดินสอเดือนละ ๑ แท่งเท่าน้ัน เมื่อดินสอสั้นจะทรงใช้กระดาษ มามว้ นตอ่ ปลายดนิ สอใหย้ าวเพอ่ื ใหเ้ ขยี นไดถ้ นดั มอื จนกระทงั่ ดนิ สอนน้ั กดุ ใชไ้ มไ่ ดแ้ ลว้ เนอื่ งจาก พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชทรงมีแนวพระราชด�ำรทิ ีเ่ ปน็ เหตุ เป็นผล ดนิ สอ ๑ แทง่ ทา่ นไม่ไดม้ องวา่ เรา ตอ้ งประหยดั เงนิ ในกระเปา๋ แตท่ า่ นมองวา่ ดนิ สอ ๑ แทง่ ตอ้ งใชท้ รพั ยากรหรอื พลงั งานเทา่ ไหร่ ตอ้ งใชท้ รพั ยากร ธรรมชาติ คือ ไม้ แรธ่ าตทุ ที่ �ำไส้ดินสอ การน�ำเขา้ วัตถุดิบที่น�ำเขา้ ต่างประเทศ พลงั งานในกระบวนการผลติ และ ขนสง่ ดงั นนั้ การผลติ ดนิ สอทกุ แทง่ มผี ลตอ่ การรายรบั รายจา่ ยของประเทศ เปน็ สว่ นหนง่ึ มลู คา่ สนิ คา้ น�ำเขา้ ดา้ น วัตถุดิบและเป็นการน�ำทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีจ�ำกัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความประหยัดไม่ใช่หมายถึง การไมใ่ ช้ แตย่ งั รวมถงึ การใชส้ งิ่ ต่าง ๆ อยา่ งมสี ติและมเี หตผุ ล อันเป็นส�ำคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ ” เขยี นไว้ในหนังสือ “ใต้เบือ้ งพระยุคลบาท” “ท่านผู้หญิงบุตรี” บอกผมมาว่า ปีหนึ่งท่านทรงเบิกดินสอ ๑๒ แท่ง เดือนละแท่ง ใช้จนกระทั่งกุด ใครอยา่ ไดไ้ ปท้งิ ของพระองค์ท่านนะ จะทรงกร้วิ ทรงประหยดั ทุกอย่าง ทรงเปน็ ตน้ แบบทกุ อย่าง ของทุกอย่าง มีค่าส�ำหรับพระองค์ท่านท้ังหมด ทุกบาท ทุกสตางค์ จะทรงใช้อย่างระมัดระวัง ทรงส่ังให้เราปฏิบัติงาน ด้วยความรอบคอบ... หลอดยาสพี ระทนต์ หลอดยาสพี ระทนตข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มลี กั ษณะแบนราบเรยี บคลา้ ย แผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดย่ิงปรากฏรอยบุ๋มลึกลงไปจนถึงเกลียวคอหลอด สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะพระองค์ท่านทรงใช้ด้ามแปรงสีพระทนต์ช่วยรีดและกดจนเป็นรอยบุ๋มศาสตราจารย์พิเศษ ทันตแพทย์ หญงิ ทา่ นผหู้ ญงิ เพช็ รา เตชะกมั พชุ ทนั ตแพทยป์ ระจ�ำพระองค์ อดตี คณบดคี ณะทนั ตแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ไดเ้ ขยี นเลา่ ในว่า “ครั้งหน่งึ ทนั ตแพทยป์ ระจ�ำพระองค์ กราบถวายบงั คมทลู เร่ืองศษิ ยท์ ันตแพทย์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั บางคนมีค่านิยมในการใช้ของต่างประเทศ และมรี าคาแพง รายทไี่ ม่มที รัพย์พอซือ้ หา กย็ งั ขวนขวาย เชา่ มาใชเ้ ปน็ การชวั่ ครง้ั ชวั่ คราว ซง่ึ เทา่ ทท่ี ราบมา มคี วามแตกตา่ งจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ ทีท่ รงนิยมใชก้ ระเป๋าทผี่ ลติ ภายในประเทศเชน่ สามญั ชนทัว่ ไป ทรงใช้ดนิ สอสั้นจนต้องต่อด้าม แมย้ าสีพระทนต์ ของพระองค์ท่าน ก็ทรงใช้ด้ามแปรงพระทนต์รีดหลอดยาจนแบนจนแน่ใจว่าไม่มียาสีพระทนต์หลงเหลืออยู่ใน หลอดจริง ๆ ” “เมอ่ื กราบบังคมทูลเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงรับสงั่ ว่า ของพระองคท์ ่านก็เหมือนกนั และ ยงั ทรงรับสั่งตอ่ ไปอกี ดว้ ยว่า เมอ่ื ไม่นานมาน้เี องมหาดเลก็ หอ้ งสรง เหน็ ว่ายาสีพระทนตข์ องพระองคค์ งใชห้ มด แล้วจึงได้น�ำหลอดใหม่มาเปล่ียนให้แทน เมื่อพระองค์ได้ทรงทราบ ก็ได้ขอให้เขาน�ำยาสีพระทนต์หลอดเก่า มาคืนและพระองค์ท่านยังทรงสามารถใช้ต่อไปได้อีกถึง ๕ วัน จะเห็นได้ว่าในส่วนของพระองค์ท่านเองน้ัน ทรงประหยดั อยา่ งยงิ่ ซง่ึ ตรงกนั ขา้ มกบั พระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคท์ ที่ รงพระราชทานเพอ่ื ราษฎรผยู้ ากไรอ้ ยเู่ ปน็ นจิ ” หลักสตู รสร้างวิทยากรผู้น�ำ การเปลีย่ นแปลงสู่สงั คมท่ไี ม่ทนต่อการทุจรติ 69 167

“พระจรยิ วตั รของพระองคไ์ ดแ้ สดงให้เหน็ อยา่ งแจ่มชัดถึงพระวริ ิยะ อุตสาหะ ตลอดจนความประหยัด ในการใช้ของอย่างคุ้มค่า หลังจากน้ันทันตแพทย์ประจ�ำพระองค์ได้กราบพระบาททูลขอพระราชทานหลอด ยาสพี ระทนตห์ ลอดนนั้ เพอื่ น�ำไปใหศ้ ษิ ยไ์ ดเ้ หน็ และรบั ใสเ่ กลา้ เปน็ ตวั อยา่ งเพอื่ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ นโอกาสตอ่ ๆ ไป” “ประมาณหนึ่งสัปดาห์หลังจากน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานส่งหลอดยาสีพระทนต์เปล่า หลอดน้ันมาให้ถึงบ้าน ทันตแพทย์ประจ�ำพระองค์รู้สึกซาบซ้ึงในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นเกล้าย่ิง เมื่อได้ พิจารณาถึงลักษณะของหลอดยาสีพระทนตเ์ ปลา่ หลอดน้นั แลว้ ท�ำใหเ้ กดิ ความสงสัยวา่ เหตุใดหลอดยาสีพระทนต์ หลอดน้ีจึงแบนราบเรียบโดยตลอด คล้ายแผ่นกระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยังปรากฏรอยบุ๋มลึก ลงไปเกือบถึงเกลียวคอหลอด เมื่อได้มโี อกาสเขา้ เฝ้าฯ อกี ครั้งในเวลาตอ่ มา จึงได้รบั ค�ำอธิบายจากพระองค์ว่า หลอดยาสพี ระทนตท์ เี่ หน็ แบนเรยี บนนั้ เปน็ ผลจากการใชด้ า้ มแปรงสพี ระทนตช์ ว่ ยรดี และกดจนเปน็ รอยบมุ๋ ทเี่ หน็ นน่ั เอง และเพอื่ ทจ่ี ะขอน�ำไปแสดงใหศ้ ษิ ยท์ นั ตแพทยไ์ ดเ้ หน็ เปน็ อทุ าหรณ์ จงึ ไดข้ อพระราชานญุ าต ซง่ึ พระองค์ ทา่ นกไ็ ดท้ รงพระเมตตาดว้ ยความเตม็ พระราชหฤทยั ” รถยนตพ์ ระทีน่ ง่ั นายอนนั ต์ รม่ รนื่ วาณชิ กจิ ชา่ งดแู ลรถยนตพ์ ระทน่ี งั่ ไดใ้ หส้ มั ภาษณร์ ายการตสี บิ เมอ่ื วนั ที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ โดยมีใจความว่า “คร้ังหนึ่งผมต้องซ่อมรถตู้เชฟโรเลต ซึ่งเป็นรถที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแกส่ มเดจ็ พระเทพรตั นฯ สมยั ท่านเรียนจบท่ีจุฬาฯ และเปน็ คนั โปรดของท่านด้วย ก่อนซ่อมข้าง ประตูดา้ นท่ที ่านประทับเวลาฝนตกจะมีน�ำ้ หยด แตห่ ลังจากท่ซี อ่ มแลว้ วนั หนง่ึ ท่านก็รับสัง่ กบั สารถีว่า วันนร้ี ถ ดแู ปลกไป น�้ำไม่หยด อย่างนี้ก็ไม่เยน็ นะ่ สิ แต่กด็ ีเหมอื นกนั ไม่ตอ้ งเอากระป๋องมารอง” นายอนันต์ เปดิ เผยว่า ภายในรถยนตพ์ ระท่ีนัง่ ของแตล่ ะพระองคน์ นั้ เรียบง่ายมากไมม่ อี ะไรเลยท่ีเป็นสิง่ อ�ำนวยความสะดวก มแี ต่ถงั ขยะเลก็ ๆ กับทท่ี รงงานเทา่ นั้น ส่วนการไดม้ ีโอกาสดูแลรถยนตพ์ ระทีน่ งั่ ท�ำให้ได้เห็นถงึ พระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยน้ัน นายอนันต์ กล่าวว่า คร้ังหนึ่งมีรถยนต์พระที่น่ังที่เพ่ิงทรงใช้ในพระราช กรณยี กจิ มาท�ำ เหน็ วา่ พรมใตร้ ถมนี ำ�้ แฉะขงั อยแู่ ละมกี ลนิ่ เหมน็ ดว้ ย แสดงวา่ พระองคท์ า่ นทรงน�ำรถไปทรงพระ ราชกรณยี กจิ ในทที่ น่ี ำ�้ ทว่ ม แถมนำ�้ ยงั ซมึ เขา้ ไปในรถพระทนี่ ง่ั ดว้ ย แสดงวา่ นำ�้ กต็ อ้ งเปยี กพระบาทมาตลอดทาง จงึ ถามสารถีวา่ ท�ำไมไม่รบี เอารถมาซ่อม ก็ไดค้ �ำตอบว่าตอ้ งรอให้เสรจ็ พระราชกรณยี กิจก่อน เมือ่ พธิ ีกรถามว่า จากการท่ไี ดม้ โี อกาสรบั ใชเ้ บ้ืองพระยุคลบาท ไดเ้ หน็ ถึงความพอเพียงของพระองคอ์ ย่างไร นายอนันต์ ตอบว่า “ปกติถ้าทรงงานส่วนพระองค์ ท่านก็ใช้รถคันเล็กเพื่อประหยัดน�้ำมัน และเมื่อเราสังเกตสีรถพระท่ีน่ัง จะเห็น วา่ มีรอยสถี ลอกรอบคันรถ กว่าทที่ า่ นจะน�ำมาท�ำสีใหมก่ ร็ อบคนั แลว้ แตค่ นใช้รถอย่างเราแค่รอยนดิ เดียวกร็ บี เอามาท�ำสแี ลว้ และครงั้ หนงึ่ ระหวา่ งทผ่ี มก�ำลงั ประสานงานไปรบั รถพระทน่ี งั่ ของสมเดจ็ พระเทพรตั นฯ กม็ วี ทิ ยุ ของข้าราชบริพารบอกกนั ว่ารถติดมาก สมเด็จพระเทพรตั นฯ เสดจ็ ฯ ขึ้นรถไฟฟ้าไปแลว้ ” หอ้ งทรงงาน ห้องทรงงานพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐานไม่ได้หรูหราประดับด้วยของแพงแต่อย่างใด เวลาทรงงาน จะประทบั บนพน้ื พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน มไิ ด้ประทับพระเก้าอ้ีเวลาทรงงาน เพราะทรงวางสิง่ ของต่าง ๆ ไดส้ ะดวก หอ้ งทรงงานเปน็ หอ้ งเลก็ ๆ ขนาด ๓ x ๔ เมตร ภายในหอ้ งทรงงานจะมวี ทิ ยุ โทรทศั น์ โทรสาร โทรศพั ท์ คอมพิวเตอร์ เทเล็กซ์เครื่องบันทึกเสียง เครื่องพยากรณ์ อากาศ เพื่อจะได้ทรงสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ ทนั ท่วงที โดยผนงั หอ้ งทรงงานโดยรอบมแี ผนที่ทางอากาศแสดงถึงพน้ื ทปี่ ระเทศ 70 หลักสตู รสร้างวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สงั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทุจรติ 168

หอ้ งทรงงานของพระองคก์ เ็ ปน็ อกี สง่ิ หนง่ึ ทเ่ี ตอื นสตคิ นไทยไดอ้ ยา่ งมาก โตะ๊ ทรงงานหรอื เกา้ อโี้ ยกรปู ทรงหรหู รา ไม่เคยมีปรากฏในห้องน้ี ดังพระราชด�ำรัสของพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตอนหนึ่งท่ีว่า “...ส�ำนักงานของท่าน คือ ห้องกว้าง ๆ ไม่มีเก้าอ้ี มีพื้น และท่านก็ก้มทรงงานอยู่กับพ้ืน...” น่ันเอง นับเป็น แบบอย่างของความพอดี ไมฟ่ งุ้ เฟอ้ โดยแท้ “หอ้ งทรงงาน” เปน็ เพยี งห้องขนาดธรรมดา กว้างยาวรวม ๕ คณู ๑๐ เมตร โปร่ง ๆ โล่ง ๆ พ้นื ทีเ่ ปน็ ไม้ปาร์เกต์ ผมกราบบังคมทูลและถวายต�ำรา จากนั้นได้ทรงสอบถามรายละเอียดของต�ำราพร้อมท้ังเรื่องราว ความคบื หน้างานอ่นื ท่กี �ำลงั ด�ำเนินเป็นเวลากว่าหนง่ึ ชว่ั โมง เครือ่ งประดบั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฉลองพระองค์ธรรมดา ห้อยกล้องถ่ายภาพไว้ที่ พระศอ มิทรงโปรดการสวมใสเ่ ครอ่ื งประดบั อนื่ เชน่ แหวน สร้อยคอหรอื ของมีค่าตา่ ง ๆ เว้นแต่นาฬกิ าบนขอ้ พระกรเท่านน้ั ซ่งึ ก็ไมไ่ ดม้ รี าคาแพงแต่อยา่ งใด “...เครื่องประดับ พระองค์ก็มิทรงโปรดท่ีจะสวมใส่สักช้ิน นอกเสียจากว่าจะทรงแต่งองค์เพ่ือเสด็จฯ ไปงานพระราชพิธตี า่ ง ๆ หรือตอ้ นรบั แขกบ้านแขกเมืองเทา่ นนั้ ...” ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ เขียนไว้ในหนังสอื “ใต้เบ้ืองพระยุคลบาท” “...เมอื่ ปี ๒๕๒๔ ทีไ่ ด้รบั แตง่ ต้ังจากรัฐบาลใหไ้ ปถวายงาน ผมตนื่ เต้นมาก สังเกตรายละเอียดรอบ ๆ ตัว ไปเสยี ทกุ อยา่ ง มองไปทขี่ อ้ พระหตั ถว์ า่ ทรงใชน้ าฬกิ าอะไร มองจนพระองคท์ รงยน่ื ขอ้ พระหตั ถม์ าใหด้ ู ทรงตรสั อยา่ งมพี ระอารมณข์ ันวา่ “ย่หี อ้ ใส่แล้วโก้” ผมจ�ำแบบไว้ เพราะอยากรวู้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวทรงใช้ นาฬิกาเรอื นละเท่าไร พอวนั หยุดก็รีบไปทรี่ ้าน ก็ทราบว่ามีราคาเพยี งแค่ ๗๕๐ บาท...” “ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล” เขียนเล่าไว้ใน “ประสบการณ์สนองพระราชด�ำริเรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ” พระต�ำหนักจติ รลดา พระต�ำหนกั จติ รลดา “...ไมม่ พี ระราชวงั ไหนในโลกเหมอื นพระต�ำหนกั จติ รลดา และบรเิ วณสวนจติ รลดา ที่เต็มไปด้วยบ่อเลี้ยงปลา และไร่นาทดลอง อีกทั้งผองโคนม ผสมด้วยโรงสีและโรงงานหลากหลาย จึงพูดได้ เตม็ ปากวา่ ในประเทศไทยไมม่ ีชอ่ งว่างระหว่างเกษตรกรกับพระมหากษัตรยิ ์ ผู้ทรงท�ำงานอย่าง “หลังสฟู้ ้าหนา้ ส้ดู ิน” ด้วยพระองค์เอง” ซองเอกสารต่าง ๆ ทจ่ี ะสง่ ขนึ้ ทูลเกล้า “... แต่หากเป็นเรื่อง “งานในราชการ” แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระบรม ราโชวาทมายังข้าราชบริพารในพระองค์ว่า “เอกสารต่าง ๆ ท่ีจะส่งข้ึนทูลเกล้าฯ ถวาย หากเป็นซองแล้ว กข็ อใหต้ ิดกาวเฉพาะตรงหวั มุม หรอื หากเปน็ ตอ้ งใชเ้ ทปกาวติด ก็ให้ติดแคส่ องนว้ิ ก็พอ ไมใ่ ช่ปดิ ทัง้ หมด เพราะ เป็นการเปลืองเทปและเปิดยาก” พระองค์จะไม่พอพระราชหฤทัย เพราะไม่เป็นการประหยัด ซึ่งตรงน้ีเป็น สง่ิ ส�ำคญั นอกจากนี้ กระดาษและซองจดหมายภายใน หากไมใ่ ชเ่ อกสารส�ำคญั กค็ วรใชก้ ระดาษรไี ซเคลิ แตห่ าก เปน็ จดหมายลบั หรือส�ำคญั ก็สามารถใช้ของใหม่ได”้ หลักสตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสู่สังคมทไี่ มท่ นต่อการทจุ รติ 71 169

