Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-06-10 16:08:42

Description: บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

Search

Read the Text Version

|กิตก์ วิเคราะหใ์ นกิตกิจจปจ จยั อ ปจจยั (ปฏสิ มฺภิทา, หิตกฺกโร, นิสสฺ โย, สกิ ขฺ า, วินโย, ปภโว) ปฏิ สํ ภชิ ชฺ ตีติ ปฏิสมภฺ ทิ า. (ปญ ญาใด) ยอมแตกฉาน ดี โดยตาง เหตุนัน้ (ปญญานัน้ ) ช่อื วา แตกฉาน ดโี ดยตาง หิตํ กโรตตี ิ หิตกฺกโร. (ชนใด) ยอ มทำ� ซ่งึ ประโยชน เก้ือกูล เหตุนัน้ (ชนชัน้ ) ช่อื วา ผูท�ำ ซ่งึ ประโยชนเก้อื กูล นิสสฺ าย นํ วสตตี ิ นิสสฺ โย. (ศษิ ย) ยอมอาศยั ซ่งึ อาจารยน ัน้ อยู เหตนุ ัน้ (อาจารยน ัน้ ) ช่อื วา เปนท่อี าศัยอยู (ของศิษย) สิกขฺ ิยตีติ สกิ ขฺ า. (ธรรมชาติใด) อันเขาศึกษา เหตนุ ัน้ (ธรรมชาตินัน้ ) ช่อื วา อันเขา ศึกษา สกิ ฺขนํ สิกขฺ า. ความศึกษา ช่อื วา สิกขา วเิ นติ เตนาติ วินโย. (บัณฑิต) ยอ มแนะน�ำ ดวยอบุ ายนัน้ เหตุนัน้ (อุบายนัน้ ) ช่อื วา เปน เคร่ืองแนะน�ำ (ของบัณฑติ ) ปมํ ภวติ เอตสฺมาติ ปภโว. (แมน ้�ำ) ยอ มเกดิ กอ น แตป ระเทศนัน่ เหตนุ ัน้ (ประเทศนัน่ ) ช่อื วา เปน แดนเกิดกอ น (แหง แมน้�ำ) 100

อิ ปจ จยั (อุทธ,ิ สนธฺ ิ, นธิ )ิ อุทกํ ทธาตีติ อทุ ธิ. (ประเทศใด) ยอ มทรงไว ซ่งึ น้�ำ เหตนุ ัน้ (ประเทศนัน้ ) ช่อื วา ผทู้ รง ไวซ ่ึงน้�ำ (ทะเล) สนฺธิยตีติ สนธฺ ิ. (วาจาใด) อันเขาตอ เหตนุ ัน้ (วาจานัน้ ) ช่อื วา อนั เขาตอ นิธิยตตี ิ นิธิ. (สมบตั ใิ ด) อนั เขาฝง ไว เหตุนัน้ (สมบัตินัน้ ) ช่อื วา อนั เขาฝงไว ณ ปจ จัย (กมฺมกาโร, โรโค, วาโห, ปาโก, โทโส, อาวาโส) กมฺมํ กโรตตี ิ กมฺมกาโร. (ชนใด) ยอ มกระท�ำ ซ่ึงกรรม เหตุนัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผกู ระทำ� ซ่ึงกรรม รุชฺชตีติ โรโค. (อาพาธใด) ยอ มเสยี ดแทง เหตนุ ัน้ (อาพาธนัน้ ) ช่อื วา ผเู สยี ดแทง วหิตพโฺ พติ วาโห. (ภาระใด) อนั เขา พงึ น�ำไป เหตนุ ัน้ (ภาระนัน้ ) ช่อื วา อนั เขาพงึ น�ำไป ปจนํ ปาโก. ความหงุ ช่อื วา ปากะ ทสุ ฺสติ เตนาติ โทโส. (ชนใด) ยอมประทษุ ราย ดว ยกิเลสนัน้ เหตนุ ัน้ (กเิ ลสนัน้ ) ช่ือวา เปน เคร่ืองประทษุ ราย (แหงชน) อาวสนตฺ ิ เอตฺถาติ อาวาโส. กิตก์| (ภิกษุ ท.) ยอมอาศัยอยู ในประเทศนัน่ เหตุนัน้ (ประเทศนัน่ ) ช่อื วา เปน ทอ่ี าศยั อยู (แหง ภกิ ษุ ท.) 101

|กิตก์ ตเว ปจจยั กาตเว เพ่อื อันท�ำ คนตฺ เว เพ่อื อันไป ปจ จัยนี้ลงในจตุตถีวิภตั ตินาม ติ ปจ จยั (มติ, สติ, สมปฺ ตฺติ, คต)ิ มญฺตีติ มต.ิ (ปญ ญาใด) ยอมรู เหตุนัน้ (ปญ ญานัน้ ) ช่ือวา ผรู ู มญฺ ติ เอตายาติ มต.ิ (ชน) ยอ มรู ดว ยปญ ญานัน่ เหตุนัน้ (ปญ ญานัน่ ) ช่ือวา เปน เหตุรู (แหง ชน) มนนํ มติ. ความรู ช่ือวา มติ สรตตี ิ สติ. (ธรรมชาตใิ ด) ยอ มระลึก เหตนุ ัน้ (ธรรมชาตินัน้ ) ช่อื วา ผูระลึก สรติ เอตายาติ สต.ิ (ชน) ยอมระลึกดวยธรรมชาตินั่น เหตุนั้น (ธรรมชาตินั่น) ช่ือวาเปน เหตุระลกึ (แหงชน) สรณํ สติ ความระลกึ ช่อื วา สติ สมปฺ ชฺชิตพฺพาติ สมฺปตฺต.ิ (ธรรมชาตใิ ด) อันเขาพึงถงึ พรอ ม เหตุนัน้ (ธรรมชาตนิ ัน้ ) ช่ือวา อันเขาพึงถงึ พรอม คจฺฉนตฺ ิ เอตถฺ าติ คติ. (ชน ท.) ยอมไป ในภูมินั่น เหตุนัน้ (ภูมินัน่ ) ช่ือวา เปนท่ีไป 102 (แหง ชน ท.)

ตุํ ปจ จยั กาตํุ เพ่อื จะทำ�  คนฺตุํ เพ่ือจะไป ปจ จยั นี้ลงในปฐมาวภิ ตั ตแิ ละจตุตถีวภิ ตั ตนิ าม ยุ ปจจัย (เจตนา, โกธโน, โภชนํ, คมนํ, กรณํ, สวํ ณณฺ นา, สยนํ) เจตยตตี ิ เจตนา. (ธรรมชาตใิ ด) ยอมคดิ เหตนุ ัน้ (ธรรมชาตนิ ัน้ ) ช่ือวา ผคู ิด กุชฌฺ ติ สีเลนาติ โกธโน. (ชนใด) ยอ มโกรธ โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูโกรธโดยปกติ ภุญชฺ ติ พพฺ นฺติ โภชนํ. (สิ่งใด) อนั เขา พงึ กิน เหตนุ ัน้ (ส่ิงนัน้ ) ช่ือวา อนั เขาพงึ กิน คจฉฺ ิยเตติ คมนํ. (อนั เขา) ยอ มไป เหตุนัน้ ช่อื วาความไป กโรติ เตนาติ กรณํ. (เขา) ยอมท�ำ ดวยส่ิงนัน้ เหตุนัน้ สิ่งนัน้ ช่ือวา เปนเคร่ืองท�ำ (แหงเขา) สวํ ณณฺ ิยติ เอตายาติ สํวณณฺ นา. (เน้ือความ) อันท่านยอมพรรณนาพรอม ดวยวาจานั่น เหตุนัน้ (วาจานนั่ ) ช่อื วา เปน เคร่อื งอนั ทา่ นพรรณนาพรอ ม (แหง เน้ือความ) สยนตฺ ิ เอตถฺ าติ สยนํ. (เขา ท.) ยอมนอนในท่ีนั่น เหตุนั้น (ที่นั่น) ช่ือวาเปนท่ีนอน (แหง เขา ท.) ยุ ปจจยั นี้ ถาลงหลงั ธาตทุ ี่มี ม และ ร เป็นที่สุด ให้แปลงเป็น อณ, ลง กิตก์| หลังธาตทุ มี่ ี ห เป็นท่สี ดุ ใหแ้ ปลงเป็น อณ หรือ อน, ถ้าลงหลังธาตุนอกนี้ ใหแ้ ปลงเป็น อน 103

|สมาส สมาส นามศัพทต งั้ แต ๒ บทข้นึ ไป ทยี่ อเขาเปนบทเดยี วกนั เรยี กวา สมาส สมาส วาโดยกิจมี ๒ อยาง คือ สมาสที่ลบวิภัตติเสยี แลว้ เรียกวา ลุตตสมาส เชน่ กนิ ทสุ ฺสํ สมาสที่ยังมิไดลบวภิ ัตต ิ เรยี กวา อลุตตสมาส เช่น ทูเรนิทานํ สมาส วาโดยช่อื มี ๖ อยาง คือ กัมมธารโย ทคิ ุ ตัปปุรโิ ส ทวันทโว อพั ยยภี าโว พหุพพหิ ิ กัมมธารยสมาส นามศพั ท ๒ บท มีวภิ ตั ติและวจนะเดียวกัน บทหน่ึงเปน ประธาน คือ เปนนามนาม บทหน่ึงเปนวิเสสนะ คือเปนคุณนาม หรือเปนคุณนามทัง้ ๒ บท มบี ทอ่นื เปน ประธาน ทยี่ อ เขาเปน บทเดยี วกนั เรยี กวา่ กมั มธารยสมาส มี ๖ อยาง คือ วิเสสนบุพพบท วิเสสนตุ ตรบท วเิ สสโนภยบท วเิ สสโนปมบท สมั ภาวนบพุ พบท อวธารณบุพพบท วเิ สสนบพุ พบท มีบทวิเสสนะอยหู นา บทประธานอยูหลัง ดงั นี้ มหนโฺ ต ปุรโิ ส มหาปุรโิ ส บรุ ุษใหญ่ ขตตฺ ิยา กญฺา ขตฺติยกญฺา นางกษตั ริย นีลํ อปุ ฺปลํ นีลปุ ปฺ ล ํ ดอกอุบลเขยี ว มหนโฺ ต ราชา มหาราชา พระราชาผใู้ หญ 104 มหนฺตี ธานี มหาธานี เมืองใหญ

มหนฺตํ วนํ มหาวนํ ปา ใหญ กจุ ฺฉิตา ทิฏิ กุทิฏฺ ิ ทฏิ ฐิอนั บนั ฑติ เกลยี ด ปธานํ วจนํ ปาวจนํ ค�ำเปนประธาน สนโฺ ต ปุริโส สปปฺ ุรโิ ส บุรษุ ระงบั แลว วิเสสนุตตรบท มีบทวเิ สสนะอยหู ลงั บทประธานอยูหนา ดังนี้ สตโฺ ต วเิ สโส สตตฺ วิเสโส สตั วว ิเศษ นโร วโร นรวโร นระประเสรฐิ มนุสโฺ ส ทลทิ ฺโท มนุสฺสทลิทโฺ ท มนษุ ย์ขดั สน วิเสสโนภยบท มีบททงั้ ๒ เปน วิเสสนะ บทอ่นื เปน ประธาน ดงั นี้ สตี ญฺจ สมฏญฺจ สีตสมฏํ (านํ) (ท่ี) ทงั้ เยน็ ทัง้ เกลีย้ ง อนฺโธ จ วธโิ ร จ  อนฺธวธิโร (ปุรโิ ส) (บรุ ษุ ) ทงั้ บอดทงั้ หนวก ขญฺโช จ ขชุ โฺ ช จ ขญฺชขชุ ฺโช (ปุริโส) (บรุ ษุ ) ทัง้ งอ ยทัง้ คอ ม วิเสสโนปมบท มีบทวิเสสนะเปนอปุ มา จัดเปน ๒ ตามวเิ สสนะอยูหนาและหลัง ดงั นี้ สมาสท่มี ีอปุ มาอยูห นา เรียกวา อุปมาบุพพบท ดังนี้ สงฺขํ อวิ ปณฺฑรํ สงขฺ ปณฑฺ รํ (ขรี ํ) (น้�ำนม) ขาวเพียงดงั สังข กาโก อิว สโู ร กากสูโร (นโร) (คน) กลาเพยี งดังกา ทิพพฺ ํ อวิ จกฺขุ ทิพฺพจกฺขุ จักษุเพยี งดังทิพย สมาสทีม่ อี ปุ มาอยหู ลัง เรียกวา อปุ มานุตตรบท ดังนี้ นโร สโี ห อวิ นรสโี ห นระเพียงดังสหี ะ สมาส| าณํ จกขฺ ุ อิว าณจกขฺ ุ ญาณเพยี งดงั จกั ษุ ปญฺ า ปาสาโท อิว ปญฺาปาสาโท ปญญาเพียงดังปราสาท 105

