๑ สรปุ ทกุ วชิ านักธรรม ชนั้ ตรี 1 พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
ก สารบญั ธรรมวิภาค............................................................................................ ๒ คิหิปฏิบตั ิ.............................................................................................๑๙ วินยั บญั ญตั ิ ........................................................................................๒๗ พทุ ธประวตั ิ ........................................................................................๔๓ ศาสนพธิ ี ............................................................................................๕๒ กระทธู้ รรม ........................................................................................ ๕๕
ธรรมวภิ าค (น.ธ.ตร)ี ๑ หมวด ๒ ชือ่ พระธรรม ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง ๓.หมู่ชนท่ีฟังคำสอนของท่านแล้ว ปฏบิ ัติ ๑. สติ ความระลึกได้ ชอบตามพระธรรมวินัย ชอ่ื พระสงฆ์ ๒. สัมปชญั ญะ ความร้ตู วั คณุ ของรัตนะ ๓ อย่าง ธรรมเป็นโลกบาล คือ ค้มุ ครองโลก ๒ พระพทุ ธเจา้ รู้ดีรูช้ อบดว้ ยพระองคเ์ อง อย่าง กอ่ นแลว้ สอนผู้อ่นื ใหร้ ตู้ ามด้วย ๑. หิริ ความละอายแก่ใจ พระธรรมย่อมรกั ษาผ้ปู ฏิบตั ไิ มใ่ ห้ตกไปใน ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ที่ชั่ว ธรรมอนั ทำใหง้ าม ๒ อยา่ ง พระสงฆ์ปฏิบัตชิ อบตามคำสอนของ ๑. ขนั ติ ความอดทน พระพุทธเจ้าแล้ว สอนผอู้ น่ื ให้กระทำตาม ๒. โสรจั จะ ความเสง่ียม ด้วย บุคคลหาไดย้ าก ๒ อยา่ ง อาการทพี่ ระพุทธเจา้ ทรงสงั่ สอน 3 ๑. บพุ พการี บคุ คลผทู้ ำอปุ การะก่อน อยา่ ง ๒. กตัญญกู ตเวที บคุ คลผูร้ ู้อุปการะท่ี ๑. ทรงสงั่ สอนเพอ่ื จะให้ผฟู้ ังรู้ย่ิงเหน็ จริง ท่านทำแลว้ และตอบแทน ในธรรมทคี่ วรร้คู วรเห็น ๒. ทรงสงั่ สอนมีเหตุผลทผี่ ู้ฟังอาจตรอง หมวด ๓ ตามใหเ้ หน็ จริงได้ ๓. ทรงสงั่ สอนเป็นอศั จรรย์ คอื ผู้ปฏิบัติ รัตนะ ๓ อยา่ ง ตามย่อมได้ประโยชน์ โดยสมควรแก่ความ พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ปฏิบตั ิ ๑.ทา่ นผ้สู อนให้ประชุมชนประพฤตชิ อบ โอวาทของพระพทุ ธเจ้า ๓ อยา่ ง ดว้ ย กาย วงจา ใจ ตามพระธรรมวินยั ท่ี ๑. เวน้ จากทจุ ริต คอื ประพฤติชัว่ ด้วย ท่านเรียกวา่ พุทธศาสนา ชอ่ื พระพทุ ธเจา้ กาย วาจา ใจ ๒.พระธรรมวินัยที่เปน็ คำส่งั สอนของทา่ น ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤตชิ อบ ด้วย พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๒ กาย วาจา ใจ กายสจุ ริต ๓ อย่าง ๓. ทำใจของตนให้หมดจดจากเร่ืองเศรา้ เว้นจากฆ่าสัตว์ ๑ เวน้ จากลกั ฉอ้ ๑ เว้น หมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น จากประพฤติผดิ ในกาม ๑ ทจุ ริต ๓ อยา่ ง วจีสจุ ริต ๔ อย่าง ๑. ประพฤตชิ ัว่ ด้วยกาย เรียก กายทจุ รติ เว้นจากพดู เท็จ ๑ เว้นจากพดู สอ่ เสยี ด ๑ ๒. ประพฤตชิ วั่ ดว้ ยวาจา เรยี ก วจที ุจริต เว้นจากพดู คำหยาบ ๑ เวน้ จากพูดเพ้อ ๓. ประพฤติช่วั ดว้ ยใจ เรียกวา่ มโน เจ้อ ๑ ทุจรติ มโนสุจริต ๓ อยา่ ง กายทจุ ริต ๓ อยา่ ง ไม่โลภอยากไดข้ องเขา ๑ ไม่พยาบาทปอง ฆ่าสตั ว์ ๑ ลกั ฉอ้ ๑ ประพฤติผิดในกาม ๑ ร้ายเขา ๑ เหน็ ชอบตามคลองธรรม ๑ วจีทุจริต ๔ อยา่ ง สจุ รติ ๓ อย่างนี้ เปน็ กจิ ควรทำ ควร พดู เท็จ ๑ พดู ส่อเสยี ด ๑ พดู คำหยาบ ๑ ประพฤติ พดู เพ้อเจ้อ ๑ อกศุ ลมลู ๓ อย่าง มโนทุจริต ๓ อย่าง รากเงา่ ของอกุศล เรียกอกุศลมลู มี ๓ โลภอยากไดข้ องเขา ๑ พยาบาทปองร้าย อย่าง คือ โลภะ อยากได้ ๑ โทสะ คดิ เขา ๑ เห็นผดิ จากครองธรรม ๑ ทจุ รติ ๓ ประทุษร้ายเขา ๑ โมหะ หลงไม่รูจ้ รงิ ๑ อยา่ งนีเ้ ปน็ กจิ ไม่ควรทำ ควรจะละเสยี เม่ืออกศุ ลมลู เหลา่ นี้ โลภะ โทสะ โมหะ สจุ รติ ๓ อยา่ ง ก็ดี มีอยู่แล้ว อกศุ ลอนื่ ทีย่ ังไม่เกิดก็เกดิ ข้ึน ๑. ประพฤติชอบดว้ ยกาย เรยี กวา่ กาย ท่ีเกดิ แล้วกเ็ จรญิ มากข้ึน เหตุนนั้ ควรละ สจุ ริต เสยี ๒. ประพฤติชอบด้วยวาจา เรียกวจี กศุ ลมูล ๓ อยา่ ง สุจริต รากเง่าของกุศล เรยี กกศุ ลมลู มี ๓ อย่าง ๓. ประพฤตชิ อบด้วยใจ เรียกมโนสจุ ริต คอื อโลภะ ไม่อยากได้ ๑ อโทสะ ไม่คดิ ประทุษรา้ ยเขา ๑ อโมหะ ไม่หลง ๑ เมือ่ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๓ กศุ ลมลู เหลา่ นี้ อโลภะ อโทสะ อโมหะ ก็ บุญกิริยาวตั ถุ ๓ อยา่ ง ดี มีอยู่แล้ว กุศลอื่นทีย่ งั ไมเ่ กิดกเ็ กิดขนึ้ ที่ สง่ิ เปน็ ท่ีตง้ั แหง่ การบำเพญ็ บุญ เรียกวา่ เกดิ แล้วก็เจรญิ มากข้ึน เหตนุ ้ันควรให้เกิด บุญกริ ิยาวตั ถุ โดยยอ่ มี ๓ ย่าง มีในสนั ดาน ๑. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาค สัปปุรสิ บัญญัติ คือข้อที่สัตบุรุษต้ังไว้ ๓ ทาน อยา่ ง ๒. ศีลมัย บญุ สำเร็จดว้ ยการรกั ษาศลี ๑. ทาน สละสงิ่ ของๆ ตนเพ่ือเป็น ๓. ภวนามัย บุญสำเร็จดว้ ยการเจรญิ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่ืน ภาวนา ๒. ปพั พชั ชา ถือบวช เป็นอบุ ายเว้นจาก สามญั ลกั ษณะ ๓ อย่าง เบยี ดเบยี นกนั และกนั ลกั ษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง เรยี ก ๓. มาตาปิตอุ ปุ ัฏฐาน ปฏิบตั ิมารดาบดิ า สามญั ลักษณะ ไตรลกั ษณะก็เรยี ก แจก ของตนให้เปน็ สขุ เปน็ ๓ อย่าง อปัณณกปฏิปทา คือปฏบิ ตั ใิ มผ่ ดิ ๓ ๑. อนิจจตา ความเป็นของไมเ่ ท่ยี ง อย่าง ๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์ ๑. อนิ ทรยี สังวร สำรวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา ๓. อนตั ตตา ความเปน็ ของไม่ใชต่ น หู จมูก ล้นิ กาย ใจ ไม่ยินดยี ินร้ายเวลา เห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิน่ ลิ้มรส ถูกตอ้ ง โผฏฐพั พะ รธู้ รรมารมณด์ ้วยใจ ๒.โภชเน มัตตญั ญุตา รจู้ กั ประมาณในการ กินอาหารแตพ่ อควร ไม่มากไม่น้อย ๓. ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียร เพือ่ ชำระใจให้หมดจด ไมเ่ หน็ แก่นอนมาก นกั พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
หมวด ๔ ๔ วฑุ ฒิ คอื ธรรมเปน็ เครอื่ งเจริญ ๔ อยา่ ง ๓. ลำเอียงเพราะเขลา เรยี ก โมหาคติ ๑. สปั ปุริสสงั เสวะ คบทา่ นผ้ปู ระพฤติ ๔. ลำเอียงเพราะกลัว เรยี ก ภยาคติ ชอบดว้ ยกายวาจาใจ ที่เรยี กว่าสตั บุรษุ อคติ ๔ ประการน้ี ไม่ควรประพฤติ ๒. สทั ธมั มัสสวนะ ฟงั คำสอนของท่าน อันตรายของภิกษสุ ามเณรผบู้ วชใหม่ ๔ โดยเคารพ อยา่ ง ๓. โยนโิ สมนสิการ ตริตรองใหร้ ู้จักสิ่งทด่ี ี ๑. อดทนตอ่ คำสอนไมไ่ ด้ คือเบ่ือต่อ หรือชวั่ โดยอบุ ายทชี่ อบ คำสง่ั สอนขีเ้ กยี จทำตาม ๔. ธมั มานธุ ัมมปฏิปตั ติ ประพฤตธิ รรม ๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแกท่ ้อง ทนความ สมควรแกธ่ รรมซึง่ ไดต้ รองเห็นแลว้ อดอยากไมไ่ ด้ จกั ร ๔ ๓. เพลดิ เพลินในกามคณุ ทะยานอยาก ๑. ปฏิรปู เทสวาสะ อยใู่ นประเทศอัน ไดส้ ุขยง่ิ ๆ ข้นึ ไป สมควร ๔. รกั ผ้หู ญงิ ๒. สัปปรุ สิ ูปสั สยะ คบสตั บรุ ษุ ภิกษสุ ามเณรผหู้ วงั ความเจริญแก่ตน ควร ๓. อตั ตสัมมาปณิธิ ตงั้ ตนไว้ชอบ ระวงั อย่าให้อนั ตราย ๔ อยา่ งน้ีย่ำยีได้ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเปน็ ผู้ได้ทำ ปธาน คือความเพยี ร ๔ อยา่ ง ความดไี วใ้ นปางก่อน ๑. สงั วรปธาน เพียรระวงั ไม่ให้บาป ธรรม ๔ อยา่ งน้ี ดจุ ลอ้ รถนำไปสู่ความ เกดิ ขึน้ ในสันดาน เจรญิ ๒. ปหานปธาน เพยี รละบาปทเี่ กิดขน้ึ อคติ ๔ แล้ว ๑. ลำเอียงเพราะรกั ใคร่กนั เรียก ๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขน้ึ ใน ฉันทาคติ สนั ดาน ๒. ลำเอยี งเพราะไม่ชอบกัน เรยี ก ๔. อนรุ กั ขนาปธาน เพยี รรักษากศุ ลที่ โทสาคติ เกิดข้ึนแลว้ ไม่ใหเ้ สือ่ ม พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๕ ความเพียร ๔ อยา่ งนี้ เปน็ ความเพียรชอบ ๒. ในการละวจที จุ รติ ประพฤตวิ จสี ุจริต ควรประกอบใหม้ ีในตน ๓. ในการละมโนทุจรติ ประพฤติมโน อธิษฐานธรรม คือธรรมทค่ี วามต้งั ไว้ใน สุจริต ใจ ๔ อยา่ ง ๔. ในการละความเห็นผดิ ทำความเห็น ๑. ปญั ญา รอบรสู้ ่ิงทีค่ วรรู้ ใหถ้ กู ๒. สจั จะ ความจรงิ ใจ คอื ประพฤตสิ ิ่งใดก็ อีกอยา่ งหน่งึ ใหไ้ ดจ้ รงิ ๑. ระวงั ใจไมใ่ หก้ ำหนดั ในอารมณ์เปน็ ๓. จาคะ สละสง่ิ ทเ่ี ป็นขา้ ศกึ แก่ความ ทต่ี ั้งแหง่ ความกำหนัด จริงใจ ๒. ระวังใจไมใ่ หข้ ัดเคอื งในอารมณเ์ ป็น ๔. อุปสมะ สงบใจจากส่งิ ท่ีเป็นข้าศกึ แก่ ทตี่ ง้ั แหง่ ความขัดเคอื ง ความสงบ ๓. ระวังใจไม่ใหห้ ลงในอารมณ์เปน็ ทตี่ ั้ง อทิ ธิบาท คือคุณเคร่อื งใหส้ ำเร็จความ แห่งความหลง ประสงค์ ๔ อยา่ ง ๔. ระวงั ใจไม่ให้มวั เมาในอารมณเ์ ปน็ ๑. ฉันทะ พอใจรกั ใคร่ในสิ่งน้นั ทต่ี ้ังแหง่ ความมัวเมา ๒. วริ ิยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น ปารสิ ุทธิศลึ ๔ ๓. จิตตะ เอาใจฝกั ใฝใ่ นส่งิ นั้น ไมว่ างธรุ ะ ๑. ปาติโมกขสังวร สำรวมในพระ ๔. วมิ ังสา หมัน่ ตริตรองพจิ ารณาเหตผุ ล ปาตโิ มกข์ เว้นข้อท่ีพระพทุ ธเจ้าห้าม ทำ ในส่ิงนนั้ ข้อท่ีพระองค์อนุญาต คณุ ๔ อย่างนี้ มบี รบิ ูรณแ์ ลว้ อาจชกั นำ ๒. อนิ ทรียสังวร สำรวมอินทรยี ์ ๖ คือ ตา บคุ คลใหถ้ ึงสิง่ ที่ต้องประสงค์ซึ่งไม่ หู จมูก ปาก ลน้ิ กาย ใจ ไมใ่ หย้ ินดยี ินรา้ ย เหลอื วสิ ยั ในเวลาเหน็ รปู ฟงั เสียง ดมกลิ่น ลม้ิ รส ควรทำความไม่ประมาทในที่ ๔ สถาน ถูกต้องโผฏฐพั พะ รูธ้ รรมารมณด์ ้วยใจ ๑. ในการละกายทุจริต ประพฤติกาย ๓. อาชวี ปาริสุทธิ เล้ียงชวี ติ โดยทางท่ี สุจรติ ชอบ ไมห่ ลองลวงเขาเล้ียงชวี ิต พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๖ ๔. ปจั จยปัจจเวกขณะ พจิ ารณาเสียกอ่ น สตปิ ฏั ฐาน ๔ จึงบริโภคปัจจัย ๔ คือ จีวร บณิ ฑบาต ๑. กายานุปัสสนา เสนาสนะ และเภสชั ไม่บริโภคดว้ ยตณั หา สติกำหนดพจิ ารณากายเป็นอารมณ์วา่ กายนีก้ ส็ กั ว่ากาย ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตวั ตน อารกั ขกมั มัฏฐาน เราเขา เรียก กายานปุ ัสสนา ๑. พทุ ธานสุ ติ ระลกึ ถงึ คุณพระพทุ ธเจา้ ๒. เวทนานปุ ัสสนา ท่มี ีในพระองค์และทรงเก้ือกูลแก้ผูอ้ ่ืน สติกำหนดพจิ ารณาเวทนา คือ สขุ ทุกข์ ๒. เมตตา แผไ่ มตรีจิตคิดจะใหส้ ตั วท์ ้ัง และไมท่ กุ ข์ไม่สุขเปน็ อารมณ์วา่ เวทนานก้ี ็ ปวงเปน็ สุขทวั่ หนา้ สกั วา่ เวทนา ไม่ใชส่ ตั ว์ บุคคล ตวั ตน เรา ๓. อสภุ ะ พจิ ารณารา่ งกายตนและผอู้ ่ืน เขา เรียก เวทนานปุ ัสสนา ให้เห็นเปน็ ไม่งาม ๓. จติ ตานุปัสสนา ๔. มรณัสสติ นกึ ถงึ ความตายอนั จะมีแก่ สติกำหนดพิจารณาใจท่ีเศรา้ หมอง หรือ ตน ผอ่ งแผ้วเป็นอารมณว์ ่า ใจนสี้ ักว่าใจ ไมใ่ ช่ กมั มัฏฐาน ๔ อย่างน้ี ควรเจริญเป็นนิตย์ สตั ว์ บคุ คล ตวั ตน เราเขา เรียก จติ ตา พรหมวหิ าร ๔ นปุ สั สนา ๑. เมตตา ความรกั ใคร่ ปรารถนาจะให้ ๔. ธมั มานปุ ัสสนา เป็นสขุ สติกำหนดพิจารณาธรรมท่ีเป็นกุศลหรือ ๒. กรณุ า ความสงสาร คิดจะชว่ ยใหพ้ น้ อกุศล ท่บี ังเกดิ กับใจเป็นอารมณว์ ่าธรรม ทุกข์ ไมใ่ ชส่ ัตว์ บคุ คล ตัวตน เราเขา เรยี ก ธัม ๓. มทุ ิตา ความพลอยยนิ ดี เม่อื ผอู้ ่ืนได้ดี มานปุ ัสสนา ๔. อเุ บกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจไม่เสยี ใจ เมื่อผอู้ ่นื ถึงความวบิ ัติ พรหมวิหาร ๔ นี้ เปน็ เคร่ืองอยขู่ องทา่ น ผู้ใหญ่ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๗ ธาตุกัมมัฏฐาน ๔ ความกำหนดพิจารณากายนี้ ให้ ธาตุ ๔ คอื เห็นว่าเปน็ แตเ่ พียงธาตุ ๔ คือ ดนิ นำ้ ไฟ ๑ ธาตดุ ิน เรยี ก ปฐวีธาตุ ลม ประชุมกนั อยู่ ไม่ใชเ่ รา ไม่ใช่ของเรา ธาตุอันใดมลี ักษณะแข้นแข็ง ธาตุน้นั เปน็ เรยี กว่า ธาตกุ ัมมัฏฐาน ปฐวธี าตุ ปฐวธี าตนุ ้ันทเี่ ป็นภายใน คอื ผม อรยิ สัจ ๔ ขน เลบ็ ฟนั หนัง เนื้อ เอน็ กระดูก เยื่อ ๑. ทกุ ข์ ในกระดูก มา้ ม หวั ใจ ตับ พงั ผดื ไต ปอด ๒. สมทุ ยั คอื เหตุให้ทุกข์เกิด ไสใ้ หญ่ ไส้นอ้ ย อาหารใหม่ อาหารเก่า ๓. นิโรธ คือความดบั ทุกข์ ๒ ธาตนุ ้ำ เรียก อาโปธาตุ ๔. มรรค คือขอ้ ปฏิบตั ิใหถ้ ึงความดับทกุ ข์ ธาตอุ ันมลี กั ษณะเอบิ อาบ ธาตนุ น้ั เป็น ความไมส่ บายกาย ไม่สบายใจ ไดช้ ื่อว่า อาโปธาตุ อาโปธาตนุ น้ั ทเ่ี ป็นภายใน คอื ทุกข์ เพราะเปน็ ของทนได้ยาก ดี เสลด หนอง เลือด เหง่ือ มันขน้ น้ำตา ตันหาคอื ความทะยานอยาก ไดช้ อื่ ว่า เปลวมัน นำ้ ลาย น้ำมูก ไขข้อ มตู ร สมทุ ัย เพราะเป็นเหตใุ ห้ทุกขเ์ กิด ๓ ธาตุไฟ เรียก เตโชธาตุ ตนั หานนั้ มีประเภทเป็น ๓ คือตณั หา ธาตุอนั มีลกั ษณะร้อน ธาตนุ ้ันเป็น ความอยากในอารมณ์ท่นี า่ รกั ใคร่ เรียกว่า เตโชธาตุ เตโชธาตนุ น้ั ท่เี ป็นภายใน คือ กามตัณหา อย่าง ๑ ตัณหาความอยาก ไฟทยี่ ังกายให้อบอุ่น ไฟที่ยงั กายใหท้ รุด เป็นโนน่ เป็นน่ี เรียกวา่ ภวตัณหา อยา่ ง ๑ โทรม ไฟทยี่ ังกายให้กระวนกระวาย ไฟท่ี ตณั หาความอยากไมเ่ ปน็ โน่นเป็นน่ี เผาอาหารใหย้ ่อย เรยี กว่า วิภวตณั หา อยา่ ง ๑ ๔ ธาตุลม เรยี ก วาโยธาตุ ความดับตณั หาไดส้ ้นิ เชงิ ทุกข์ดับไปหมด ธาตุอนั ใดมีลักษณะพดั ไปมา ธาตนุ น้ั เปน็ ไดช้ อ่ื วา่ นโิ รธ เพราะเป็นความดบั ทุกข์ วาโยธาตุ วาโยธาตนุ น้ั ทเี่ ปน็ ภายใน คอื ปญั ญาอนั เหน็ ชอบว่าสง่ิ น้ีทุกข์ สงิ่ น้เี หตุให้ ลมพดั ขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบอ้ื งตำ่ ลมใน ทกุ ข์เกิด ส่ิงน้ีทางใหถ้ ึงความดับทุกข์ ได้ ทอ้ ง ลมในไส้ ลมพัดไปตามตัว ลมหายใจ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๘ ชอ่ื วา่ มรรค เพราะเป็นข้อปฏิบัตใิ ห้ถงึ ๒. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีความ ความดบั ทุกข์ เจ็บเปน็ ธรรมดา ไม่ลว่ งพน้ ความเจ็บไปได้ ๓. ควรพิจารณาทุกวนั ๆ ว่า เรามคี วาม มรรคน้ันมีองค์ ๘ ประการ คอื ตายเป็นธรรมดา ไม่ลว่ งพ้นความตายไปได้ ปัญญาอนั เห็นชอบ ๑ ดำริชอบ ๑ เจรจา ๔. ควรพจิ ารณาทุกวัน ๆ ว่า เราจะต้อง ชอบ ๑ ทำการงานชอบ ๑ เล้ยี งชพี ชอบ พลดั พรากจากของรักของชอบใจทั้งสน้ิ ๑ ทำความเพียรชอบ ๑ ตั้งสติชอบ ๑ ๕. ควรพิจารณาทกุ วัน ๆ วา่ เรามกี รรม ต้ังใจชอบ ๑ เปน็ ของตัว เราทำดีจกั ได้ดี ทำช่วั จกั ได้ชัว่ เวสารัชชกรณธรรม คอื ธรรมทำความ หมวด ๕ กลา้ หาญ ๕ อยา่ ง ๑. สทั ธา เช่อื สิง่ ทคี่ วรเช่อื อนนั ตริยกรรม ๕ ๒. สลี รักษากายวาจาให้เรยี กร้อย ๑. มาตฆุ าต ฆา่ มารดา ๓. พาหสุ ัจจะ ความเปน็ ผศู้ ึกษามาก ๒. ปิตฆุ าต ฆา่ บิดา ๔. วริ ิยารมั ภะ ปรารภความเพยี ร ๓. อรหนั ตฆาต ฆา่ พระอรหันต์ ๕. ปญั ญา รอบรสู้ ่งิ ท่คี วรรู้ ๔. โลหิตปุ บาท ทำรา้ ยพระพุทธเจ้าจนถงึ องค์แหง่ ภิกษใุ หม่ ๕ อย่าง ยงั พระโลหิตให้ห้อขึ้นไป ๑. สำรวมในพระปาตโิ มกข์ เวน้ ขอ้ ท่ี ๕. สงั ฆเภท ยงั สงฆใ์ ห้แตกจากกนั พระพทุ ธเจ้าห้าม ทำตามขอ้ ที่ทรงอนญุ าต กรรม ๕ อยา่ งน้ี เปน็ บาปอันหนกั ทสี่ ดุ ๒. สำรวมอนิ ทรยี ์ คอื ระวัง ตา หู จมกู ห้ามสวรรค์ หา้ มนิพพาน ต้งั อย่ใู นฐาน ลนิ้ กาย ใจ ไมใ่ ห้ยนิ ดยี ินร้ายครอบงำได้ ปาราชกิ ของผู้ถือพระพุทธศาสนา ห้าม ในเวลาท่ีเหน็ รูปด้วยนัยนต์ าเปน็ ตน้ ไม่ให้ทำเปน็ เด็ดขาด ๓. ความเป็นคนไมเ่ อิกเกรกิ เฮฮา อภณิ หปจั จเวกขณ์ ๕ ๔. อย่ใู นเสนาเสนะอนั สงัด ๑. ควรพิจารณาทกุ วัน ๆ ว่า เรามีความ แก่เปน็ ธรรมดา ไมล่ ว่ งพ้นความแก่ไปได้ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๙ ๕. มคี วามเหน็ ชอบ พละ คอื ธรรมเป็นกำลงั ๕ อย่าง ภกิ ษใุ หมค่ วรตัง้ อยใู่ นธรรม ๕ อยา่ งนี้ ๑. สทั ธา ความเชอื่ ๒. วริ ิยะ ความเพียร องค์แหง่ ธรรมกถกึ คือ นกั เทศก์ ๕ อย่าง ๓. สติ ความระลกึ ได้ ๑. แสดงธรรมโดยลำดบั ไม่ตัดลดั ใหข้ าด ๔. สมาธิ ความตัง้ ใจม่ัน ความ ๕. ปญั ญา ความรอบรู้ ๒. อ้างเหตุผลแนะนำใหผ้ ู้ฟังเข้าใจ อนิ ทรีย์ ๕ กเ็ รียก เพราะเป็นใหญ่ในกิจ ๓. ต้ังจิตเมตตาปรารถนาให้เป็น ของตน ประโยชน์แก่ผฟู้ งั นวิ รณ์ ๕ ๔. ไมแ่ สดงธรรมเพราะเหน็ แกล่ าภ ธรรมอนั กั้นจิตไม่ใหบ้ รรลคุ วามดี เรียก ๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผ้อู ืน่ คือ นวิ รณ์ มี ๕ อยา่ ง ว่า ไมย่ กตนเสยี ดสีผู้อืน่ ๑. พอใจรกั ใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรู้ ภิกษผุ ไู้ ด้ธรรมกถกึ พงึ ต้งั องค์ ๕ อย่างนไี้ ว้ เป็นต้น เรียก กามฉันท์ ในตน ๒. ปองร้ายผู้อ่ืน เรยี ก พยาบาท ธมั มสั สวนานสิ งส์ คือ อานสิ งสแ์ หง่ การ ๓. ความทจ่ี ติ ใจหดห่แู ละเคลบิ เคล้ิม ฟังธรรม ๕ อย่าง เรยี ก ถีนมิทธะ ๑. ผฟู้ งั ธรรมย่อมได้ฟงั สงิ่ ท่ียังไม่เคยฟัง ๔. ฟุง้ ซา่ นและรำคาญ เรียก อุทธัจจกกุ ุจ ๒. ส่งิ ใดได้เคยฟงั แล้ว แตไ่ ม่เขา้ ใจชัด จะ ยอ่ มเข้าใจส่ิงนัน้ ชดั ๕. ลงั เลไม่ตกลงได้ เรยี ก วจิ ิกิจฉา ๓. บรรเทาความสงสัยเสยี ได้ ขนั ธ์ ๕ ๔. ทำความเห็นใหถ้ ูกต้องได้ กายกับใจน้ี แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่า ๕. จติ ของผฟู้ ังยอ่ มผอ่ งใส ขันธ์ ๕ ๑. รูป ๒. เวทนา ๓. สญั ญา ๔. สงั ขาร พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ๕. วญิ ญาณ
ธาตุ ๔ คอื ดิน นำ้ ไฟ ลม ประชุม ๑๐ กันเปน็ กายนี้ เรยี กว่า รปู ตอ้ นรบั ปราศรยั ๑ ภกิ ษุควรทำคารวะ ๖ ความรูส้ ึกอารมณ์วา่ เป็นสขุ คอื ประการนี้ สบายกาย สบายใจ หรือเป็นทกุ ข์ คือไม่ สบายกาย ไม่สบายใจ หรือเฉยๆ คือไม่ สาราณยิ ธรรม ๖ อย่าง ทกุ ข์ไม่สุข เรียกวา่ เวทนา ธรรมเป็นทต่ี ้งั แห่งความระลกึ ถงึ เรยี กสา ราณยิ ธรรม มี ๖ อย่าง คือ ความจำไดห้ มายรู้ คือ จำรปู เสียง ๑. เข้าไปตงั้ กายกรรมประกอบดว้ ย กล่นิ รส โผฏฐัพพะ อารมณ์ที่เกิดกบั ใจได้ เมตตา ในเพื่อนภิกษสุ ามเณรทง้ั ต่อหนา้ เรยี ก สัญญา และลบั หลัง คอื ช่วยขวนขวายกจิ ธุระของ เพื่อนกนั ด้วยกาย มีพยาบาลภิกษุไข้เปน็ เจตสิกธรรม คอื อารมณท์ ีเ่ กดิ กับ ตน้ ดว้ ยจติ เมตตา ใจ เปน็ สว่ นดี เรียก กศุ ล เป็นส่วนชั่ว ๒. เขา้ ไปตง้ั วจีกรรมประกอบดว้ ยเมตตา เรยี ก อกุศล เป็นส่วนกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ในเพ่ือนภกิ ษสุ ามเณรทงั้ ต่อหน้าและลบั เรียก อพั ยากฤต เรียกว่า สงั ขาร หลัง คือ ช่วยขวนขวายในกิจธรุ ะของ เพ่อื นกันดว้ ยวาจา เขน่ กล่าวคำสั่งสอน ความรอู้ ารมณ์ในเวลาเมอ่ื รู้มา เป็นตน้ ดว้ ยจิตเมตตา กระทบตา เปน็ ตน้ เรยี กว่า วิญญาณ ๓. เขา้ ไปตั้งมโนกรรมประกอบด้วย ขนั ธ์ ๕ นี้ ยน่ เรียกว่า นามรปู เวทนา เมตตาในเพอื่ นภิกษสุ ามเณรท้ังตอ่ หนา้ สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ รวมเข้าเปน็ นาม และลบั หลงั คือคิดแต่สง่ิ ท่ีเป็นประโยชน์ รูปคงเปน็ รูป แกเ่ พ่ือนกัน ๔. แบ่งปันลาภที่ตนไดม้ าแลว้ โดยชอบ หมวด ๖ ธรรมใหแ้ ก่เพื่อนภกิ ษสุ ามเณร ไมห่ วงไว้ บริโภคจำเพาะผู้เดยี ว คารวะ ๖ อยา่ ง ๕. รกั ษาศีลบริสุทธ์ิเสมอกนั กบั เพื่อน ความเอ้ือเฟ้ือ ในพระพุทธเจา้ ๑ ในพระ ธรรม ๑ ในพระสงฆ์ ๑ ในความศึกษา ๑ ในความไมป่ ระมาท ๑ ในปฏิสันถาร คอื พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
ภกิ ษสุ ามเณรอื่นๆ ไม่ทำตนให้เป็นท่ี ๑๑ รงั เกียจของผอู้ นื่ ๖. มีความเห็นร่วมกันกับภกิ ษสุ ามเณร ชิวหาวิญญาณ อ่นื ๆ ไมว่ ิวาทกับใครๆ เพราะมีความเหน็ อาศัยโผฏฐัพพะกระทบกาย เกดิ ความรู้ ผดิ กัน ขน้ึ เรียก กายวญิ ญาณ อาศัยธรรมเกดิ กบั ใจ เกิดความรขู้ ้ึน เรียก ธรรม ๖ อย่างน้ี ทำผู้ประพฤติให้ มโนวญิ ญาณ เป็นท่รี ักทเ่ี คารพของผู้อื่น เป็นไปเพื่อ สัมผสั ๖ ความสงเคราะหก์ ันและกนั เปน็ ไปเพ่ือ อายตนะภายในมีตาเป็นตน้ อายตนะ ความไมว่ ิวาทกันและกนั เปน็ ไปเพื่อความ ภายนอกมีรูปเป็นต้น วญิ ญาณมจี ักขุ พรอ้ มเพรยี งเป็นอนั หน่งึ อนั เดียวกัน วิญญาณเปน็ ตน้ กระทบกนั เรียกสมั ผัส มี อายตนะภายใน ๖ ชือ่ ตามอายตนะภายใน เป็น ๖ คอื ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ อนิ ทรีย์ ๖ ก็เรยี ก จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย มโน อายตนะภายนอก ๖ เวทนา ๖ รปู เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ คอื อารมณ์ สัมผสั น้นั เปน็ ปัจจัยใหเ้ กดิ เวทนา เป็นสขุ ที่มาถูกต้องกาย ธรรม คืออารมณ์เกิดกบั บา้ งทกุ ขบ์ า้ ง ไมท่ ุกขไ์ มส่ ุขบา้ ง มีช่ือตาม ใจ อารมณ์ ๖ ก็เรียก อายตนะภายในเปน็ ๖ คอื วญิ ญาณ ๖ จักขุ โสต ฆาน ชวิ หา กาย มโน อาศัยรปู กระทบตา เกดิ ความรู้ขึ้น เรียก ธาตุ ๖ จักขุวญิ ญาณ ๑. ปฐวธี าตุ คือ ธาตดุ นิ อาศยั เสยี งกระทบหู เกิดความรู้ขึ้น เรยี ก ๒. อาโปธาตุ คอื ธาตุนำ้ โสตวญิ ญาณ ๓. เตโชธาตุ คอื ธาตไุ ฟ อาศัยกล่นิ กระทบจมูก เกดิ ความรู้ขน้ึ ๔. วาโยธาตุ คอื ธาตุลม เรยี ก ฆานวิญญาณ ๕. อากาสธาตุ คือ ชอ่ งวา่ งมีในกาย อาศยั รสกระทบลิ้น เกิดความรขู้ นึ้ เรยี ก ๖. วิญญาณธาตุ คือ ความรู้อะไรก็ได้ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๑๒ หมวด ๗ อริยทรัพย์ ๗ ทรพั ย์ คือคณุ ความดีท่มี อี ยู่ในสันดาน อปรหิ านิยธรรม ๗ อยา่ ง อย่างประเสรฐิ เรยี กอรยิ ทรัพย์ มี ๗ อย่าง ธรรมไมเ่ ปน็ ทต่ี ั้งแห่งความเสอ่ื ม เป็นไป คอื เพ่ือความเจรญิ ฝา่ ยเดียว ชอ่ื ว่า อปรหานิย ๑. สัทธา เช่อื สง่ิ ที่ควรเชอ่ื ธรรม มี ๗ อย่าง ๒. สลี รักษา กาย วาจา ให้เรยี บรอ้ ย ๑. หมนั่ ประชมุ กันเนืองนิตย์ ๓. หริ ิ ความละอายตอ่ บาปทุจรติ ๒. เมอ่ื ประชมุ กพ็ ร้อมเพรียงกนั ประชมุ ๔. โอตตปั ปะ สะดุ้งกลวั ต่อบาป เม่อื เลกิ ประชมุ ก็พร้อมเพรยี งกนั เลิก และ ๕. พาหสุ ัจจะ ความเป็นคนเคยได้ยนิ ได้ พร้อมเพรยี งกนั ทำกจิ ที่สงฆ์จะตอ้ งทำ ฟงั มาก คือ จำทรงธรรมและรู้ศลิ ปวิทยา ๓. ไมบ่ ญั ญัติสิ่งท่ีพระพุทธเจ้าไมบ่ ัญญัติ มาก ขึ้น ไม่ถอนส่งิ ท่ีพระองค์ทรงบัญญัตไิ วแ้ ล้ว ๖. จาคะ สละใหป้ นั ส่งิ ของของตนให้แก่ สมาทานศึกษาอยูใ่ นสิกขาบทตามท่ี คนทค่ี วรใหป้ นั พระองค์ทรงบัญญตั ิไว้ ๗. ปัญญา รอบรู้สิง่ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ และ ๔. ภกิ ษุเหลา่ ใดเปน็ ผู้ใหญ่เปน็ ประธาน ไม่เป็นประโยชน์ ในสงฆ์ เคารพนบั ถือภกิ ษุเหล่านั้น เช่อื ฟงั สัปปุริสธรรม ๗ อย่าง ถ้อยคำของทา่ น ธรรมของสตั บุรษุ เรยี กว่า สปั ปรุ ิสธรรม มี ๕. ไมล่ อุ ำนาจแกค่ วามอยากทเ่ี กดิ ขึ้น ๗ อยา่ ง ๖. ยนิ ดใี นเสนาสนะปา่ ๑. ธัมมัญญตุ า ความเป็นผู้รูจ้ ักเหตุ เชน่ ๗. ตงั้ ใจอย่วู ่า เพอื่ นภิกษสุ ามเณรซึ่งเปน็ รูจ้ ักวา่ สง่ิ นเ้ี ป็นเหตุแหง่ สุข สิง่ น้ีเป็นเหตุ ผมู้ ีศีล ซง่ึ ยังไมม่ าสู่อาวาส ขอใหม้ า ทีม่ า แหง่ ทุกข์ แลว้ ขอให้อยเู่ ป็นสุข ๒. อตั ถญั ญุตา ความเปน็ ผูร้ ู้จักผล เชน่ รู้จักว่า สุขเป็นผลแห่งเหตุอันใด ทกุ ขเ์ ป็น ธรรม ๗ อยา่ งนี้ ต้ังอยู่ในผู้ใด ผนู้ ้นั ผลแห่งเหตอุ ันใด ไม่มีความเส่อื มเลย มแี ตค่ วามเจรญิ ฝา่ ย เดียว พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๑๓ ๓. อัตตัญญุตา ความเป็นผ้รู ู้จักตนวา่ เรา เพ่อื จะเบียดเบียนตนและผูอ้ ื่น วา่ โดยชาติตระกลู ยศศักดิ์สมบัติบริวาร ๓. จะคดิ สง่ิ ใดกไ็ มค่ ิดเพ่ือเบียดเบยี นตน ความรแู้ ละคุณธรรมเพยี งเทา่ น้ีๆ แลว้ และผอู้ น่ื ประพฤติตนให้สมควรแก่ที่เป็นอยอู่ ยา่ งไร ๔. จะพดู ส่ิงใดก็พดู เพ่ือไมเ่ บียดเบยี นตน ๔. มตั ตัญญุตา ความเปน็ ผ้รู ู้ประมาณ ใน และผอู้ ื่น การแสวงหาเคร่ืองเลี้ยงชีวติ แตโ่ ดยทางท่ี ๕. จะทำสง่ิ ใดก็ไมท่ ำเพอ่ื เบียดเบียนตน ชอบ และรจู้ ักประมาณในการบรโิ ภคแต่ และผู้อ่นื พอควร ๖. มคี วามเหน็ ชอบ มีเห็นวา่ ทำดีได้ดี ทำ ๕. กาลัญญุตา ความเปน็ ผ้รู ู้จกั กาลเวลา ชัว่ ได้ชั่ว เปน็ ตน้ อนั สมควรในอนั ประกอบกิจน้ันๆ ๗. ใหท้ านโดยเคารพ คอื เอื้อเฟื้อแกข่ อง ๖. ปริสญั ญตุ า ความเป็นผูร้ ู้จกั ประชมุ ชน ทตี่ ัวเองให้ และผู้รบั ทานน้นั ไมท่ ำอาการ และกริยาทต่ี อ้ งประพฤตติ ่อชุมชนนน้ั ๆ วา่ ดุจท้ิงเสยี หมนู่ เี้ มอื่ เขา้ ไปหา จะต้องทำกรยิ าอย่างนี้ โพชฌงค์ ๗ จะตอ้ งพดู แบบนี้ เปน็ ตน้ ๑. สติ ความระลกึ ได้ ๗. ปุคคลปโรปรญั ญุตา ความเปน็ ผรู้ จู้ ัก ๒. ธมั มวิจยะ ความสอดส่องธรรม เลอื กบุคคลวา่ ผนู้ ้ีเปน็ ผดู้ ี ควรคบ ผู้นี้เปน็ ๓. วิริยะ ความเพยี ร คนไมด่ ี ไมค่ วรคบ เป็นตน้ ๔. ปีติ ความอม่ิ ใจ สปั ปุรสิ ธรรมอีก ๗ อยา่ ง ๕. ปสั สทั ธิ ความสงบใจและอารมณ์ ๑. สัตบุรษุ ประกอบดว้ ยธรรม ๗ ๖. สมาธิ ความตงั้ ใจมน่ั ประการ คือ มีศรัทธา มคี วามละอายต่อ ๗. อุเปกขา ความวางเฉย บาป มคี วามกลัวบาป เปน็ คนได้ยนิ ได้ฟัง เรียกตามประเภทวา่ สตสิ ัมโพชฌงค์ไป มาก เปน็ คนมีความเพียร เปน็ คนมสี ติ โดยลำดับจนถงึ อุเปกขาสัมโพชฌงค์ ม่นั คง เปน็ คนมปี ญั ญา ๒. จะปรกึ ษาส่ิงใดกับใครๆ กไ็ ม่ปรึกษา พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๑๔ หมวด ๘ เป็นไปเพื่อความเล้ียงยาก ๑ ธรรมเหลา่ นี้พงึ รูว้ ่า ไมใ่ ชธ่ รรม ไม่ใชว่ ินัย โลกธรรม ๘ ไม่ใชค่ ำส่งั สอนของพระศาสดา ธรรมที่ครอบงำสตั วโ์ ลกอยู่ และสัตว์โลก ธรรมเหลา่ ใดเปน็ ไปเพื่อความคลาย ย่อมเป็นไปตามธรรมนนั้ เรียกวา่ โลกธรรม กำหนัด ๑ โลกธรรมนั้นมี ๘ อย่าง คือ มีลาภ ๑ ไมม่ ี เปน็ ไปเพ่ือความปราศจากทุกข์ ๑ ลาภ ๑ มยี ศ ๑ ไมม่ ียศ ๑ นินทา ๑ เปน็ ไปเพ่ือความไมส่ ะสมกองกิเลส ๑ สรรเสริญ ๑ สขุ ๑ ทุกข์ ๑ เป็นไปเพ่ือความอยากอันน้อย ๑ เปน็ ไปเพ่ือความสันโดษยนิ ดีด้วยของมีอยู่ ในโลกธรรม ๘ ประการนี้ อย่างใด ๑ อย่างหนึ่งเกดิ ขนึ้ ควรพจิ ารณาวา่ สงิ่ ท่ี เปน็ ไปเพื่อความสงัดจากหมู่ ๑ เกิดขนึ้ แลว้ แกเ่ รา ก็แต่ว่ามนั ไมเ่ ทีย่ ง เป็น เปน็ ไปเพ่ือความเพยี ร ๑ ทกุ ข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรรู้ เป็นไปเพื่อความเลยี้ งงา่ ย ๑ ตามที่เป็นจรงิ อยา่ ใหม้ นั ครอบงำจิตได้ ธรรมเหลา่ นพี้ ึงรู้ว่า เป็นธรรม เปน็ วินัย คอื อย่ายนิ ดใี นส่วนทปี่ รารถนา อย่ายิน เปน็ คำสงั่ สอนของพระศาสดา ร้ายในส่วนท่ไี ม่ปรารถนา มรรคมอี งค์ ๘ ลักษณะตดั สินธรรมวนิ ยั ๘ ประการ ๑. สัมมาทิฏฐิ ปญั ญาอนั เหน็ ชอบ คือ ธรรมเหล่าใดเป็นไปเพื่อความกำหนดั ยอ้ ม เห็น อรยิ สจั ๔ ใจ ๑ ๒. สมั มาสังกัปปะ ดำรชิ อบ คอื ดำรจิ ะ เปน็ ไปเพ่ือความประกอบทุกข์ ๑ ออกจากกาม ๑ ดำริในอนั ไม่พยาบาท ๑ เป็นไปเพื่อความสละกองกเิ ลส ๑ ดำริในอนั ไม่เบยี ดเบียน ๑ เป็นไปเพ่ือความอยากใหญ่ ๑ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือเวน้ จากวจี เปน็ ไปเพ่ือความไมส่ นั โดษยนิ ดดี ว้ ยของมี ทจุ รติ ๔ อยู่ คือ มนี ี่แลว้ อยากไดน้ ่ัน ๑ ๔. สัมมากัมมันตะ ทำการงานชอบ คอื เป็นไปเพื่อความคลุกคลดี ว้ ยหมู่คณะ ๑ เป็นไปเพื่อความเกียจคร้าน ๑ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๑๕ เวน้ จากกายทุจริต ๓ หมวด ๑๐ ๕. สมั มาอาชีวะ เลีย้ งชีวิตชอบ คอื เวน้ จากความเลยี้ งชีวิตโดยทางท่ีผิด อกุศลกรรมบถ ๑๐ ๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรใน จดั เป็นกายกรรม คือทำด้วยกาย ๓ อยา่ ง ท่ี ๔ สถาน ๑. ปาณาตบิ าต ทำชวี ติ สตั วใ์ หต้ กลว่ ง คือ ๗. สัมมาสติ ระลกึ ชอบ คอื ระลกึ ในสติ ฆา่ สัตว์ ปฏั ฐานทง้ั ๔ ๒. อทนิ นาทาน ถือเอาส่ิงของทเ่ี จา้ ของ ๘. สมั มาสมาธิ ตง้ั ใจไวช้ อบ คอื เจรญิ ไมไ่ ดใ้ ห้ ดว้ ยอาการแหง่ ขโมย ฌานทัง้ ๔ ๓. กาเมสุ มิจฉาจาร ประพฤตผิ ิดในกาม ในองค์มรรคทั้ง ๘ น้ัน เหน็ ชอบ ดำริชอบ จัดเป็นวจีกรรม คอื ทำด้วยวาจา ๔ อย่าง สงเคราะห์เขา้ ในปัญญาสกิ ขา ๔. มุสาวาท พดู เท็จ วาจาชอบ การงานชอบ เลยี้ งชพี ชอบ ๕. ปสิ ุณาวาจา พดู สอ่ เสียด สงเคราะห์เข้าในสีลสกิ ขา ๖. ผรุสวาจา พดู คำหยาบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตงั้ ใจไว้ชอบ ๗. สัมผปั ปลาปะ พดู เพ้อเจ้อ จัดเป็น สงเคราะหเ์ ข้าในจิตตสิกขา มโนกรรม คอื ทำดว้ ยใจ ๓ อย่าง ๘. อภิชฌา โลภอยากได้ของเขา หมวด ๙ ๙. พยาบาท ปองรา้ ยเขา ๑๐. มจิ ฉาทฏิ ฐิ เห็นผิดจากคลองธรรม มละ คือ มลทนิ ๙ อย่าง กรรม ๑๐ อย่างน้ี เปน็ ทางบาป ไมค่ วร โกรธ ๑ ลบหลคู่ ุณทา่ น ๑ ริษยา ๑ ดำเนิน ตระหน่ี ๑ มายา ๑ มกั อวด ๑ พูดปด ๑ มี กุศลกรรมบถ ๑๐ ความปรารถนาลามก ๑ เหน็ ผดิ ๑ จดั เป็นกายกรรม ๓ อย่าง ๑. ปาณาตปิ าตา เวรมณี เว้นจากทำชีวติ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. สตั ว์ให้ตกลว่ ง ๒. อทนิ นาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอา
ส่ิงของทเ่ี จ้าของไม่ได้ให้ ด้วยอาการแหง่ ๑๖ ขโมย ๓. กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวรมณี เวน้ จาก ๔. อปจายนมัย บุญสำเรจ็ ด้วยการ ประพฤติผดิ ในกาม จัดเป็นวจีกรรม คือ ประพฤติถ่อมตนแก่ผใู้ หญ่ ทำดว้ ยวาจา ๔ อย่าง ๕. เวยยาวจั จมัย บุญสำเรจ็ ดว้ ยการชว่ ย ๔. มสุ าวาทา เวรมณี เว้นจากพดู เทจ็ ขวนขวายในกิจท่ีชอบ ๕. ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพดู ๖. ปตั ติทานมยั บญุ สำเร็จดว้ ยการให้ สอ่ เสียด สว่ นบุญ ๖. ผรสุ าย วาจาย เวรมณี เวน้ จากพูดคำ ๗. ปัตตานุโมทนามยั บญุ สำเรจ็ ดว้ ยการ หยาบ อนุโมทนาส่วนบุญ ๗. สัมผัปปลาปา เวรมณี เวน้ จากพูดเพ้อ ๘. ธัมมัสสวนมยั บญุ สำเรจ็ ดว้ ยการฟัง เจ้อ ธรรม จดั เป็นมโนกรรม คือทำด้วยใจ ๓ อยา่ ง ๙. ธมั มเทสนามัย บุญสำเรจ็ ดว้ ยการ ๘. อภชิ ฌา ไมโ่ ลภอยากได้ของเขา แสดงธรรม ๙. พยาบาท ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๑๐. ทฏิ ฐชุ ุกัมม์ การทำความเห็นใหต้ รง ๑๐. มิจฉาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม ธรรมทบี่ รรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ กรรม ๑๐ อยา่ งน้ี เป็นทางบุญ ควร อย่าง ดำเนนิ ๑. บรรพชิตควรพิจารณาเนอื งๆ ว่า บญุ กิรยิ าวตั ถุ ๑๐ อย่าง บัดนี้เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการ ๑. ทานมยั บุญสำเรจ็ ด้วยการบริจาค กิรยิ าใดๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการ ทาน กิริยาน้ันๆ ๒. สีลมัย บญุ สำเร็จด้วยการรักษาศีล ๒. บรรพชิตควรพจิ ารณาเนืองๆ ว่า ๓. ภาวนามยั บญุ สำเร็จดว้ ยการเจรญิ ความเล้ยี งชพี ของเราเน่ืองด้วยผู้อ่นื เรา ภาวนา ควรทำตัวให้เขาเลีย้ งง่าย ๓. บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ ว่า พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. อาการ กาย วาจาอย่างอ่ืนที่เราจะตอ้ งทำ
๑๗ ให้ดขี น้ึ ไปกว่านยี้ งั มีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเทา่ น้ี มาก ๔. บรรพชิตควรพจิ ารณาเนืองๆ ว่า ตวั ๓. กัลยาณมติ ตตา ความเป็นผูม้ เี พื่อนดี ของเราเองติเตยี นตวั ของเราเองโดยศีลได้ งาม หรอื ไม่ ๔. โสวจัสสตา ความเปน็ ผวู้ า่ งา่ ยสอนงา่ ย ๕. บรรพชิตควรพิจารณาเนอื งๆ วา่ ผรู้ ู้ ๕. กงิ กรณีเยสุ ทักขตา ความขยันช่วย ใคร่ครวญแล้ว ตเิ ตียนเราโดยศีลได้หรือไม่ เอาใจใส่ในกจิ ธุระของเพ่ือนภิกษุสามเณร ๖. บรรพชิตควรพิจารณาเนอื งๆ ว่า เรา ๖. ธมั กามตา ความใคร่ในธรรมที่ชอบ จะต้องพลัดพรากจากของรกั ของชอบใจ ๗. วริ ยิ ะ เพยี รเพ่อื จะละความชั่ว ทง้ั นั้น ประพฤตคิ วามดี ๗. บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ ว่า เรา ๘. สนั โดษ ยนิ ดดี ว้ ยผ้านุ่งผ้าหม่ อาหาร มีกรรมเป็นของตวั เราทำดจี กั ได้ดี ทำชั่ว ทน่ี อนทน่ี งั่ และยา ตามมีตามได้ จกั ได้ชว่ั ๙. สติ จำการที่ได้ทำและคำทพี่ ดู แล้วแม้ ๘. บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ ว่า วัน นานได้ คนื ลว่ งไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ ๑๐. ปัญญา รอบรูใ้ นกองสงั ขารตามเปน็ ๙. บรรพชิตควรพจิ ารณาเนืองๆ ว่า เรา จรงิ อย่างไร ยินดที ี่สงดั หรือไม่ กถาวัตถุคือถ้อยคำท่ีควรพดู ๑๐ อย่าง ๑๐. บรรพชิตควรพิจารณาเนอื งๆ ว่า ๑. อัปปจิ ฉกถา ถ้อยคำทช่ี ัดนำใหม้ คี วาม คณุ วิเศษของเรามีอยู่หรอื ไม่ ทีจ่ ะใหเ้ รา ปรารถนาน้อย เปน็ ผไู้ มเ่ ก้อเขินในเวลาเพื่อนบรรพชติ ถาม ๒. สนั ตฏุ ฐิกถา ถอ้ ยคำทีช่ ักนำให้มี ในกาลภายหลัง สันโดษ ยนิ ดดี ้วยปจั จยั ตามมีตามได้ นาถกรณธรรม คอื ธรรมทำท่พี ง่ึ ๑๐ ๓. ปวเิ วกกถา ถ้อยคำท่ชี ักนำให้สงดั กาย อย่าง สงัดใจ ๑. ศลี รักษากายวาจาให้เรยี บร้อย ๔. อสงั สัคคกถา ถ้อยคำทช่ี กั นำไมใ่ ห้ ๒. พาหุสจั จะ ความเป็นผ้ไู ด้สดบั ตรับฟงั ระคนด้วยหมู่ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๕. วิริยารัมภกถา ถอ้ ยคำทช่ี ักนำให้ ๑๘ ปรารภความเพยี ร ๖. สลี กถา ถ้อยคำที่ชัดนำให้ตงั้ อยใู่ นศลี ๗. มรณสั สติ ระลึกถึงความตายท่ีจะ ๗. สมาธกิ ถา ถอ้ ยคำท่ชี ักนำใหท้ ำใจให้ มาถึงตน สงบ ๘. กายคตาสติ ระลกึ ท่ัวไปในกาย ใหเ้ หน็ ๘. ปญั ญากถา ถ้อยคำทช่ี ักนำให้เกิด วา่ ไม่งาม นา่ เกลียด โสโครก ปัญญา ๙. อานาปานสติ ตง้ั สตกิ ำหนดลมหายใจ ๙. วิมตุ ตกิ ถา ถ้อยคำทช่ี ักนำใหท้ ำใจให้ เขา้ ออก พน้ จากกเิ ลส ๑๐. อุปสมานุสสติ ระลกึ ถงึ พระคุณพระ ๑๐. วิมตุ ตญิ าณทัสสนกถา ถ้อยคำทชี่ กั นพิ พาน ซ่ึงเปน็ ที่ระงับกเิ ลสและกองทกุ ข์ นำใหเ้ กิดความรู้ความเห็นในความทใ่ี จพ้น จากกเิ ลส หมวดเบด็ เตลด็ อนุสสติ คือ อารมณ์ควรระลึก ๑๐ ประการ อุปกเิ ลส คือ โทษเครื่องเศร้าหมอง ๑๖ ๑. พทุ ธานุสสติ ระลึกถงึ คุณของ อยา่ ง พระพุทธเจ้า ๑. อภิชฌาวสิ มโลภะ ละโมบไม่สมำ่ เสมอ ๒. ธมั มานสุ สติ ระลกึ ถึงคณุ ของพระ ๒. โทสะ รา้ ยกาจ ธรรม ๓. โกธะ โกรธ ๓. สังฆานุสสติ ระลกึ ถึงคุณของพระสงฆ์ ๔. อุปนาหะ ผกู โกรธไว้ ๔. สลี านสุ สติ ระลกึ ถึงศลี ของตน ๕. มกั ขะ ลบหลคู่ ณุ ท่าน ๕. จาคานุสสติ ระลึกถงึ ทานทีต่ นบรจิ าค ๖. ปลาสะ ตเี สมอ คือยกตัว แลว้ ๗. อิสสา ริษยา คือเหน็ เขาได้ดี ทนอยู่ ๖. เทวตานุสสติ ระลึกถงึ คุณทที่ ำบคุ คล ไมไ่ ด้ ให้เป็นเทวดา ๘. มัจฉริยะ ตระหน่ี ๙. มายา มารยา คอื เจ้าเล่ห์ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา. ๑๐. สาเถยยะ โออ้ วด ๑๑. ถมั ภะ หวั ดอื้ ๑๒. สารมั ภะ แข่งดี
๑๙ ๑๓. มานะ ถอื ตวั อบายมขุ คือ เหตเุ ครอ่ื งฉบิ หาย ๔ อย่าง ๑๔. อตมิ านะ ดูหม่นิ ทา่ น ๑. ความเป็นนักเลงหญิง ๑๕. มทะ มัวเมา ๒. ความเป็นนกั เลงสรุ า ๑๖. ปมาทะ เลินเล่อ ๓. ความเปน็ นักเลงเลน่ การพนนั โพธิปกั ขิยธรรม ๑๗ ประการ ๔. ความคบคนช่ัวเป็นมิตร สติปัฏฐาน สมั มปั ปธาน ๔ โทษ ๔ ประการน้ีไม่ควรประกอบ อิทธบิ าท ๔ อนิ ทรีย์ ๕ ทฏิ ฐธมั มิกัตถประโยชน์ คอื ประโยชน์ใน พละ ๕ พชฌงค์ ๗ ปัจจบุ ัน ๔ อย่าง มรรคมีองค์ ๘ ๑. อุฏฐานสมั ปทา ถึงพรอ้ มดว้ ยความ หมน่ั ในการประกอบกจิ เคร่ืองเลีย้ งชวี ติ กด็ ี คิหปิ ฏบิ ัติ (น.ธ.ตร)ี ในการศึกษาเลา่ เรยี นกด็ ี ในการทำธรุ ะ หนา้ ทขี่ องตนกด็ ี หมวด ๔ ๒. อารกั ขสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยการ รักษา คือรักษาทรัพย์ทแี่ สวงหามาไดด้ ว้ ย กรรมกเิ ลส คอื กรรมเครื่องเศร้าหมอง ๔ ความหม่นั ไม่ใหเ้ ปน็ อันตรายกด็ ี อยา่ ง รักษาการงานของตวั ไมใ่ หเ้ สื่อมเสียไปก็ดี ๑. ปาณาติบาต ทำชีวิตสตั วใ์ ห้ตกลว่ ง ๓. กลั ยาณมติ ตตา ความมีเพ่ือนเปน็ คนดี ๒. อทนิ นาทาน ถือเอาสง่ิ ของทเี่ จา้ ของ ไมค่ บคนช่ัว ไมไ่ ด้ให้ ด้วยอาการแห่งขโมย ๔. สมชวี ิตา ความเลีย้ งชีวติ ตามสมควร ๓. กาเมสุ มิจฉาจาร ประพฤติผดิ ในกาม แกก่ ำลังทรัพย์ทหี่ าได้ ไมใ่ หฝ้ ืดเคืองนัก ๔. มสุ าวาท พดู เทจ็ ไมใ่ ห้ฟูมฟายนกั กรรม ๔ อย่างนี้ นกั ปราชญไ์ ม่สรรเสริญ สมั ปรายกิ ตั ถประโยชน์ คือ ประโยชน์ เลย ภายหน้า ๔ อยา่ ง พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๒๐ ๑. สทั ธาสมั ปทา ถึงพรอ้ มด้วยศรัทธา คอื ๒. คนดีแต่พดู มีลักษณะ ๔ เช่อื ส่ิงทค่ี วรเชือ่ เชน่ เชื่อวา่ ทำดีไดด้ ี ทำ ๑. เกบ็ เอาของล่วงแล้วมาปราศรยั ชั่วได้ช่ัวเป็นตน้ ๒. อ้างเอาของทยี่ ังไมม่ มี าปราศรัย ๒. สลี สมั ปทา ถึงพร้อมด้วยศีล คอื รกั ษา ๓. สงเคราะห์ดว้ ยสงิ่ หาประโยชน์มิได้ กายวาจาเรียบร้อยดี ไมม่ โี ทษ ๔. ออกปากพ่ึงมิได้ ๓. จาคสมั ปทา ถงึ พร้อมดว้ ยการบรจิ าค ๓. คนหัวประจบ มลี ักษณะ ๔ ทาน เป็นการเฉล่ียสุขให้แกผ่ ู้อนื่ ๑. จะทำชวั่ ก็คลอ้ ยตาม ๔. ปญั ญาสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยปัญญา รู ๒. จะทำดีกค็ ล้อยตาม จกั บาป บุญ คณุ โทษ ประโยชน์ มิใช่ ๓. ต่อหนา้ วา่ สรรเสริญ ประโยชน์ เป็นตน้ ๔. ลับหลังตั้งนินทา มิตตปฏริ ูป คอื คนเทียมมิตร ๔ จำพวก ๑. คนปอกลอก ๔. คนชกั นำในทางฉบิ หาย มีลักษณะ ๔ ๒. คนดีแตพ่ ดู ๑. ชกั ชวนดมื่ น้ำเมา ๓. คนหัวประจบ ๒. ชักชวนเท่ียวกลางคืน ๔. คนชักชวนในทางฉิบหาย ๓. ชักชวนให้มวั เมาในการเล่น คน ๔ จำพวกนี้ ไม่ใชม่ ิตร เป็นแต่คน ๔. ชักชวนเล่นการพนัน เทียมมติ ร ไม่ควรคบ มิตรแท้ ๔ จำพวก ๑. คนปอกลอก มลี กั ษณะ ๔ ๑. มติ รมีอุปการะ ๑. คดิ เอาแต่ไดฝ้ า่ ยเดยี ว ๒. มติ รรว่ มทุกข์ร่วมสขุ ๒. เสียใหน้ อ้ ยคิดเอาให้ได้มาก ๓. มิตรแนะนำประโยชน์ ๓. เมื่อมภี ัยแกต่ ัว จึงรบั เอากิจของเพือ่ น ๔. มติ รมีความรักใคร่ ๔. คบเพื่อนเพราะเหน็ แกป่ ระโยชน์ของ มติ ร ๔ จำพวกน้เี ปน็ มติ รแท้ ควรคบ ตวั ๑. มติ รมีอุปการะ มลี กั ษณะ ๔ ๑. ปอ้ งกันเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๒๑ ๒. ป้องกนั ทรพั ย์สมบตั ิของเพ่ือนผู้ สังคหวัตถุ ๔ อยา่ ง ประมาทแลว้ ๑. ทาน ใหป้ นั สง่ิ ของ ๆ ตนแก่ผู้อืน่ ท่ีควร ๓. เมื่อมภี ยั เป็นที่พ่งึ พำนักได้ ใหป้ ัน ๔. เมื่อมธี ุระ ช่วยออกทรัพย์ใหเ้ กินกว่าที่ ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาทอี่ อ่ นหวาน ออกปาก ๓. อัตถจรยิ า ประพฤติสงิ่ ท่เี ปน็ ประโยชน์ ๒. มิตรรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ มีลกั ษณะ ๔ แก่ผูอ้ ืน่ ๑. ขยายความลบั ของตนแก่เพอ่ื น ๔. สมานัตตตา ความเปน็ คนมตี นเสมอไม่ ๒. ปิดความลบั ของเพอื่ นไม่ให้แพร่งพราย ถือตวั ๓. ไมล่ ะท้ิงในยามวิบตั ิ คุณทัง้ ๔ อย่างน้ี เปน็ เคร่ืองยึดเหนีย่ วของ ๔. แม้ชีวติ กอ็ าจสละแทนได้ ผอู้ ่นื ไวไ้ ด้ ๓. มติ รแนะนำประโยชน์ มลี กั ษณะ ๔ สุขของคฤหัสถ์ ๔ อยา่ ง ๑. ห้ามไม่ใหท้ ำความชัว่ ๑. สขุ เกิดแตค่ วามมีทรัพย์ ๒. แนะนำให้ต้งั อยู่ในความดี ๒. สุขเกิดแต่การจา่ ยทรัพย์บริโภค ๓. ใหฟ้ ังสิ่งทย่ี ังไม่เคยฟัง ๓. สขุ เกดิ แตค่ วามไม่ตอ้ งเป็นหนี้ ๔. บอกทางสวรรคใ์ ห้ ๔. สขุ เกดิ แต่ประกอบการงานที่ ๔. มิตรมีความรกั ใคร่ มลี ักษณะ ๔ ปราศจากโทษ ๑. ทกุ ข์ ๆ ดว้ ย ความปรารถนาของบคุ คลในโลกทไ่ี ด้ ๒. สขุ ๆ ดว้ ย สมหมายด้วยยาก ๔ อยา่ ง ๓. โตเ้ ถียงคนอืน่ ท่ตี เิ ตยี นเพ่ือน ๑. ขอสมบัติจงเกิดแกเ่ ราโดยทางชอบ ๔. รบั รองคนทีพ่ ูดสรรเสรญิ เพื่อน ๒. ขอยศจงเกิดแก่เรากับญาติพวกพอ้ ง ๓. ขอเราจงรกั ษาอายใุ หย้ นื นาน ๔. เม่ือส้นิ ชีวิตแลว้ ขอเราจงไปบังเกดิ ใน สวรรค์ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๒๒ ธรรมเปน็ เหตใุ ห้สมหมายมีอยู่ ๔ อยา่ ง หมวด ๕ ๑. สัทธาสัมปทา ถงึ พร้อมดว้ ยศรัทธา ๒. สลี สัมปทา ถึงพร้อมดว้ ยศลี ประโยชน์เกดิ แตก่ ารถอื โภคทรพั ย์ ๕ ๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยบรจิ าคทาน อยา่ ง ๔. ปญั ญาสมั ปทา ถงึ พร้อมด้วยปัญญา แสวงหาโภคทรัพย์ได้ในทางทีช่ อบแล้ว ตระกลู อันมั่นคงจะต้งั อยนู่ านไมไ่ ดเ้ พราะ ๑. เลยี้ งตัว มารดา บิดา บตุ ร ภรรยา สถาน ๔ บา่ วไพร่ ให้เปน็ สขุ ๑. ไมแ่ สวงหาพัสดุท่ีหายแล้ว ๒. เลยี้ งเพือ่ นฝูงให้เปน็ สุข ๒. ไม่บูรณะพัสดุที่ครำ่ คร่า ๓. บำบดั อนั ตรายทเ่ี กิดแต่เหตตุ ่างๆ ๓. ไม่รู้จักประมาณในการบรโิ ภคสมบัติ ๔. ทำพลี ๕ อย่าง คอื ๔. ตงั้ สตรีใหบ้ ุรษุ ทศุ ลี ใหเ้ ป็นแมเ่ รือนพอ่ ก. ญาตพิ ลี สงเคราะห์ญาติ เรอื น ข. อตถิ พิ ลี ตอ้ นรับแขก ผู้หวังจะดำรงตระกูลควรเว้นสถาน ๔ ค. ปุพพเปตพลี ทำบุญอุทิศให้ผตู้ าย ประการนีเ้ สีย ง. ราชพลี ถวายเปน็ หลวง มภี าษีอากร ธรรมของฆราวาส ๔ เป็นต้น ๑. สัจจะ สตั ย์ซือ่ แก่กนั จ. เทวตาพลี ทำบุญอทุ ศิ ให้เทวดา ๒. ทมะ รู้จักขม่ จิตของตน ๓. ขนั ติ อดทน ศลี ๕ ๔. จาคะ สละให้ปนั ส่งิ ของของตนแก่ ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เวน้ จากทำชีวิต ผู้อ่นื ทีค่ วรใหป้ ัน สัตว์ให้ตกล่วงไป ๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอา สิ่งของทเ่ี จา้ ของไม่ได้ให้ ด้วยอาการแหง่ ขโมย พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๓. กาเมสุ มจิ ฉาจารา เวรมณี เวน้ จาก ๒๓ ประพฤตผิ ิดในกาม ๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพดู เทจ็ ๕. บำเพญ็ บญุ แต่ในพทุ ธศาสนา ๕. สุราเมรยมชั ชปมาทฏั ฐานา เวรมณี อบุ าสกพงึ่ ตัง้ อยู่ในสมบตั ิ ๕ ประการ และ เว้นจากด่มื นำ้ เมา คอื สุราเมรยั อันเปน็ เว้นจากสมบัติ ๕ ประการ ซ่งึ วปิ ริตจาก ทต่ี ั้งแหง่ ความประมาท สมบัตนิ ้ัน ศีล ๕ ประการนี้ คฤหัสถ์ควรรกั ษาเป็น นติ ย์ หมวด ๖ มิจฉาวณชิ ชา คือการค้าขายไม่ชอบ ธรรม ๕ อยา่ ง ๑. ปุรัตถิมทิส คือทิศเบ้ืองหน้า มารดา ๑. ค้าขายเครอื่ งประหาร บิดา ๒. คา้ ขายมนษุ ย์ ๒. ทักขิณทสิ คือทิศเบอ้ื งขวา อาจารย์ ๓. คา้ ขายสตั ว์เป็น สำหรับฆ่าเพอื่ เป็น ๓. ปัจฉมิ ทิส คือทิศเบ้อื งหลัง บุตร ภรรยา อาหาร ๔. อุตตรทสิ คือทิศเบ้ืองซ้าย มติ ร ๔. ค้าขายน้ำเมา ๕. เหฏฐิมทิส คือทศิ เบอื้ งต่ำ บ่าว ๕. คา้ ขายยาพษิ ๖. อุปริมทสิ คือทิศเบื้องบน สมณ การคา้ ขาย ๕ อย่างน้ี เป็นข้อห้ามอบุ าสก พราหมณ์ ไมใ่ ห้ประกอบ ๑. ปรุ ตั ถิมทิส คอื ทิศเบ้ืองหนา้ มารดา สมบัติของอุบาสก ๕ ประการ บดิ า บุตรพึงบำรุงดว้ ยสถาน ๕ ๑. ประกอบดว้ ยศรทั ธา ๑. ท่านไดเ้ ลีย้ งมาแลว้ เล้ียงท่านตอบ ๒. มีศลี บรสิ ุทธิ์ ๒. ทำกิจของทา่ น ๓. ไม่ถอื มงคลตื่นขา่ ว คือเชอ่ื กรรม ไม่ ๓. ดำรงวงศส์ กลุ เช่อื มงคล ๔. ประพฤตติ นให้เป็นคนควรรบั ทรัพย์ ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา มรดก ๕. เมื่อทา่ นลว่ งลบั ไปแลว้ ทำบญุ อทุ ิศให้ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ท่าน
มารดาบิดาไดร้ ับบำรุงฉะนแ้ี ล้ว ย่อม ๒๔ อนเุ คราะห์บุตรด้วยสถาน ๕ ๑. หา้ มไมใ่ ห้ทำความช่วั ๑. ด้วยยกย่องนบั ถือวา่ เปน็ ภรรยา ๒. ใหต้ ง้ั อยใู่ นความดี ๒. ดว้ ยไมด่ ูหมน่ิ ๓. ใหศ้ กึ ษาศลิ ปวิทยา ๓. ดว้ ยไมป่ ระพฤตลิ ่วงใจ ๔. หาภรรยาท่ีสมควรให้ ๔. ด้วยมอบความเปน็ ใหญใ่ ห้ ๕. มอบทรพั ยใ์ ห้ในสมัย ๕. ด้วยให้เคร่อื งแตง่ ตัว ๒. ทกั ขิณทสิ คือทศิ เบือ้ งขวา อาจารย์ ภรรยาไดร้ บั บำรงุ ฉะนี้แล้ว ย่อม ศิษย์พึงบำรุงด้วยสถาน ๕ อนเุ คราะหส์ ามีดว้ ยสถาน ๕ ๑. ด้วยลกุ ขน้ึ ยนื รบั ๑. จดั การงานดี ๒. ดว้ ยเขา้ ไปยืนคอยรับใช้ ๒. สงเคราะห์คนขา้ งเคยี งของผัวดี ๓. ด้วยเชือ่ ฟงั ๓. ไมป่ ระพฤติล่วงใจผวั ๔. ด้วยอปุ ัฏฐาก ๔. รักษาทรพั ย์ท่ผี วั หามาได้ไว้ ๕. ดว้ ยศิลปวทิ ยาโดยเคารพ ๕. ขยนั ไมเ่ กียจคร้านในกจิ การท้งั ปวง อาจารย์ได้รบั บำรงุ ฉะนแี้ ล้ว ยอ่ ม อนเุ คราะหศ์ ษิ ย์ดว้ ยสถาน ๕ ๔. อุตตรทสิ คอื ทศิ เบอื้ งซา้ ย มติ ร ๑. แนะนำดี กลุ บตุ รพงึ บำรงุ ดว้ ยสถาน ๕ ๒. ให้เรยี นดี ๑. ดว้ ยใหป้ นั ๓. บอกศลิ ปให้ส้นิ เชงิ ไม่ปิดบังอำพราง ๒. ดว้ ยเจรจาถอ้ ยคำไพเราะ ๔. ยกยอ่ งใหป้ รากฏในเพ่ือนฝูง ๓. ด้วยประพฤตปิ ระโยชน์ ๕. ทำความป้องกันในทิศท้ังหลาย (คอื จะ ๔. ดว้ ยความเป็นผมู้ ตี นเสมอ ไปทิศไหนก็ไม่อดอยาก) ๕. ดว้ ยไม่แกล้งกล่าวให้คลาดจากความ ๓. ปัจฉมิ ทสิ คือทิศเบื้องหลัง ภรรยา เปน็ จรงิ สามีพงึ บำรงุ ดว้ ยสถาน ๕ มติ รไดร้ บั บำรงุ ฉะน้ีแลว้ ยอ่ มอนุเคราะห์ กุลบตุ รด้วยสถาน ๕ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา. ๑. รักษามิตรผปู้ ระมาทแลว้
๒. รกั ษาทรพั ยข์ องมติ รผู้ประมาทแลว้ ๒๕ ๓. เม่ือมีภัยเอาเป็นท่พี ่งึ พำนักได้ ๔. ไมล่ ะทิ้งในยามวบิ ตั ิ ๑. ดว้ ยกายกรรม คือทำอะไรๆ ๕. นับถือตลอดถึงวงศ์มิตร ประกอบด้วยเมตตา ๕. เหฏฐมิ ทิส คือทิศเบื้องตำ่ บ่าว นาย ๒. ดว้ ยวจกี รรม คอื พูดอะไรๆ พึงบำรงุ ด้วยสถาน ๕ ประกอบด้วยเมตตา ๑. ด้วยจดั การงานให้ทำตามสมควรแก่ ๓. ด้วยมโนกรรม คือคดิ อะไรๆ กำลงั ประกอบด้วยเมตตา ๒. ดว้ ยให้อาหารและรางวัล ๔. ดว้ ยความเปน็ ผู้ไม่ปิดประตู คอื มิได้ ๓. ด้วยรักษาพยาบาลในเวลาเจบ็ ป่วย ห้ามเขา้ บา้ นเรือน ๔. ด้วยแจกของมีรสแปลกประหลาดให้ ๕. ด้วยให้อามสิ ทาน กนิ สมณพราหมณ์ไดร้ บั บำรงุ ฉะนแ้ี ล้ว ยอ่ ม ๕. ดว้ ยปล่อยให้สมัย อนุเคราะห์กลุ บุตรด้วยสถาน ๖ ๑. ห้ามไมใ่ หก้ ระทำความชัว่ บ่าวไดร้ ับบำรงุ ฉะนี้แลว้ ย่อมอนเุ คราะห์ ๒. ให้ต้ังอยใู่ นความดี นายด้วยสถาน ๕ ๓. อนุเคราะห์ด้วยน้ำใจอนั งาม ๑. ลกุ ขนึ้ ทำการงานกอ่ นนาย ๔. ให้ไดฟ้ ังส่งิ ที่ยังไมเ่ คยฟัง ๒. เลกิ การงานทีหลังนาย ๕. ทำสิ่งท่เี คยฟังแลว้ ให้แจม่ ๓. ถอื เอาแต่ของทนี่ ายให้ ๖. บอกทางสวรรคใ์ ห้ ๔. ทำการงานให้ดีขึ้น อบายมุข คอื เหตเุ คร่ืองฉบิ หาย ๖ ๕. นำคุณของนายไปสรรเสริญในที่นั้นๆ ๑. ดืม่ น้ำเมา ๖. อปุ ริมทสิ คือทศิ เบื้องบน สมณ ๒. เท่ยี วกลางคืน พราหมณ์ กุลบุตรพึงบำรุงด้วยสถาน ๕ ๓. เท่ยี วดกู ารเล่น ๔. เล่นการพนนั พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา. ๕. คบคนชัว่ เปน็ มติ ร ๖. เกยี จคร้านทำการงาน
๑. ดืม่ น้ำเมา มโี ทษ ๖ ๒๖ ๑. เสยี ทรพั ย์ ๒. ก่อการทะเลาะววิ าท ๔. เล่นการพนัน มโี ทษ ๖ ๓. เกดิ โรค ๑. เมือ่ ชนะยอ่ มก่อเวร ๔. ตอ้ งตเิ ตยี น ๒. เมอื่ แพย้ ่อมเสียดายทรพั ย์ทเี่ สยี ไป ๕. ไม่รู้จกั อาย ๓. ทรพั ยย์ อ่ มฉบิ หาย ๖. ทอนกำลงั ปัญญา ๔. ไมม่ ใี ครเชื่อถอื ถอ้ ยคำ ๒. เที่ยวกลางคนื มโี ทษ ๖ ๕. เป็นทีห่ ม่ินประมาทของเพื่อน ๑. ชอื่ ว่าไมร่ กั ษาตวั ๖. ไมม่ ใี ครประสงค์จะแต่งงานดว้ ย ๒. ชื่อวา่ ไม่รักษาลูกเมยี ๕. คบคนชัว่ เป็นมิตร มโี ทษตาม ๓. ชอ่ื ว่าไม่รกั ษาทรัพย์สมบตั ิ บคุ คลทค่ี บ ๖ ๔. เปน็ ท่รี ะแวงของคนทั้งหลาย ๑. นำให้เป็นนักเลงการพนนั ๕. มักถูกใส่ความ ๒. นำใหเ้ ป็นนกั เลงเจ้าชู้ ๖. ไดค้ วามลำบากมาก ๓. นำให้เปน็ นักเลงเหล้า ๓. เที่ยวดกู ารเลน่ มีโทษตามวตั ถุทีไ่ ปดู ๔. นำใหเ้ ป็นคนลวงเขาดว้ ยของปลอม ๖ ๕. นำให้เป็นคนลวงเขาซงึ่ หน้า ๑. รำท่ีไหนไปทนี่ ั่น ๖. นำใหเ้ ป็นคนหวั ไม้ ๒. ขบั ร้องทไี่ หนไปท่นี ัน่ ๖. เกียจคร้านการทำงาน มโี ทษ ๖ ๓. ดีดสตี เี ปา่ ที่ไหนไปทีน่ น่ั ๑. มกั อา้ งวา่ หนาวนกั แล้วไมท่ ำการงาน ๔. เสภาท่ีไหนไปท่ีนั่น ๒. มกั อา้ งว่า รอ้ นนัก แล้วไม่ทำการงาน ๕. เพลงที่ไหนไปท่ีน่นั ๓. มกั อา้ งว่า เวลาเย็นแล้ว แล้วไมท่ ำการ ๖. เถดิ เทิงท่ไี หนไปที่นั่น งาน ๔. มกั อ้างว่า ยงั เช้าอยู่ แลว้ ไม่ทำการงาน พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ๕. มักอา้ งว่า หิวนกั แลว้ ไม่ทำการงาน ๖. มักอ้างวา่ ระหายนัก แล้วไม่ทำการ งาน
ผู้หวงั ความเจริญดว้ ยโภคทรพั ย์ พึงเวน้ ๒๗ เหตุเครื่องฉิบหาย ๖ ประการน้เี สีย ปาราชิก ๑ สังฆาทิเสส ๑ ถุลลจั จัย ๑ วินยั บญั ญัติ (น.ธ.ตร)ี ปาจติ ตยี ์ ๑ ปาฏิเทสนียะ ๑ ทกุ กฎ ๑ ทพุ ภาสิต ๑. อนศุ าสน์ ๘ อย่าง ปาราชกิ น้ัน ภิกษุต้องเข้าแล้วขาดจาก นิสสัย ๔ อกรณยี กิจ ๔ ภิกษุ ปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต เรียก สังฆาทิเสสนน้ั ต้องเข้าแลว้ ต้องอยู่กรรม นิสสัย มี ๔ อยา่ ง จงึ พ้นได้ คือ เที่ยวบิณฑบาต ๑ นงุ่ หม่ ผ้าบังสกุ ลุ ๑ อาบตั ิอกี ๕ อย่างน้ัน ภกิ ษตุ ้องเขา้ แล้ว อยู่โคนไม้ ๑ ฉันยาดองดว้ ยน้ำมตู รเน่า ๑. ต้องแสดงต่อหนา้ สงฆห์ รอื คณะหรือภกิ ษุ กจิ ที่ไมค่ วรทำ เรยี กอกรณยี กจิ มี ๔ รูปใดรูปหนง่ึ จงึ พน้ ได้ อย่าง อาการท่ภี กิ ษจุ ะต้องอาบตั เิ หล่านี้ ๖ คือ เสพเมถนุ ๑ ลกั ของเขา ๑ ฆา่ สตั ว์ ๑ อย่าง คือ พดู อวดคณุ พเิ ศษที่ไมม่ ใี นตน ๑ กิจ ๔ ตอ้ งด้วยไมล่ ะอาย ๑ อยา่ งน้ี บรรพชิตทำไม่ได.้ ต้องดว้ ยไม่รูว้ ่าส่งิ นจี้ ะเป็นอาบัติ ๑ สิกขาของภิกษุมี ๓ อยา่ งคอื ตอ้ งดว้ ยสงสยั แล้วขนื ทำลง ๑ ศีล สมาธิ ปญั ญา ต้องดว้ ยสำคัญว่าควรในของที่ไม่ควร ๑ ความสำรวมกายวาจาใหเ้ รียบร้อย ชอ่ื วา่ ต้องด้วยสำคัญว่าไมค่ วรในของที่ควร ๑ ศีล ต้องด้วยลืมสติ ๑ ความรักษาใจมน่ั ชือ่ วา่ สมาธิ ข้อที่พระพทุ ธเจ้าห้าม ซึ่งยกข้นึ เป็น ความรอบรใู้ นกองสังขาร ชื่อว่าปัญญา. สิกขาบท โทษท่เี กิดเพราะความละเมิดในข้อท่ี ทม่ี าในพระปาติโมกข์ ๑ พระพทุ ธเจา้ หา้ มเรียกวา่ อาบตั ิ ไมไ่ ดม้ าในพระปาติโมกข์ ๑ อาบัตินัน้ วา่ โดยชือ่ มี ๗ อย่าง คือ สกิ ขาบทท่มี าในพระปาตโิ มกข์นั้น คือ ปาราชกิ ๔ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
สังฆาทิเสส ๑๓ ๒๘ อนิยต ๒ นิสสัคคิยปาจิตตยี ์ ๓๐ ๔. ภกิ ษุมีความกำหนัดอยู่ พูดล่อให้หญงิ ปาจิตตีย์ ๙๒ บำเรอตนดว้ ยกาม ตอ้ งสังฆาทิเสส. ปาฏเิ ทสนยี ะ ๔ ๕. ภิกษชุ กั สื่อให้ชายหญิงเปน็ ผวั เมียกนั เสขยิ ะ ๗๕ ตอ้ งสังฆาทเิ สส. รวมเป็น ๒๒๐ ๖. ภกิ ษุสร้างกฎุ ีท่ตี ้องก่อและโบกด้วยปูน นับทงั้ อธกิ รณสมถะดว้ ยเป็น ๒๒๗. หรอื ดิน ซึง่ ไม่มีใครเป็นเจา้ ของ จำเพาะ ปาราชิก ๔ เป็นท่ีอยู่ของตน ต้องทำใหไ้ ด้ประมาณ ๑. ภกิ ษุเสพเมถุน ต้องปาราชิก โดยยาวเพยี ง ๑๒ คบื พระสุคต โดยกวา้ ง ๒. ภกิ ษุถอื เอาของทเ่ี จ้าของไม่ไดใ้ ห้ ได้ เพยี ง ๗ คืบ วัดในรว่ มใน และตอ้ งใหส้ งฆ์ ราคา ๕ มาสก ตอ้ งปาราชิก. แสดงทใ่ี หก้ ่อน ถ้าไม่ใหส้ งฆแ์ สดงทใี่ หก้ ็ดี ๓. ภิกษแุ กล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย ตอ้ ง ทำใหเ้ กินประมาณกด็ ี ต้องสังฆาทเิ สส ปาราชกิ . ๗. ถา้ ทอี่ ยู่ซึง่ จะสร้างขึน้ นนั้ มที ายกเป็น ๔. ภิกษุอวดอุตตริมนสุ สธรรม (คือธรรม เจา้ ของ ทำให้เกินประมาณนั้นได้ แต่ต้อง อันย่ิงของมนุษย)์ ที่ไม่มีในตน ต้อง ใหส้ งฆแ์ สดงท่ีใหก้ ่อน ถา้ ไม่ให้สงฆ์แสดงท่ี ปาราชิก. ใหก้ ่อน ต้องสังฆาทเิ สส สงั ฆาทิเสส ๑๓ ๘. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภกิ ษุอน่ื ดว้ ย ๑.ภิกษแุ กลง้ ทำใหน้ ้ำอสจุ ิเคลื่อน ต้อง อาบตั ิปาราชกิ ไม่มีมลู สงั ฆาทิเสส. ๙. ภิกษุโกรธเคอื ง แกล้งหาเลสโจทภกิ ษุ ๒. ภกิ ษุมคี วามกำหนดอยู่ จับตอ้ งกาย อนื่ ดว้ ยอาบตั ปิ าราชกิ ตอ้ งสังฆาทเิ สส. หญงิ ต้องสงั ฆาทเิ สส. ๑๐. ภกิ ษพุ ากเพยี รเพ่ือจะทำลายสงฆ์ให้ ๓. ภกิ ษุมีความกำหนดอยู่ พูดเกย้ี วหญิง แตกกัน ภิกษอุ น่ื ห้ามไมฟ่ งั สงฆส์ วดกรรม ตอ้ งสังฆาทเิ สส เพื่อจะให้ละข้อทปี่ ระพฤตนิ ั้น ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทเิ สส พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๒๙ ๑๑. ภิกษปุ ระพฤติตามภิกษผุ ู้ทำลายสงฆ์ นนั้ หรือเขาวา่ จำเพาะธรรมอย่างใด ให้ นน้ั ภิกษอุ ่นื หา้ มไม่ฟงั สงฆส์ วดกรรมเพ่ือ ปรบั อยา่ งนน้ั . จะให้ละข้อที่ประพฤตนิ ้นั ถ้าไม่ละ ตอ้ ง สังฆาทเิ สส. นสิ สคั คยิ ปาจิตตีย์ ๓๐ ๑๒. ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอ่ืนหา้ มไม่ แบ่งเป็น ๓ วรรค มีวรรคละ ๑๐ ฟงั สงฆ์สวดกรรมเพ่ือจะใหล้ ะข้อท่ี สกิ ขาบท ประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละ ต้องสงั ฆาทิเสส. จวี รวรรค ท่ี ๑ ๑๓. ภิกษปุ ระทษุ ร้ายตระกลู คอื ประจบ ๑. ภกิ ษุทรงอตเิ รกจีวรไดเ้ พียร ๑๐ วัน คฤหสั ถ์ สงฆ์ไล่เสียจากวัด กลับวา่ ตเิ ตียน เป็นอยา่ งยง่ิ ถ้าลว่ ง ๑๐ วันไป ตอ้ งนิส สงฆ์ ภกิ ษุอ่นื ห้ามไมฟ่ งั สงฆส์ วดกรรมเพ่ือ สัคคยิ ปาจติ ตยี ์. จะให้ละข้อท่ีประพฤตินั้น ถ้าไมล่ ะ ตอ้ ง ๒. ภิกษอุ ย่ปู ราศจากไตรจวี รแม้คนื หนึ่ง สังฆาทเิ สส. ต้องนสิ สคั คิยปาจติ ตีย์ เว้นไว้แต่ได้สมมต.