บรรณานกุ รม จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . (๒๕๕๙). ใตร้ ม่ พระบารมพี ระบรมธรรมกิ ราชา. กรงุ เทพฯ: ศนู ยห์ นงั สอื จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมฺ จิตโต). (๒๕๓๘). จรรยาบรรณข้าราชการ. กรงุ เทพฯ: สหธรรมิก. พระราชด�ำรัสพระราชทานแก่บุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวงั ดสุ ิต วนั ศุกรท์ ่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑. สบื คน้ เมือ่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://www.amarin.com/royalspeech/speech๔๑.htm พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. ๒๕๖๑. (ม.ป.ป.). ม.ป.ท.: ม.ป.พ. มูลนธิ ิพทุ ธธรรม.พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยรู ธมฺมจติ โต). (๒๕๓๙). คุณธรรมส�ำหรับนกั บรหิ าร. กรงุ เทพฯ: สหธรรมิก. มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (๒๕๕๕). ตามรอยพระราชด�ำรัสสู่ “ปรัชญญาเศรษฐกจิ พอเพียง”. กรงุ เทพฯ: เพชรรุ่งเรือง. ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ . สบื คน้ เมอื่ ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐, จาก https:// www.nacc.go.th/ more_news.php?cid=๓๖ วศนิ อนิ ทสระ. (๒๕๔๑). พุทธจรยิ ศาสตร์. กรงุ เทพฯ: ทองกวาว. สมบัติ คชสทิ ธ์ิ และคณะ. (๒๕๕๑). ตามรอยเบ้อื งพระยุคลบาท. ปทุมธาน:ี งานวิชาศกึ ษาทั่วไป: มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์. ส�ำนกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ และมลู นิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ.์ (๒๕๔๙). ค�ำพ่อสอน: ประมวล พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสเกย่ี วกบั ความสุขในการด�ำเนินชวี ติ . กรงุ เทพฯ: ประสขุ ชัย. ส�ำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๕๗). คู่มือการขับเคลื่อนงานการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในมิติ วฒั นธรรม. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก. สเุ มธ ตันตเิ วชกลุ . (๒๕๔๘). หลกั ธรรม หลักท�ำ ตามรอยพระยคุ ลบาท. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพมิ พ์. สุเมธ ตนั ติเวชกุล. (๒๕๔๔). ใต้เบ้ืองพระยคุ ลบาท. กรงุ เทพฯ: มติชน. 72 หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงสู่สงั คมที่ไม่ทนตอ่ การทจุ รติ 170

วชิ าที่ ๔ การฝกึ ปฏิบัตกิ ารเปน็ วทิ ยากร หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผนู้ ำ�การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมท่ีไมท่ นตอ่ การทุจริต วชิ าท่ี ๔ : เร่อื ง การฝกึ ปฏบิ ัติการเป็นวิทยากร จ�ำนวนชวั่ โมง : ๖ ชวั่ โมง เรือ่ ง การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเป็นวทิ ยากร สาระส�ำ คญั วชิ านเี้ ปน็ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมโดยมบี ทบาทในการเปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดความรใู้ นประเดน็ ใดประเดน็ หนงึ่ จาก ๓ ประเด็น โดยเลอื กใช้เทคนิคฝึกอบรมแบบตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสมกบั เนอื้ หา วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ฝกึ ทกั ษะการเปน็ วทิ ยากรทถี่ า่ ยทอดองคค์ วามรใู้ นเรอ่ื งการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชน์ส่วนรวม ความไม่ทนและความอายต่อการทุจริต การประยุกต์หลักความพอเพียงด้วยโมเดล STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต ขอบเขตเนื้อหา การฝกึ ปฏบิ ัติถ่ายทอดความรู้ ตามท่กี �ำหนดไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม วธิ กี ารฝึกอบรม - ๓ ช่ัวโมงแรก ให้ผู้เข้าร่วมทุกคนแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรโดยสุ่มหัวข้อวิชาการบรรยาย จาก ๓ วชิ า โดยให้วทิ ยากรประเมนิ - ๓ ชวั่ โมงหลงั วทิ ยากรให้ข้อเสนอแนะกระบวนการหลากหลาย สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ฝกึ ปฏิบตั ิ หรอื ส่อื อืน่ ๆ ท่เี หมาะสม การวัดและประเมินผล การประเมนิ ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารเป็นวทิ ยากร (๔๐ คะแนน) หลักสูตรสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงสูส่ งั คมทไี่ มท่ นต่อการทุจริต 73 171