สมั ภาวนบุพพบท มีบทหนาท่ีประกอบดว ย อิติ ศัพท บทหลังเปน ประธาน ดงั นี้ ขตฺติโย (อหํ) อิติ มาโน ขตฺติยมาโน มานะ วา (เรา) เปนกษตั รยิ  สตโฺ ต อติ ิ สญฺ า สตตฺ สญฺ า ความสำ� คญั วา สตั ว สมโณ (อห)ํ อิติ ปฏิญฺา สมณปฏญิ ฺา ความปฏิญญา วา (เรา) เปน สมณะ อวธารณบพุ พบท มบี ทหนาทป่ี ระกอบดว ย เอว ศพั ท บทหลงั เปนประธาน ดังนี้ ปญฺ า เอว ปโชโต ปญฺาปโชโต (ปทโี ป) (ประทปี ) อนั โพลงทวั่ คอื ปญ ญา พทุ ฺโธ เอว รตนํ พทุ ฺธรตนํ รัตนะ คือ พระพุทธเจา สทธฺ า เอว ธนํ สทฺธาธนํ ทรพั ย คอื ศรทั ธา ทคิ ุสมาส กัมมธารยสมาสท่ีมีสังขยาอยูหนา เรียกว่า ทิคุสมาส มี ๒ อยาง คือ สมาหาร ๑ อสมาหาร ๑ ทิคุสมาส ท่ีรวมนามศัพท มีเน้ือความเป็ นพหุวจนะ ให้เป็ นเอกวจนะ นปงุ สกลิงค ช่อื สมาหารทคิ ุ ดังนี้ ตโย โลกา ตโิ ลกํ โลก ๓ จตสฺโส ทิสา จตุทฺทสิ ํ ทิศ ๔ |สมาส ปญฺจ อินฺทรฺ ยิ านิ ปญจฺ ินทฺ รฺ ยิ ํ อินทรยี  ๕ ทคิ ุสมาส ทไี่ มไดทำ� อยางนี้ ช่อื อสมาหารทิคุ ดงั นี้ เอโก ปุคฺคโล เอกปคุ คฺ โล บุคคลผเู้ ดยี ว 106

จตสโฺ ส ทิสา จตทุ ทฺ ิสา ทิศ ๔ ท. ปญฺจ พลานิ ปญจฺ พลานิ ก�ำลงั ๕ ท. ตปั ปรุ สิ สมาส นามศพั ทม ี อํ วภิ ตั ตเิ ปน ตน ทยี่ อ เขากบั บทหลงั เรยี กวา่ ตปั ปรุ สิ สมาส มี ๖ อยาง คือ ทุตยิ าตปั ปรุ ิโส ตติยาตัปปรุ โิ ส จตตุ ถีตปั ปุรโิ ส ปัญจมตี ปั ปรุ ิโส ฉฏั ฐีตปั ปรุ ิโส สตั ตมตี ปั ปุริโส ทุตยิ าตัปปรุ สิ สมาส มีบทหน้าประกอบด้วยทุติยาวภิ ตั ติ ดังนี้ สขุ ํ ปตฺโต สขุ ปปฺ ตโฺ ต (ปรุ โิ ส) (บรุ ุษ) ถงึ แลว ซ่งึ สขุ คามํ คโต คามคโต (ปรุ โิ ส) (บรุ ษุ ) ไปแลวสบู าน สพพฺ รตตฺ ึ โสภโณ สพพฺ รตตฺ ิโสภโณ (จนฺโท) (พระจนั ทร) งามตลอดราตรีทงั้ ปวง ตตยิ าตปั ปุรสิ สมาส มีบทหน้าประกอบดว้ ยตตยิ าวภิ ตั ติ ดงั นี้ อสเฺ สน (ยตุ โฺ ต) รโถ อสฺสรโถ รถ (เทียมแลว ) ดวยมา สลฺเลน วทิ โฺ ธ สลลฺ วิทฺโธ (สตโฺ ต) (สตั ว) อนั ลูกศรแทงแลว อสนิ า กลโห อสิกลโห ความทะเลาะเพราะดาบ จตุตถตี ัปปรุ สิ สมาส มบี ทหน้าประกอบด้วยจตตุ ถวี ิภัตติ ดงั นี้ กนิ สสฺ ทุสสฺ ํ กนิ ทุสฺสํ ผาเพ่ือกฐนิ สมาส| อาคนตฺ ุกสฺส ภตฺตํ อาคนตฺ ุกภตตฺ ํ ภัตรเพ่อื ผูม า คลิ านสสฺ เภสชฺชํ คิลานเภสชฺช ํ ยาเพ่ือคนไข 107

ปญจมีตัปปรุ สิ สมาส มบี ทหน้าประกอบด้วยปัญจมีวิภัตติ ดงั นี้ โจรมหฺ า ภยํ โจรภยํ ภัยแตโจร มรณสฺมา ภยํ มรณภย ํ ความกลวั แตค วามตาย พนฺธนา มุตฺโต พนฺธนมุตโฺ ต (สตโฺ ต) (สตั ว) พนแลว จากเคร่ืองผูก ฉัฏฐตี ัปปุรสิ สมาส มีบทหน้าประกอบด้วยฉฏั ฐวี ิภัตติ ดงั นี้ รญฺโ ปตุ โฺ ต ราชปตุ ฺโต บุตรแหง พระราชา ธญฺ านํ ราสิ ธญฺ ราส ิ กองแหง ขาวเปลอื ก รุกขฺ สสฺ สาขา รกุ ขฺ สาขา ก่ิงแหง ตน ไม สัตตมีตปั ปรุ สิ สมาส มีบทหน้าประกอบด้วยสัตตมีวภิ ัตติ ดังนี้ รูเป สญฺา รูปสญฺา ความส�ำคัญในรปู สสํ าเร ทกุ ฺขํ สสํ ารทุกฺขํ ทุกขใ นสงสาร วเน ปุปผฺ ํ วนปุปผฺ ํ ดอกไมใ นปา สมาสท่ีมี น อยูหนา เรียกว่า น บุพพบทกัมมธารยะ หรือ อุภย- ตปั ปรุ สิ ะ ดงั นี้ น พรฺ าหฺมโณ อพฺราหมฺ โณ (อยํ ชโน) (ชนนี้) มใิ ชพ ราหมณ น วสโล อวสโล (อยํ ชโน) (ชนนี้) มใิ ชค นถอ ย น อสฺโส อนสฺโส (อยํ สตโฺ ต) (สตั วน ี้) มใิ ชม า น อรโิ ย อนรโิ ย (อยํ ชโน) (ชนนี้) มใิ ชพ ระอรยิ เจา |สมาส ในสมาสนี้ ถาพยัญชนะอยูหลัง น เอา น เปน อ เหมือนค�ำว่า อพฺราหฺมโณ เปนตน, ถาสระอยูหลัง น เอา น เปน อน เหมือนค�ำว่า 108 อนสโฺ ส เปนตน

ทวนั ทวสมาส นามนามตงั้ แต ๒ บทข้นึ ไป ที่ยอเขาเปนบทเดียวกัน เรยี กวา่ ทวันทว สมาส มี ๒ อยาง คือ สมาหาร ๑ อสมาหาร ๑ สมาหารทวันทวสมาส ไดแ้ ก่ การรวมนามนามตัง้ แต่ ๒ บทข้นึ ไปให้ เป็นเอกวจนะ นปงุ สกลงิ ค์ ดังนี้ สมโถ จ วปิ สฺสนา จ สมถวิปสสฺ นํ สมถะดว ย วปิ ส สนาดว ย ช่อื วา่ สมถะและวปิ ส สนา สงโฺ ข จ ปณโว จ สงขฺ ปณวํ สังขดวย บัณเฑาะวดว ย ช่อื วา่ สงั ขและบณั เฑาะว ปตฺโต จ จวี รญฺจ ปตตฺ จีวรํ บาตรดว ย จวี รดว ย ช่อื วา่ บาตรและจีวร หตถฺ ี จ อสโฺ ส จ รโถ จ ปตฺตโิ ก จ หตถฺ ีอสสฺ รถปตตฺ ิกํ ชางดวย มาดวย รถดวย คนเดนิ เทาดว ย ช่อื วา่ ชางและมาและ รถและคนเดนิ เทา อสมาหารทวันทวสมาส ไมไ่ ด้ทำ� อย่างนัน้ ดังนี้ สมาส| จนฺทมิ า จ สรุ โิ ย จ จนทฺ ิมสุรยิ า พระจนั ทรดวย พระอาทิตยด ว ย ช่อื วา่ พระจนั ทรและ 109 พระอาทติ ย ท. สมโณ จ พฺราหมฺ โณ จ สมณพฺราหมฺ ณา สมณะดว ย พราหมณดวย ช่อื ว่า สมณะและพราหมณ ท. สารปี ตุ โฺ ต จ โมคฺคลลฺ าโน จ สารปี ุตฺตโมคฺคลฺลานา พระสารีบตุ รดวย พระโมคคลั ลานะดวย ช่อื ว่า พระสารีบุตรและ พระโมคคลั ลานะ ท. ปณณฺ ญจฺ ปปุ ผฺ ญฺจ ผลญฺจ ปณณฺ ปุปฺผผลานิ ใบไมดว ย ดอกไมด ว ย ผลไมด วย ช่อื ว่า ใบไมแ ละดอกไมแ ละ ผลไม ท.

อัพยยภี าวสมาส สมาสท่ีมีอุปสัคหรือนิบาตอยูขางหนา เรียกว่า อัพยยีภาวสมาส มี ๒ อยาง คือ อุปสคั ปุพพกะ ๑ นิบาตปพุ พกะ ๑ อปุ สัคคปุพพกะ มีอปุ สัคอยหู นา ดังนี้ นครสฺส สมปี ํ อปุ นครํ ที่ใกลเ คยี งแหง เมอื ง ช่อื ว่า ใกลเมอื ง ทรถสฺส อภาโว นิทฺทรถํ ความไมมแี หงความกระวนกระวาย ช่อื วา่ ความไมมคี วาม กระวนกระวาย วาตํ อนวุ ตตฺ ตีติ อนวุ าตํ (ยํ วตถฺ ุ สิง่ ใด) ยอมเปน ไปตามซ่ึงลม เหตนุ ัน้ (ตํ วตฺถุ สิ่งนัน้ ) ช่อื วา ตามลม วาตสฺส ปฏิวตตฺ ตตี  ิ ปฏวิ าตํ (ยํ วตถฺ ุ สงิ่ ใด) ยอ มเปน ไปทวนแกลม เหตนุ ัน้ (ตํ วตฺถุ สง่ิ นัน้ ) ช่อื วา ทวนลม อตตฺ านํ อธวิ ตตฺ ตีติ อชฌฺ ตฺตํ (ยํ วตถฺ ุ ส่ิงใด) ยอ มเปน ไปทับซ่งึ ตน เหตุนัน้ (ตํ วตถฺ ุ ส่ิงนัน้ ) ช่อื วา ทับตน นิปาตปุพพกะ มนี ิบาตอยหู นา ดังนี้ วุฑฒฺ านํ ปฏปิ าฏิ ยถาวฑุ ฺฒํ ล�ำดบั แหง คนเจรญิ แลว ท. ช่อื วา ตามคนเจริญแลว ชวี สฺส ยตฺตโก ปรจิ เฺ ฉโท ยาวชีวํ |สมาส กำ� หนด เพยี งไร แหงชวี ติ ช่อื วา เพยี งไรแหง ชีวติ ปพฺพตสฺส ติโร ตโิ รปพพฺ ต ํ ภายนอก แหง ภเู ขา 110 นครสฺส พหิ พหินคร ํ ภายนอก แหง เมือง