ิ อนยิ ต ๒ ๓. ถ้าผ้าเกิดข้นึ แกภ่ กิ ษุ ๆ ประสงคจ์ ะทำ ๑. ภิกษนุ ่งั ในทลี่ บั ตากับหญิงสองต่อสอง จวี ร แตย่ ังไม่พอ ถ้ามที ่หี วังวา่ จะได้มาอีก ถา้ มีคนท่ีควรเชอ่ื ได้มาพดู ขนึ้ ด้วยธรรม ๓ พงึ เกบ็ ผ้าน้นั ไวไ้ ดเ้ พียงเดือนหนึ่งเป็นอย่าง อยา่ ง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทเิ สส หรือ ย่งิ ถา้ เก็บไวใ้ ห้เกนิ เดือนหนึง่ ไป แม้ถึงยังมี ปาจติ ตีย์ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ภกิ ษุรับอย่าง ทหี่ วังวา่ จะได้อยู่ ต้องนิสสัคคิยปาจติ ตยี .์ ใด ให้ปรับอยา่ งน้ัน หรือเขาว่าจำเพาะ ๔. ภกิ ษใุ ช้นางภกิ ษุณีท่ีไม่ใช่ญาติ ใหซ้ ักก็ ธรรมอยา่ งใด ให้ปรบั อยา่ งน้นั . ดี ให้ยอ้ มก็ดี ให้ทุบก็ดี ซ่งึ จวี รเกา่ ต้องนิส ๒. ภิกษุน่งั ในที่ลับหกู ับหญงิ สองต่อสอง สคั คยิ ปาจิตตยี .์ ถา้ มีคนทคี่ วรเชอื่ ได้มาพูดขึ้นดว้ ยธรรม ๒ ๕. ภิกษุรับจีวรแต่มอื นางภิกษณุ ีท่ีไม่ใช่ อยา่ ง คือ สงั ฆาทิเสส หรอื ปาจติ ตยี ์ อย่าง ญาติ เว้นไว้แต่แลกเปลย่ี นกัน ต้องนสิ ใดอย่างหนึ่ง ภิกษรุ บั อย่างใด ให้ปรบั อย่าง สัคคิยปาจติ ตยี .์ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๓๐ ๖. ภิกษขุ องจวี รตอ่ คฤหัสถ์ผู้ไม่ใช่ญาติ ทวงว่า เราต้องการจีวร ดังน้ี ได้ ๓ คร้งั ไมใ่ ช่ปวารณา ได้มา ต้องนิสสคั คิย ถ้าไม่ไดจ้ วี ร ไปยนื แต่พอเขาเหน็ ได้ ๖ ครั้ง ปาจิตตยี ์ เวน้ ไว้แตม่ ีสมยั ท่ีจะขอจีวรได้ ถ้าไม่ได้ขนื ไปทวงให้เกนิ ๓ คร้งั ยืนเกนิ ๖ คือ เวลาภิกษมุ ีจีวรอันโจรลกั ไป หรอื มี ครง้ั ได้มา ต้องนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย์. ถ้าไป จวี รอันฉิบหายเสยี . ทวงและยนื ครบกำหนดแลว้ ไม่ได้จีวร ๗.ในสมัยเช่นนั้น จะขอเขาได้กเ็ พียงผา้ นุ่ง จำเป็นต้องไปบอกเจา้ ของเดิมวา่ ของนั้น ผา้ ห่มเทา่ นัน้ ถ้าขอใหเ้ กินกว่าน้ัน ได้มา ไมส่ ำเร็จประโยชนแ์ ก่ตน ใหเ้ ขาเรียกเอา ตอ้ งนสิ สคั คิยปาจติ ตีย์. ของเขาคืนมาเสยี . ๘. ถา้ คฤหสั ถไ์ มใ่ ช่ญาติไมใ่ ชป่ วารณา เขา โกสิยวรรคที่ ๒ พูดวา่ เขาจะถวายจีวรแก่ภิกษุชือ่ นี้ ภิกษุ ๑.ภิกษหุ ล่อสันถตั ดว้ ยขนเจียมเจอื ดว้ ย น้นั ทราบความแลว้ เข้าไปพูดให้เขาถวาย ไหม ต้องนิสสคั คิยปาจติ ตีย.์ จวี ร ๒.ภกิ ษุหล่อสันถตั ด้วยขนเจยี มดำล้วน ๙. ถา้ คฤหสั ถ์ผจู้ ะถวายจวี รแกภ่ ิกษุมี ต้องนิสสคั คยิ ปาจติ ตีย.์ หลายคน แตเ่ ขาไมใ่ ชญ่ าติไม่ใชป่ วารณา ๓.ภิกษุจะหล่อสันถัตใหม่ พงึ ใช้ขนเจยี ม ภกิ ษุไปพดู ใหเ้ ขารวมทุนเข้าเปน็ อัน ดำ ๒ สว่ น ขนเจยี มขาวส่วนหนงึ่ ขนเจียม เดยี วกัน ให้ซือ้ จีวรท่แี พงวา่ ดีกว่าทกี่ ำหนด แดงสว่ นหนึ่ง ถ้าใช้ขนเจียมดำเกิน ๒ สว่ น ไวเ้ ดิม ได้มา ต้องนิสสัคคยิ ปาจิตตีย์. ขึ้นไป ต้องนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย์. ๑๐. ถา้ ใคร ๆ นำทรัพยม์ าเพื่อคา่ จีวรแล้ว ๔.ภิกษหุ ล่อสนั ถตั ใหม่แล้ว พงึ ใช้ใหไ้ ด้ ๖ ถามภกิ ษวุ า่ ใครเป็นไวยาวัจกรของเธอ ถา้ ปี ถา้ ยังไม่ถึง ๖ ปี หลอ่ ใหม่ ต้องนิสสัคคยิ ภกิ ษตุ ้องการจีวร กพ็ ึงแสดงคนวดั หรือ ปาจติ ตยี ์. เวน้ ไวแ้ ต่ได้สมมติ. อบุ าสกว่า ผ้นู ี้เปน็ ไวยาวจั กรของภิกษุ ๕.ภิกษุจะหล่อสนั ถัต พึงตัดเอาสันถัตเกา่ ทง้ั หลาย ครัน้ เขามอบหมายไวยาวัจกรน้นั คืบหน่ึงโดยรอบมา ปนลงในสนั ถตั ทห่ี ล่อ แล้ว สงั่ ภิกษวุ ่า ถ้าต้องการจวี ร ใหเ้ ขา้ ไป ใหม่ เพื่อจะทำลายใหเ้ สยี สี ถ้าไม่ทำดงั นี้ หาไวยาวจั กร ภิกษุน้นั พึงเขา้ ไปหาเขาแล้ว ต้องนสิ สัคคยิ ปาจิตตยี ์. พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๖.เมือ่ ภิกษุเดินทางไกล ถา้ มีใครถวายขน ๓๑ เจียม ตอ้ งการกร็ บั ได้ ถ้าไมม่ ีใครนำมา นำมาเองไดเ้ พยี ง ๓ โยชน์ ถา้ ใหเ้ กนิ ๓ ๓.ภกิ ษุรบั ประเคนเภสัชทง้ั ๕ คอื เนยใส โยชนไ์ ป ต้องนสิ สคั คิยปาจิตตีย์. เนยขน้ นำ้ มัน น้ำผงึ้ นำ้ อ้อย แล้วเก็บไว้ ๗.ภิกษุใช้นางภกิ ษุณีที่ไม่ใชญ่ าติ ให้ซักก็ดี ฉันไดเ้ พยี ง ๗ วันเป็นอย่างย่งิ ถา้ ให้ล่วง ๗ ให้ยอ้ มกด็ ี ใหส้ างก็ดี ซึ่งขนเจียม ตอ้ งนสิ วนั ไป ต้องนิสสัคคิยปาจติ ตีย.์ สัคคิยปาจิตตยี ์. ๔.เมื่อฤดรู ้อนยงั เหลอื อย่อู ีกเดอื นหนง่ึ คือ ๘.ภกิ ษุรบั เองกด็ ี ใช้ให้ผอู้ นื่ รับก็ดี ซ่งึ ทอง ตงั้ แต่แรมคำ่ หนึ่งเดือน ๗ จงึ แสวงหาผา้ และเงนิ หรอื ยนิ ดี ทองและเงินทเ่ี ขาเก็บ อาบน้ำฝนได้ เมื่อฤดรู อ้ นเหลืออยู่อีกก่ึง ไวเ้ พ่อื ตน ตอ้ งนสิ สคั คิยปาจติ ตยี ์. เดอื น คือตั้งแต่ข้นึ คำ่ หนึ่งเดอื น ๘ จงึ ทำ ๙.ภกิ ษุทำการซื้อขายด้วยรปู ิยะ คือของท่ี น่งุ ได้ ถา้ แสวงหาหรือทำน่งุ ให้ล้ำกว่า เขาใช้เป็นทองและเงิน ต้องนิสสัคคยิ กำหนดน้ันเข้ามา ต้องนสิ สัคคิยปาจติ ตยี ์. ปาจติ ตยี ์. ๕.ภิกษุให้จวี รแก่ภกิ ษุอนื่ แล้ว โกรธ ชงิ เอา ๑๐.ภิกษุแลกเปลยี่ นสิ่งของกับคฤหสั ถ์ คนื มาเองก็ดี ใช้ใหผ้ ู้อน่ื ชิงเอามากด็ ี ต้อง ตอ้ งนสิ สคั คิยปาจิตตยี ์. นิสสคั คยิ ปาจิตตยี ์. ปัตตวรรคที่ ๓ ๖.ภกิ ษุขอด้ายแต่คฤหัสถท์ ี่ไม่ใชญ่ าติไม่ใช่ ๑.บาตรนอกจากบาตรอธิษฐานเรียก ปวารณา เอามาให้ช่างหกู ทอเปน็ จีวร ต้อง อติเรกบาตร อติเรกบาตรนัน้ ภกิ ษเุ กบ็ ไว้ นสิ สัคคิยปาจติ ตีย์. ไดเ้ พียง ๑๐ วันเปน็ อยา่ งยงิ่ ถ้าใหล้ ว่ ง ๗.ถา้ คฤหัสถท์ ่ีไมใ่ ชญ่ าตไิ ม่ใชป่ วารณา สัง่ ๑๐ วนั ไป ตอ้ งนสิ สัคคยิ ปาจติ ตยี ์. ใหช้ า่ งหกู ทอจวี ร เพ่ือจะถวายแก่ภิกษุ ถ้า ๒.ภกิ ษุมีบาตรรา้ วยังไม่ถึง ๑๐ น้ิว ขอ ภิกษไุ ปกำหนดใหเ้ ขาทำให้ดีขึ้นดว้ ยจะให้ บาตรใหม่แต่คฤหัสถ์ ท่ีไม่ใช่ญาติไม่ใช่ รางวลั แกเ่ ขา ต้องนิสสคั คยิ ปาจิตตีย.์ ปวารณา ได้มา ต้องนิสสัคคยิ ปาจิตตยี ์. ๘.ถ้าอีก ๑๐ วันจะถงึ วันปวารณา คอื ตั้งแตข่ ้ึน ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ถา้ ทายกรบี จะ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ถวายผ้าจำนำพรรษา ก็รบั เก็บไวไ้ ด้ แต่ถา้ เก็บไว้เกินกาลจวี รไป ต้องนสิ สคั คิย
ปาจติ ตยี .์ กาลจีวรนนั้ ดงั น้ี ถ้าจำพรรษา ๓๒ แลว้ ไมไ่ ด้กรานกฐนิ นบั แตว่ ันปวารณาไป เดือนหนึง่ คือตงั้ แต่แรมค่ำหนึ่งเดือน ๑๑ ๖.ภกิ ษนุ อนในท่ีมุงทีบ่ งั อนั เดียวกบั ผู้หญงิ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถา้ ได้กรานกฐินนบั แต่ แม้ในคนื แรก ต้องปาจิตตีย์. วนั ปวารณาไป ๕ เดือน คือตั้งแต่แรมค่ำ ๗.ภิกษุแสดงธรรมแกผ่ ้หู ญิง เกินกวา่ ๖ หนง่ึ เดอื น ๑๑ ถึงกลางเดือน ๔. คำขน้ึ ไป ต้องปาจิตตยี .์ [๑] ๙.ภิกษจุ ำพรรษาในเสนาสนะป่าซึ่งเป็นท่ี ๘.ภิกษบุ อกอุตตริมนสุ สธรรมทม่ี ีจรงิ แก่ เปลยี่ ว ออกพรรษา แล้ว อยากจะเก็บไตร อนุปสัมบัน ต้องปาจติ ตีย์. จีวรผนื ใดผืนหนง่ึ ไว้ในบ้าน เม่ือมีเหตุก็ ๙.ภกิ ษุบอกอาบัติช่วั หยาบของภิกษอุ ืน่ แก่ เก็บไวไ้ ด้เพยี ง ๖ คนื เปน็ อย่างยง่ิ ถา้ เกบ็ อนุปสมั บัน ตอ้ งปาจิตตยี .์ [๒] ไว้ให้เกิน ๖ คนื ไป ต้องนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย์. ๑๐.ภิกษขุ ุดเองกด็ ี ใชใ้ หผ้ อู้ นื่ ขดุ ก็ดี ซึ่ง เว้นไว้แต่ไดส้ มมต.ิ แผ่นดนิ ต้องปาจติ ตีย์ ๑๐.ภกิ ษรุ อู้ ยู่ นอ้ มลาภทเ่ี ขาจะถวายสงฆ์ *****๑. เว้นไว้แตม่ บี ุรษุ ผู้รเู้ ดียงสาอยู่ดว้ ย มาเพื่อตน ต้องนสิ สคั คยิ ปาจิตตยี ์ ปาจติ ตีย์ ๙๒ สิกขาบท ๒.เว้นไวแ้ ต่ได้สมมติ มุสาวาทวรรคที่ ๑ มี ๑๐ สกิ ขาบท ภูตคามวรรคท่ี ๒ มี ๑๐ สิกขาบท ๑.พูดปด ต้องปาจติ ตีย์. ๑.ภกิ ษพุ รากของเขียวเกิดอยู่กับที่ ใหห้ ลดุ ๒.ดา่ ภิกษุ ต้องปาจิตตีย.์ จากท่ี ตอ้ งปาจติ ตีย์. ๓.ส่อเสียดภกิ ษุ ต้องปาจิตตีย์. ๒.ภกิ ษุประพฤติอนาจาร สงฆ์เรียกตวั มา ๔.ภิกษสุ อนธรรมแก่อนุปสัมบัน ถ้าว่า ถาม แกลง้ พูดกลบเกลื่อนก็ดี นิง่ เสยี ไม่พดู พร้อมกัน ตอ้ งปาจิตตีย์. ก็ดี ถ้าสงฆส์ วดประกาศข้อความนั้นจบ ๕.ภิกษุนอนในที่มงุ ที่บังอนั เดียวกนั กบั ต้องปาจติ ตยี ์. อนุปสัมบัน เกิน ๓ คืน ขึน้ ไป ตอ้ ง ๓.ภิกษตุ ิเตยี นภิกษุอืน่ ที่สงฆ์สมมติให้เป็น ปาจิตตยี ์. ผทู้ ำการสงฆ์ ถ้าเธอทำโดยชอบ ติเตียน เปลา่ ๆ ต้องปาจิตตยี .์ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ๔.ภกิ ษเุ อาเตียง ตัง่ ฟูก เก้าอ้ี ของสงฆ์ไป ตง้ั ในท่ีแจ้งแล้ว เม่ือหลกี ไปจากท่นี ั้น ไม่
๓๓ เกบ็ เองก็ดี ไม่ใช่ให้ผูอ้ ื่นเก็บก็ดี ไม่ ๒.แม้ภกิ ษุท่ีสงฆส์ มมตแิ ลว้ ตั้งแตอ่ าทติ ย์ มอบหมายแก่ผู้อ่นื กด็ ี ต้องปาจติ ตีย์. ตกแล้วไป สอนนางภกิ ษุณี ต้องปาจติ ตยี .์ ๕.ภิกษุเอาทน่ี อนของสงฆ์ปนู อนกฎุ สี งฆ์ ๓.ภกิ ษุขา้ ไปสอนนางภิกษุณถี ึงในทอ่ี ยู่ แลว้ เมอ่ื หลีกไปจากที่นน้ั ไม่เกบ็ เองก็ดี ต้องปาจิตตยี .์ เว้นไวแ้ ตน่ างภิกษุณเี จบ็ . ไม่ใชใ่ ห้ผอู้ นื่ เก็บก็ดี ไม่มอบหมายแกผ่ ู้อื่น ๔.ภกิ ษุตเิ ตียนภิกษุอ่ืนว่า สอนนางภิกษุณี ก็ดี ต้องปาจิตตยี .์ เพราะเหน็ แกล่ าภ ต้องปาจติ ตยี .์ ๖.ภกิ ษรุ ู้อยวู่ ่า กฎุ นี มี้ ีผู้อยู่ก่อน แกล้งไป ๕.ภกิ ษุใหจ้ ีวรแกน่ างภิกษุณที ่ีไมใ่ ชญ่ าติ นอนเบยี ด ด้วยหวังจะใหผ้ อู้ ยู่กอ่ นคบแคบ ตอ้ งปาจติ ตยี ์. เวน้ ไว้แตแ่ ลกเปลย่ี นกนั . ใจเข้าก็จะหลีกไปเอง ต้องปาจิตตยี .์ ๖.ภิกษุเยบ็ จีวรของนางภกิ ษุณีท่ไี ม่ใช่ญาติ ๗.ภิกษุโกรธเคอื งภกิ ษุอืน่ ฉุดครา่ ไล่ออก ก็ดี ใช้ให้ผู้อ่ืนเยบ็ กด็ ี ต้องปาจิตตยี ์. จากกฎุ สี งฆ์ ต้องปาจิตตยี ์. ๗.ภิกษชุ วนนางภิกษุณเี ดินทางด้วยกัน แม้ ๘.ภกิ ษุนง่ั ทบั กด็ ี นอนทับก็ดี บนเตียงกด็ ี สิน้ ระยะบา้ นหนง่ึ ต้องปาจิตตีย.์ เวน้ ไว้แต่ บนตงั่ กด็ ี อนั มีเท้าไม่ได้ตรงึ ให้แน่น ซ่ึงเขา ทางเปลย่ี ว. วางไว้บนรา่ งร้านท่ีเขาเก็บของในกฎุ ี ตอ้ ง ๘.ภิกษชุ วนนางภิกษณุ ีลงเรือลำเดียวกัน ปาจติ ตีย.์ ข้นึ น้ำก็ดี ลอ่ งนำ้ ก็ดี ต้องปาจิตตยี ์. เวน้ ไว้ ๙.ภิกษจุ ะเอาดินหรือปูนโบกหลงั คากุฎี แตข่ ้ามฟาก. พงึ โบกได้แต่เพยี ง ๓ ช้นั ถา้ โบกเกินกวา่ ๙.ภกิ ษุรอู้ ยฉู่ นั ของเคยี้ วของฉัน ทีน่ าง น้ัน ต้องปาจติ ตยี .์ ภกิ ษุณีบังคับให้คฤหสั ถ์เขาถวาย ตอ้ ง ๑๐.ภิกษรุ ้อู ยวู่ ่า นำ้ มตี ัวสัตว์ เอารดหญา้ ปาจิตตยี .์ เวน้ ไวแ้ ตค่ ฤหัสถเ์ ขาเริม่ ไว้ก่อน. หรือดนิ ตอ้ งปาจติ ตยี ์ ๑๐.ภกิ ษุนงั่ ก็ดี นอนก็ดี ในท่ีลบั สองต่อ โอวาทวรรคที่ ๓ มี ๑๐ สิกขาบท สอง กับนางภกิ ษุณี ต้องปาจิตตีย์ ๑.ภิกษุทส่ี งฆไ์ ม่ได้สมมติ สง่ั สอนนาง โภชนวรรคที่ ๔ มี ๑๐ สิกขาบท ภิกษุณี ต้องปาจติ ตีย.์ ๑.อาหารในโรงทานทท่ี วั่ ไปไม่นยิ มบคุ คล ภกิ ษุไมเ่ จ็บไข้ ฉนั ไดแ้ ตเ่ ฉเพาะวันเดียว พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๓๔ แล้ว ตอ้ งหยดุ เสียในระหวา่ ง ต่อไปจึงฉัน ๖.ภิกษุรอู้ ยู่วา่ ภิกษุอืน่ หา้ มข้าวแลว้ [ตาม ได้อีก ถ้าฉนั ติด ๆ กันตง้ั แตส่ องวนั ขนึ้ ไป สกิ ขาบทหลัง] คิดจะยกโทษเธอ แกล้งเอา ตอ้ งปาจิตตีย.์ ของเคย้ี วของฉันที่ไม่เปน็ เดนภกิ ษุไข้ ไป ๒.ถา้ ทายกเขามานิมนต์ ออกชื่อโภชนะท้ัง ลอ่ ใหเ้ ธอฉนั ถ้าเธอฉันแลว้ ต้องปาจติ ตีย์. ๕ อยา่ ง คือ ข้าวสกุ ขนมสด ขนมแห้ง ๗.ภกิ ษฉุ ันของเคยี้ วของฉนั ท่ีเป็นอาหารใน ปลา เนอ้ื อย่างใดอย่างหน่ึง ถา้ ไปรบั ของ เวลาวิกาล คือต้งั แตเ่ ท่ยี งแล้วไปจนถึงวนั นน้ั มาหรอื ฉันของน้นั พร้อมกันต้งั แต่ ๔ ใหม่ ต้องปาจิตตีย.์ รปู ขน้ึ ไป ต้องปาจติ ตยี ์ เว้นไว้แต่สมัย คอื ๘.ภกิ ษุฉนั ของเคี้ยวของฉันท่ีเป็นอาหารซง่ึ เปน็ ไข้อยา่ ง ๑ หน้าจีวรกาลอยา่ ง ๑ เวลา รบั ประเคนไวค้ า้ งคนื ต้องปาจิตตยี .์ ทำจีวรอยา่ ง ๑ เดินทางไกลอยา่ ง ๑ ไป ๙.ภิกษุขอโภชนะอนั ประณีต คอื ขา้ วสุก ทางเรอื อยา่ ง ๑ อยู่มากด้วยกันบิณฑบาต ระคนดว้ ยเนยใส เนยขน้ นำ้ มัน นำ้ ผ้ึง ไม่พอฉันอย่าง ๑ โภชนะเปน็ ของสมณะ นำ้ อ้อย ปลา เนื้อ นมสด นมสม้ ต่อ อย่าง ๑. คฤหัสถ์ท่ีไม่ใชป่ วารณา เอามาฉนั ตอ้ ง ๓.ภิกษรุ ับนมิ นตแ์ หง่ หน่งึ ด้วยโภชนะทัง้ ปาจติ ตีย์. ๕ อย่างใดอย่างหน่งึ แลว้ ไม่ไปฉนั ในที่ ๑๐.ภิกษุกลนื กินอาหารทีไ่ มม่ ีผใู้ ห้ คือยัง นิมนต์นัน้ ไปฉนั เสยี ท่ีอืน่ ต้องปาจิตตีย์ ไม่ไดร้ บั ประเคน ใหล้ ่วงทวารปากเขา้ ไป เวน้ ไวแ้ ตย่ กสว่ นท่รี ับนมิ นต์ไวก้ อ่ นน้นั ตอ้ งปาจิตตีย์. เว้นไว้แตน่ ้ำและไม้สีฟนั . ให้แกภ่ ิกษุอื่นเสยี หรอื หนา้ จีวรกาลและ อเจลกวรรคท่ี ๕ มี ๑๐ สิกขาบท เวลาทำจวี ร. ๑.ภกิ ษใุ หข้ องเคยี้ วของฉนั แกน่ ักบวช ๕.ภกิ ษฉุ นั คา้ งอยู่ มผี ู้เอาโภชนะทั้ง ๕ นอกศาสนา ดว้ ยมอื ตน ต้องปาจิตตยี .์ อยา่ งใดอยา่ งหนึง่ เขา้ มาประเคน ห้ามเสีย ๒.ภกิ ษชุ วนภกิ ษุอืน่ ไปเที่ยวบณิ ฑบาต แลว้ ลุกจากทนี่ ่งั น้นั แลว้ ฉันของเคี้ยวของ ดว้ ยกนั หวงั จะประพฤติอนาจาร ไลเ่ ธอ ฉนั ซงึ่ ไม่เป็นเดนภิกษุไข้ หรือไมไ่ ด้ทำวนิ ยั กลบั มาเสยี ตอ้ งปาจติ ตีย.์ กรรม ต้องปาจติ ตีย์. พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