เน้อื หาโดยสังเขป หลักสตู รสร้างวทิ ยากรผู้น�ำการเปลย่ี นแปลงสู่สงั คมท่ไี มท่ นตอ่ การทุจรติ วิชาที่ ๔ : เร่อื ง การฝกึ ปฏิบตั ิการเปน็ วทิ ยากร จ�ำนวนช่ัวโมง : ๖ ชั่วโมง รายละเอียดเนอ้ื หา เทคนิคการเปน็ วทิ ยากรมอื อาชีพ การท่ีบุคคลใดก็ตามที่จะก้าวเข้าสู่การเป็นวิทยากรได้น้ัน จ�ำเป็นจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนและ การถา่ ยทอดความรตู้ า่ ง ๆ ใหก้ บั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม การทจี่ ะเปน็ วทิ ยากรฝกึ อมรมทดี่ ตี อ้ งเปน็ ผทู้ นั สมยั อยเู่ สมอ มีความรอบรู้ในวทิ ยาการใหม่ ๆ ใฝห่ าความรอู้ ยู่เป็นนิจ มศี ิลปะในการถา่ ยทอดความรู้ ความหมายของวิทยากร วิทยากร คือ ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็นตัวการส�ำคัญ ที่จะท�ำให้ผู้เข้ารับการอบรม เกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ เกิดทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับเรื่องที่อบรม จนกระทั่งผู้เข้ารับการอบรมเกิดการเรียนรู้และสามารถ จุดประกายความคิด เกดิ การเปล่ียนแปลงทศั นคติ หรอื พฤตกิ รรมไปตามวตั ถุประสงคข์ องเรือ่ งหรือวิชานัน้ ๆ วิทยากร หมายถึง ผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ในภาษาอังกฤษเรียกวิทยากรว่า Resource Person วิทยากรมาจาก “วิทยา” แปลว่า ความรู้ “กร” แปลว่า มือ หรือ ผู้ถือ วิทยากรก็คือ ผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้ ความสามารถ นนั่ กค็ อื บคุ คลทเ่ี ปน็ วทิ ยากรไดจ้ ะตอ้ งเปน็ ผมู้ คี วามรู้ และความสามรถในการทาใหผ้ อู้ นื่ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งนนั้ ๆ ตามทต่ี นตอ้ งการ วทิ ยากรจงึ หมายถงึ ผรู้ แู้ ละผมู้ คี วามสามารถในการทาใหผ้ อู้ นื่ มคี วามรู้ ความเข้าในเร่อื งนั้น ๆ วิทยากร หมายถงึ บุคคลซึง่ มีความรู้ ความสามรถ ตลอดจนการพูดหรือนาเสนอและใช้เทคนคิ ตา่ ง ๆ ในเร่อื งนั้น ๆ ในการถ่ายทอดอนั จะท�ำให้ผูร้ บั การฝกึ อบรมใหเ้ กิดความรู้ (Knowledge) ความเขา้ ใจ (Under- stand) เจตคติ (Attitude) ความสามารถ (Skill) จนสามารถทาให้ผู้รับการฝึกอบรมเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ไปตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีตอ้ งการ บทบาทและหน้าท่ีท่ีส�ำ คญั ของวิทยากร มีดงั น้ี ๑. วิทยากร คือ ผ้ทู ่ที �ำใหเ้ กิดการเรยี นรู้ (Instructor) บทบาทแรกของวทิ ยากร คอื ค�ำว่า “ท�ำให้เกดิ การเรยี นร”ู้ หมายความวา่ วทิ ยากรจะตอ้ งท�ำใหผ้ เู้ ขา้ สมั มนามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งหรอื หลกั สตู รทวี่ ทิ ยากร ถา่ ยทอด จนสามารถเปลย่ี นแปลงทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมไปตามวตั ถปุ ระสงคข์ องเรอื่ งหรอื หลกั สตู รนน้ั ๆ ดงั นนั้ บทบาทนว้ี ทิ ยากรจ�ำเปน็ ตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในเรอื่ งหรอื หลกั สตู รทถ่ี า่ ยทอดนนั้ ๆ ไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้ หากวทิ ยากร มีความรู้ไม่มากพอ ก็ยากที่จะท�ำให้ผู้เข้าสัมมนาเกิดการเรียนรู้ได้ ดังน้ันการเป็นวิทยากรบทบาทแรก จะต้องหาความรูเ้ ยอะ ๆ ในทุก ๆ เร่ืองโดยเฉพาะเรือ่ งท่ีจะต้องให้ผเู้ ข้ารบั ฟงั การสัมมนาเกดิ การเรียนรู้ ๒. วิทยากร คือ ผู้ฝึก (Trainer) บทบาทท่ี ๒ มีความส�ำคัญต่อการเป็นวิทยากรที่สมบูรณ์แบบ อกี บทบาทหนง่ึ การเปน็ ผฝู้ กึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งง่าย นอกจากตอ้ งมคี วามรเู้ กย่ี วกบั เรอ่ื งหลกั สตู รทอ่ี บรมแลว้ วทิ ยากรจ�ำเปน็ 74 หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผู้นำ�การเปล่ยี นแปลงสูส่ ังคมทไ่ี ม่ทนตอ่ การทุจรติ 172

ต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับผู้เข้าสัมมนาด้วยว่ามีคุณสมบัติหรือพ้ืนความรู้เป็นอย่างไร การเป็นวิทยากร ในบทบาทน้สี ว่ นใหญ่ คือ หลกั สตู รหรอื เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกับการอบรมเชิงฝกึ ปฏบิ ตั ิ เช่น หลักสูตรศิลปะการพูดสร้าง แรงจงู ใจ เทคนคิ การเปน็ พธิ กี ร หรอื วทิ ยากรมอื อาชพี ฯลฯ วทิ ยากรผอู้ บรมท�ำหนา้ ทใี่ นบทบาทนี้ ตอ้ งอดทน ใจเยน็ รอคอย ฝกึ ฝนจนผเู้ ขา้ อบรมสมั มนาบรรลผุ ลเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการ เปรยี บเสมอื น โคช้ !!! ตอ้ งรอบรู้ รู้ลึก รจู้ ริง และรู้กวา้ ง ๓. วิทยากร คือ พ่ีเลี้ยง (Mentor) ในบทบาทน้ีวิทยากรต้องท�ำหน้าท่ีเป็นพี่เลี้ยงคอยให้ค�ำปรึกษา ให้ก�ำลังใจ แนะแนวทางต่าง ๆ เพ่ือท�ำให้ผู้เข้าสัมมนา มีความรู้ ความเข้าใจ จุดประกายความคิด สามารถ เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม ปฏบิ ตั ติ าม จนประสบผลส�ำเรจ็ ตามเปา้ หมายของการอบรม-สมั มนา ทว่ี างไว้ ในบทบาท พ่เี ลย้ี งของวทิ ยากรนี้ วิทยากรตอ้ งมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ ยิม้ แยม้ แจม่ ใส อารมณด์ ี จึงจะสามารถทาบทบาทน้ีได้ดี ๔. วิทยากร คือ ผู้สอน (Teacher) บทบาทนี้เป็นบทบาทที่ส�ำคัญอีกบทบาทหน่ึงของวิทยากร การถ่ายทอดความร้เู พ่ือท�ำใหผ้ ู้เข้าสมั มนาเกดิ ความเข้าใจนัน้ วทิ ยากรตอ้ งท�ำหน้าที่เป็นครผู ูส้ อนดว้ ย การพูด ดว้ ยเสยี งทด่ี งั ชดั เจน สอนดว้ ยการยกตวั อยา่ งประกอบ เปรยี บเทยี บ จะท�ำใหผ้ เู้ ขา้ สมั มนา เปลย่ี นแปลงทศั นคติ จนสามารถจุดประกายความคดิ เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องเรือ่ งหรอื หลกั สตู รนั้น ๆ ได้ การท�ำหนา้ ทข่ี องวทิ ยากรในบทบาทครผู สู้ อน จะท�ำใหผ้ ฟู้ งั เชอ่ื และเปลย่ี นแปลงไดใ้ นทส่ี ดุ ในบทบาทนวี้ ทิ ยากร จ�ำเป็นตอ้ งฝึกฝนอยา่ งมากในจิตวิญญาณของการเปน็ ครู ๕. วทิ ยากร คอื ผบู้ รรยาย (Lecturer) ในบทบาทนเี้ ปน็ อกี บทบาทหนง่ึ ของวทิ ยากร การบรรยายของ วทิ ยากรนน้ั เป็นบทบาทหลักเลยกว็ ่าได้ แต่ท่สี �ำคัญวิทยากรจะบรรยายอย่างไร ท่ีจะท�ำให้ผู้ฟังหรอื ผ้เู ข้าสัมมนา ไมเ่ บอ่ื หรือหลับเสียก่อน บรรยายอย่างไร ที่จะท�ำให้สนกุ สนานตื่นเตน้ เรยี งล�ำดบั ข้ันตอนไดอ้ ย่างชดั เจนเขา้ ใจ งา่ ย และไดเ้ นือ้ หาสาระครบถ้วน บทบาทน้กี ็ตอ้ งไดร้ บั ฝกึ ฝน องคก์ รหรอื หนว่ ยงานใดมวี ทิ ยากรทคี่ รบเครอื่ งท�ำไดท้ กุ บทบาทกถ็ อื วา่ ส�ำเรจ็ ไปแลว้ ครงึ่ หนง่ึ หรอื ทา่ นใด ทเี่ ปน็ วทิ ยากรอยแู่ ลว้ ท�ำไดท้ กุ บทบาทกถ็ อื ไดว้ า่ สดุ ยอดแลว้ แตถ่ า้ ทา่ นใดยงั ท�ำไมไ่ ดท้ กุ บทบาทหรอื ท�ำไดเ้ พยี ง บางบทบาท ก็ฝกึ ฝนกันตอ่ ไป ฝกึ บ่อย ๆ กจ็ ะเกง่ และช�ำนาญ เป็นวิทยากรมืออาชพี ได้ในที่สุด การเป็นคนช่าง สงั เกต ช่างพดู ชอบการถ่ายทอดเนอื้ หาสาระ จะตอ้ งหมนั่ สงั เกตผฟู้ ังว่ารสู้ ึกเชน่ ไร การเรียนรู้ภาษากาย มีความ จ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะจะท�ำให้เราสามารถรูไ้ ดว้ ่า ผู้ฟังตอบรับการพูดของวทิ ยากรไดม้ ากน้อยแคไ่ หน คุณสมบัติของวทิ ยากรที่ดี มดี ังนี้ ๑. ต้องมีความรู้จริงในเรื่องท่ีจะถ่ายทอดอย่างชัดเจน การเป็นวิทยากร เป็นนักพูดที่เก่งน้ัน ต้องมี ความรู้เยอะ มีความรทู้ ่ีหลากหลาย โดยเฉพาะเรื่องท่ีจะบรรยาย ตอ้ งรู้ชนดิ ทะลุปรุโปร่ง สามารถเขา้ ใจเรอื่ งท่ี จะถา่ ยทอดไดอ้ ยา่ งกระจา่ งแจ้งชัดเจน สว่ นความรอู้ ่ืน ๆ ก็ต้องมรี อบดา้ น ไมว่ า่ จะเป็นนิทาน เร่ืองตลกข�ำขนั ความรู้รอบตัวอื่น ๆ อีกมากมาย การเปน็ คนรกั การเรยี นรู้จะสามารถทาใหเ้ ราเป็นวิทยากรทเี่ กง่ มีค่าตัวแพง ๆ ได้ เพราะวิทยากรคอื ผ้ถู า่ ยทอดให้ความรู้ จงึ มคี �ำกล่าวท่ีว่า “อา่ นหนงั สอื ประวัติศาสตร์ ๑ เล่ม ย่นยอ่ ระยะ เวลาของประวตั ศิ าสตร์นบั ๑๐๐ ปี” ๒. มีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ ความคดิ ของคนเรามี ๒ ด้าน ด้านหนึง่ บวก อีกด้านหนึง่ ลบ การคิดลบ ท�ำใหจ้ ิตใจหดหู่ ห่อเหี่ยว หมดความหวัง หมดก�ำลังใจ การคดิ บวกกอ่ ให้เกิดความหวัง พลังใจ มแี รงท่จี ะต่อสู้ ปญั หาอปุ สรรค มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ สงิ่ แปลก ๆ ส่ิงใหม่ ๆ ได้ตลอดเวลา คุณสมบตั ิของผทู้ ตี่ ้องการฝึกฝน หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผนู้ �ำ การเปล่ียนแปลงส่สู ังคมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ ริต 75 173