ปาสาทสสฺ อนโฺ ต อนโฺ ตปาสาทํ ภายใน แหง ปราสาท ภตตฺ สฺส ปจฉฺ า ปจฉฺ าภตฺตํ ภายหลัง แหงภัตร พหุพพิหสิ มาส หรือ ตุลยาธกิ รณพหุพพิหิสมาส สมาสที่มบี ทอ่นื เปน ประธาน เรยี กวา่ พหพุ พิหสิ มาส มี ๖ อยาง คอื ทตุ ยิ าพหพุ พิหิ ตติยาพหพุ พิห ิ จตตุ ถพี หพุ พิหิ ปญจมีพหุพพหิ ิ ฉฏั ฐีพหุพพหิ ิ สัตตมีพหพุ พหิ ิ ทุตยิ าพหพุ พิหิ ทุตยิ าพหพุ พิหิ เอาบทท่เี ปน ทตุ ยิ าวภิ ตั ติ (ย ศพั ท)์ ในรูปวิเคราะหเ ปน ประธานของบทสมาส ดงั นี้ อาคตา สมณา ยํ โส อาคตสมโณ (อาราโม) สมณะ ท. มาแลว สูอารามใด อารามนัน้ ช่ือวา มสี มณะมาแลว รุฬหฺ า ลตา ยํ โส รฬุ ฺหลโต (รุกฺโข) เถาวัลย ข้ึนแลว สตู นไมใ ด ตน ไมนัน้ ช่อื วา มีเถาวลั ยข ้ึนแลว สมปฺ ตฺตา ภกิ ขฺ ู ยํ โส สมฺปตตฺ ภกิ ฺขุ (อาวาโส) ภกิ ษุ ท. ถึงพรอมแลว ซ่งึ อาวาสใด อาวาสนัน้ ช่ือวา มภี กิ ษถุ งึ พรอมแลว ตติยาพหุพพิหิ ตตยิ าพหุพพหิ ิ เอาบทท่เี ปนตติยาวิภตั ติ (ย ศพั ท)์ ในรูปวเิ คราะหเปน ประธานของบทสมาส ดงั นี้ ชติ านิ อินทฺ ฺรยิ านิ เยน โส ชติ นิ ฺทรฺ โิ ย (สมโณ) อนิ ทรยี  ท. อันสมณะใด ชนะแลว สมณะ นัน้ ช่อื วา สมาส| มอี ินทรยี อ ันชนะแลว กตํ ปุญญฺ ํ เยน โส กตปุญโฺ  (ปุรโิ ส) 111 บุญ อนั บุรษุ ใดท�ำแลว บุรษุ นัน้ ช่อื วา มบี ญุ อันท�ำแลว

|สมาส อาหิโต อคฺคิ เยน โส อาหติ คฺคิ (พฺราหฺมโณ) ไฟ อันพราหมณใ ด บูชาแลว พราหมณน ัน้ ช่ือวา มีไฟอันบูชาแลว้ วิสํ ปตํ เยน โส วสิ ปโ ต (สโร) ยาพษิ อันลูกศรใด ด่มื แลว ลูกศรนัน้ ช่ือวา มียาพิษอันด่มื แลว อีกอยางหน่ึง บทวเิ สสนะอยหู ลงั ดังนี้ อคฺคิ อาหิโต เยน โส อคฺยาหิโต (พรฺ าหฺมโณ) ไฟ อนั พราหมณใด บูชาแลว พราหมณนัน้ ช่ือวา มไี ฟอันบชู าแลว จตตุ ถีพหุพพิหิ จตตุ ถพี หพุ พหิ ิ เอาบททเ่ี ปน จตตุ ถวี ภิ ตั ติ (ย ศพั ท)์ ในรปู วเิ คราะห เปน ประธานของบทสมาส ดงั นี้ ทินโฺ น สงุ ฺโก ยสฺส โส ทินฺนสงุ โฺ ก (ราชา) สวย (อันชาวเมอื ง ท.) ถวายแลว แดพระราชาใด พระราชานัน้ ช่ือวา มีสวยอันชาวเมอื ง ท. ถวายแลว กตํ ทณฑฺ กมฺมํ ยสสฺ โส กตทณฑฺ กมโฺ ม (สสิ ฺโส) ทัณฑกรรม (อนั อาจารย) ท�ำแลว แกศษิ ยใด ศษิ ยนัน้ ช่ือวา มที ณั ฑกรรม อนั อาจารยก ระทำ� แลว สญฺชาโต สเํ วโค ยสสฺ โส สญฺชาตสํเวโค (ชโน) ความสังเวช เกิดพรอมแลว แกชนใด ชนนัน้ ช่ือวา มคี วาม สงั เวชเกิดพรอ มแลว ปญจมพี หพุ พหิ ิ ปญ จมพี หพุ พหิ ิ เอาบททเ่ี ปน ปญ จมวี ภิ ตั ติ (ย ศพั ท)์ ในรปู วเิ คราะห เปน ประธานของบทสมาส ดังนี้ นคิ ฺคตา ชนา ยสมฺ า โส นิคฺคตชโน (คาโม) 112 ชน ท. ออกไปแลว จากบานใด บานนัน้ ช่ือวา มชี นออกไปแลว

ปติตานิ ผลานิ ยสฺมา โส ปตติ ผโล (รกุ โฺ ข) ผล ท. หลนแลว จากตน ไมใด ตน ไมน ัน้ ช่อื วา มผี ลหลนแลว วโี ต ราโค ยสมฺ า โส วีตราโค (ภิกขฺ ุ) ราคะ ไปปราศแลว จากภิกษุใด ภิกษุนัน้ ช่อื วา มีราคะไปปราศแลว ฉัฏฐพี หพุ พิหิ ฉฏั ฐีพหุพพหิ ิ เอาบททเ่ี ปน ฉฏั ฐีวภิ ัตติ (ย ศัพท)์ ในรปู วเิ คราะห เปน ประธานของบทสมาส ดงั นี้ ขีณา อาสวา ยสสฺ โส ขีณาสโว (ภกิ ขฺ )ุ อาสวะ ท. ของภกิ ษใุ ด สนิ้ แลว ภิกษุนัน้ ช่อื วา มอี าสวะสิน้ แลว สนฺตํ จติ ตฺ ํ ยสสฺ โส สนตฺ จิตฺโต (ภกิ ฺขุ) จติ ของภิกษใุ ด ระงบั แลว ภิกษนุ ัน้ ช่อื วา มจี ติ ระงบั แลว ฉินนฺ า หตฺถา ยสสฺ โส ฉินนฺ หตโฺ ถ (ปุรโิ ส) มือ ท. ของบุรษุ ใด ขาดแลว บรุ ษุ นัน้ ช่อื วามี มอื ขาดแลว้ บทวิเสสนะอยูห ลงั ดงั นี้ หตถฺ า ฉินฺนา ยสฺส โส หตถฺ จฺฉินโฺ น (ปุรโิ ส) มอื ท. ของบรุ ษุ ใด ขาดแลว บรุ ษุ นัน้ ช่ือวา มมี ือขาดแลว ฉัฏฐอี ุปมาพหพุ พิหิ สมาส| รูปวิเคราะห์แห่งฉฏั ฐีพหพุ พหิ ิทมี่ เี น้ือความเปรยี บเทยี บ (อิว) ดงั นี้ 113 สวุ ณฺณสสฺ วณโฺ ณ อิว วณฺโณ ยสฺส โส สวุ ณณฺ วณฺโณ (ภควา) วรรณะ ของ พระผูม พี ระภาคใด เพียงดงั วรรณะแหง ทอง พระผมู ีพระภาคนัน้ ช่อื วา มวี รรณะเพียงดงั วรรณะแหง ทอง พฺรหมฺ ุโน สโร อิว สโร ยสฺส โส พรฺ หมฺ สสฺ โร (ภควา) เสยี งของพระผมู ีพระภาคใด เพยี งดังเสียงแหง พรหม พระผูมีพระภาคนัน้ ช่อื วา มีเสียงเพียงดงั เสยี งแหงพรหม

|สมาส สตั ตมพี หพุ พหิ ิ สตั ตมพี หพุ พหิ ิ เอาบททเี่ ปน สตั ตมวี ภิ ตั ติ (ย ศพั ท)์ ในรปู วเิ คราะห์ เปน ประธานของบทสมาส ดังนี้ สมฺปนฺนานิ สสฺสานิ ยสฺมึ โส สมปฺ นนฺ สสฺโส (ชนปโท) ขาวกลา ท. ในชนบทใด ถึงพรอ มแลว ชนบทนัน้ ช่ือวา มขี าวกลา ถงึ พรอ มแลว พหู นทโิ ย ยสมฺ ึ โส พหนุ ทิโก (ชนปโท) แมน้�ำ ท. ในชนบทใด มาก ชนบทนัน้ ช่อื วา มแี มน ้�ำมาก ติ า สริ ิ ยสมฺ ึ โส ติ สิริ (ชโน) ศรี ตัง้ อยู ในชนใด ชนนัน้ ช่อื วา มศี รีตงั้ อยู ภนิ นาธิกรณพหพุ พหิ ิสมาส รูปวิเคราะหแห่งพหุพพิหิท่ีบททั้ง ๒ มีวิภัตติตางกัน เรียกวา ภินนาธิกรณพหพุ พหิ ิ ดงั นี้ เอกรตตฺ ึ วาโส อสฺสาติ เอกรตตฺ ิวาโส (ชโน) การอยูของชนนัน้ (มอี ยู) สนิ้ คืนเดยี ว เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มกี ารอยสู ิน้ คืนเดยี ว อรุ สิ โลมานิ ยสฺส โส อรุ สิโลโม (พฺราหมฺ โณ) ขน ท. ทอี่ กของพราหมณใด (มอี ยู) พราหมณนัน้ ช่ือวา มีขนที่อก อสิ หตเฺ ถ ยสฺส โส อสิหตโฺ ถ (โยโธ) ดาบ (ม)ี ในมือของทหารใด ทหารนัน้ ช่ือวา มดี าบในมือ ฉตฺตํ ปาณมิ ฺหิ ยสสฺ โส ฉตฺตปาณิ (ปรุ โิ ส) รม (มี) ในมอื ของบรุ ุษใด บรุ ษุ นัน้ ช่อื วา มีรม ในมือ มณิ กณเฺ  ยสสฺ โส มณิกณฺโ (นาคราชา) แกว (มี) ที่คอของนาคราชใด นาคราชนัน้ ช่ือวา มแี กว ที่คอ 114