๓๕ ๓.ภกิ ษุสำเรจ็ การนั่งแทรกแซง ในสกลุ ท่ี ดเู ขาจัดกระบวนทัพกด็ ี ดหู มูเ่ สนาที่ กำลังบรโิ ภคอาหารอยู่ ต้องปาจติ ตีย์. จัดเปน็ กระบวนแลว้ กด็ ี ต้องปาจิตตีย.์ ๔.ภกิ ษุน่ังอยใู่ นห้องกบั ผ้หู ญิง ไมม่ ีผู้ชาย สุราปานวรรคท่ี ๖ มี ๑๐ สกิ ขาบท อยู่เป็นเพ่ือน ต้องปาจติ ตยี .์ ๑.ภิกษุด่ืมน้ำเมา ต้องปาจิตตีย์. ๕.ภกิ ษนุ ่ังในท่แี จ้งกับผู้หญิงสองต่อสอง ๒.ภกิ ษุจ้ภี กิ ษุ ตอ้ งปาจิตตยี ์. ตอ้ งปาจติ ตยี ์. ๓.ภิกษุวา่ ยน้ำเลน่ ตอ้ งปาจิตตีย์. ๖.ภกิ ษรุ บั นิมนต์ดว้ ยโภชนะทั้ง ๕ แล้ว จะ ๕.ภกิ ษุหลอนภิกษุให้กลวั ผี ต้องปาจติ ตยี .์ ไปในที่อืน่ จากที่นิมนต์นนั้ ในเวลากอ่ นฉนั ๖.ภกิ ษไุ ม่เป็นไข้ ตดิ ไฟให้เปน็ เปลวเองกด็ ี ก็ดี ฉันกลับมาแล้วก็ดี ต้องลาภกิ ษทุ ม่ี ีอยู่ ใช้ใหผ้ อู้ ่นื ติดกด็ เี พื่อจะผงิ ต้องปาจติ ตีย.์ ในวดั กอ่ นฉนั กด็ ี ถา้ ไม่ลากอ่ นเทยี่ วไป ติดเพ่ือเหตุอื่น ไมเ่ ป็นอาบัต.ิ ตอ้ งปาจิตตยี ์ เวน้ ไว้แต่สมยั คือจีวรกาล ๗.ภิกษอุ ยูใ่ นมัชฌิมประเทศ คอื จังหวัด และเวลาทำจีวร กลางแหง่ ประเทศอนิ เดีย ๑๕ วนั จึง ๗.ถ้าเขาปวารณาด้วยปัจจยั สี่เพียง ๔ อาบนำ้ ได้หนหนง่ึ ถ้ายังไม่ถึง ๑๕ วนั เดอื น พงึ ขอเขาได้เพียงกำหนดน้นั เทา่ นนั้ อาบนำ้ ต้องปาจิตตยี ์ เวน้ ไวแ้ ตม่ ีเหตุ ถา้ ของให้เกินกวา่ กำหนดนนั้ ไป ต้อง จำเปน็ . ในปจั จันตประเทศ เช่นประเทศ ปาจติ ตีย์ เว้นไว้แต่เขาปวารณาอกี หรอื เราอาบน้ำไดเ้ ปน็ นิตย์ ไมเ่ ปน็ อาบตั .ิ ปวารณาเปน็ นติ ย์. ๘.ภิกษไุ ด้จีวรใหมม่ า ต้องพนิ ทุด้วยสี ๓ ๘.ภิกษุไปดกู ระบวนทัพที่เขายกไปเพื่อจะ อยา่ ง คือ เขียวคราม โคลน ดำคลำ้ อย่าง รบกัน ตอ้ งปาจิตตยี ์ เวน้ ไวแ้ ต่มเี หตุ. ใดอยา่ งหนึ่งก่อน จงึ นุง่ ห่มได้ ถ้าไม่ทำ ๙.ถา้ เหตทุ ี่ต้องไปมีอยู่ พึงไปอย่ไู ด้ใน พินทุก่อนแลว้ นุ่งหม่ ต้องปาจิตตยี .์ กองทพั เพยี ง ๓ วัน ถา้ อยู่ให้เกินกวา่ ๙.ภิกษุวิกัปจีวรแกภ่ ิกษหุ รือสามเณรแลว้ กำหนดนน้ั ต้องปาจติ ตีย์ ผ้รู บั ยงั ไมไ่ ดถ้ อนนงุ่ หม่ จวี รนั้น ต้อง ๑๐.ในเวลาท่ีอยู่ในกองทัพตามกำหนดนนั้ ปาจิตตีย.์ ถา้ ไปดเู ขารบกันกด็ หี รอื ดเู ขาตรวจพลกด็ ี พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๑๐.ภกิ ษซุ ่อนบรขิ าร คือ บาตร จีวร ผ้าปู ๓๖ น่งั กลอ่ งเข็ม ประคดเอว สิ่งใดส่งิ หนง่ึ ของภกิ ษอุ ืน่ ดว้ ยคิดวา่ จะล้อเล่น ต้อง ๘.ภกิ ษุกล่าวคัดคา้ นธรรมเทศนาของ ปาจิตตีย.์ พระพุทธเจา้ ภิกษุอื่นหา้ มไม่ฟงั สงฆ์สวด สัปปาณวรรคที่ ๗ มี ๑๐ สกิ ขาบท ประกาศข้อความนน้ั จบ ต้องปาจิตตยี ์ ๑.ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ดิรจั ฉาน ต้อง ๙.ภิกษคุ บภกิ ษุเช่นนัน้ คือ ร่วมกนิ กด็ ี ปาจิตตีย์. ร่วมอุโบสถสังฆกรรมกด็ ี ร่วมนอนก็ดี ต้อง ๒.ภกิ ษรุ ู้อยู่ว่า น้ำมตี ัวสัตว์ บรโิ ภคน้ำนน้ั ปาจิตตยี ์. ตอ้ งปาจิตตีย์. ๑๐.ภกิ ษเุ กลี้ยกลอ่ มสามเณรทีภ่ ิกษุอ่นื ให้ ๓.ภกิ ษรุ ู้อยู่วา่ อธกิ รณน์ ้สี งฆ์ทำแลว้ โดย ฉิบหายแลว้ เพราะโทษทีก่ ลา่ วคัดค้าน ชอบ เลิกถอนเสียกลบั ทำใหม่ ตอ้ ง ธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา้ ใหเ้ ปน็ ปาจิตตีย์. อุปัฏฐากก็ดี รว่ มกินกด็ ี ร่วมนอนก็ดี ต้อง ๔.ภกิ ษรุ อู้ ยู่ แกลง้ ปกปิดอาบัตชิ วั่ หยาบ ปาจิตตีย์ ของภกิ ษอุ น่ื ต้องปาจิตตยี ์. ๕.ภกิ ษรุ ้อู ยู่ เป็นอปุ ชั ฌายะอุปสมบท สหธรรมกิ วรรคท่ี ๘ มี ๑๒ สิกขาบท กุลบตุ รผู้มีอายุหย่อนกว่า ๒๐ ปี ต้อง ๑.ภิกษปุ ระพฤติอนาจาร ภิกษอุ น่ื ตักเตอื น ปาจิตตยี .์ พดู ผดั เพี้ยนวา่ ยังไม่ไดถ้ ามท่านผูร้ ู้กอ่ น ๖.ภกิ ษุรู้อยู่ ชวนพ่อคา้ ผู้ซ่อนภาษีเดนิ ทาง ขา้ พเจ้าจักไมศ่ ึกษาในสิกขาบทน้ี ตอ้ ง ด้วยกนั แมส้ ิน้ ระยะบ้านหน่ึง ต้อง ปาจติ ตีย.์ ธรรมดาภกิ ษผุ ู้ศึกษา ยงั ไม่ร้สู ง่ิ ปาจติ ตีย.์ ใด ควรจะร้สู ่งิ น้นั ควรไต่ถามไล่เลียงท่าน ๗.ภกิ ษุชวนผ้หู ญงิ เดินทางดว้ ยกนั แมส้ ิน้ ผรู้ ู.้ ระยะบา้ นหนง่ึ ต้องปาจิตตยี ์. ๒.ภกิ ษอุ ่นื ท่องปาตโิ มกข์อยู่ ภกิ ษุแกล้ง พดู ให้เธอคลายอุตสาหะ ตอ้ งปาจิตตีย.์ พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา. ๓.ภิกษุต้องอาบตั แิ ลว้ แกล้งพูดว่า ขา้ พเจา้ พ่ึงร้เู ดย๋ี วนเี้ องว่าข้อน้ีมาในพระปาตโิ มกข์ ถา้ ภิกษุอื่นรู้อยวู่ ่า เธอเคยรมู้ าก่อนแล้วแต่
๓๗ แกล้งพูดกนั เขาวา่ พึงสวดประกาศความ เตียนภกิ ษุอื่นวา่ ใหเ้ พราะเห็นแกห่ นา้ กนั ข้อนัน้ เมื่อสงฆ์สวดประกาศแล้ว แกล้งทำ ตอ้ งปาจติ ตยี .์ ไมร่ อู้ ีก ต้องปาจติ ตีย์. ๑๒.ภกิ ษุรู้อยู่ น้อมลาภที่ทายกเขาตั้งใจจะ ๔.ภิกษโุ กรธ ใหป้ ระหารแก่ภิกษอุ ่ืน ต้อง ถวายสงฆม์ าเพ่อื บุคคล ต้องปาจติ ตีย์. ปาจติ ตีย.์ รัตนวรรคท่ี ๙ มี ๑๐ สกิ ขาบท ๕.ภิกษโุ กรธ เงื้อมอื ดุจให้ประหารแก่ภิกษุ ๑.ภกิ ษุไม่ได้รับอนญุ าตก่อน เขา้ ไปในห้อง อน่ื ต้องปาจติ ตยี ์. ทีพ่ ระเจา้ แผน่ ดินเสด็จอยู่กบั พระมเหสี ๖.ภกิ ษโุ จทก์ฟ้องภิกษุอน่ื ดว้ ยอาบตั ิ ตอ้ งปาจิตตีย์. สังฆาทเิ สสไม่มีมลู ต้องปาจิตตีย.์ ๒.ภกิ ษเุ หน็ เคร่อื งบรโิ ภคของคฤหสั ถ์ตก ๗.ภิกษแุ กลง้ ก่อความรำคาญใหเ้ กดิ แก่ อยู่ ถือเอาเป็นของเก็บได้เองกด็ ี ให้ผอู้ ่ืน ภิกษุอ่ืน ต้องปาจิตตีย์. ถอื เอากด็ ี ต้องปาจติ ตีย์. เว้นไวแ้ ตข่ องนนั้ ๘.เมือ่ ภิกษวุ ิวาทกันอยู่ ภิกษุไปแอบฟัง ตกอยู่ในวดั หรือในท่ีอาศัย ต้องเก็บไว้ ความ เพื่อจะได้รวู้ ่าเขาว่าอะไรตนหรอื ใหแ้ ก่เจ้าของ ถ้าไม่เก็บ ต้องทุกกฎ. พวกของตน ต้องปาจติ ตยี .์ ๓.ภิกษไุ ม่บอกลาภกิ ษอุ ืน่ ที่มีอยู่ในวัดกอ่ น ๙.ภิกษุใหฉ้ ันทะ คือความยอมให้ทำสังฆ เข้าไปบา้ นในเวลาวกิ าล ตอ้ งปาจติ ตีย.์ กรรมท่เี ป็นธรรมแลว้ ภายหลงั กลับตเิ ตยี น เว้นไว้แต่การด่วน. สงฆ์ผ้ทู ำกรรมนัน้ ต้องปาจติ ตีย์. ๔.ภิกษทุ ำกล่องเข็ม ด้วยกระดกู ก็ดี ดว้ ย ๑๐.เมอ่ื สงฆก์ ำลงั ประชุมกนั ตัดสนิ งาก็ดี ดว้ ยเขากด็ ี ตอ้ งปาจิตตีย.์ ตอ้ งต่อย ขอ้ ความข้อหนง่ึ ภกิ ษุรปู ใดอยู่ในทป่ี ระชมุ กล่องนั้นเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก. น้นั จะหลกี ไปในขณะท่ตี ดั สินขอ้ นน้ั ยงั ไม่ ๕.ภกิ ษทุ ำเตยี งหรือตั่ง พึงทำให้มีเทา้ เพยี ง เสร็จ ไม่ให้ฉนั ทะก่อนลุกไปเสีย ต้อง ๘ น้ิวพระสุคต เวน้ ไว้แตแ่ มแ่ คร่ ถา้ ทำให้ ปาจิตตีย์. เกินกำหนดน้ี ต้องปาจติ ตยี .์ ตอ้ งตัดให้ได้ ๑๑.ภกิ ษุพรอ้ มกับสงฆ์ใหจ้ วี รเปน็ บำเหนจ็ ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัตติ ก. แก่ภกิ ษุรูปใดรูปหนึ่งแลว้ ภายหลงั กลบั ติ พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๓๘ ๖.ภิกษทุ ำเตยี งหรอื ตง่ั หุ้มนนุ่ ต้อง ปาฏิเทสนยี ะ ๔ ปาจิตตีย.์ ตอ้ งร้ือเสยี กอ่ น จงึ แสดงอาบัติ ๑.ภกิ ษุรับของเคีย้ วของฉันแต่มือนาง ตก. ภกิ ษณุ ีที่ไมใ่ ช่ญาติ ด้วยมอื ของตนมา ๗.ภกิ ษทุ ำผา้ ปูนงั่ พึงทำให้ได้ประมาณ บริโภค ต้องปาฏเิ ทสนียะ. ประมาณนัน้ ยาว ๒ คบื พระสุคต กว้างคบื ๒.ภิกษุฉันอยูใ่ นท่นี ิมนต์ ถา้ มีนางภิกษณุ ี ครึง่ ชายคบื หนึง่ ถา้ ทำใหเ้ กนิ กำหนดน้ี มาส่ังทายกให้เอาส่งิ นั้นสงิ่ นี้ถวาย เธอพงึ ต้องปาจติ ตยี .์ ตอ้ งตดั ให้ได้ประมาณ ไล่นางภิกษุณีนั้นให้ถ้อยไปเสยี ถ้าไม่ไล่ เสยี ก่อน จงึ แสดงอาบตั ิตก. ต้องปาฏิเทสนยี ะ. ๘.ภกิ ษุทำผา้ ปิดแผล พงึ ทำให้ไดป้ ระมาณ ๓.ภกิ ษไุ มเ่ ป็นไข้ เขาไม่ไดน้ ิมนต์ รบั ของ ประมาณนัน้ ยาว ๔ คบื พระสุคต กว้าง ๒ เคยี้ วของฉันในตระกูลทสี่ งฆ์สมมตวิ ่าเป็น คบื ถ้าทำให้เกนิ กำหนดน้ี ต้องปาจติ ตีย์. เสขะ มาบรโิ ภค ต้องปาเทสนียะ. ต้องตัดให้ได้ประมาณเสยี ก่อน จงึ แสดง ๔.ภกิ ษอุ ยูใ่ นเสนาสนะป่าเป็นท่ีเปลี่ยว ไม่ อาบัติตก. เปน็ ไข้ รบั ของเค้ียวของฉนั ท่ีทายกไมไ่ ด้ ๙.ภกิ ษุทำผา้ อาบน้ำฝน พงึ ทำให้ได้ แจง้ ความให้ทราบก่อน ดว้ ยมือของตนมา ประมาณ ประมาณนน้ั ยาว ๖ คืบพระสุคต บรโิ ภค ต้องปาฏเิ ทสนยี ะ. กวา้ ง ๒ คืบครึง่ ถ้าทำใหเ้ กนิ กำหนดน้ี ต้องปาจติ ตยี ์. ตอ้ งตัดให้ไดป้ ระมาณ เสขยิ วัตร เสยี ก่อน จึงแสดงอาบตั ติ ก. วตั รที่ภิกษจุ ะต้องศึกษาเรยี กวา่ เสขิยวตั ร ๑๐.ภิกษทุ ำจวี รใหเ้ ทา่ จีวรพระสคุ ตก็ดี เสขยิ วตั รนั้น จดั เป็น ๔ หมวด หมวดที่ ๑ เกินกว่าน้ันก็ดี ต้องปาจติ ตีย์. ประมาณ เรยี กวา่ สารูป หมวดที่ ๒ เรียกว่า จวี รพระสคุ ตน้นั ยาว ๙ คืบพระสคุ ต โภชนปฏสิ ังยตุ หมวดที่ ๓ เรียกวา่ ธัมม กวา้ ง ๖ คืบ ต้องตดั ให้ไดป้ ระมาณ เทสนาปฏสิ งั ยุต หมวดท่ี ๔ เรียกว่า เสียกอ่ น จงึ แสดงอาบัติตก ปกิณณกะ. พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๓๙ สารูปท่ี ๑ มี ๒๖ ๑๒.ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ ๑.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักนุ่งห่ม หัวเราะ ไปนงั่ ในบ้าน ให้เรียบรอ้ ย. ไปในบา้ น. ๑๓.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่พดู ๒.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักนุ่งห่ม เสยี งดัง ไปในบา้ น ให้เรียบร้อย. ไปนง่ั ในบ้าน. ๑๔.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่พดู ๓.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ปดิ กาย เสียงดงั ไปน่งั ในบ้าน ด้วยดี ไปในบา้ น. ๑๕.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่ ๔.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ปดิ กาย โคลงกาย ไปในบ้าน ด้วยดี ไปนั่งในบา้ น. ๑๖.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ ๕.ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจกั ระวัง โคลงกาย ไปนงั่ ในบ้าน มอื เท้าดว้ ยดี ไปในบ้าน. ๑๗.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราไม่ไกว ๖.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจักระวัง แขน ไปในบ้าน มอื เท้าดว้ ยดี ไปนั่งในบ้าน. ๑๘.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราไม่ไกว ๗.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจักมีตา แขน ไปนง่ั ในบา้ น ทอดลง ไปในบา้ น ๑๙.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจักไมส่ นั่ ๘.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจกั มตี า ศีรษะ ไปในบ้าน ทอดลง ไปน่ังในบา้ น ๒๐.ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไมส่ ั่น ๙.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจกั ไมเ่ วิก ศรี ษะ ไปนงั่ ในบา้ น ผา้ ไปในบ้าน ๒๑.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่เอา ๑๐.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจักไมเ่ วิก มือค้ำกาย ไปในบ้าน ผา้ ไปนั่งในบา้ น ๒๒.ภิกษุพึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไมเ่ อา ๑๑.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่ มือค้ำกาย ไปน่ังในบา้ น หัวเราะ ไปในบา้ น ๒๓.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่เอา ผา้ คลมุ ศรี ษะ ไปในบ้าน พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๔๐ ๒๔.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่เอา ๙.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่ขยุม้ ผา้ คลมุ ศรี ษะ ไปในบ้าน ขา้ วสุกแต่ยอดลงไป. ๒๕.ภกิ ษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่ ๑๐.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ เดนิ กระโหย่งเทา้ ไปในบ้าน กลบแกงหรือกบั ขา้ วด้วยข้าวสกุ เพราะ ๒๖.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่น่ัง อยากจะได้มาก. รดั เข่าในบ้าน ๑๑.ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราไมเ่ จ็บไข้ โภชนปฏสิ ังยุตที่ ๒ มี ๓๐ จักไม่ขอแกงหรือขา้ วสกุ เพอ่ื ประโยชน์แก่ ๑.ภิกษุพึงทำความศึกษาวา่ เราจกั รับ ตนมาฉัน. บิณฑบาตโดยเคารพ. ๑๒.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่ดู ๒.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เม่อื รับ บาตรของผู้อื่นดว้ ยคดิ จะยกโทษ. บิณฑบาต เราจักแลดแู ต่ในบาตร. ๑๓.ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ทำ ๓.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักรบั แกง คำข้าวใหใ้ หญน่ ัก. พอสมควรแก่ข้าวสกุ ๑๔.ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักทำคำ ๔.ภกิ ษุพึงทำความศึกษาวา่ เราจบั รับ ข้าวใหก้ ลมกล่อม. บณิ ฑบาตแตพ่ อเสมอขอบปากบาตร. ๑๕.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เมอื่ คำขา้ ว ๕.ภกิ ษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักฉนั ยังไม่ถึงปาก เราจักไม่อา้ ปากไวท้ ่า. บิณฑบาตโดยเคารพ. ๑๖.ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เม่อื ฉันอยู่ ๖.