เปน็ วทิ ยากรในขอ้ นกี้ ค็ อื การคดิ บวก มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ เพราะจะท�ำใหเ้ รามอี ะไร แปลก ๆ ใหม่ ๆ ตลอด เวลา เวลาถ่ายทอดให้ความรู้ กจ็ ะเป็นความรูท้ ีด่ ี ๆ ความร้ทู ส่ี ร้างสรรค์ ผเู้ ข้าสัมมนาก็จะได้แนวความคดิ จาก การฟงั บรรยายน�ำไปปฏบิ ตั ิใหเ้ กดิ ประโยชน์ ท�ำให้ผู้ทีเ่ ป็นวิทยากรไดร้ ับการตอบรบั มากยิง่ ขน้ึ ดังน้ันการฝกึ ฝน เก่ียวกบั ความคดิ สร้างสรรค์ก็เป็นอกี ขอ้ หนงึ่ ท่วี ิทยากรพงึ มี ๓. มีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ดี การเป็นคนร่าเริง ยิม้ แย้มแจ่มใสเป็นกันเอง ท�ำใหม้ เี สนห่ ์ มีแต่คนอยากเขา้ ใกล้ เปน็ คณุ สมบตั อิ กี ขอ้ หนง่ึ ทคี่ วรมสี �ำหรบั การเปน็ วทิ ยากร รอยยมิ้ ของวทิ ยากร จะท�ำใหผ้ เู้ ขา้ สมั มนาฟงั อยา่ งตงั้ ใจ คงไมม่ ใี ครอยากฟงั วทิ ยากรหน้าบงึ้ หรือหนา้ บอกบุญไมร่ บั ฝกึ ยมิ้ เสียแตว่ ันนี้เพ่ือเป็นวทิ ยากรท่ดี ีในวันหน้า ๔. ช่างสังเกต การพูด การถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ต้องหม่นั สงั เกตผู้ฟังรู้สึกเช่นไร การเรยี นร้ภู าษากาย มคี วามจ�ำเปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะจะท�ำใหส้ ามารถรไู้ ดว้ า่ ผฟู้ งั ตอบรบั การพดู ของวทิ ยากรไดม้ ากนอ้ ยแคไ่ หน ดงั นน้ั คุณสมบตั ขิ อ้ นคี้ อื ต้องฝึกเป็นคนช่างสังเกต ๕. มีไหวพริบปฏิภาณ วิทยากรต้องมีความสามารถในการแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าเก่ง คุณสมบัติ ข้อนี้ขาดไม่ได้ ใครไม่มีคุณสมบัติข้อน้ีฝึกฝนได้ เหตุการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนบางครั้งเกินความคาดหมาย การมี ไหวพรบิ ปฏภิ าณคดิ ไวท�ำไว แกไ้ ขเหตกุ ารณ์เฉพาะหนา้ ได้ เปน็ คณุ สมบัติอกี ขอ้ หน่งึ ของวทิ ยากรที่ต้องฝึกฝน ๖. มีความเชือ่ มน่ั ในตนเอง วทิ ยากรเป็นยิง่ กว่าผนู้ �ำ เน่ืองจากผู้น�ำสามารถน�ำคนอ่ืนได้ แตผ่ ้นู �ำอาจจะ ไมใ่ ชว่ ทิ ยากรทด่ี ี แตผ่ นู้ �ำมคี วามเชอื่ มน่ั ดงั นนั้ วทิ ยากรจงึ ตอ้ งมคี วามเชอ่ื มนั่ มากกวา่ หากไมม่ คี วามเชอื่ มน่ั ไมม่ ี ความมนั่ ใจในเรอื่ งท่ีบรรยายในเรอื่ งทถ่ี ่ายทอด แลว้ ใครจะเชื่อ ความเชอ่ื มัน่ จะแสดงออกมาทางน�ำ้ เสียง สีหน้า แววตา ข้อมลู ค�ำพูด ท่าทาง บคุ ลิกภาพ การพดู ที่มหี ลักการ การพดู ทมี่ ีนำ�้ เสียงทรงพลังช่วยเสรมิ สร้างความ เช่อื ม่นั ให้เกิดขน้ึ ได้ ความเช่ือมั่นในตนเองเป็นคณุ สมบตั ิอกี ข้อหนึง่ ท่คี วรมีการฝึกฝน ๗. มกี ารวางแผนทด่ี ี นกั พดู ทดี่ หี รอื วทิ ยากรทดี่ ตี อ้ งมคี ณุ สมบตั เิ รอื่ งการวางแผนการพดู ใหไ้ ปตามล�ำดบั ขนั้ ตอน ถอื เปน็ เรอ่ื งส�ำคญั ส�ำหรบั การถา่ ยทอด เพราะจะท�ำใหผ้ ฟู้ งั เขา้ ใจเรอื่ งทไ่ี ดร้ บั การถา่ ยทอดอยา่ งกระจา่ ง แจ้งชัดเจน การขาดการวางแผน จะท�ำให้การพูด วกไปวนมา ท�ำให้เกิดการล้มเหลวในการพูด ไม่ประสบ ความส�ำเรจ็ ในการเปน็ วทิ ยากร ดังนน้ั การวางแผนเป็นคณุ สมบัติอกี ข้อหน่ึงท่คี วรมกี ารฝึกฝน ๘. มีความจริงใจต้ังใจให้ความรู้ คุณสมบัติข้อน้ีเป็นคุณสมบัติพ้ืนฐานของการเป็นวิทยากรมืออาชีพ ความจริงใจตั้งใจมากน้อยแค่ไหนสัมผัสได้ไม่ยาก ระหว่างวิทยากรกับผู้ฟังการสัมมนา หากมีความจริงใจและ ตง้ั ใจจริง ๙. มีลลี าแบบฉบับเปน็ ของตัวเอง ลีลาแบบฉบบั ของนักพดู หรอื วทิ ยากรท่ีเปน็ ตัวของตัวเองจะท�ำให้ ผูฟ้ ังจ�ำได้แมน่ ยา โดดเดน่ เปน็ เอกลกั ษณ์ดงั น้ัน วทิ ยากรตอ้ งหาลีลาทเ่ี ปน็ แบบฉบับของตวั เอง ๑๐. ท�ำให้ผเู้ ขา้ สัมมนามสี ว่ นรว่ มในการบรรยาย การพูด คือ การสือ่ สารระหว่างผพู้ ูดกับผูฟ้ ัง แตก่ าร บรรยาย คอื การพูดสอ่ื สารระหวา่ งวทิ ยากรกบั ผเู้ ขา้ สมั มนา หากวทิ ยากรพดู ไป ผฟู้ งั กเ็ งยี บ นานเข้าบรรยากาศ ก็จะกร่อยสุดท้ายคนก็จะหายหมดท้งั หอ้ ง ดังนั้นการสร้างบรรยากาศใหผ้ ้ฟู ังหรือ ผู้เขา้ สัมมนามีส่วนร่วม เป็น คุณสมบัติข้อส�ำคัญท่ีต้องฝึกฝนอย่างหนัก เพราะการท�ำให้ผู้เข้าสัมมนามีส่วนร่วมเป็นจุดแจ้งเกิดของวิทยากร มอื อาชีพ ๑๑. บุคลกิ ภาพการแตง่ กายโดดเดน่ ดูดมี สี ง่า วางตัวเหมาะสมเปน็ วทิ ยากร การแตง่ กายท่ีเหมาะสม บุคลิกภาพดูดี โดดเด่น เป็นท่ีเคารพเลื่อมใสต่อผู้พบเห็นไม่ว่าจะเป็นบนเวทีหรืออยู่ข้างล่างเวทีนับว่ามีความ ส�ำคญั อยา่ งยิ่ง ดงั นน้ั วิทยากรก็ตอ้ งฝึกฝนเชน่ กนั 76 หลกั สูตรสรา้ งวิทยากรผ้นู ำ�การเปลยี่ นแปลงสสู่ งั คมที่ไมท่ นตอ่ การทจุ ริต 174