กตํ กุสลํ เยหิ เต กตกสุ ลา (ชนา) สมาส| กศุ ล อันชน ท. เหลาใด ท�ำแลว ชน ท. เหลานัน้ ช่อื วา มกี ุศล อันท�ำแลว อาวุธา หตเฺ ถสุ เยสํ เต อาวธุ หตฺถา (โยธา) อาวุธ ท.(ม)ี ในมอื ท.ของทหาร ท.เหลาใด ทหาร ท. เหลานัน้ ช่อื วา มอี าวธุ ในมือ น บุพพบทพหุพพหิ ิ พหุพพิหิที่มีเน้ือความปฏิเสธ เรียกวา น บุพพบทพหุพพิหิ แปลว่า มี...หามไิ ด้ ดังนี้ นตถฺ ิ ตสฺส สโมติ อสโม (ภควา) ผูเสมอ ไมมแี กพระผมู พี ระภาคนัน้ เหตุนัน้ (พระผูม ีพระภาค นัน้ ) ช่อื วา มีผเู สมอหามไิ ด นตฺถิ ตสสฺ ปฏิปุคฺคโลติ อปปฺ ฏิปคุ ฺคโล (ภควา) บุคคลเปรียบไมมีแกพระผมู พี ระภาคนัน้ เหตนุ ัน้ (พระผูม ีพระ ภาคนัน้ ) ช่อื วา มีบุคคลเปรียบหามไิ ด หรือไมมีบคุ คลเปรียบ นตฺถิ ตสสฺ ปตุ ตฺ าติ อปตุ ฺตโก (ชโน) บตุ ร ท. ของชนนัน้ ไมม ี เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มบี ุตรหามไิ ด สหบพุ พบทพหพุ พหิ สิ มาส สมาสท่มี ี สห ศัพท์ เป็นบทหน้า เรียกวา่ สหบพุ บทพหุพพิหิ เม่ือเขา้ สมาสแลว้ ลบ ห ดังนี้ สห ปตุ ฺเตน โย วตตฺ ตีติ สปุตโฺ ต (ปิตา) บิดาใด ยอ มเปนไป กบั ดวยบุตร เหตนุ ัน้ บิดานัน้ ช่อื วา เปนไป กับดวยบตุ ร 115

|สมาส สห รญฺา ยา วตฺตตตี ิ สราชิกา (ปรสิ า) บริษทั ใด ยอ มเปน ไป กบั ดว ยพระราชา เหตุนัน้ บริษทั นัน้ ช่อื วา เปน ไปกับดวยพระราชา สห มจฺเฉเรน ยํ วตฺตตีติ สมจเฺ ฉรํ (จิตฺตํ) จติ ใด ยอมเปนไป กับ ดวยความตระหนี่ เหตนุ ัน้ จติ นัน้ ช่อื วา เปน ไปกับดว ยความตระหน่ี สมาสทอง สมาสที่มสี มาสอ่นื เป็นภายใน เรยี กว่า สมาสทอ้ ง ดังนี้ - ปวตฺติตปปฺ วรธมฺมจกโฺ ก ธมฺโม เอว จกฺกํ ธมฺมจกกฺ ํ จกั รคือธรรม (อว.กมั .) ปวรํ ธมมฺ จกฺกํ ปวรธมฺมจกฺกํ ธรรมจกั รบวร (วิ.กมั .) ปวตตฺ ิตํ ปวรธมฺมจกฺกํ เยน โส ปวตฺตติ ปปฺ วรธมฺมจกฺโก (ภควา) ธรรมจกั รบวร อันพระผูมพี ระภาคใด ใหเ ปน ไปทวั่ แลว พระผมู ี พระภาคนัน้ ช่อื วามีธรรมจักรบวรอันพระองค์ใหเ ปนไปทัว่ แลว สมาสนี้เรียกวา ตติยาตุลยาธิกรณพหุพพิหิ มี อวธารณบุพพบท กัมมธารยสมาส และวเิ สสนบพุ พบท กัมมธารยสมาส เปน ทอ ง - คนฺธมาลาทหิ ตถฺ า คนโฺ ธ จ มาลา จ คนธฺ มาลา ของหอมดวย ระเบียบดวย ช่อื วา ของหอมและระเบียบ ท. (อสมาหาร ทวนั ทว.) ตา อาทโย เยสํ ตานิ คนธฺ มาลาทีนิ (วตถฺ ูนิ) ของหอมและระเบียบ ท. เปน ตน เหลานัน้ ของวัตถุ ท.เหลาใด (มอี ย)ู วัตถุ ท. เหลานัน้ ช่อื วา มขี องหอมและระเบียบ เปน ตน สมาสนี้เรียกวา่ ฉฏั ฐีตุลยาธิกรณพหพุ พหิ ิ มี ทวัทวสมาส เป็นท้อง 116

คนฺโธ จ มาลา จ คนฺธมาลา ของหอมดวย ระเบียบดว ย ช่อื วา ของหอมและระเบยี บ ท. (อสมาหาร ทวันทว.) ตา อาทโย เยสํ ตานิ คนธฺ มาลาทนี ิ (วตถฺ นู )ิ ของหอมและระเบียบ ท. เปนตน เหลานัน้ ของวตั ถุ ท.เหลาใด (มอี ยู) วตั ถุ ท. เหลานัน้ ช่อื วา มขี องหอมและระเบียบ เปนตน (ฉฏั ฐตี ลุ ยาธิกรณพหหุ พิหิ) คนฺธมาลาทีนิ หตเฺ ถสุ เยสํ เต คนฺธมาลาทหิ ตถฺ า (มนุสสฺ า) (วัตถุ ท.) มีของหอมและระเบยี บเปน ตน (มี) ในมือ ท. ของ มนุษย ท.เหลาใด มนษุ ย ท.เหลานัน้ ช่อื วา มวี ตั ถมุ ีของหอม และระเบยี บเปนตนในมือ สมาสนี้เรียกวา ฉฏั ฐีภินนาธิกรณพหุพพิหิ มี อสมาหารทวันทวสมาส และฉฏั ฐตี ุลยาธกิ รณพหุพพหิ ิสมาส เปน ทอง สมาสทีแ่ ตกตา งกัน ๑. ตปั ปุรสิ สมาส ต่างจาก กัมมธารยสมาส คอื กมั มธารยสมาส มีวภิ ัตติ และวจนะเสมอกัน บทหน่ึงเปนประธาน บทหน่ึงเปนวิเสสนะหรือเปน วิเสสนะ ทงั้ สองบท สว่ นตปั ปุริสสมาส มีวิภัตติและวจนะไมเ สมอกนั ๒. ทวันทวสมาส ต่างจาก วิเสสโนภยบทกัมมธารยสมาส คอื วเิ สสโนภย บทกัมมธารยสมาส เปนบทวิเสสนะทัง้ สองบท สวนทวันทวสมาส เปนบท ประธานทงั้ สนิ้ ๓. อพั ยยภี าวสมาส ตา่ งจาก ตปั ปรุ สิ สมาส คอื ตปั ปรุ สิ สมาส มบี ทหลงั เปน ประธาน ไมนิยมลิงคและวจนะ ส่วนอัพยยีภาวสมาส มีบทหนาเปนประธาน เปนอุปสคั และนิบาต บทหลงั เปนนปุงสกลิงค เอกวจนะ ๔. น บุพพบทพหุพพิหิสมาส ต่างจาก น บุพพบทกัมมธารยสมาส คือ น บุพพบทพหุพพิหิสมาส ปฏิเสธคุณนาม แปลวา “มี....หามิได” ส่วน สมาส| น บุพพบทกัมมธารยสมาส ปฏิเสธนามนาม แปลวา “ไมใช...” ๕. ทคิ สุ มาส ตา่ งจาก ทวนั ทวสมาส คอื ทคิ สุ มาส มสี งั ขยาเป็นบทหนา บท หลังเป็นนามนาม ส่วนทวนั ทวสมาสเปน บทนามนามทงั้ สองบท 117

ตัทธติ ปจ จยั หมหู น่ึง เปน ประโยชนเ ก้อื กลู แกเ น้ือความยอ สำ� หรบั ใหแ ทนศพั ท ยอ คำ� พดู ใหสนั้ ลง เรยี กวา ตทั ธติ ว่าโดยยอ่ แบง เปน ๓ คอื สามญั ญตัทธิต ภาวตทั ธิต อพั ยยตทั ธติ สามญั ญตัทธิต สามัญญตัทธิต แบง ออกเปน ๑๓ อยาง คอื โคตตตัทธติ  ตรตั ยาทติ ัทธติ  ราคาทติ ัทธติ  ชาตาทติ ัทธิต สมุหตัทธิต ฐานตทั ธิต พหุลตัทธติ  เสฏฐตัทธติ  ตทสั สตั ถติ ทั ธติ ปกติตทั ธิต สงั ขยาตัทธิต ปรู ณตทั ธติ  วิภาคตัทธิต โคตตตัทธิต โคตตตัทธติ มปี จจัย ๘ ตวั คือ ณ ณายน ณาน เณยยฺ ณิ ณิก ณว เณร ณ ปจ จยั วสิฏสฺส อปจฺจํ วาสฏิ โ  เหลากอแหง วสฏิ ฐะ ช่ือว่า วาสฏิ ฐะ โคตมสสฺ อปจฺจํ โคตโม เหลากอแหงโคตมะ ช่อื วา่ โคตมะ วสุเทวสสฺ อปจจฺ ํ วาสเุ ทโว เหลากอแหงวสุเทวะ ช่อื วา่ วาสเุ ทวะ |ตัทธิต ณายน ปจจัย กจจฺ สฺส อปจจฺ ํ กจฺจายโน เหลากอแหงกัจจะ ช่อื ว่า กจั จายนะ 118 วจฉฺ สสฺ อปจฺจํ วจฉฺ ายโน เหลากอแหงวัจฉะ ช่อื วา่ วจั ฉายนะ

โมคฺคลลฺ ิยา อปจจฺ ํ โมคคฺ ลฺลายโน เหลากอแหง นางโมคคลั ลี ช่อื วา่ โมคคลั ลายนะ ณาน ปจ จยั กจฺจาโน, วจฺฉาโน, โมคคฺ ลฺลาโน วิเคราะหแ ละค�ำแปลเหมอื นใน ณายน ปจ จัย เณยฺย ปจ จยั ภคินิยา อปจจฺ ํ ภาคิเนยโฺ ย เหลากอแหง พนี่ อ งหญงิ ช่อื วา่ ภาคเิ นยยะ วินตาย อปจจฺ ํ เวนเตยฺโย เหลอ กอแหง นางวินตา ช่ือว่า เวนเตยยะ โรหณิ ิยา อปจฺจํ โรหเิ ณยฺโย เหลากอแหงนางโรหิณี ช่อื วา่ โรหเิ ณยยะ ณิ ปจจัย ทกขฺ สสฺ อปจฺจํ ทกฺข ิ เหลากอแหงทกั ขะ ช่อื วา่ ทกั ขิ วสวสสฺ อปจจฺ ํ วาสวิ เหลากอแหง วสวะ ช่อื วา่ วาสวิ วรณุ สสฺ อปจจฺ ํ วารุณิ เหลากอแหงวรณุ ะ ช่อื ว่า วารณุ ิ ณิก ปจ จยั สกยฺ ปุตฺตสสฺ อปจจฺ ํ สากฺยปตุ ฺตโิ ก เหลากอแหงบตุ รแหงสักยะ ช่อื ว่า สากยปตุ ติกะ นาฏปุตฺตสสฺ อปจฺจํ นาฏปุตฺตโิ ก เหลากอแหงบุตรแหงชนร�ำ ช่อื วา่ นาฏปตุ ตกิ ะ ชนิ ทตฺตสสฺ อปจฺจ ํ เชนทตฺติโก เหลากอแหงชนิ ทัตตะ ช่อื วา่ เชนทัตตกิ ะ ณว ปจจยั ตัทธิต| อุปกสุ สฺ อปจฺจํ โอปกโว เหลากอแหงอุปกุ ช่อื ว่า โอปกวะ 119

|ตัทธิต มนุโน อปจจฺ ํ มานโว เหลากอแหงมนุ ช่อื วา่ มานวะ ภคคฺ ุโน อปจฺจํ ภคคฺ โว เหลากอแหง ภัคคุ ช่ือว่า ภคั ควะ เณร ปจ จยั วิธวาย อปจจฺ ํ เวธเวโร เหลากอแหง หญงิ หมาย ช่อื ว่า เวธเวระ สมณสสฺ อปจฺจํ สามเณโร เหลากอแหง สมณะ ช่ือว่า สามเณร ตรัตยาทิตัทธิต ตรัตยาทิตัทธิต ลง ณิก ปจ จยั ดังนี้ นาวาย ตรตตี ิ นาวโิ ก (ชนใด) ยอมขาม ดว ยเรอื เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา่ นาวกิ ะ (ผูขามดวยเรอื ) ติเลหิ สสํ ฏํ โภชน ํ เตลกิ ํ โภชนะ ระคนพรอ มแลว ดวยเมลด็ งา ท. ช่ือวา่ เตลิกะ (ระคน แลวดว ยงา) สกเฏน จรตตี  ิ สากฏโิ ก (ชนใด) ยอมเท่ียวไป ดวยเกวยี น เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื ว่า สากฏกิ ะ (ผูเทีย่ วไปดว ยเกวียน) ราชคเห ชาโต ราชคหิโก (ชน) เกดิ แลว ในเมืองราชคฤห ช่อื วา่ ราชคหกิ ะ (ผเู กดิ ในเมือง ราชคฤห) ตสมฺ ึ วสตตี ิ ราชคหโิ ก (ชนใด) ยอมอยใู นเมอื งราชคฤห นัน้ เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื ว่า ราชคหิกะ (ผอู ยใู นมอื งราชคฤห) กาเยน กตํ กมมฺ ํ กายกิ ํ 120 กรรม อนั ชนทำ� แลว ดว ยกาย ช่ือว่า กายกิ ะ (อนั ชนทำ� แลว ดวยกาย)