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เมือ่ ฉนั เราจักไม่เอานว้ิ มือสอดเข้าปาก. บิณฑบาต เราจักแลดูแต่ในบาตร. ๑๗.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เมื่อข้าวอยู่ ๗.ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่ขดุ ในปาก เราจักไม่พูด. ขา้ วสุกให้แหว่ง. ๑๘.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจักไม่ ๘.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาวา่ เราจักฉนั แกง โยนคำข้าเข้าปาก. พอสมควรแก่ข้าวสุก. ๑๙.ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ฉนั กดั คำข้าว. พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๔๑ ๒๐.ภิกษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ฉนั ๑.ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจักไม่ ทำกระพงุ้ แก้มใหต้ ่ยุ . แสดงธรรมแก่คนไมเ่ ปน็ ไข้ มีร่มในมือ. ๒๑.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ฉัน ๒.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ พลางสะบัดมอื พลาง. แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ มีไมพ่ ลองใน ๒๒.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ฉนั มือ. โปรยเมล็ดข้าวให้ตกลงในบาตรหรือในท่ี ๓.ฯลฯ มีศัสตราในมอื . นน้ั ๆ. ๔.ฯลฯ มีอาวุธในมือ. ๒๓.ภิกษุพึงทำความศึกษาวา่ เราจกั ไม่ฉนั ๕.ฯลฯ สวมเขยี งเทา้ . แลบสิ้น ๖.ฯลฯ สวมรองเท้า. ๒๔.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ฉนั ๗.ฯลฯ ไปในยาน. ดงั จับ ๆ. ๘.ฯลฯ อย่บู นท่ีนอน. ๒๕.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจกั ไม่ฉนั ๙.ฯลฯ นง่ั รดั เขา่ . ดังซูด ๆ. ๑๐.ฯลฯ พันศรี ษะ. ๒๖.ภกิ ษพุ ึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่ฉนั ๑๑.ฯลฯ คลุมศรี ษะ เลียมือ. ๑๒.ฯลฯ เรานัง่ บนอาสนะตำ่ จักไม่แสดง ๒๗.ภกิ ษพุ งึ ทำความศึกษาวา่ เราจักไม่ฉนั ธรรมแก่คนไม่เปน็ ไขน้ ั่งบนอาสนะ. ขอดบาตร. ๑๓.ฯลฯ เราน่งั บนอาสนะตำ่ จกั ไม่แสดง ๒๘.ภิกษุพงึ ทำความศึกษาว่า เราจักไม่ฉนั ธรรมแก่คนไมเ่ ปน็ ไขน้ ั่งบนอาสนะสงู . เลียรมิ ฝีปาก. ๑๔.ฯลฯ เรายนื อยู่ จักไมแ่ สดงธรรมแก่ ๒๙.ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่เอา คนไมเ่ ปน็ ไขผ้ นู้ ่ังอย่.ู มอื เป้ือนจบั ภาชนะนำ้ . ๑๕.ฯลฯ เราเดนิ ไปขา้ งหลัง จักไม่แสดง ๓๐.ภกิ ษุพึงทำความศึกษาวา่ เราจักไม่เอา ธรรมแกค่ นไม่เป็นไข้ ผูเ้ ดนิ ไปขา้ งหนา้ . น้ำลา้ งบาตรมีเมลด็ ข้าวเทลงในบา้ น. ๑๖.ฯลฯ เราเดินไปนอกทาง จกั ไม่แสดง ธมั มเทสนาปฏิสงั ยุตท่ี ๓ มี ๑๖ ธรรมแกค่ นไม่เปน็ ไขผ้ ู้ไปในทาง. พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๔๒ ปกณิ ณกะที่ ๔ มี ๓ ๒. ความท่ีสงฆ์สวดประกาศใหส้ มมติแก่ ๑.ภิกษพุ งึ ทำความศึกษาว่า เราไมเ่ ป็นไข้ พระอรหันตว์ ่า เปน็ ผมู้ ีสตเิ ต็มท่ี เพ่ือจะ จกั ไม่ยนื ถา่ ยอจุ จาระถ่ายปสั สาวะ. ไม่ใหใ้ ครโจทด้วยอาบตั ิ เรียกสตวิ นิ ยั . ๒.ฯลฯ เราไม่เป็นไข้ จักไม่ถ่ายอจุ จาระ ๓. ความทีส่ งฆส์ วดประกาศให้สมมติแก่ ถา่ ยปัสสาวะบว้ นเขฬะ ลงในของเขียว. ภิกษุ ผู้หายเป็นบา้ แลว้ เพื่อจะไม่ใหใ้ คร ๓.ฯลฯ เราไมเ่ ปน็ ไข้ จักไม่ถ่ายอุจจาระ โจทดว้ ยอาบัติทีเ่ ธอทำในเวลาเปน็ บ้า ถ่ายปสั สาวะ บว้ นเขฬะ ลงในน้ำ. เรยี กอมูฬหวินัย. อธกิ รณ์ ๔ ๔. ความปรบั อาบัตติ ามปฏญิ ญาของ ๑.ความเถยี งกันว่า สิง่ นั้นเปน็ ธรรมเปน็ จำเลยผู้รบั เปน็ สัตย์ เรยี กปฏญิ ญาตกรณะ วนิ ัย ส่งิ นไี้ มใ่ ชธ่ รรมไม่ใช่วินัย เรยี กววิ า ๕. ความตดั สินเอาตามคำของคนมากเปน็ ทาธิกรณ.์ ประมาณ เรยี กเยภุยยสกิ า. ๒.ความโจทกนั ด้วยอาบัตินน้ั ๆ เรยี กอนุ ๖. ความลงโทษแก่ผผู้ ิด เรียกตสั สปาปิยสิ วาทาธกิ รณ.์ กา. ๓.อาบัตทิ ง้ั ปวง เรียกอาปตั ตาธิกรณ.์ ๗. ความใหป้ ระนีประนอมกนั ทั้ง ๒ ฝ่าย ๔.กิจทส่ี งฆจ์ ะพึงทำ เรยี กกจิ จาธกิ รณ์. ไม่ต้องชำระความเดิม เรียกติณวดั ถารก อธกิ รณสมถะ มี ๗ วินัย. ธรรมเครื่องระงบั อธกิ รณ์ทั้ง ๔ นัน้ เรยี ก สกิ ขาบทนอกน้ี ท่ยี กขึ้นเปน็ อาบัติ อธกิ รณสมถะ มี ๗ อย่าง คือ ถุลลจั จยั บ้าง ทุกกฎบา้ ง ทพุ ภาสติ บ้าง ๑. ความระงบั อธิกรณท์ ัง้ ๔ นั้น ในท่ี เป็นสกิ ขาบทไม่ไดม้ าในพระปาติโมกข.์ พรอ้ มหน้าสงฆ์ ในท่ีพร้อมหน้าบคุ คล ในท่ี พรอ้ มหน้าวัตถุ ในที่พร้อมหน้าธรรม เรยี ก สัมมขุ าวินยั . พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
๔๓ พุทธประวตั ิ (น.ธ.ตรี) การเกดิ การตายมเี หตปุ ัจจยั ๒.เช่อื ว่าการเกิดการตายไมม่ ีเหตุ ปัจจยั บทที่ ๑ ชมพูทวีปและประชาชน บทท่ี ๒ สกั กชนบทและศากยวงศ์ • “พทุ ธประวตั ิ” หมายถึง ความเป็นมาของพระพุทธเจ้าและ • สักกชนบท แปลว่า ชนบทแหง่ ชาวสักกะ ทเ่ี รยี กอยา่ งนี้ พระพทุ ธศาสนา เพราะวา่ ชนบทนี้ต้ังภูมิลำเนาอย่ใู นดงไมส้ ักกะ • ชมพูทวีปในปจั จุบนั คือดินแดนของประเทศ อนิ เดยี ,เนปาล, • ศากยวงศก์ ับโกลิยวงศ์ เป็นพน่ี อ้ งกนั มาแต่สมยั พระเจา้ โอก บงั คลาเทศ กากราช เปน็ พระเจ้าแผ่นดนิ มาจนถงึ พระเจ้าสุทโธทนะ • ชนชาติ มี ๒ ชนชาติในชมพทู วีป คือ • สักกชนบทแบง่ เป็นเมืองใหญ่ใหญ่ ๆ ได้ ๓ เมือง คือ ๑. มลิ กั ขะ เป็นเจ้าของถิ่นเดิม ๒. อรยิ กะ เป็นพวกท่ีอพยพ เขา้ มายึดครอง ๑. เมอื งเดมิ ของพระเจ้าโอกกากราช ๒.เมอื ง • การแบง่ เขตการปกครอง แบ่งเป็น ๒ เขต กบิลพัสด์ุ (เรียกวา่ ศากยวงศ์) ๓. เมอื งเทวทหะ (เรยี กวา่ โกลิ ยวงศ์) ๑. มชั ฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ (สว่ นกลาง) เป็น • ศากยวงศ์ มพี ระราชโอรสและพระราชธดิ าของพระเจา้ โอก ทอี่ ย่ขู องพวกอรยิ กะ กากราชเป็นผู้ก่อต้งั • โกลิยวงศ์ พระราชธิดาพระเจ้าโอกกากราชกบั พระเจ้ากรุง ๒. ปจั จันตชนบท หรือ ปัจจันตประเทศ ( สว่ นปลาย เทวทหะเปน็ ผกู้ ่อตงั้ แดน) เป็นท่ีอยู่ของพวกมิลักขะ • กบลิ พัสด์ุ ท่ีได้ช่อื นี้เพราะเปน็ ท่ีอยูข่ องกบิลดาบสมาก่อน • การปกครอง แบ่งการปกครองเปน็ อาณาจักร หรอื รัฐ หรอื • พระเจา้ ชยั เสน ทรงมีพระโอรสชอ่ื วา่ สหี หนุ มพี ระราชธดิ า แคว้นมีหวั หนา้ ปกครองประจำแคว้น ชื่อวา่ ยโสธรา • มธั ยมประเทศแบง่ ออกเป็น ๑๖ แควน้ • ศากยวงศ์ มคี วามหมายวา่ ผู้มีความสามารถ • ระบบวรรณะ (แบ่งแยกชนช้ัน) มี ๔ วรรณะ คือ • ศากยวงศ์ เรยี กตามโคตรว่า โคตมะ หรือ โคดมโคตร • กบิลพัสด์ เปน็ เมืองของพระพทุ ธบดิ า เรียกว่า ศากยวงค์ ๑. กษัตริย์ คอื ผนู้ ำในการปกครองบ้านเมือง ให้ • กรงุ เทวทหะ เปน็ เมืองของพระพทุ ธมารดา เรียกว่า โกลิ ความสงบสขุ ( สูง) ยวงศ์ • เจา้ ชายสิทธัตถะกอ่ นจตุ ิมายงั โลกมนษุ ยป์ ระทบั อยใู่ นสวรรค์ ๒. พราหมณ์ คอื ผ้มู ีหนา้ ทีอ่ บรมสงั่ สอน ประกอบ ช้ันดสุ ิต พิธกี รรมต่างๆ ( สูง) • พระเจา้ สุทโธทนะเป็นพุทธบิดาของพระพทุ ธเจา้ • พระนางสริ มิ หามายาเป็นพุทธมารดาของพระพุทธเจา้ ๓. แพศย์ คอื ผ้ทู ที่ ำการเกษตร กสิ กรรม ช่างฝีมือ คา้ ขาย ( กลาง ) บทท่ี ๓ ประสตู ิ (เกิด) ๔. ศูทร คอื ผูร้ ับจา้ งใชแ้ รงงาน ทาส คนรบั ใช้ ( • พระโพธสิ ัตรเ์ ลดจ็ สู่พระครรภ์ ในราตรวี ันพฤหัสบดี ข้ึน ๑๕ ต่ำสดุ ) คำ่ เดอื น ๘ ปรี ะกา พระมารดาทรงสบุ ินเห็นพญาชา้ งเผือก • จณั ฑาล คอื บุตรท่เี กดิ จากบดิ า มารดาต่างวรรณะกัน ถอื วา่ • พระโพธิสตั ว์อยใู่ นครรภ์ ๑๐ เดอื นพอดี ต่ำทีส่ ุด • พระโพธสิ ัตวท์ รงประสูติที่สวนลุมพนิ ีวัน ใต้ร่มไม้สาละ (ตน้ • ลัทธิ และการนับถอื ประชาชนในชมพูทวีปนับถอื ศาสนา รัง) ระหว่างกรุงกบลิ พัสดกุ์ บั กรุงเทวทหะ ปัจจุบนั พราหมณ์ มีพระพรหมเปน็ ศาสดา และยึดถือคัมภีร์ไตรเพท เรยี กวา่ “รุมมนิ เด” ประเทศเนปาล เม่ือวนั ศุกร์ ขนึ้ ๑๕ ค่ำ เปน็ หลกั คำสอน • ความเช่ือ ของคนในชมพูทวีป ๑.เช่ือว่าตายแลว้ เกดิ ๒.เชื่อวา่ ตายแลว้ สูญ และ ๑.ช่อื ว่า พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
เดอื น ๖ ปจี อ (วนั วิสาขบูชา) ๔๔ • พระโพธิสตั ว์ เดนิ ได้ ๗ กา้ วพรอ้ มกบั พูดวา่ “เราเป็น เลิศ เปน็ ผู้ประเสรฐิ ท่ีสุดแห่งโลกการเกดิ ของเราครง้ั นี้เป็นครง้ั ๓. มหาภเิ นษ¬กรมณ์ หมายถงึ การเสดจ็ ออกบวชของเจ้าชาย สุดทา้ ยบดั น้ภี พใหมไ่ ม่มอี กี แลว้ ” สิทธตั ถะ • สหชาติ คือ ส่งิ ท่เี กิดวันเวลาเดยี วกนั กบั พระโพธิสตั ว์ มี ๗ ๔. เจา้ ชายสทิ ธัตถะทรงออกผนวชมี นายฉันนะและมา้ กัณฐกะ อยา่ ง ติดตามไปด้วย ๕. เจ้าชายสทิ ธตั ถะ ทรงผนวชดว้ ยวธิ ี อธษิ ฐานเพศบรรพชิต ๑.พระนางพมิ พา ๒.พระอานนท์ ๓.กาฬทุ ายีอำมาตย์ ๔. ๖. เจา้ ชายสทิ ธัตถะทรงอธิษฐานเพศบรรพชติ ท่ีไหน ณ รมิ ฝงั่ อ ฉนั นะอำมาตย์ โนมานที ๗. ฆฏกิ ารพรหมเป็นผูถ้ วายบาตรและเคร่ืองบรขิ าร ๕.ม้ากัณธกะ ๖.ตน้ พระศรีมหาโพธ์ิ ๗. ขุมทรพั ย์ ทง้ั ๔ ๘. หลังจากบรรพชาทรงประทับแรมท่ี อนปุ ิยอมั พวัน • ประสตู ิ ๓ วนั มี อสติ ดาบส หรือ กาฬเทวลิ ดาบส เข้า ๙. ปญั จวคั คยี ์ หมายถึง บคุ คลผูม้ พี วกห้า มี โกณฑัญญะ เยี่ยม และพยากรณ์ ๒ อย่าง (ถา้ อยู่ปกครองบ้านเมืองจะ วัปปะ ภทั ทิยะ มหานามะ และอัสสชิ เปน็ พระเจา้ จักรพรรดิ ถา้ ออกบวช จะเปน็ พระพุทธเจ้า) • ประสูตไิ ด้ ๕ วัน พระเจา้ สุทโธทนะเชิญพราหมณ์ ๑๐๘ มา บทที่ ๕ ตรสั รู้ ทานอาหาร ,ขนานพระนาม และ ทำนายลกั ษณะ • ทำนาย ๒ อยา่ งคอื ๑.ถา้ อย่เู ป็นฆราวาสจะไดเ้ ป็นพระเจ้า • หลงั จากเสดจ็ ออกบรรพชาแล้ว ทรงประทบั แรมท่ี อนุปยิ จักรพรรดิ ๒. ถ้าบวชจะไดเ้ ปน็ พระพุทธเจ้า อัมพวนั • สิทธตั ถะ แปลว่า “ผูม้ คี วามสำเรจ็ สมปรารถนา” • หลังจากออกบรรพชาแลว้ เขา้ ศกึ ษาท่สี ำนักของ อาฬา • ประสูตไิ ด้ ๗ วนั พระมารดาทิวงคต ดาบส กาลามโครตและอุททกดาบส รามบตุ ร • พระเจ้าสุทโธทนะแต่งตงั้ ใหน้ างปชาบดดี ูแลแทน • ทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยาท่ี อุรุเวลาเสนานิคม ทกุ กรกิรยิ า • อายุ ๗ พรรษา บดิ าใหข้ ุดสระ ๓ ฤดถู วาย และทรงให้ หมายถึง กริ ิยาท่ีทำได้ยาก ศึกษาศลิ ปวทิ ยา ๑๘ ศาสตร์ • กิริยาที่ทำได้ยากมี ๓ วาระ คอื • ครคู นแรก คอื ครวู ศิ วามิตร • อายุ ๗ พรรษา ทรงได้ปฐมฌานใต้ร่มชมพพู ฤกษ์ (ต้น ๑. กดั ฟันดว้ ยฟนั กดเพดานด้วยลน้ิ ๒. กลัน้ ลมหายใจ หวา้ ) เขา้ -ออก ๓. อดอาหารจนซูบผอบ • อายุ ๑๖ พรรษา บดิ าทรงให้สร้างปราสาท ๓ หลัง • ปัญจวัคคยี ์ ดแู ลในระหวา่ งบำเพ็ญเพียร ถวาย และทรงให้อภิเษกสมรส • ทรงเลิกบำเพ็ญเพียร “เพราะมิใช่หนทางแห่งการตรัสรู้” • เจา้ ชายสิทธตั ถะทรงอภเิ ษกสมรสกับ พระนางยโสธรา หรือ • นางสุชาดา ถวายข้าวมธปุ ายาสก่อนตรสั รู้ พมิ พา • ญาณทท่ี รงได้ในระหว่างบรรลธุ รรม ตามลำดบั คือ บทท่ี ๔ เสดจ็ ออกผนวช ๑. ปฐมยาม บรรลุปุพเพนวิ าสานุสสตญิ าณ คือ ระลึกชาติได้ ๑. เทวทตู คือ สิง่ ทเ่ี ทวดาเนรมิตขนึ้ มี ๔ ประการ คอื คนแก่ คนเจบ็ คนตาย สมณะ ๒. มชั ฌมิ ยาม บรรลุจตุ ปู ปาตญาณ คือ ร้กู ารเกิดและ ๒. เจา้ ชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวชเม่ือพระชนมายุ ๒๙ ตายของสตั วท์ ั้งปวง พรรษา ๓. ปจั ฉมิ ยาม บรรลอุ าสวักขยญาณ คือ รู้อรยิ สจั ๔ คือ ทุกข์ สมทุ ัย นโิ รธ มรรค • โสตถยิ พราหมณ์ ถวายหญา้ คากอ่ นวันตรสั รู้ • พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรัสรเู้ มอ่ื พระชนมายุ ๓๕ พรรษา พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