๑๒. ถา่ ยทอดเปน็ ๑๒.๑ มีเทคนิคตา่ ง ๆ เช่น การบรรยาย การน�ำอภิปราย การสัมมนา กรณศี กึ ษา การจัดกิจกรรม ฯลฯ เพ่อื ท�ำให้เกิดความรู้ เข้าใจง่าย ได้สาระ ๑๒.๒ พดู เป็น คือ พดู แล้วท�ำใหผ้ ้ฟู ังเขา้ ใจตามท่พี ดู ไดอ้ ย่างรวดเร็ว สามารถพูดเร่ืองยาก ซับซอ้ น ใหเ้ ขา้ ใจง่าย ๑๒.๓ ฟงั เปน็ คอื ตงั้ ใจฟงั ฟงั ใหต้ ลอด ขณะทฟ่ี งั ตอ้ งควบคมุ อารมณ์ ขณะทฟ่ี งั อยา่ คดิ ค�ำตอบทนั ที จงฟงั เอาความหมายมากกวา่ ถ้อยค�ำ ๑๒.๔ น�ำเสนอเป็นประเดน็ และสรปุ ประเดน็ ใหช้ ดั เจน ๑๒.๕ มอี ารมณ์ขัน สร้างบรรยากาศในการอบรมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๑๒.๖ มปี ระสทิ ธภิ าพในการอบรม สามารถเชอ่ื มโยงทฤษฎเี ขา้ กบั การปฏบิ ตั ไิ ดด้ ี มองเหน็ เปน็ รปู ธรรม ๑๒.๗ ใช้ภาษาพูดไดด้ ี ใชภ้ าษาง่าย ๆ รู้จกั เลอื กภาษาใหต้ รงกบั เนอ้ื หาและตรงกับความต้องการ และพ้นื ฐานความร้ขู องผฟู้ ัง ๑๓. มหี ลักจิตวทิ ยาในการสอนผูใ้ หญ่ ๑๓.๑ ความสนใจในการรับฟงั จะเกิดขนึ้ จากการรับรถู้ ึงเร่ืองท่ีวทิ ยากรจะพดู หรือบรรยาย ๑๓.๒ มุง่ ประโยชน์ในการรับฟังเปน็ ส�ำคญั ๑๓.๓ จะตั้งใจและเรียนร้ไู ด้ดี ถา้ วทิ ยากรแยกเรื่องทส่ี อนออกเปน็ ประเด็น/ขัน้ ตอน ๑๓.๔ จะเรยี นรูไ้ ดด้ ถี ้าไดฝ้ กึ ปฏิบัตไิ ปดว้ ยพร้อม ๆ กับการรับฟงั ๑๓.๕ จะเรยี นรู้ไดด้ ยี ิง่ ข้นึ ถา้ ฝึกแล้วได้ทราบผลของการปฏิบัติอยา่ งรวดเรว็ ๑๓.๖ จะเรยี นรู้ไดด้ ีเม่อื มกี ารฝึกหัดอยู่เสมอ ๑๓.๗ จะเรียนรู้ได้ดีเม่ือเปิดโอกาสให้ใช้เวลาในการท�ำความเข้าใจ อย่าเร่งรัด เพราะแต่ละคนมี ความสามารถในการเรียนรู้ต่างกัน ๑๔. มจี รรยาบรรณของวิทยากร ๑๔.๑ เมอ่ื จะสอนตอ้ งมนั่ ใจวา่ มคี วามรูจ้ รงิ ในเรอ่ื งทจ่ี ะสอน ๑๔.๒ ต้องมงุ่ ประโยชน์ของผ้ฟู ังเป็นทต่ี ง้ั ๑๔.๓ ไม่ควรฉกฉวยโอกาสในการเปน็ วทิ ยากรเพอ่ื แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตวั ๑๔.๔ ความประพฤติและการปฏบิ ัติตนของวิทยากร ควรจะสอดคล้องกบั เร่อื งทส่ี อน การเปน็ ผู้น�ำ เสนอทีด่ ี การเปน็ วทิ ยากรทด่ี ี วทิ ยากรจะตอ้ งเปน็ ผนู้ �ำเสนอทด่ี ดี ว้ ย เพอื่ ใหก้ ารบรรยายบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี �ำหนดไว้ โดยวิทยากรจะต้องมีการเตรยี มการท่ปี ระกบดว้ ยขน้ั ตอน ดังน้ี ๑. การวางแผน (Planning) เปน็ ขนั้ ตอนแรกทสี่ �ำคญั ทจี่ ะน�ำไปสคู่ วามมนั่ ใจของการเปน็ ผนู้ �ำเสนอทดี่ ี นนั้ คอื การวางแผนเตรยี ม ความพรอ้ ม โดย - ส�ำรวจตวั เอง - วเิ คราะหจ์ ดุ ออ่ นและจุดแขง็ ตนเอง - สรา้ งความเชอ่ื ม่ันตนเอง - ก�ำหนดแผนและกิจกรรมการเรยี นรู้ หลกั สูตรสรา้ งวทิ ยากรผูน้ �ำ การเปลี่ยนแปลงสสู่ ังคมท่ไี ม่ทนตอ่ การทจุ รติ 77 175