ตสฺมึ วตฺตตตี  ิ กายกิ ํ (กรรมใด) ยอ มเปน ไปในกายนัน้ เหตนุ ัน้ (กรรมนัน้ ) ช่ือว่า กายิกะ (เปนไปในกาย) ทวฺ าเร นยิ ุตฺโต โทวารโิ ก (ชน) ประกอบในประตู ช่อื ว่า โทวาริกะ (ผปู ระกอบในประต)ู สกเุ ณ หนตฺ วฺ า ชีวตีติ สากุณิโก (ชนใด) ฆา ซ่งึ นก ท. เปน อยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื ว่า สากุณิกะ (ผูฆาซ่งึ นกเปนอย)ู สงฆฺ สฺส สนตฺ ก ํ สงฺฆิกํ (ของใด) เปน ของมีอยู แหง สงฆ (ของนัน้ ) ช่อื วา่ สงั ฆิกะ (ของมอี ยูแหง สงฆ) อกฺเขน ทพิ ฺพตีติ อกฺขโิ ก (ชนใด) ยอมเลน ดว ยสะกา เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา่ อกั ขกิ ะ (ผูเลนดว ยสะกา) ราคาทติ ัทธิต ราคาทิตัทธิต ลง ณ ปจ จยั ดงั นี้ กสาเวน รตฺตํ วตถฺ  ํ กาสาวํ ผา (อนั บุคคล) ยอมแลว ดวยรสฝาด ช่อื วา่ กาสาวะ (ผาอนั บคุ คล ยอมแลว ดว ยรสฝาด) มหิสสสฺ อิทํ มสํ  ํ มาหิสํ เน้ือนี้ ของกระบอื ช่อื ว่า มาหสิ ะ (ของกระบือ) มคเธ ชาโต มาคโธ (ชน) เกดิ แลว ในแวนแควนมคธ ช่อื วา่ มาคธะ (ผูเกดิ ในแวน ตัทธิต| แควน มคธ) ตสฺมึ วสตตี ิ มาคโธ 121 (ชนใด) ยอมอยูในแวนแควน มคธนัน้ เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือว่า

มาคธะ (ผอู ยใู นแวน แควน มคธ) ตตรฺ อิสสฺ โร มาคโธ (ชน) เปนอสิ ระ ในแวนแควนมคธนัน้ ช่ือว่า มาคธะ (เปนอสิ ระ ในแวนแควนมคธ) กตฺติกาย นยิ ตุ ฺโต มาโส กตตฺ ิโก เดือน ประกอบดวยฤกษกตั ตกิ า ช่อื ว่า กัตตกิ า (เดอื นประกอบ ดวยฤกษกัตตกิ า) วยฺ ากรณํ อธเิ ตต ิ เวยฺยากรโณ (ชนใด) ยอ มเรียนซ่งึ พยากรณ เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือว่า เวยยากรณะ (ผเู รียนซ่งึ พยากรณ) ชาตาทติ ัทธิต ชาตาทติ ัทธติ มีปจจัย ๓ ตัว คือ อมิ อยิ กยิ |ตัทธิต อิม ปจ จัย ปเุ ร ชาโต ปุรโิ ม (ชน) เกดิ แลว ในกอ น ช่อื วา่ ปุริมะ (เกดิ แลว ในกอ น) มชฺเฌ ชาโต มชฌฺ ิโม (ชน) เกิดแลว ในทามกลาง ช่อื วา่ มชั ฌมิ ะ (เกิดแลว ในทามกลาง) ปจฺฉา ชาโต ปจฺฉิโม (ชน) เกิดแลว ในภายหลงั ช่อื ว่า ปจฉิมะ (เกิดแลวในภายหลัง) ปตุ โฺ ต อสสฺ อตฺถตี ิ ปตุ ฺตโิ ม (บตุ ร) ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวามีบตุ ร อนเฺ ต นยิ ตุ ฺโต อนตฺ โิ ม (ชน) ประกอบในทส่ี ดุ ช่อื ว่า อันติมะ (ประกอบในที่สดุ ) 122

อยิ ปจจยั มนุสฺสชาตยิ า ชาโต มนสุ ฺสชาติโย (ชน) เกดิ แลว โดยชาตแิ หงมนุษย ช่อื ว่า มนุสสชาตยิ ะ (เกดิ แลว โดยชาติแหง มนษุ ย) อสสฺ ชาตยิ า ชาโต อสสฺ ชาตโิ ย (สัตว)์ เกดิ แลว โดยชาตแิ หงมา ช่อื วา่ อัสสชาติยะ (เกดิ แลว โดยชาติแหงมา) ปณฺฑติ ชาติยา ชาโต ปณฺฑิตชาติโย (ชน) เกดิ แลว โดยชาติแหง บัณฑติ ช่ือวา่ ปณ ฑติ ชาติยะ (เกดิ แลวโดยชาติแหง บณั ฑติ ) ปณฺฑิตชาติ อสฺส อตถฺ ีติ ปณฺฑิตชาติโย ชาติแหงบัณฑติ ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีชาติ แหง บณั ฑิต กิย ปจ จยั อนฺเธ นิยตุ โฺ ต อนฺธกโิ ย (ชน) ประกอบ ในที่มดื ช่อื อันธกยิ ะ (ประกอบในท่ีมืด) สมุหตัทธิต สมุหตทั ธิต มีปจจัย ๓ ตัว คอื กณฺ ณ ตา กณฺ ปจ จัย มนุสฺสานํ สมโุ ห มานุสโก ตัทธิต| ประชมุ แหงมนษุ ย ท. ช่อื ว่า มานสุ กะ (ประชุมแหง มนษุ ยห รอื หมแู หง มนษุ ย) 123

มยรุ านํ สมุโห มายรุ โก ประชุม แหง นกยูง ท. ช่อื วา่ มายุรกะ (ประชมุ แหง นกยูงหรอื ฝูง แหง นกยงู ) กโปตานํ สมโุ ห กาโปตโก ประชมุ แหงนกพิราบ ท. ช่อื ว่า กาโปตกะ (ประชมุ แหง นกพิราบ หรอื ฝงู แหงนกพิราบ) ณ ปจจยั มานโุ ส, มายโุ ร, กาโปโต วิเคราะหแ ละคำ� แปลเหมือนใน กณฺ ปจจัย |ตัทธิต ตา ปจจัย คามานํ สมโุ ห คามตา ประชมุ แหงชาวบาน ท. ช่อื วา่ คามตา (ประชุมแหง ชาวบาน) ชนานํ สมุโห ชนตา ประชุม แหง ชน ท. ช่อื ว่า ชนตา (ประชุมแหงชน) สหายานํ สมโุ ห สหายตา ประชมุ แหงสหาย ท. ช่อื วา่ สหายตา (ประชุมแหง สหาย) ฐานตทั ธติ ฐานตทั ธติ ลง อยี ปจ จัย ดงั นี้ มทนสฺส านํ มทนียํ ที่ตัง้ แหงความเมา ช่อื ว่า มทนียะ (ที่ตงั้ แหง ความเมา) พนฺธนสสฺ านํ พนฺธนียํ ท่ตี ัง้ แหง ความผูก ช่อื วา่ พันธนียะ (ทีต่ ัง้ แหงความผกู ) 124

โมจนสสฺ าน ํ โมจนียํ ทต่ี งั้ แหงความแก ช่อื วา่ โมจนียะ (ท่ตี ัง้ แหงความแก) อยี เอยยฺ ปจ จัย ลงในอรรถ คือ อรห (ควร) ดงั นี้ ทสฺสนํ อรหตตี  ิ ทสสฺ นีโย (ชนใด) ยอมควร ซ่งึ การเห็น เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา่ ทสั สนียะ (ผคู วรซ่งึ การเหน็ หรือนาด)ู ปูชนํ อรหตตี  ิ ปูชนีโย, ปชู เนยฺโย (ชนใด) ยอ มควรซ่งึ การบูชา เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา่ ปูชนียะ ปูชเนยยะ (ผคู วรซ่งึ การบชู า) ทกฺขิณํ อรหตีต ิ ทกขฺ ิเณยโฺ ย (ชนใด) ยอ มควร ซ่งึ ทกั ษณิ า เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื ว่า ทักขเิ ณยยะ (ผูค วรซ่งึ ทกั ษณิ า) ในสทั ทนีติวา อีย ปจ จยั ลงในอรรถอ่นื ไดบาง ดงั นี้ อปุ าทานานํ หติ  ํ อุปาทานียํ (กรรม) อนั เก้อื กลู แกอ ปุ าทาน ท. ช่ือวา่ อปุ าทานียะ (เก้อื กูล แกอปุ าทาน) อุทเร ภวํ อุทรยี ํ (โภชนะ) มใี นทอง ช่อื วา่ อุทรียะ (โภชนะมีในทอ ง) พหุลตทั ธติ พหลุ ตทั ธิต ลง อาลุ ปจ จัย ดังนี้ อภชิ ฌฺ า อสฺส ปกต ิ อภชิ ฺฌาลุ อภชิ ฌา เปน ปกติ ของชนนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มอี ภิชฌาเปน ปกติ ตัทธิต| อภชิ ฺฌา อสฺส พหลุ า อภิชฌฺ าลุ อภชิ ฌา ของชนนัน้ มาก (ชนนัน้ ) ช่ือวา มอี ภชิ ฌามาก 125

สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ หนาว เปน ปกติ ของประเทศนัน้ (ประเทศนัน้ ) ช่ือวา มีหนาวเป็นปกติ สีตํ เอตถฺ พหลุ  ํ สีตาลุ หนาว ในประเทศนัน้ มาก (ประเทศนัน้ ) ช่ือวามหี นาวมาก ทยา อสสฺ ปกติ ทยาลุ ความเอ็นดู เปน ปกติ ของชนนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีความเอน็ ดเู ปนปกติ ทยา อสสฺ พหลุ า ทยาลุ ความเอน็ ดู ของชนนัน้ มาก (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีความเอ็นดมู าก เสฏฐตทั ธิต เสฏฐตัทธิต มีปจ จัย ๕ ตวั คอื ตร ตม อิยสิ ฺสก อิย อฏิ  ตร ปจ จยั ปาปตโร เปน บาปกวา ปณฑฺ ติ ตโร เปน บณั ฑติ กวา หีนตโร เลวกวา ปณี ตตโร ประณีตกวา ตม ปจ จยั ปาปตโม เปน บาปท่ีสดุ ปณฑฺ ติ ตโม เปน บัณฑิตท่สี ดุ หนี ตโม เลวทส่ี ดุ ปณีตตโม ประณีตทส่ี ุด อิยิสฺสก ปจ จยั ปาปิ ยิสสฺ โก เปน บาปกวา |ตัทธิต อิย ปจจยั ปาปิ โย เปนบาปกวา กนิ โย นอยกวา เชยฺโย เจริญกวา 126 เสยโฺ ย ประเสริฐกวา