• ตรงกับวันพธุ ข้นึ ๑๕ค่ำ เดือน๖ ใตต้ ้นศรมี หาโพธ์ิ รมิ ฝงั่ แมน่ ำ้ ๔๕ เนรัญชรา ต.อุรเุ วลาเสนานิคม แควน้ มคธ • ตรสั รู้หลังจากบรรพชา ๖ ปี - ถึงพระพุทธและพระธรรมเป็นสรณะ เรียกวา่ เทวฺวา • พระพุทธเจา้ ตรัสรู้ อริยสัจ ๔ จิกอุบาสก • พระพุทธเจา้ ทรงชนะมารและเสนามารด้วย บารมี๑๐ - พระองค์ทรงมอบพระเกตธุ าตุ ๘ เสน้ แกอ่ บุ าสกทั้ง • คำว่า “ สมั มาสัมโพธิญาณ” หมายถึง ญาณเปน็ เครือ่ งตรสั รู้ อง โดยชอบ • ท้าวสหมั บดพี รหมอาราธนาให้แสดงธรรม • พระพทุ ธองค์ทรงพจิ ารณาดอกบวั ๔ เหลา่ เปรียบปัญญา บทที่ ๖ เสวยวมิ ตุ ติสขุ และปฐมเทศนา คน คือ • สัตตมหาสถาน คือสถานทีส่ ำคญั ๗ แหง่ ได้แก่สถานที่ ๑. อุคฆฏิตญั ญู มปี ญั ญาเฉียบแหลม (บัวพ้นน้ำ) เคยเสวยวิมตุ ตสิ ุข เป็นเวลา ๗ สัปดาห์ ๔๙ วนั ๒. วิปจติ ัญญู มปี ัญญาปานกลาง (บัวเสมอผวิ นำ้ ) สปั ดาห์ที่ ๑ ประทบั บนรัตนบลั ลังค์ใตต้ น้ ศรีมหาโพธิ์ ทรง ๓. เนยยะ มีปัญญาพอแนะนำได้ (บวั ในน้ำ) พจิ ารณาปฏิจจสมุปบาท ๔.ปทปรมะ ดอ้ ยปัญญา (บัวอในโคลนตม) • พระพุทธองค์ทรงคิดถึงอาฬารดาบสและอุททกดาบสเป็น สัปดาห์ท่ี ๒ ทรงประทับยนื จอ้ งพระเนตรดูตน้ พระศรีมหา คนแรกทจ่ี ะแสดงธรรมใหฟ้ ัง โพธิ์ • พระองค์ได้พบอุปกาชีวกระหวา่ งทางไปกรุงพาราณสี โดยมไิ ด้กระพรบิ พระเนตรตลอด ๗ วัน สถานทน่ี ้นั จงึ ไดช้ ื่อวา่ อนิ • ปฐมเทศนา ชือ่ ว่า ธมั มจักกัปปวัตตนสตู ร มสิ เจดยี ์ • แสดงแก่ปัญจวคั คีย์ เมื่อวนั ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ณ ปา่ อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน กรงุ พาราณสี แควน้ กาสี สัปดาห์ท่ี ๓ พระองค์ทรงเนรมติ ท่จี งกรมระหวา่ ง อนิมสิ • เน้ือความธรรมโดยยอ่ คือ ส่ิงที่บรรพชิตไมค่ วรเสพที่สุด ๒ เจดีย์กับต้นพระศรีมหาโพธิ์ อยา่ ง แลว้ เสด็จจงกรม ณ ท่ีนั้น ตลอด ๗ วนั สถานทน่ี เ้ี รยี กวา่ รตั ๑. กามสขุ ัลลิกานโุ ยค การพันพนั ตนในกาม นจงกรมเจดีย์ ๒.อตั ตกลิ มถานโุ ยค การทรมานตนให้ลำบาก ๓. สง่ิ ที่บรรพชิตควรเสพคือ มัชฌิมาปฏปิ ทา คือ ข้อ สัปดาห์ที่ ๔ พระองค์ทรงน่งั ขัดสมาธใิ นเรือนแก้ว ปฏิบตั ิอันเปน็ ทางสายกลาง อันประกอบดว้ ยอรยิ มรรคมีองค์ ๘ ซ่งึ เทวดาเนรมติ ถวาย ทรงพจิ ารณาพระอภิธรรมตลอด ๗ วัน • โกณฑญั ญะไดด้ วงตาเห็นธรรม คอื โสดาปัตติผล สถานที่น้นั ไดช้ ่ือวา่ รตั นฆรเจดีย์ • เอหิภกิ ขุอปุ สัมปทา คือ พระพทุ ธเจ้าทรงบวชให้โกณฑัญญะ เปน็ รปู แรก สัปดาห์ท่ี ๕ ทรงประทับใตร้ ม่ ไม้ อชปาลนิโครธ (ต้นไทร) • พระอญั ญาโกณฑัญญะจึงเป็นพระสงฆ์องค์แรกในพุทธ - พบพราหมณท์ ช่ี อบตวาดว่า หึ หึ ศาสนา - ทรงขบั ธดิ ามารทั้ง ๓ คือ นางตณั หา นางราคา นาง • วนั น้ีเปน็ วนั ทม่ี ีพระรตั นตรยั ครบ คอื พระพทุ ธ พระธรรม อรดี พระสงฆ์ เรยี กวา่ วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวนั ขนึ้ ๑๕ ค่ำ เดอื น ๘ สัปดาหท์ ่ี ๖ ทรงประทับใต้รม่ ไม้ มจุ ลินท์ (ไมจ้ กิ ) • ทรงแสดงธรรมชื่อว่า อนตั ตลกั ขณสูตร โปรดปัญจวัคคีย์ - มฝี นตกพรำเจือลมหนาวตลอด ๗ วนั มีพญานาค ในวนั แรม ๕ ค่ำ เดือน ๙ และทงั้ หมดไดบ้ รรลุพระอรหันต์ ชื่อว่ามุจลินท์ ขนดหางเป็น ๗ รอบ แผพ่ ังพานปรก พระองค์ เพื่อไม่ให้ลมและฝนถูกต้องพระองค์ สปั ดาหท์ ี่ ๗ ทรงประทับใต้ต้นราชายตนะ(ไม้เกด) - พอ่ คา้ สองพ่ีน้องคอื ตปุสสะและภลั ลกิ ะ ถวายขา้ ว สตั ตุผงสตั ตกุ ้อน พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
• มพี ระอรหนั ต์เกิดขน้ึ ในโลก ๖ องค์ คือ พระพุทธเจา้ ๑ ๔๖ พระปญั จวคั คยี ์ ๕ • ใจความยอ่ ของอนัตตลกั ขณสตู ร คอื ขันธ์ ๕ คือ รปู • เพ่ือนสนทิ พระยสะบวชตาม ๔ คน คอื วิมล สพุ าหุ ปุณณชิ เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ เป็นของไม่เท่ียง เป็นทกุ ข์ ควัมปติ และสหายพระยสะอีก ๕๐ คน เป็นอนัตตา ไมค่ วรยึดมัน่ ถือมั่น • สง่ สาวกออกประกาศพระศาสนา พระพทุ ธองค์สง่ ภกิ ษุทง้ั ๖๐ องค์ ไปเผยแผ่พระพทุ ธศาสนายังต่างถน่ิ ทรงแสดงอนปุ ุ บทท่ี ๗ ส่งสาวกไปประกาศศาสนา พพิกถาและอริยสัจแก่ภทั ทวัคคยี ์ ๓๐ คน และสง่ ไปประกาศท่ี เมอื ง ปาวา • ยสกุลบุตร เปน็ บตุ รของมหาเศรษฐี มารดาชือ่ ว่าสุชาดา • โปรดชฏิล ๓ พ่ีน้อง ทต่ี ำบลอรุ เุ วลา แขวงเมืองราชคฤห์ ในกรุงพาราณสี แควน้ กาสี ซึ่งอาศยั รมิ ฝั่งแม่น้ำเนรญั ชรา ตามลำดับ คือ พี่ชายใหญ่ช่อื อุรุ • เบ่ือหนา่ ยในชวี ติ เปลง่ อุทานวา่ “ทน่ี ่ีว่นุ วายหนอ ที่น่ี เวลกัสสปะมีบริวาร ๕๐๐ ต้ังอาศรมอยตู่ ำบลอรุ ุเวลา ขดั ขอ้ งหนอ” นอ้ งชายกลาง ช่ือนทกี สั สปะ มบี ริวาร ๓๐๐ ตง้ั อาศรมอยู่ • พระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมเทศนาชื่อ “อนปุ พุ พิกถา” ตำบลนที นอ้ งชายเลก็ ช่ือคยากสั สปะ มีบรวิ าร ๒๐๐ ต้งั แก่ยสะเป็นคนแรก อาศรมอยตู่ ำบลคยา • “อนุปุพพกิ ถา” คือ วาจาปรารภธรรมทพ่ี ึงพรรณนาโดย • แสดงอาทติ ตปรยิ ายสตู รท่ีตำบลคยาสีสะ ลำดับมี ๕ ประการ • ใจความโดยยอ่ อายตนะภายนอก กระทบกบั อายตนะภายใน แลว้ เกดิ เป็นของรอ้ นดว้ ยราคะ โทสะ โมหะ ไมค่ วรยดึ ตดิ กับสิง่ ๑. ทาน การใหป้ นั ส่ิงของๆ ตนแก่ผ้อู น่ื นั้นๆ” ๒. ศีล การรกั ษากาย วาจาใหเ้ รียบร้อย • โปรดพระเจา้ พมิ พิสารท่ีสวนลัฏฐวิ ัน หรือสวนตาลหนุ่ม มี ๓. สคั คะ สวรรคอ์ ันบคุ คลพึงได้ดว้ ยทานและศลี ข้าราชบริพาร ๑๒ นหุต ( ๑๒ หมนื่ ) แวดลอ้ ม ๔. กามาทนี พ โทษของกาม ซงึ่ มีแตค่ วามทุกข์ • ท้ังหมดฟงั ธรรมจากพระศาสดาดว้ ยอนปุ ุพพกิ ถาและอริยสจั ความวุ่นวายไม่สงบ ๑๑ นหตุ ต้ังอยใู่ นโสดาบัน ๑ นหตุ ตั้งอยใู่ นไตรสรณคมน์ ๕. เนกขัมมะ อานิสงสแ์ ห่งการออกบวช • ความปรารถนาของพระเจา้ พิมพิสาร ๕ ประการและสำเร็จ • ทรงแสดงสามกุ กงั สิกเทศนา คือ อริยสจั ๔ ปิดทา้ ย * ดังประสงค์ ยสะได้ดวงตาเห็นธรรม คอื บรรลโุ สดาปัตตผิ ล • พอ่ ของยสะฟงั อนุปพุ พกิ ถาและอริยสัจ ๔ บรรลพุ ระโสดาบัน ๑. ขอใหข้ า้ พเจ้าไดเ้ ป็นพระเจ้าแผน่ ดินแหง่ แควน้ มคธนี้ แสดงตนเปน็ อุบาสกขอถงึ พระรตั นตรยั ตลอดชวี ติ นับว่าเป็น ๒. ขอใหพ้ ระอรหนั ต์ผตู้ รัสรเู้ องโดยชอบ เสด็จมายังแว่น อบุ าสกคนแรกทีถ่ ึงพระรตั นตรัย เรียกว่า เตวาจกิ อบุ าสก แคว้นมคธน้ี • ยสกุลบุตรสำเร็จพระอรหัตผลด้วยการฟงั ธรรมซำ้ เปน็ คร้ังที่ ๓. ขอให้ขา้ พเจ้า ได้เขา้ ไปนง่ั ใกลพ้ ระอรหนั ต์พระองค์ สอง และทูลขอบรรพชาอุปสมบท นน้ั • พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้เปน็ พระภกิ ษุดว้ ยพระดำรัสว่า ๔. ขอใหพ้ ระอรหนั ต์ แสดงธรรมแกข่ ้าพเจา้ “เธอจงเปน็ ภกิ ษมุ าเถดิ ธรรมอันเรากลา่ วดแี ล้ว เธอจง ๕. ขอให้ข้าพเจ้า รู้ทว่ั ถงึ ธรรมของพระอรหนั ตน์ ั้น ประพฤตพิ รหมจรรย์” • พระเจ้าพมิ พสิ ารถวายเวฬุวนาราม ด้วยการหลั่งน้ำ • มารดาและภรรยาเก่าของพระยสะเป็นพระโสดาบนั ดว้ ยการ ทักษิโณทกใหต้ กลงบนพระหัตถ์ของพระศาสดา ฟงั อนุปุพพิกถาและอรยิ สจั ๔และแสดงตนเปน็ อบุ าสิกาขอถึงพระ • พระเวฬวุ นารามเป็นวดั แรกในพระพทุ ธศาสนา รัตนตรยั ตลอดชวี ติ เรยี กวา่ เตวาจิกอบุ าสกา พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา.
บทท่ี ๘ เสดจ็ กรงุ ราชคฤห์ ๔๗ • อปุ ตสิ สะเปน็ บุตรแห่งตระกูลหัวหนา้ หมบู่ า้ น บิดาชื่อ วันคนั ต • ตรัสแก่ทฆี นขะ เปน็ หลานของพระสารีบุตร ท่ถี ่ำสุกรขาตา พราหมณ์ มารดาชือ่ ว่า สารพี ราหมนี จึงได้นามว่า สารีบุตร ท่เี ขาคชิ กฏู ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ • โกลติ เป็นบุตรแหง่ ตระกลู หวั หนา้ หม่บู ้านโกลิตคาม มารดา • พระพุทธเจ้าทรงแต่งตง้ั พระสารบี ตุ รและพระโมคคัลลานะ ชื่อว่าโมคคัลลี จงึ ไดน้ ามวา่ โมคคลั ลานะ ทัง้ สองทา่ น ศึกษา ในตำแหน่งค่พู ระอัครสาวก ในสำนกั สญั ชัยปรพิ าชก • สารบี ุตร ไดร้ บั การยกยอ่ งเป็นเอตทัคคะว่ามปี ญั ญาเลิศ เปน็ • ฟังธรรมจากพระอสั สชไิ ดด้ วงตาเหน็ ธรรมดว้ ยหัวข้อธรรม พระอคั รสาวกเบ้ืองขวา (สรปุ อริยสัจ ๔) • พระโมคคลั ลานะ ได้รบั การยกยอ่ งเป็นเอตทัคคะว่า มีฤทธล์ิ ำ้ เลศิ เปน็ อคั รสาวกเบ้ืองซ้าย ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุ • พระศาสดาเปรียบพระสารบี ุตรเหมือนมารดาผูใ้ หก้ ำเนิดบตุ ร แห่งธรรมนน้ั และความดับเหตแุ หง่ ธรรมเหล่านนั้ พระมหา เปรียบพระโมคคัลลานะเหมือนนางนมผเู้ ลยี งบุตรทเี่ กดิ แล้ว สมณะตรัสสอนอย่างนี้” • ติสสะและโกลติ ะพร้อมด้วยสหาย ๒๕๐ คน เข้าเฝา้ พระผู้มี บทท่ี ๙ บำเพญ็ พุทธกจิ ในมคธและเสดจ็ สกั กะ พระภาคเจา้ • พระพุทธองคต์ รสั อุบายแกง่ ว่ งแกโ่ มคคลั ลานะ ๙ ข้อพรอ้ ม • พระมหากสั สปะมีชือ่ เดิมว่า ปิปผลิมาณพ เป็นบตุ รกบลิ กับข้อเตือนใจ ๓ ขอ้ พราหมณ์กสั สปโคตร ในบา้ นมหาติฏฐะ จังหวัดมคธรัฐ แต่งงานกบั นางภัททกาปิลานี บุตรพี ราหมณโ์ กสิยโครต แหง่ สา ซึง่ ปฏบิ ัติธรรมใกล้บา้ น กัลลวาลมตุ ตคาม คลนคร จังหวดั มคธรฐั • พระโมคคัลละสำเร็จพระอรหันตใ์ นวันท่ี ๗ หลังจากการ • ปิปผลมิ าณพไดเ้ ดนิ ทางไปพบพระพุทธเจ้าที่ใต้ต้นไทร มีช่ือว่า บวชด้วยอุบายแก้งว่ ง และ “ตณั หกั ขยธรรม” พหปุ ตุ ตกนโิ ครธ กงึ่ ทางระหว่างกรุงราชคฤห์กบั เมืองนาลันทา • อบุ ายแก้ง่วง ๘ ข้อ • พระพทุ ธเจ้าทรงบวชให้พระกัสสปะดว้ ยการประทานโอวาท ๓ ข้อ ๑. เม่ือมสี ญั ญาอขา่ งไร ให้ใส่ใจถึงสัญญาอยา่ งนนั้ ให้ มากๆ ๑. กัสสปะ ท่านพึงศึกษาว่า เราจกั เข้าไปตงั้ ความ ละอายและความยำเกรงไวใ้ นภกิ ษทุ ัง้ ทีเ่ ปน็ ผูเ้ ฒ่า-ผใู้ หม่-ปานกลาง ๒. ใหพ้ ิจารณาธรรมท่ไี ด้ฟงั มาแลว้ ๓. ให้ท่องบ่นธรรมนัน้ ซึ่งได้เรียนได้ฟงั มาแล้ว ๒. ธรรมอนั ใดท่ปี ระกอบด้วยกุศล เราจะตง้ั ใจฟงั และ ๔. ให้ยอน (แยง)หูท้ัง ๒ ข้างและเอามือลูบตัว พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมนั้น ๕. ใหย้ นื ขนึ้ เอาน้ำลูบตัวเหลยี วมองดทู ิศตา่ งๆ และ แหงนหน้ามองดทู ้องฟ้า ๓. เราจกั ไม่ละสติออกจากกาย คือพิจารณากายเปน็ ๖. ให้ใสใ่ จถงึ แสงสวา่ งกลางวนั อารมณ์ ๗. ใหเ้ ดนิ จงกรม สำรวมอนิ ทรยี ์ ทำจติ ใหเ้ ป็นสมาธิ • เม่ือพระกัสสปะบวชแล้ว ภกิ ษุสหธรรมิกนิยมเรยี กท่านว่า ไม่ฟุ้งซา่ น “พระมหากัสสปะ” ๘. ให้สำเร็จสีหไสยาสน์ คอื นอนตะแคงข้างขวาซ้อน • การอุปสมบทด้วยการรบั โอวาท ๓ ข้อ เรยี กว่า โอวาท เท้า มสี ตติ ั้งใจว่าจะลกุ ขน้ึ และเม่ือตื่นแลว้ จงลุกข้นึ ทันที ปฏิคคหณูปสัมปทา • พระสารบี ตุ รบรรลธุ รรมดว้ ยการฟังธรรมชื่อวา่ เวทนา • พระมหากัสสปะได้ฟงั พระพุทธโอวาท ๓ ข้อแล้วบำเพ็ญ ปริคคหสตู ร หลงั บวช ๑๕ วนั เพยี รบรรลุธรรมในวันที่ ๘ แห่งการอปุ สมบท • พระมหากัสสปะ ถือธุดงคค์ ุณ ๓ อยา่ งคอื พระธิวดล จิรปญุ ฺโญ : วดั มชั ฌิมาวาส สงขลา. ๑. ถือการนุง่ ห่มผ้าบังสุกุลเป็นวตั ร ๒. ถือการเทยี่ วบิณฑบาตรเป็นวตั ร
๓. ถอื การอย่ปู ่าเป็นวัตร ๔๘ • ได้รบั ยกย่องจากพระศาสดาวา่ เปน็ ผ้เู ลศิ กว่าภกิ ษุท้งั หลายผู้ ทรงธุดงค์ • พระพทุ ธองค์ ทรงแสดงทิศ ๖ แก่สงิ คาละมาณพ • จาตรุ งคสันนิบาต แปลวา่ การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ บทที่ ๑๐- ๑๑ เสด็จโปรดพุทธบดิ า ๑. พระอรหนั ต์ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ ๑๒๕๐ • พระเจา้ สุทโธทนะสง่ อำมาตย์ไปทูตเชิญพระพทุ ธองค์ ๑๐ องค์ มาประชุมกนั คณะด้วยกัน • กาฬุทายีอำมาตย์ เปน็ คณะสดุ ทา้ ยและทูตเชญิ พระพุทธองค์ ๒. พระสาวกเหล่านั้น ลว้ นเปน็ เอหิภกิ ขุ ผไู้ ด้อภญิ ญา หลงั จากตนบรรลธุ รรม และบวชแลว้ ๘ วัน ๖ • ระยะทางจากราชคฤหส์ ูก่ รงุ กบิลพสั ดุ์ ๖๐ โยชน์ (๙๖๐ กโิ ลเมตร) ๓. พระสาวกเหลา่ นน้ั ตา่ งมากนั เองโดยมไิ ด้นัดหมาย • เดินทางวนั ละโยชน์ (๑๖ กิโลเมตร) เปน็ เวลา ๖๐ วนั พอดี กนั มาก่อน • ชาวกบิลพัสดุ์สร้างนิโครธาราม ถวาย • ทรงแสดงพระธรรมเทศนาเรอ่ื ง มหาเวสสนั ดรชาดกแก่ ๔. เป็นวันเพ็ญ พระจนั ทรเ์ ตม็ ดวง เสวยมาฆฤกษ์ ประยูรญาติ พระบรมศาสดาทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในทา่ มกลางสาวก • พระเจา้ สุทโธทนะทรงบรรลโุ สดาบันดว้ ยคาถาเครอ่ื งเตือนใจ เหล่านน้ั สมณะว่า “ไม่ควรประมาทในก้อนข้าวอนั จะพงึ ลุกขนึ้ ยืนรบั • พระศาสดาทรงอนุญาตเสนาสนะ( ท่นี อนและท่ีนงั่ ) ๕ ชนดิ ควรประพฤติธรรมให้สจุ รติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยูเ่ ปน็ สุขท้งั ใน คือ โลกน้ที ้งั ในโลกอืน่ ” • ทรงแสดงธรรมโปรดพระนางมหาปชาบดี และเจ้าสุทโธทนะ ๑.วิหาร คือกฏุ มิ หี ลังคา ๒. อฑั ฒโยค คือกระท่อม ๓. เมือ่ จบพระธรรมเทศนา พระนางต้ังอยู่ในโสดาบันสว่ นพระพุทธ ปราสาท คอื เรือนชน้ั (กฏุ ิหลาย ๆ ช้นั ) บิดา ได้บรรลุสกทาคสมผิ ล ในวนั ท่ีสอง • ในวนั ทส่ี ามพระพทุ ธองค์ทรงแสดงธรรมมหาธรรมปาลชาดก ๔. หัมมิยะ ไดแ้ ก่ เรือนหรือกุฏิหลังคาตัด ๕. โปรดพระบิดาให้ดำรงอยู่ในพระอนาคามิผล คูหา ไดแ้ ก่ ถำ้ • พระนางพิมพาเทวบี รรลุโสดาบันดว้ ยธรรมเทศนาชอ่ื ว่าจัน • ราชคหกเศรษฐี เป็นผถู้ วายเสนาสนะ ๖๐ หลังเป็นคนแรก ทกนิ นรีชาดก • ทรงแสดงวิธีทำปพุ พเปตพลี • พระสารีบุตรทรงบรรพชาราหุลสามเณรที่นิโครธาราม • พระเจา้ พิมพิสารทรงกระปุพพเปตพลีทำเป็นคร้งั แรก • พระราหุลเป็นสามเณรองคแ์ รกในพระพทุ ธศาสนา ดว้ ยไตร • ทักษณิ าอทุ ศิ คนตายท่วั ไป เรียกว่า ทักษิณานุปทาน สรณคมน์ • มตกทาน แปลว่า การอุทศิ ใหผ้ ู้ตาย • พระเจา้ สุทโธทนะทลู ขอประทานพระพุทธานุญาตวา่ “ แต่น้ี • ทักษณิ าอทุ ิศเฉพาะบุรพบิดา เรยี กวา่ ปพุ พเปตพลี ต่อไป กลุ บตุ รผ้ใู ดประสงคจ์ ะบรรพชา หากมารดาบิดายงั ไม่ • การอุปสมบทแบบญตั ติจตตุ ถกรรมอุปสมั ปทา พระราธะ ยอมพรอ้ มใจอนุญาตให้บวชแล้วกข็ องดไว้ อยา่ ไดร้ บี ให้ บวชเป็นองค์แรก มีพระสารีบตุ รเป็นอุปัชฌาย์ ท่ีเวฬุวนั มหา บรรพชาอปุ สมบทแก่กลุ บุตรเป็นอนั ขาด” วิหาร กรงุ ราชคฤห์ • บรรลพุ ระอรหนั ตด์ ว้ ยพระธรรมเทศนาชอ่ื ว่า ราหุโลวาทสตู ร” • พระราธไดร้ บั ยกย่องจากพระศาสดาว่า เปน็ ผเู้ ลิศกวา่ ภิกษุ หลงั จากอปุ สมบทแล้ว ท้ังหลายในทางปฏิภาณ” • ทา่ นได้รับยกยอ่ งวา่ เป็นผเู้ ลิศกว่าภกิ ษุทั้ง ในทางใคร่ต่อ • การบวชหรอื อุปสมบทกรรมมี ๓ วธิ ี คือ การศกึ ษา” ๑. เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา ๒. ติสรณคมนูปสมั ปทา ๓. ญตั ตจิ ตตุ ถกรรม พระธิวดล จิรปุญฺโญ : วดั มชั ฌมิ าวาส สงขลา.
Search