๒. การด�ำเนนิ การ (Doing) การด�ำเนินการเป็นไปตามแผนและกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ก�ำหนดข้นึ ซึง่ อาจพบปัญหาหรอื อปุ สรรค ท่ีต้องแกไ้ ขปญั หาเหลา่ น้ัน ๓. การตรวจสอบ (Checking) บุคคลที่จะประสบความส�ำเร็จในอาชีพการงานต่าง ๆ ได้น้ัน จะต้องคอยตรวจสอบผลการด�ำเนิน งานของตนเองเป็นระยะ ๆ โดยประเมินความส�ำเรจ็ ของกจิ กรรมต่าง ๆ ทด่ี �ำเนนิ การมาท้ังหมดว่าเป็นไปตาม เปา้ หมายทตี่ ้องการใหเ้ ปน็ หรือไม่ ท้ังนี้ เพือ่ สร้างความส�ำเรจ็ ในการกา้ วข้ึนสู่เวทีของ “ผนู้ �ำเสนอหรือวทิ ยากร” ๔. การลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ (Acting) เมื่อมคี วามพร้อมในทกุ อยา่ ง กเ็ รมิ่ ก้าวส่เู วทขี องการเปน็ ผนู้ �ำเสนอที่ดี เทคนิคการเตรยี มตัวทด่ี ีของวิทยากร กอ่ นการฝกึ อบรม ก่อนท่ีจะมีการฝึกอบรมเกิดขึ้น วิทยากรจะต้องมีภารกิจในการเตรียมตัว เพราะวิทยากรจะต้องทราบ ล่วงหน้าว่าตนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเร่ืองใด ดังนั้น ในขั้นตอนนี้วิทยากรควรจะด�ำเนินการเตรียมการ เพอื่ การถา่ ยทอดและเปลยี่ นทศั นคตขิ องผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม การเตรยี มการทด่ี ยี อ่ มส�ำเรจ็ ไปแลว้ ครงึ่ หนง่ึ เพราะ จะท�ำใหว้ ทิ ยากรเกดิ ความมน่ั ใจในการฝกึ อบรม และเมอื่ มปี ญั หาตา่ ง ๆ เกดิ ขนึ้ ยอ่ มแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การเตรียมการในขน้ั นเี้ ก่ยี วข้องกบั ๑. การประสานงานกบั หน่วยงานท่จี ะฝึกอบรม เพอ่ื ขอข้อมลู ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการฝึกอบรม ได้แก่ หลักสูตร กลุม่ ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม เอกสารประกอบ วสั ดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ ๒. การเขยี นแผนการฝกึ อบรม ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทไ่ี ดจ้ ากหนว่ ยงานจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การเขยี นแผนการฝกึ อบรม แผนการฝกึ อบรมเปน็ แนวทางสาหรบั วทิ ยากรวา่ จะถา่ ยทอดและเปลย่ี นพฤตกิ รรมโดยใชส้ อ่ื และเทคนคิ การฝกึ อบรมอย่างไร เพ่ือใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เขา้ รว่ มอบรม ๓. การเตรยี มอปุ กรณ์ สอ่ื ตา่ ง ๆ วทิ ยากรควรจะเตรยี มอปุ กรณแ์ ละสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ ไฟลน์ �ำเสนอ กระดาษ ฯลฯ ใหเ้ รยี บรอ้ ย เหมาะสมกบั ฐานะของวทิ ยากร ระหว่างการฝึกอบรม เมื่อวิทยากรมาถึงสถานท่ีจัดฝึกอบรม ควรตรวจสอบสถานท่ีและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ได้จัดเตรียมไว้และ สอบถามข้อมูลต่าง ๆ เช่น บรรยากาศในการฝึกอบรม ใครเปน็ ผู้น�ำกลุ่ม วทิ ยากรคนกอ่ น ๆ พดู เก่ียวกบั อะไร ฯลฯ เมอ่ื ถงึ เวลาการฝึกอบรม จะตอ้ งด�ำเนนิ การต่าง ๆ ท่ีส�ำคญั ได้แก่ ๑. การถ่ายทอดความรู้ ควรมีความสามารถในการถ่ายทอด โดยอาศัยเทคนิคและใช้ส่ืออปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ให้เปน็ ประโยชน์ ๒. การเปน็ ศนู ยก์ ลาง ในการแลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละความคดิ เหน็ วทิ ยากรจะตอ้ งคอยกระตนุ้ ให้ ผรู้ บั การฝกึ อบรมแลกเปลยี่ นประสบการณค์ วามคดิ เหน็ รวมถงึ ตอ้ งคอยชแี้ นะ สรปุ ประเดน็ และน�ำเสนอแนวทาง ท่เี หมาะสมดว้ ย ๓. การเสรมิ สรา้ งบรรยากาศ วทิ ยากรจะตอ้ งสรา้ งบรรยากาศทเ่ี หมาะสมตอ่ การเรยี นรู้ ทง้ั ดา้ นกายภาพ ไดแ้ ก่ อปุ กรณ์ สอื่ ใหเ้ หมาะสม และดา้ นจติ ภาพ หมายถงึ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม มคี วามสนใจทจ่ี ะเรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา 78 หลกั สูตรสร้างวทิ ยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสูส่ งั คมที่ไมท่ นต่อการทจุ รติ 176

๔. การมีมนษุ ยสัมพันธ์ วทิ ยากรจะตอ้ งอาศยั หลกั การ ด้านมนุษยสัมพันธ์ เพ่ือเป็นการชว่ ยลดช่องว่าง วทิ ยากรกับผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรม จะท�ำใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมประทบั ใจ ๕. การแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ปญั หาบางอยา่ งวทิ ยากรสามารถรู้ หรอื คาดเดาไดล้ ว่ งหนา้ แตป่ ญั หาบางอยา่ ง เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า ไม่สามารถคาดการณ์ได้ วิทยากรมืออาชีพจะต้องสามารถแก้ไขปัญหาได้ หรอื บรรเทาให้ลดนอ้ ยลง หลังการฝกึ อบรม อาจจะกระท�ำไดโ้ ดย ๑. การประเมินผลการอบรม วิทยากรควรจะขอข้อมูล จากผู้จัดฝึกอบรม นอกเหนือจากประเมิน โดยการสังเกต เพือ่ จะไดท้ ราบผลการปฏบิ ัติงานของตน และนามาใชป้ รับปรุงแกไ้ ขในโอกาสตอ่ ไป ๒. การเข้าร่วมกจิ กรรมต่าง ๆ ตามความจ�ำเป็น วทิ ยากรควรเขา้ ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตามท่ีเห็นสมควร เชน่ การมอบวุฒิบัตร การเลี้ยงสงั สรรคร์ ะหว่างผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม เป็นตน้ ๓. การติดตามผลการฝึกอบรม ต้องติดตามดูว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้น�ำความรู้ที่ได้ฝึกฝนมาใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชนม์ ากน้อยเพยี งใด พร้อมทั้งใหค้ �ำแนะน�ำแก่เขาเทา่ ท่ีจ�ำเปน็ บนั ได ๑๓ ขน้ั สู่ความส�ำ เรจ็ การเป็นวิทยากร ๑. เตรียมใหพ้ รอ้ ม ๒. ซกั ซ้อมให้ดี ๓. ท่าทใี หส้ ง่า ๔. หนา้ ตาให้สุขมุ ๕. ทักทปี่ ระชมุ ไม่วกวน ๖. เรมิ่ ต้นใหโ้ นม้ น้าว ๗. เรื่องราวให้กระชบั ๘. ตาจับท่ผี ู้ฟัง ๙. เสียงดังให้พอดี ๑๐. อย่าให้มีเอ้ออา้ ๑๑. ดูเวลาใหพ้ อครบ ๑๒. สรปุ จบให้จบั ใจ ๑๓. ย้ิมแย้มแจ่มใสตลอดการพูด ๑๐ ประการ ทะยานสคู่ วามส�ำ เรจ็ ในการพูด ๑. รูเ้ รือ่ งดี ก็พูดได้ ๒. เตรียมตวั ไว้ ก็พูดดี ๓. พดู ทง้ั ทตี ้องเช่อื มน่ั ๔. แต่งกายน้นั ตอ้ งเหมาะสม ๕. ปรากฏโฉม กระตอื รือรน้ ๖. ไม่ลุกลน ใช้ท่าทาง หลักสตู รสรา้ งวทิ ยากรผู้น�ำ การเปลี่ยนแปลงสู่สังคมทไ่ี ม่ทนต่อการทุจริต 79 177