อิฏ ปจ จัย ปาปิ ฏฺโ เปนบาปท่ีสุด กนิฏฺโ นอ ยท่สี ดุ เสฏโ  ประเสริฐทส่ี ุด เชฏโ  เจรญิ ทีส่ ดุ ในปัจจัยทัง้ ๕ ตวั นี้ ตร และ อิย ลงในวิเสสคุณศัพท ตม และ อิฏ ลง ใน อติวเิ สสคณุ ศัพท มีวเิ คราะหเปน แบบเดยี ว ดังนี้ สพเฺ พ อิเม ปาปา, อยมเิ มสํ วเิ สเสน ปาโปติ ปาปตโร, ปาปตโม ชน ท. เหลานี้ ทัง้ ปวง เปนบาป, ชนนี้เปน บาป โดยวิเศษ กวา ชน ท. เหลานี้ เหตุนัน้ (ชนนี้) ช่ือว่า ปาปตระ, ปาปตมะ ตทสั สัตถิตัทธติ ตทสั สัตถติ ทั ธติ มีปจ จยั ๙ ตัว คือ วี ส สี อิก อี ร วนตฺ ุ มนฺตุ ณ วี ปจ จยั เมธา อสสฺ อตถฺ ีต ิ เมธาวี ปญญา ของชนนัน้ มีอยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มปี ญ ญา มายา อสสฺ อตฺถตี  ิ มายาวี มายา ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มมี ายา ส ปจจัย สุเมธา อสฺส อตฺถตี ิ สุเมธโส ปญญาดี ของชนนัน้ มีอยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา ปญญาดี สี ปจจัย ตัทธิต| ตโป อสฺส อตถฺ ตี ิ ตปสี 127 ตบะ ของชนนัน้ มีอยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มตี บะ

|ตัทธิต เตโช อสฺส อตถฺ ตี  ิ เตชสี เดช ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มเี ดช 128 อกิ ปจจยั ทณฺโฑ อสสฺ อตถฺ ีติ ทณฺฑิโก ไมเทา ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีไมเ ทา อตฺโถ อสสฺ อตถฺ ีติ อตฺถิโก ความตอ งการ ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีความ ตองการ อี ปจจัย ทณโฺ ฑ อสฺส อตถฺ ตี ิ ทณฺฑี ไมเทา ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีไมเทา สุขํ อสสฺ อตถฺ ีติ สุขี สขุ ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีสขุ โภโค อสสฺ อตถฺ ตี  ิ โภคี โภคะ ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มโี ภคะ ร ปจจัย มธุ อสสฺ อตถฺ ีต ิ มธโุ ร น้�ำผ้ึง ของขนมนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ขนมนัน้ ) ช่อื วา มนี ้�ำผ้ึง (มรี ส หวาน) มุขํ อสสฺ อตถฺ ีติ มขุ โร ปาก ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มปี าก (คนปากกลา) วนตฺ ุ ปจ จยั คโุ ณ อสฺส อตถฺ ีต ิ คุณวา คุณ ของชนนัน้ มีอยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีคณุ

ธนํ อสสฺ อตถฺ ีต ิ ธนวา ทรัพย ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มที รัพย ปญฺ า อสสฺ อตฺถีต ิ ปญฺ วา ปญ ญา ของชนนัน้ มอี ยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีปญ ญา ปุญญฺ ํ อสฺส อตฺถีต ิ ปุญฺ วา บุญ ของชนนัน้ มีอยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีบญุ มนฺตุ ปจจัย อายุ อสฺส อตฺถตี ิ อายสฺมา อายุ ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มีอายุ สติ อสฺส อตถฺ ีต ิ สติมา สติ ของชนนัน้ มอี ยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มสี ติ จกขฺ ุ อสฺส อตถฺ ีติ จกฺขุมา จกั ษุ ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่อื วา มจี กั ษุ ชุติ อสสฺ อตถฺ ตี ิ ชตุ มิ า ความโพลง ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีความโพลง ในสทั ทนีติวา ปุตตฺ ิมา ชนมบี ุตร ปาปม า ชนมบี าป (มาร) ลง อิมนตฺ ุ ปจจยั ณ ปจ จัย ตัทธิต| สทฺธา อสฺส อตถฺ ตี ิ สทฺโธ ศรัทธา ของชนนัน้ มอี ยู เหตุนัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีศรัทธา มจฺเฉรํ อสสฺ อตถฺ ีต ิ มจฺเฉโร ความตระหน่ี ของชนนัน้ มีอยู เหตนุ ัน้ (ชนนัน้ ) ช่ือวา มีความ ตระหนี่ 129

|ตัทธิต ปกติตทั ธติ ปกติตัทธิต ลง มย ปจ จัย ดังนี้ สุวณเฺ ณน ปกตํ โสวณฺณมยํ (ภาชนะ) อันบุคคลทำ� แลว ดวยทอง ช่อื ว่า โสวัณณมยะ (อันบุคคลทำ� แลว ดว ยทอง) สวุ ณณฺ สฺส วกิ าโร โสวณณฺ มยํ (ภาชนะ) เปน วกิ ารแหง ทอง ช่อื วา่ โสวัณณมยะ (เปน วกิ าร แหง ทอง) มตตฺ กิ าย ปกต ํ มตฺตกิ ามยํ (ภาชนะ) อนั บคุ คลทำ� แลวดวยดิน ช่ือว่า มัตตกิ ามยะ (อนั บคุ คล ท�ำแลว ดว ยดนิ ) มตตฺ กิ าย วกิ าโร มตฺตกิ ามยํ (ภาชนะ) เปนวิการแหงดนิ ช่อื วา่ มตั ติกามยะ (เปน วิการ แหงดิน) อยสา ปกต ํ อโยมยํ (ภาชนะ) อนั บุคคลทำ� แลว ดว ยเหล็ก ช่อื ว่า อโยมยะ (อนั บคุ คล ทำ� แลวดว ยเหลก็ ) อยโส วกิ าโร อโยมยํ (ภาชนะ) เปนวกิ ารแหง เหล็ก ช่อื วา่ อโยมยะ (เปน วกิ าร แหงเหลก็ ) ปูรณตัทธิต ปูรณตัทธติ มปี จ จัย ๕ ตัว คอื  ติย ถ  ม อี ติย ปจ จัย ทฺวินฺนํ ปรู โณ ทุติโย (ชน) เปน ทเี่ ต็ม (แหงชน ท.) ๒ ช่ือวา ที่ ๒ 130 ตณิ ฺณํ ปรู โณ ตติโย (ชน) เปน ที่เตม็ (แหง ชน ท.) ๓ ช่อื วา ท่ี ๓

ถ ปจ จยั จตุนฺนํ ปรู โณ จตตุ โฺ ถ (ชน) เปน ทีเ่ ต็ม (แหง ชน ท.) ๔ ช่ือวา ที่ ๔ ฉนนฺ ํ ปรู โณ ฉฏโ  ปจ จยั (ชน) เปนทเ่ี ต็ม (แหง ชน ท.) ๖ ช่ือวา ท่ี ๖ ม ปจ จัย ปญจฺ นนฺ ํ ปูรโณ ปญจฺ โม (ชน) เปน ทเี่ ตม็ (แหงชน ท.) ๕ ช่ือวา ท่ี ๕ สตตฺ นฺนํ ปูรโณ สตตฺ โม (ชน) เปนที่เตม็ (แหงชน ท.) ๗ ช่ือวา ท่ี ๗ อี ปั จจยั ในอิตถลี ิงค ตงั้ แต เอกาทส ถึง อฏ ารส ลง อี ปจ จัย เช่น เอกาทสนฺนํ ปูรณ ี เอกาทสี (หญิง) เปน ทีเ่ ตม็ (แหง หญงิ ท.) ๑๑ ช่อื วา ที่ ๑๑ ทวฺ าทสนฺนํ ปูรณ ี ทวฺ าทสี (หญงิ ) เปน ทเี่ ตม็ (แหง หญงิ ท.) ๑๒ ช่อื วา ท่ี ๑๒ ในปงุ ลิงคแ์ ละนปุงสกลิงค์ ให้ลง ม ปัจจัย เช่น เอกาทสโม, เอกาทสมํ ในปูรณตทั ธติ นี้ ยงั มี อฑฒฺ ศพั ท์ ใช้บอกจ�ำนวนก่งึ หน่ึง ดังนี้ ตัทธิต| อฑฺเฒน ทตุ ิโย ทิวฑโฺ ฒ, ทิยฑโฺ ฒ (ชน) ที่ ๒ ทงั้ ก่งึ ช่ือว่า ทิวฑั ฒะ,ทยิ ฑั ฒะ (๑ คร่งึ ) อฑฺเฒน ตตโิ ย อฑฒฺ ตโิ ย, อฑฒฺ เตยโฺ ย (ชน) ท่ี ๓ ทงั้ ก่ึง ช่อื วา่ อฑั ฒตยิ ะ, อฑั ฒเตยยะ (๒ คร่ึง) อฑฺเฒน จตุตฺโถ อฑฺฒฑุ ฺโฒ (ชน) ท่ี ๔ ทงั้ ก่ึง ช่ือวา อฑั ฒฑุ ฒะ (๓ คร่งึ ) 131

|ตัทธิต สงั ขยาตัทธติ สังขยาตัทธติ ลง ก ปจ จยั ดังนี้ เทวฺ ปรมิ าณานิ อสสฺ าต ิ ทวฺ กิ ํ ปรมิ าณ ท. ของวตั ถนุ ัน้ ๒ เหตุนัน้ (วัตถนุ ัน้ ) ช่อื วา มปี ริมาณ ๒ ตณี ิ ปรมิ าณานิ อสฺสาติ ตกิ ํ ปรมิ าณ ท. ของวตั ถนุ ัน้ ๓ เหตนุ ัน้ (วัตถนุ ัน้ ) ช่อื วา มีปริมาณ ๓ วิภาคตทั ธติ วภิ าคตัทธิต มีปจจัย ๒ ตวั คือ ธา โส ธา ปจ จยั เอเกน วิภาเคน เอกธา โดยสว นเดียว ช่อื ว่า เอกธา ทวฺ ีหิ วภิ าเคหิ ทวฺ ธิ า โดยสว น ท. ๒ ช่ือวา่ ทฺวธิ า โส ปจ จัย ปเทน วภิ าเคน ปทโส โดยความจ�ำแนก โดยบท ช่ือว่า ปทโส สตุ เฺ ตน วิภาเคน สตุ ตฺ โส โดยความจ�ำแนก โดยสูตร ช่ือวา่ สุตตโส ภาวตทั ธติ ภาวตัทธติ มีปจจัย ๖ ตัว คือ ตตฺ ณยฺ ตตฺ น ตา ณ กณฺ ตฺต ปจ จัย (ช่ือ) จนฺทสสฺ ภาโว จนฺทตตฺ ํ ความเปน แหงพระจันทร ช่อื วา่ จันทัตตะ (ชาต)ิ มนสุ สฺ สฺส ภาโว มนุสสฺ ตฺตํ ความเปน แหง มนุษย ช่ือว่า มนสุ สตั ตะ (ทัพพะ) ทณฑฺ ิโน ภาโว ทณฺฑิตฺตํ 132 ความเปนแหง คนมไี มเทา ช่อื ว่า ทัณฑติ ตะ

(กิริยา) ปาจกสฺส ภาโว ปาจกตตฺ ํ ความเปนแหงคนหุง ช่อื วา่ ปาจกตั ตะ (คุณ) นีลสสฺ ภาโว นีลตฺตํ ความเปน แหง ของเขียว ช่อื ว่า นีลตั ตะ ณยฺ ปจ จัย ปณฑฺ ติ สสฺ ภาโว ปณฑฺ จิ ฺจ ํ ความเปน แหง บัณฑิต ช่ือว่า ปณ ฑจิ จะ กสุ ลสสฺ ภาโว โกสลลฺ ํ ความเปนแหงคนฉลาด ช่อื วา่ โกสัลละ สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ ความเปนแหง สมณะ ช่ือว่า สามัญญะ สหุ ทสฺส ภาโว โสหชชฺ ํ ความเปนแหงเพ่ือน (คนมใี จดี) ช่ือว่า โสหัชชะ ปรุ สิ สฺส ภาโว โปรสิ ฺส ํ ความเปน แหง บรุ ษุ ช่อื วา่ โปรสิ สะ นิปกสฺส ภาโว เนปกกฺ ํ ความเปน แหงคนมีปญ ญา (รกั ษาไว ซ่ึงตน) ช่อื วา่ เนปกกะ อุปมาย ภาโว โอปมมฺ ํ ความเปนแหง อปุ มา ช่อื ว่า โอปม มะ ในสทั ทนีตวิ า ศพั ทค อื  วริ ยิ ํ ความเปน ผกู ลา (ความเพยี ร) และ อาลสยิ ํ ความเปนผเู กยี จคราน ลง ณิย ปจ จยั , โสเจยฺยํ ความเปน ของสะอาด ลง เณยฺย ปจจัย, ทาสพฺยํ ความเปน ทาส ลง พฺย ปจจยั ศพั ททล่ี ง ตฺตน ปจจัย มี ๒ ศพั ทเ ทานัน้ คือ ปถุ ชุ ชฺ นตฺตนํ ความเปน ปุถชุ น, เวทนตตฺ นํ ความเปน ผมู ีเวทนา ตา ปจจัย มุทโุ น ภาโว มุทุตา ความเปนแหงคนออ น (คนใจออน) ช่ือวา่ มทุ ุตา นิททฺ ารามสสฺ ภาโว นิทฺทารามตา ตัทธิต| ความเปน แหง คนมีความหลบั เปนที่มายนิ ดี ช่อื ว่า นิททารามตา สหายสฺส ภาโว สหายตา 133 ความเปนแหง สหาย ช่อื วา่ สหายตา