๗. สบตาบา้ ง อย่างท่วั ถึง ๘. ภาษาซึ้ง เข้าใจง่าย ๙. นำ้� เสียงไซร้ เปน็ ธรรมชาติ ๑๐. อย่าใหข้ าดรูปธรรม หลักการพฒั นาค�ำ พูด ๙ ประการ ๑. อา่ นหนงั สอื พบประโยค หรือวลีมคี ณุ ค่า จดไวเ้ ปน็ เสบียงกรงั ๒. จัดล�ำดับความคิดที่จะพดู ให้คล้องจองเหมอื นเรยี งความ ๓. พูดจากหวั ใจ จรงิ ใจ ๔. วเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารพูด คนฟัง สถานที่ เวลา เรอ่ื งที่จะพดู ๕. ก่อนพดู เตรียมร่างกายใหด้ ี ๖. ตรวจดคู วามพร้อมของอปุ กรณ์ เชน่ ไมโครโฟน ๗. พูดเหมอื นการเขยี น-ค�ำน�ำ เนอื้ เรื่อง สรุป ๘. ระลึกวา่ การพูดเปน็ “ศาสตร”์ และ “ศิลป์” พูดใหส้ อดคลอ้ งสหี น้าและอารมณ์ ๙. ก�ำหนดสารบญั การพดู ในใจ จากใจ ท่ขี ึ้นใจ การเตรยี มตวั พูดในทช่ี มุ ชน ๑. ก�ำหนดจุดมุ่งหมาย ให้ชัดเจนวา่ จะพดู อะไร เพือ่ อะไร มีขอบขา่ ยกวา้ งขวางมากนอ้ ย เพยี งใด ๒. วิเคราะห์ผู้ฟัง พิจารณาจ�ำนวนผู้ฟัง เพศ วัย การศึกษา สถานภาพทางสังคม อาชีพ ความสนใจ ความมงุ่ หวงั และทศั นคติ ทกี่ ลมุ่ ผฟู้ งั มตี อ่ เรอ่ื งทพ่ี ดู และตวั ผพู้ ดู เพอื่ น�ำขอ้ มลู มาเตรยี มพดู เตรยี มวธิ กี ารใชภ้ าษา ให้เหมาะกบั ผ้ฟู งั ๓. ก�ำหนดขอบเขตของเร่ือง โดยค�ำนึงถึงเน้อื เรื่องและเวลาท่ีจะพดู ก�ำหนดประเดน็ ส�ำคญั ให้ชดั เจน ๔. รวบรวมเน้ือหา ต้องจัดเนื้อหาท่ีผู้ฟังได้รับประโยชน์มากที่สุด การรวบรวมเนื้อหาท�ำได้ หาได้จาก การศึกษา คน้ คว้าจากการอา่ นการสมั ภาษณ์ ไต่ถามผูร้ ู้ ใชค้ วามรคู้ วามสามารถ แลว้ จดบันทึก ๕. เรียบเรียงเน้ือเรอื่ ง ผู้พดู จัดท�ำเคา้ โครงเรอื่ งใหช้ ัดเจนเป็นตามล�ำดับจะกล่าวเปิดเรือ่ งอยา่ งไร เตรียม การใช้ภาษาใหเ้ หมาะสม กะทดั รัด เข้าใจง่าย ตรงประเดน็ พอเหมาะกบั เวลา ๖. การซอ้ มพดู เพอื่ ให้แสดงความมน่ั ใจตอ้ งซ้อมพดู ออกเสียงพูด อักขรวิธี มลี ีลาจังหวะ ทา่ ทาง สหี นา้ สายตา นำ้� เสยี ง มผี ฟู้ ังช่วยตชิ ม การพูด มกี ารบนั ทกึ เสียงเป็นอุปกรณก์ ารฝึกซอ้ ม ขอ้ คิดนกั พดู ๑. นกั พูดท่ดี .ี ..ตอ้ งเป็นนักฟังที่ดี ๒. ความส�ำเร็จของนกั พดู ไมไ่ ด้วัดจากเสียงฮา ๓. ควรพดู ใหไ้ ด้ สาระ และ บันเทงิ ๔. อา่ นหนงั สอื ดี ๆ ๑ เลม่ ประหยัดเวลาชีวติ ไป ๑๐ ปี ฟังนกั พดู ดี ๆ ๑ ชว่ั โมง ประหยดั เวลาอา่ น หนงั สอื ไป ๑๐ เลม่ ๕. จะเปน็ นกั พูด ต้องใชห้ ัวใจนกั ปราชญ์ “สุ จิ ปุ ล”ิ 80 หลกั สตู รสร้างวิทยากรผนู้ ำ�การเปลีย่ นแปลงสู่สังคมทไี่ ม่ทนตอ่ การทจุ รติ 178

บรรณานกุ รม กฤตนิ กลุ เพ็ง. (๒๕๖๐). เทคนิคการประชุมและการน�ำเสนอแบบมอื อาชพี . นนทบุร:ี เอกสารประกอบการ บรรยายโครงการอบรมหลักสตู รนกั บริหาร ป.ป.ช. ระดบั สงู (นบปส.อ�ำนวยการ) รุน่ ท่ี ๕ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย. เทคนคิ การเป็นวทิ ยากรมืออาชพี . สืบคน้ เมือ่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๐, จากhttp://nrei.rmutsv.ac.th/sites/default/files/km/%E๐%B๙%๘๐%E๐%B๘%๙๗%E๐ %B๘%๘๔%E๐%B๘%๙๙%E๐%B๘%B๔%E๐%B๘%๘๔%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๘%B๒% E๐%B๘%A๓%E๐%B๙%๘๐%E๐%B๘%๙B%E๐%B๙%๘๗%E๐%B๘%๙๙%E๐%B๘%A๗ %E๐%B๘%B๔%E๐%B๘%๙๗%E๐%B๘%A๒%E๐%B๘%B๒%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๘%A ๓%E๐%B๘%A๑%E๐%B๘%B๗%E๐%B๘%AD%E๐%B๘%AD%E๐%B๘%B๒%E๐%B๘% ๘A%E๐%B๘%B๕%E๐%B๘%๙E.pdf มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. วิทยากร. สืบค้นเมอ่ื ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๐, จากhttp://www.stou.ac.th/ Offices/rdec/ubon/upload/trniner.pdf ส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดกาญจนบุรี. เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ. สืบค้นเม่ือ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๐, จากhttp://pvlo-knr.dld.go.th/webfile/idp๕๘/idp๕๘new_n๒/ppt_idp๕๘n๒.pdf สภุ าภรณ์ ลมลู ศลิ ป.์ วทิ ยากรมอื อาชพี . สบื คน้ เมอื่ ๓๐ สงิ หาคม ๒๕๖๐, จากhttp://kcenter.anamai.moph. go.th/info/pdf/๖๖be๘๙๓dd๔๘๓e๕๐ff๗๖๘๕๖๑๕e๒๙ef๓๓e.pdf หลักสูตรสร้างวทิ ยากรผ้นู �ำ การเปล่ยี นแปลงสูส่ งั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทจุ รติ 81 179

180

181

182

183

184

185

186

187

188

189

190