ณ ปจ จัย วสิ มสฺส ภาโว เวสม ํ ความเปน แหง ของเสมอปราศ (ไมเ สมอ) ช่อื ว่า เวสมะ สจุ โิ น ภาโว โสจ ํ ความเปนแหง ของสะอาด ช่อื วา่ โสจะ มุทโุ น ภาโว มททฺ ว ํ ความเปนแหง คนออน ช่อื ว่า มทั ทวะ กณฺ ปจจยั รมณยี สฺส ภาโว รามณียกํ ความเปนแหงของอันบคุ คลพึงยินดี ช่ือว่า รามณียกะ มนุญฺ สฺส ภาโว มานญุ ฺกํ ความเปนแหง ของอนั เปนท่ฟี ใู จ ช่อื ว่า มานญุ ญกะ อพั ยยตทั ธติ อพั ยยตัทธิต มีปจจัย ๒ ตัว คือ ถา ถํ ถา ปจ จัย ลงในประการ หลงั สพั พนาม ดังนี้ ยถา ประการใด ตถา ประการนัน้ สพพฺ ถา ประการทงั้ ปวง ถํ ปจจยั ลงใน ประการ หลัง กึ และ อมิ ศพั ท์ ดงั นี้ กถํ ประการไร, อยางไร อิตฺถ ํ ประการนี้, อยางนี้ |ตัทธิต จบบาลีไวยากรณ์ 134

หลักสมั พันธ์ หลักสมพันธ์| บทคณุ 1. แปลวา ผ,ู ม,ี อนั เรียกวา วเิ สสน 2. แปลว่า เปน (เข้ากบั หุ, ภ,ู ชนฺ ธาตุ) เรยี กว่า วิกตกิ ตตฺ า 3. แปลว่า ใหเ ปน (ประกอบดวยทตุ ยิ าวภิ ตั ติ อยหู นา กร,ฺ จรฺ ธาตุ) เรยี กวา่  วกิ ติกมฺม บทนามศพั ท ปฐมาวภิ ัตติ 1. เปนประธานของประโยค กตั ตวุ าจก เรยี กว่า สยกตตฺ า 2. เปน ประธานของประโยค กัมมวาจก และ เหตกุ มั มวาจก เรียกวา่  วตุ ตฺ กมฺม 3. เปนประธานของประโยคเหตกุ ัตตวุ าจก เรียกว่า เหตกุ ตตฺ า 4. เปนประธานของประโยคกริ ยิ าปธานนัย (ตฺวา ปจจัยคมุ พากย) เรยี กว่า ปกตกิ ตตฺ า 5. เปนประธานของประโยคท่ีไมม กี ริ ยิ าคุมพากย์ เรียกวา่  ลงิ ฺคตถฺ 6. เปน ประธานของประโยคอุปมา (ควบดวย วยิ หรือ อวิ ศพั ท)   เรยี กว่า อุปมาลงิ คฺ ตถฺ 135

|หลักสมพันธ์ ทตุ ิยาวภิ ัตติ [เขากบั กริ ยิ า] 1. แปลวา ซ่งึ  เรยี กวา อวุตฺตกมมฺ 2. แปลว่า ส ู เรยี กว่า สมฺปาปณุ ิยกมมฺ 3. แปลว่า ยงั  เรยี กว่า การติ กมมฺ 4. แปลว่า สนิ้ , ตลอด เรียกว่า อจฺจนตฺ สํโยค 5. แปลวา่  กะ, เฉพาะ เรียกว่า อกถิตกมมฺ 6. แปลวา่  ใหเ ปน (อยหู นา กรฺ ธาตุ) เรียกวา่  วกิ ตกิ มฺม 7. แปลวา่  วา่ เปน , ให้ช่อื ว่า เรยี กวา่  สมภฺ าวน 8. แปลไมออกสำ� เนียงอายตนิบาต (หลงั กิริยา) เรียกวา่  กริ ยิ าวเิ สสน ตติยาวภิ ัตติ [เขากบั นาม กริ ยิ า และอัพยยศัพท] 1. แปลวา ดว ย เรียกวา กรณ 2. แปลว่า โดย, ตาม, ขาง เรยี กว่า ตตยิ าวิเสสน 3. แปลว่า อัน เรียกวา่ อนภิหติ กตฺตา 4. แปลว่า เพราะ เรียกวา่  เหตุ 5. แปลว่า มี, ดว ยทัง้ เรยี กวา่  อิตฺถมฺภตู (แปลวา มี สัมพันธเ ขากับ นาม, แปลวา ดวยทงั้  สมั พันธเ ขากบั กิรยิ า) 6. แปลวา่  กบั , ดว ย (เขากบั สห, สทธฺ ึ ศัพท) เรยี กวา่  สหตฺถตตยิ า 7. แปลว่า ยัง (แปลหกั ตตยิ า. เปน ทุตยิ า.) เรียกวา่  ตตยิ าการติ กมฺม จตตุ ถวี ภิ ตั ติ [เขากบั กริ ิยา, เข้ากบั นามได้ในประโยคที่ไม่มกี ริ ยิ าคมุ พากย]์ 1. แปลวา แก, เพ่ือ, ตอ  เรียกว่า สมปฺ ทาน 136 2. ตํุ ปจจยั แปลว่า เพ่อื อัน... เรยี กว่า ตุมตฺถสมฺปทาน

ปญ จมีวภิ ตั ติ [เขากบั กิรยิ า] 1. แปลวา แต, จาก, กว่า เรยี กวา่  อปาทาน 2. แปลว่า เหต,ุ เพราะ เรียกวา่  เหตุ ฉัฏฐีวิภัตติ [เขากบั นามและกริ ิยานาม] 1. แปลวา แหง (ในหม)ู เรียกวา สมหุ สมฺพนธฺ 2. แปลว่า แหง (ใน ภาว, ยุ ปจ จยั ) เรียกวา่  ภาวาทิสมพฺ นฺธ 3. แปลวา่  แหง, ของ เรียกวา่  สามสี มฺพนฺธ 4. แปลว่า เม่อื (ประธานในประโยคแทรก) เรียกว่า อนาทร (อนาทรกิรยิ า รบั ) 5. แปลว่า แหง–หนา เรยี กวา่  นิทฺธารณ (นิทฺธารณีย รับ) 6. แปลว่า ซ่งึ (แปลหกั ฉฏั ฐี. เปน ทุตยิ า.) เรียกว่า ฉฏฺ กี มมฺ 7. แปลวา่  อนั (แปลหัก ฉฏั ฐี. เปน ตติยา.) เรียกวา่  ฉฏอี นภหิ ติ กตตฺ า 8. แปลว่า ดว ย (อยูหนา ปรู ฺ ธาต)ุ  เรยี กวา่  ฉฏกี รณ สตั ตมวี ิภตั ติ หลักสมพันธ์| [เขากบั นามและกิรยิ า] 137 1. แปลวา่ ใน (ปกปด, ก�ำบัง) เรียกว่า ปฏิจฺฉนนฺ าธาร 2. แปลวา่  ใน (ซึมซาบไป) เรียกว่า พฺยาปก าธาร 3. แปลว่า ใน (เปน ทีอ่ าศัยอยู) เรียกวา่  วิสยาธาร 4. แปลว่า ใกล, ณ (ที่ใกลเ คียง) เรยี กวา่  สมีปาธาร 5. แปลวา่  ใน, ณ (บอกกาล) เรยี กวา่  กาลสตตฺ มี 6. แปลวา่  ในเพราะ เรียกว่า นิมติ ฺตสตฺตมี 7. แปลวา่  ใน - หนา เรยี กวา่  นิทฺธารณ (นิทธฺ ารณีย รับ)

8. แปลวา่  ใน (เขากบั นาม) เรียกว่า ภนิ ฺนาธาร 9. แปลว่า ใน (เขากบั กิรยิ า) เรียกวา่  อาธาร 10. แปลวา่  เหนือ, บน, ท่ี เรียกวา่  อปุ สิเลสกิ าธาร 11. แปลวา่  ครนั้ เม่ือ (เป็นประธานในประโยคแทรก) เรยี กวา่  ลกขฺ ณวนฺต (ลกขฺ วนฺตกริ ยิ า รับ) 12. แปลว่า อันวา่ (เปนประธาน) เรียกวา่ สตฺตมีปจจฺ ตฺตสยกตฺตา |หลักสมพันธ์ อาลปนะ เปนคำ� รอ งเรยี ก เรยี กวา อาลปนะ ประธานพเิ ศษ [ไมแจกวภิ ตั ตนิ าม] 1. เอว ํ อ.อยางนัน้  เรียกวา สจฺจวาจกลงิ ฺคตถฺ 2. อลํ อ.อยาเลย เรยี กวา่  ปฏิเสธลิงคฺ ตถฺ 3. อลํ อ.พอละ, สกฺกา อ.อนั อาจ, สาธุ อ.ดลี ะ, ตถา อ.เหมือนอยางนัน้  เรยี กว่า ลงิ คฺ ตฺถ 4. กิมงฺคํ ปน ก็ อ.องคอะไรเปน เหตุ เลา กิมงคฺ ํ เรยี กวา่  ลงิ ฺคตถฺ ปน ศัพท เรียกว่า ปุจฺฉนตฺถ 5. อชฺช อ.วนั นี้, อิทานิ อ.กาลนี้, ตทา อ.กาลนัน้   เรยี กว่า สตฺตมปี จจฺ ตตฺ สยกตฺตา 6. ตุํ ปัจจัย แปลว่า อ.อัน... (เป็นประธาน) เรยี กว่า ตมุ ตฺถกตตฺ า กิริยาคมุ พากย์ 138 1. กริยาอาขยาต เรียกวา่  อาขฺยาตบท 2. กิริยากิตก์ (ต, อนิย, ตพฺพ ปัจจัย) คมุ พากย์ เรียกวา่  กติ บท

3. อล,ํ สกกฺ า คุมพากย์ เรยี กวา่  กิรยิ าบท 4. ตฺวา ปัจจยั คุมพากย เรยี กวา่  กิรยิ าปธานนัย หมายเหตุ : - ต ปจจัย เปน ได ๕ วาจก - อนีย, ตพพฺ , อลํ, สกกฺ า เปน ได ๒ วาจก คือ กมมฺ ., ภาว. กิริยาในระหว่าง อนตฺ มาน ปจ จยั เป็ นปฐมาวภิ ตั ติ 1. อยูหนาบทประธาน เรยี กวา วเิ สสน 2. อยหู ลงั บทประธาน เรยี กว่า อพฺภนฺตรกิรยิ า 3. แปลพรอ้ มกับกิรยิ าอ่นื  เรียกว่า อพภฺ นฺตรกิรยิ า (ในกิรยิ าท่ีแปลรว่ ม) เป็ นทตุ ิยาวิภัตต ิ แปลวา ใหเ ปน  เรยี กวา่  วิกติกมฺม (ใน กรฺ ธาต)ุ เป็ นวภิ ตั ตอิ ่นื (จากปฐมาและทุตยิ าวภิ ัตต)ิ 1. จะอยหู นาหรือหลงั ก็ตาม เรียกวา่  วิเสสน 2. เปน กริ ยิ าในประโยคอนาทร เรียกว่า อนาทรกริ ยิ า 3. เปนกริ ิยาในประโยคลกั ขณะ เรียกวา่ ลกขฺ ณวนฺตกิรยิ า ตูนาทิปั จจยั หลักสมพันธ์| 1. แปลวา แลว (ตามลำ� ดบั กิรยิ า) เรยี กวา ปุพพฺ กาลกริ ยิ า 139 2. แปลวา เพราะ (หลังกริ ิยา) เรยี กวา่  เหตุกาลกิรยิ า 3. แปลวา ครัน้ แลว  เรียกว่า ปรโิ ยสานกาลกิรยิ า 4. แปลวา แลว (หลังกริ ิยาคมุ พากย) เรยี กวา่  อปรกาลกริ ยิ า 5. แปลไมออกส�ำเนียงปจจยั หรือแปลพรอ้ มกบั กริ ิยาตัวหลงั   เรียกว่า สมานกาลกิรยิ า

6. แปลไมอ อกสำ� เนียงปจ จยั หลังนาม เรยี กว่า วิเสสน 7. แปลไมอ อกสำ� เนียงปจ จัย หลงั กิรยิ าคุมพากย ์ เรยี กว่า  กริ ยิ าวิเสสน ต อนยี ตพฺพ 1. มีลิงค, วจนะ, วภิ ตั ติ เสมอกบั นามนาม เรยี กวา วิเสสน 2. แปลวา เปน (ใน ห,ุ ภู, ชนฺ ธาต)ุ  เรยี กว่า วกิ ตกิ ตตฺ า อติ ิ ศพั ท 1. แปลวา ดังนี้ (ปดเลขใน) - เขากับกริ ยิ า เรียกวา อาการ - เขากับนาม เรียกว่า สรูป 2. แปลวา่ ดงั นี้เปน ตน (เขากับนาม) เรียกวา่ อาทฺยตฺถ 3. แปลว่า ช่อื วา (เขากับศพั ทภ ายในอิติ) เรียกวา่  สญฺาโชตก 4. แปลวา่ ดวยประการฉะนี้ เรียกว่า ปการตฺถ 5. แปลวา่ เพราะเหตนุ ัน้ (รูปวิเคราะห)  เรยี กว่า เหตฺวตฺถ 6. แปลวา่ เพราะเหตุนี้ เรียกวา่  นิทสสฺ น 7. แปลว่า ดังนี้แล (เม่อื จบเร่อื ง) เรียกว่า สมาปนนฺ 8. แปลว่า ดงั นี้แล (เม่อื จบ อิติ ตวั ท่ี ๒) เรียกว่า ปรสิ มาปนฺน 9. แปลว่า คอื (เขากบั นาม) เรยี กว่า สรูป |หลักสมพันธ์ นบิ าตประเภทตางๆ 140 1. นิบาตบอกอาลปนะ เรยี กวา อาลปนะ 2. นิบาตบอกกาล เรยี กว่า กาลสตฺตมี (ในกริ ยิ า) 3. นิบาตบอกท่ี เรียกว่า อาธาร (ในกิรยิ า) 4. นิบาตบอกปรจิ เฉท เรียกว่า ปรจิ ฺเฉทนตถฺ

5. นิบาตบอกอุปมา–อุปมัย หลักสมพันธ์| - ยถา, อิว (ฉนั ใด) เรียกว่า อปุ มาโชตก - ตถา, เอวํ (ฉนั นัน้ ) เรยี กว่า อุปเมยฺยโชตก 141 6. นิบาตบอกปฏิเสธ - แปลเขากบั กริ ยิ า เรียกว่า ปฏิเสธ - แปลเดย่ี ว เรยี กวา่  ปฏเิ สธนตถฺ 7. นิบาตบอกประการ เรียกว่า ปการตถฺ 8. นิบาตบอกความไดยินเลาลอื  เรยี กวา่  อนุสสฺ วนตฺถ 9. นิบาตบอกค�ำถาม เรียกว่า ปจุ ฉฺ นตฺถ 10. นิบาตบอกปริกปั  เรยี กว่า ปรกิ ปปฺ ตฺถ 11. นิบาตบอกความรบั เรียกว่า สมปฺ ฏจิ ฺฉนตถฺ 12. นิบาตบอกความเตือน เรยี กวา่  อุยฺโยชนตฺถ 13. นิบาตสักวาเปน เคร่อื งท�ำบทใหเตม็ - อยใู นคาถา เรยี กวา่  ปทปูรณ - อยูน อกคาถา เรียกว่า วจนาลงกฺ าร 14. นิบาตมเี น้ือความตางๆ เรียกวา่  กริ ยิ าวเิ สสน นบิ าตเบด็ เตล็ด หิ ดังจะกลาวโดยพิสดาร เรยี กวา วติ ฺถารโชตก หิ ดังจะกลาวโดยยอ เรยี กว่า สงฺเขปโชตก หิ, จ, ปน, ตุ ก,็ แล, กแ็ ล เรยี กวา่  วากฺยารมภฺ โชตก ห,ิ จ, ปน, ตุ เพราะวา เรียกว่า เหตุโชตก ห,ิ จ, ปน, ต ุ เหตุวา เรยี กวา่  กรณโชตก หิ, จ, ปน, ต ุ ดวยวา เรียกว่า ผลโชตก หิ, จ, ปน, ต ุ แตว า เรียกว่า วเิ สสโชตก หิ, จ, ปน, ต ุ เหมือนอยางวา (ใกล ยถา) เรียกว่า ตปฺปาฏกิ รณโชตก

|หลักสมพันธ์ หิ, จ, ปน, ตุ จริงอย,ู แทจ ริง เรียกวา่  ทฬหฺ กี รณโชตก ห,ิ จ, ปน, ตุ สวนวา เรียกว่า ปกฺขนฺตรโชตก 142 นุ, วต, หิ, สุ, โข, เว, หเว, โว หนอ, แล, ส,ิ เวย , โวย - อยูใ นคาถา เรียกวา่  ปทปูรณ - อยูนอกคาถา เรียกว่า วจนาลงกฺ าร หิ, จ, ปน, ตุ, อโถ, ตถา อน่ึง เรยี กว่า สมปฺ ณ ฺฑนตฺถ ตถา เหมือนอยางนัน้ , เอวํ อยางนี้, สกกฺ จฺจํ โดยเคารพ, สจจฺ ํ จรงิ   เรียกวา่  กิรยิ าวิเสสน สาธุ ดงั ขาพเจาขอโอกาส เรียกว่า อายาจนตถฺ จ ดวย (ควบบท) เรยี กวา่  ปทสมุจจฺ ยตฺถ จ ดวย (ควบพากย)  เรยี กว่า วากยฺ สมุจฺจยตถฺ วา หรือ (ควบบท) เรยี กวา่  ปทวกิ ปฺปตถฺ วา หรือ (ควบพากย) เรียกว่า วากยฺ วกิ ปปฺ ตถฺ เตนหิ ถาอยางนัน้  เรียกว่า วภิ ตตฺ ิปฏริ ูปก ว, เอว เทยี ว, นัน่ เทยี ว เรียกว่า อวธารณ ป, อป  แม, บาง, ก็ดี เรยี กวา่  อเปกฺขตฺถ ป, อป  แมบาง - ใชแ สดงการชมเชย เรียกว่า สมฺภาวนตถฺ - ใชแ สดงการตำ� หนิ เรยี กว่า ครหตฺถ สห, สทฺธึ พรอม, กบั - เขากบั นาม เรยี กวา่  ทพฺพสมวาย - เขากับกิริยา เรียกว่า กิรยิ าสมวาย อถวา, อปจ , วา อกี อยางหน่ึง เรียกวา่  อปรนัย ปจฺฉา ภายหลัง, อถโข ครัง้ นัน้ แล เรยี กวา่  กาลสตตฺ มี กญิ ฺจาป แมก็จริง, ยทิป แมโ ดยแท, อญฺ ทตฺถุ, กาม,ํ กามญจฺ โดยแท  เรียกว่า อนคุ คฺ หตฺถ

ปน ถงึ อยางนัน้ , อถโข โดยที่แทแ ล, ตถาป แมถึงอยางนัน้   หลักสมพันธ์| เรียกวา่  อรุจิสจู นตถฺ ตถา ห ิ จรงิ อยางนัน้ , จ ปน ก็ แล เรยี กวา่ นิปาตสมุห 143 อโห โอ (แสดงอาการดีใจ) เรยี กว่า อจฉฺ รยิ ตฺถ อโห โอ (แสดงอาการเสียใจ) เรยี กวา่  สํเวคตฺถ นีจ,ํ อจุ จฺ  ํ ต่ำ� , สูง เรียกวา่  วเิ สสน ปุนปปฺ ุนํ บอ ยๆ เรยี กวา ปุนปฺปนุ ตถฺ , กิรยิ าวิเสสน ธ ิ นาตเิ ตียน เรยี กว่า ครหตฺถโชตก, ครหตฺถโชตกลงิ คตฺถ ชอื่ สมั พันธเ บ็ดเตล็ด 1. อลํ, สกกฺ า แปลวา เปน ... (เขากับ หุ, ภู ธาต)ุ เรยี กวา วกิ ตกิ ตตฺ า 2. กึการณา เพราะเหตุอะไร เรยี กวา่  เหตุ 3. อติ ิ าปนเหตกุ ํ แปลว่า มีอนั ใหร ูวา...ดังนี้ เปน เหต ุ อิติ ศัพท เรียกวา่  สรูป ใน าปน– าปนเหตกุ ํ เรียกวา่  กริ ยิ าวิเสสน 4. ยาว เพียงใด, อญฺตร เว้น (แปลเดย่ี ว) เรยี กวา่  กิรยิ าวเิ สสน 5. ยญเฺ จ เสยโฺ ย แปลรวมกนั  เรยี กวา่  กิรยิ าวิเสสน 6. ยํ ใด, ยสมฺ า, หิ เหตใุ ด เรียกวา่  กริ ยิ าปรามาส 7. มญฺเ เห็นจะ เรยี กว่า สํสยตฺถ 8. นาม ช่ือวา เรยี กว่า สญฺาโชตก 9. ช่ือวา (ติสฺโส สามเณโร) เรียกว่า สญฺาวิเสสน 10. ช่อื วา - บทอธิบาย (อยหู นา) เรียกว่า สญฺญี - บทมาในคาถา (อยหู ลงั ) เรียกว่า สญฺา 11. คอื วา - บทมาในคาถา (อยูหนา) เรียกว่า ววิ รยิ - บทอธิบาย (อยูหลงั ) เรียกวา่  ววิ รณ

|หลักสมพันธ์12. คือ - นามที่มีวภิ ัตติ และวจนะเสมอกับนาม เรียกวา่  วเิ สสลาภี - นามท่มี ีวิภัตติ และวจนะไมเสมอกบั นาม เรยี กว่า สรูป วเิ สสนวปิ ลฺลาส คณุ นามและสรรพนาม 1. เปน วเิ สสนะของนามท่ตี า งลงิ คกัน เรียกวา่ วิเสสนลิงคฺ วิปลลฺ าส 1. เปนวิเสสนะของนามทตี่ า งวจนะกนั เรียกวา่ วิเสสนวจนวิปลลฺ าส 1. เปน วเิ สสนะของนามทีม่ ีทัง้ ลงิ คและวจนะตา งกนั เรียกว่า วเิ สสนลิงคฺ วจนวปิ ลฺลาส สมั พนั ธผ สม วภิ ตั ตนิ ามใดแปลออกสำ� เนยี งอายตนบิ าตหมวดอ่นื เม่อื สมั พนั ธ ใหบ อก ช่อื หมวดวภิ ตั ตขิ องศพั ทน์ ัน้ ไวห นา แลว ตามดว้ ยช่อื สมั พนั ธข์ องสำ� เนียง อายตนิบาตที่แปล เชน อทิ ธฺ มิ ยรปู ํ ทฏิ  กาลโต แปลวา แตก าล-แหง รปู อนั สำ� เรจ็ ดว ยฤทธ์ิ -อันตน เหน็ แลว อิทฺธิมยรปู ํ (ทตุ ยิ าวิภตั ตแิ ปลเปนฉฏั ฐีวิภัตติ) สัมพันธว า ทตุ ิยาสามีสมฺพนธฺ จบหลกั สัมพันธ 144


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook