Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-06-10 16:08:42

Description: บาลีไวยากรณ์ สนร.วัดอาวุธฯ ๖๑

Search

Read the Text Version

สงั ขยาคุณนาม ศพั ทท เ่ี ปนเคร่อื งกำ� หนดนับนามนาม ช่ือ สังขยา สงั ขยา แบง เปน ๒ คือ ปกตสิ ังขยา ๑ ปูรณสังขยา ๑ ปกตสิ ังขยา นับโดยปกติ เปน ตนวา หน่ึง สอง สาม ส่ี หา สำ� หรับนับ นามนาม ใหรูว ามีประมาณเทาใด ปูรณสังขยา ส�ำหรับนับนามนามท่ีเต็มจ�ำนวน คือ นับเปนชั้นๆ เปนตนวา ทหี่ น่ึง ท่ีสอง ทส่ี าม ที่ส่ี ที่หา วิธีนั บปกติสังขยา เอก ๑ สตตฺ รส ๑๗ ทวฺ ิ ๒ อฏฺารส ๑๘ ติ ๓ เอกูนวสี ติ, อนู วีส ๑๙ จตุ ๔ วีส, วสี ติ ๒๐ ปญจฺ ๕ เอกวีสต ิ ๒๑ ฉ ๖ ทวฺ าวสี ติ, พาวีสต ิ ๒๒ สตฺต ๗ เตวสี ติ ๒๓ อฏฺ ๘ จตุวสี ต ิ ๒๔ นว ๙ ปญฺจวสี ต ิ ๒๕ ทส ๑๐ ฉพฺพสี ต ิ ๒๖ เอกาทส ๑๑ สตตฺ วสี ต ิ ๒๗ ทฺวาทส, พารส ๑๒ อฏฺวสี ต ิ ๒๘ เตรส ๑๓ เอกนู ตตฺ ึส, อูนตฺตสึ ๒๙ จตทุ ทฺ ส, จุททฺ ส ๑๔ ตสึ , ตสึ ต ิ ๓๐ |นาม ปญจฺ ทส, ปณฺณรส ๑๕ เอกตฺตสึ ๓๑ 50 โสฬส ๑๖ ทฺวตฺตึส, พตตฺ ึส ๓๒

เตตตฺ ึส ๓๓ สตฺตจตฺตาฬีส ๔๗ จตตุ ตฺ ึส ๓๔ อฏฺจตตฺ าฬสี ๔๘ เอกูนปญฺาส, อูนปญฺ าส ๔๙ ปญฺจตฺตึส ๓๕ ฉตฺตึส ๓๖ ปญฺ าส, ปณณฺ าส ๕๐ สตตฺ ตตฺ สึ ๓๗ สฏฺ ี ๖๐ สตตฺ ติ ๗๐ อฏฺตตฺ สึ ๓๘ เอกูนจตตฺ าฬีส, อูนจตฺตาฬสี ๓๙ อสีติ ๘๐ จตฺตาฬีส, ตาฬสี ๔๐ นวตุ ิ ๙๐ เอกจตฺตาฬีส ๔๑ สตํ รอ้ ย เทวฺ จตตฺ าฬสี ๔๒ สหสสฺ ํ พัน เตจตฺตาฬีส ๔๓ ทสสหสฺสํ หม่ืน จตุจตตฺ าฬีส ๔๔ สตสหสฺส,ํ ลกขฺ ํ แสน ปญฺจจตฺตาฬสี ๔๕ ทสสตสหสฺสํ ล้าน ฉจตตฺ าฬีส ๔๖ โกฏิ โกฏิ ปกติสังขยา จดั เปน นาม ลงิ ค วจนะ ดงั นี ้ นาม เปน สพั พนาม ตัง้ แต  เอก (๑) - จตุ (๔) เปน คณุ นาม ตงั้ แต ปญจฺ (๕) - อฏ นวตุ ิ (๙๘) เปน นามนาม ตัง้ แต  เอกูนสตํ (๙๙) - โกฏิ ลิงค ตัง้ แต  เอก (๑) - อฏารส (๑๘) เปน ได ๓ ลงิ ค ตัง้ แต  เอกนู วีสติ (๑๙) - อฏนวตุ ิ (๙๘) เปน อติ ถีลงิ ค นาม| ตัง้ แต เอกนู สตํ (๙๙) - ทสสตสหสฺสํ (ลาน) เปน นปุงสกลิงค โกฏิ เปน อิตถลี งิ ค 51

วจนะ เอก (๑) เปน เอกวจนะ ทวฺ ิ (๒) - อฏารส (๑๘) เปน พหวุ จนะ เอกูนวีสติ (๑๙) - อฏ นวุติ (๙๘) เปน เอกวจนะ เอกูนสตํ (๙๙) - โกฏ ิ เปนไดท งั้ ๒ วจนะ วิธีแจกปกตสิ งั ขยา เอก ศัพท แจกอยางนี ้ ปุงลิงค์ เอกวจนะ อิตถีลิงค์ เอกวจนะ ป. เอโก ป. เอกา ท.ุ เอกํ ทุ. เอกํ ต. เอเกน ต. เอกาย จ. เอกสฺส จ. เอกาย ปญ.ฺ เอกสฺมา เอกมฺหา ปญฺ. เอกาย ฉ. เอกสฺส ฉ. เอกาย ส. เอกสมฺ ึ เอกมหฺ ิ ส. เอกาย เอก ศัพท ในนปงุ สกลงิ ค แจกเหมือนปุงลิงค แปลกแต ป.เอกํ เทานัน้|นาม และเอก ศพั ท ถาเปน สงั ขยาแจกแบบนี้ ถาเปน สพั พนาม แจกไดท งั้ ๒ วจนะ เหมอื น ย ศพั ท 52

ทฺวิ ศพั ท และ อภุ ศัพท ใน ๓ ลงิ ค แจกอยางนี ้ พหวุ จนะ ป. เทฺว ป. อุโภ ท.ุ เทวฺ ทุ. อโุ ภ ต. ทฺวีหิ ต. อุโภหิ จ. ทวฺ ินนฺ ํ จ. อภุ ินนฺ ํ ปญฺ. ทฺวีหิ ปญ.ฺ อโุ ภหิ ฉ. ทวฺ ินนฺ ํ ฉ. อุภนิ ฺนํ ส. ทวฺ ีสุ ส. อุโภสุ ติ ศัพท แจกอยา งนี ้ ปุงลงิ ค์ พหวุ จนะ อติ ถลี ิงค์ พหวุ จนะ ป. ตโย ป. ตสิ ฺโส ทุ. ตโย ท.ุ ติสฺโส ต. ตีหิ ต. ตหี ิ จ. ตณิ ฺณํ ตณิ ฺณนฺนํ จ. ตสิ สฺ นนฺ ํ ปญฺ. ตหี ิ ปญฺ. ตหี ิ ฉ. ติณณฺ ํ ติณฺณนฺนํ ฉ. ติสสฺ นฺนํ ส. ตีสุ ส. ตสี ุ ติ ศพั ทท ่ีเปน นปุงสกลิงค แจกเหมอื นปุงลิงคแปลกแต ป.ท.ุ ตณี ิ นาม| 53

จตุ ศพั ท แจกอยา งนี ้ ปงุ ลิงค์ พหวุ จนะ อติ ถลี งิ ค์ พหวุ จนะ ป. จตตฺ าโร จตโุ ร ป. จตสโฺ ส ท.ุ จตฺตาโร จตุโร ท.ุ จตสโฺ ส ต. จตูหิ ต. จตูหิ จ. จตุนนฺ ํ จ. จตสสฺ นนฺ ํ ปญฺ. จตหู ิ ปญ.ฺ จตหู ิ ฉ. จตนุ นฺ ํ ฉ. จตสสฺ นนฺ ํ ส. จตสู ุ ส. จตสู ุ จตุ ศพั ทท ีเ่ ปน นปุงสกลิงค แจกเหมือนปงุ ลิงค แปลกแต ป.ท.ุ จตตฺ าริ ปญจฺ ศพั ท ใน ๓ ลิงค แจกอยางนี ้ พหวุ จนะ ป. ปญจฺ ท.ุ ปญจฺ ต. ปญจฺ หิ จ. ปญจฺ นฺนํ ปญฺ. ปญฺจหิ ฉ. ปญฺจนฺนํ ส. ปญจฺ สุ ตงั้ แต ฉ ถึง อฏารส แจกเหมอื น ปญฺจ ศพั ท์ |นาม 54

เอกนู วีส แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ ป. เอกูนวีสํ ท.ุ เอกนู วสี ํ ต. เอกูนวสี าย จ. เอกนู วสี าย ปญ.ฺ เอกูนวีสาย ฉ. เอกูนวสี าย ส. เอกนู วีสาย ตงั้ แต วสี - ปญฺาส แจกตาม เอกนู วสี ตงั้ แต เอกูนวีสติ - อฏตฺตสึ ติ และ ตัง้ แต เอกนู สตฺตติ - อฏนวตุ ิ แจกตาม รตตฺ ิ ฝา ยเอกวจนะ ตงั้ แต เอกูนสฏ ี - อฏ สฏ ี แจกตาม นารี ฝายเอกวจนะ ตัง้ แต เอกูนสตํ - ทสสตสหสสฺ ํ แจกตาม กุล ทงั้ ๒ วจนะ โกฏิ แจกตาม รตตฺ ิ ทัง้ ๒ วจนะ ปูรณสังขยา นับในลิงคทงั้ ๓ ดังนี ้ ปงุ ลงิ ค อติ ถลี ิงค นปงุ สกลิงค ค�ำแปล นาม| ปโม ปมา ปมํ ท่ี ๑ ทุติโย ทตุ ิยา ทตุ ยิ ํ ท่ี ๒ 55 ตติโย ตติยา ตตยิ ํ ที่ ๓ จตุตฺโถ จตตุ ฺถี – ถา จตตุ ถฺ ํ ท่ี ๔ ปญฺจโม ปญจฺ มี – มา ปญจฺ มํ ท่ี ๕

ปุงลิงค อิตถีลงิ ค นปุงสกลงิ ค คำ� แปล ฉฏโ  ฉฏ  ี– า ฉฏํ ที่ ๖ สตตฺ โม สตตฺ มี – มา สตฺตมํ ที่ ๗ อฏ โม อฏม ี – มา อฏ มํ ท่ี ๘ นวโม นวมี – มา นวมํ ที่ ๙ ทสโม ทสมี – มา ทสมํ ที่ ๑๐ เอกาทสโม เอกาทสี – มา เอกาทสมํ ที่ ๑๑ ทวฺ าทสโม, พารสโม ทฺวาทสี, พารสี ทฺวาทสม,ํ พารสมํ ท่ี ๑๒ เตรสโม เตรสี เตรสมํ ท่ี ๑๓ จตุททฺ สโม จตทุ ฺทสี – มา จตทุ ฺทสมํ ที่ ๑๔ ปณณฺ รสโม ปณณฺ รส ี – มา ปณฺณรสมํ ที่ ๑๕ โสฬสโม โสฬสี โสฬสมํ ท่ี ๑๖ สตตฺ รสโม สตตฺ รสี สตตฺ รสมํ ท่ี ๑๗ อฏารสโม อฏารสี อฏารสมํ ท่ี ๑๘ เอกูนวีสตโิ ม เอกูนวีสตมิ า เอกูนวสี ตมิ ํ ท่ี ๑๙ วสี ติโม วสี ติมา วสี ติมํ ท่ี ๒๐ |นาม 56

สัพพนาม สพั พนาม แบง เปน ๒ คือ ปรุ สิ สพั พนาม ๑ วิเสสนสัพพนาม ๑ ปุริสสัพพนาม เปนศัพท์ส�ำหรับใชแทนช่ือคน และสิ่งของท่ีออกช่ือ มาแลว ขางตน เพ่อื ไมใ หซ ้ำ� ซาก แบง เปน ๓ ตามบรุ ษุ ทจี่ ดั ไวใ นอาขยาต คอื ต ตมุ ฺห อมฺห ต ศัพท เปน ประถมบุรุษ ส�ำหรับใช้แทนช่ือคนและสิ่งของท่ีผูพูด ออกช่ือถึง เชนคำ� วา “เขา” เปนได ๓ ลงิ ค ตุมหฺ ศัพท เปน มธั ยมบรุ ุษ สำ� หรบั ใชแทนช่อื คนท่ผี ูพดู พดู กบั คนใด ใชแ ทนช่อื ของคนนัน้ เชน คำ� วา “เจา – ทาน – สู – เอง็ – มึง” อมฺห ศัพท เปน อุตตมบุรุษ ส�ำหรับใชแทนช่ือของผูพูด เชนค�ำวา “ฉนั – ขา – กู” ตามค�ำทีส่ งู และต่ำ� สัพพนามไมม อี าลปนะ วธิ ีแจกปุริสสัพพนาม ต ศพั ท (นัน้ ) ในปุงลิงค แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. โส เต ท.ุ ตํ นํ เต เน ต. เตน เตหิ จ. ตสสฺ อสฺส เตสํ เตสานํ เนสํ เนสานํ ปญฺ. ตสมฺ า อสฺมา ตมฺหา เตหิ ฉ. ตสฺส อสสฺ เตสํ เตสานํ เนสํ เนสานํ นาม| ส. ตสมฺ ึ อสฺมึ ตมฺหิ เตสุ 57

ต ศพั ท (นัน้ ) ในอิตถีลงิ ค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. สา นํ ตา ตาสานํ ทุ. ตํ ตา ตาสานํ ต. ตาย อสสฺ า ตาหิ จ. ตสสฺ า ติสฺสาย ตาสํ ตสิ ฺสา อสสฺ า ตาหิ ปญ.ฺ ตาย ติสสฺ าย ตาสํ ฉ. ตสสฺ า ตสฺสํ ติสฺสํ ตาสุ ตสิ สฺ า ส. ตายํ อสฺสํ ต ศพั ท ในนปงุ สกลงิ ค แจกเหมอื นในปงุ ลงิ ค แปลกแต ป.เอก. ต,ํ ป.ท.ุ พห.ุ ตานิ ตมุ หฺ (ทาน) ทงั้ สองลิงค (ปุง., อิต.) แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป.|นามตฺวํ ตุวํ เต ตมุ เฺ ห โว ทุ. ตํ ตวฺ ํ ตุวํ เต ตมุ เฺ ห โว ต. ตยา ตฺวยา เต ตุมเฺ หหิ โว จ. ตุยหฺ ํ ตุมหฺ ํ ตว ตุมฺหากํ โว ปญ.ฺ ตยา ตุมเฺ หหิ ฉ. ตยุ หฺ ํ ตุมฺหํ ตว ตมุ หฺ ากํ โว ตยิ ตวฺ ยิ ตุมเฺ หสุ 58 ส.

อมฺห (ขา ) ทัง้ สองลงิ ค (ปุง., อิต.) แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อหํ มยํ โน โน ทุ. มํ มมํ อมเฺ ห โน ต. มยา เม อมฺเหหิ โน จ. มยฺหํ อมหฺ ํ มม อมฺหากํ อสมฺ ากํ มมํ เม อมฺเหหิ โน ปญ.ฺ มยา อมฺหากํ อสมฺ ากํ ฉ. มยฺหํ อมฺหํ มม อมฺเหสุ มมํ เม ส. มยิ วเิ สสนสพั พนามคลายกบั คณุ นาม แตว ธิ แี จกไมเ หมอื นคณุ นาม แบง เปน ๒ คอื  อนิยม ๑ นิยม ๑ ศพั ท์ ๑๓ ศัพท์ คอื ย อญฺ อญฺ ตร อญฺตม ปร อปร กตร กตม เอก เอกจฺจ สพฺพ กึ อภุ ย เปน อนิยม ศพั ท ๔ ศัพท์ คอื ต เอต อิม อม ุ เปน นิยม ย ศพั ท ไมเ ปน อนิยมแท เพราะเขากับ ตุมหฺ อมหฺ ได แตถาแปล ย วา “ใด” เปนอนิยมแท้ วเิ สสนสพั พนามเปน ไดทงั้ ๓ ลงิ ค นาม| 59

วธิ ีแจกวเิ สสนสัพพนาม ย ศัพท (ใด) ในปงุ ลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. โย ยมฺหา เย ท.ุ ยํ ยมฺหิ เย ต. เยน เยหิ จ. ยสฺส เยสํ เยสานํ ปญฺ. ยสฺมา เยหิ ฉ. ยสสฺ เยสํ เยสานํ ส. ยสฺมึ เยสุ ย ศพั ท (ใด) ในอิตถลี ิงค แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ยา ยา ท.ุ ยํ ยา ต. ยาย ยาหิ จ. ยสสฺ า ยาสํ ยาสานํ ปญฺ. ยาย ยาหิ ฉ. ยสฺสา ยาสํ ยาสานํ ส. ยสสฺ ํ ยาสุ ย ศัพททเ่ี ปน นปุงสกลิงค แจกเหมือนใน ปุงลงิ ค แปลกแต ป.ท.ุ เอก.|นาม ย,ํ พห.ุ ยานิ 60

ศพั ทท แ่ี จกเหมอื น ย ศัพท อญฺ อ่ืน กตม คนไหน อญฺตร คนใดคนหน่ึง เอก คนหน่ึง-พวกหน่ึง อญฺ ตม คนใดคนหน่ึง เอกจฺจ บางคน-บางพวก ปร อ่ืน อุภย ทงั้ สอง อปร อ่ืนอีก สพฺพ ทงั้ ปวง กตร คนไหน กึ ใคร-อะไร กึ ศพั ท แปลวา ใคร – อะไร ถามี จิ ตอ ทาย แปลวา นอย – บางคน –  บางสง่ิ ใหแ ปลซ้ำ� กัน ๒ หน เหมอื นค�ำวา โกจิ อ.ใคร ๆ, กาจิ อติ ฺถี อ.หญงิ ไรๆ, กญิ จฺ ิ วตถฺ ุ อ.วัตถุไรๆ ถาเปนพหุวจนะ แปลวา บางพวก – บางเหลา เหมือนค�ำวา เกจิ ชนา อ.ชน ท. บางพวก, กาจิ อิตฺถิโย อ.หญิง ท. บางพวก, กานิจิ กุลานิ อ.ตระกลู ท. บางเหลา ถามี ย น�ำหนา มี จิ ตอทาย แปลวา คนใดคนหน่ึง – ส่ิงใดส่ิงหน่ึง อุทาหรณวา โย โกจิ ปุริโส อ.บุรุษ คนใดคนหน่ึง, ยา กาจิ อิตฺถี อ.หญิง คนใด คนหน่ึง, ยานิ กานิจิ กมมฺ านิ อ.กรรม ท. เหลาใดเหลาหน่ึง เปน ตน กึ ศพั ท ทีเ่ ปนสพั พนามนี้เปนได้ ๓ ลิงค แปลง กึ เปน ก ในปุงลงิ ค์, เป็น กา ในอิตถลี งิ ค, คงรูป กึ ในนปงุ สกลิงค ปฐมาและทุตยิ าวิภัตตเิ อก วจนะเทา่ นัน้ แลว้ แจกตาม ย ศพั ท์ ทงั้ ๓ ลงิ ค์ นาม| 61

เอต ศัพท (น่ัน) ในปงุ ลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. เอโส เอเต ทุ. เอตํ เอนํ เอเต ต. เอเตน เอเตหิ จ. เอตสสฺ เอเตสํ เอเตสานํ ปญ.ฺ เอตสมฺ า เอตมฺหา เอเตหิ ฉ. เอตสฺส เอเตสํ เอเตสานํ ส. เอตสมฺ ึ เอตมฺหิ เอเตสุ เอต ศพั ท (น่ัน) ในอิตถลี งิ ค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. เอสา เอตา ทุ. เอตํ เอนํ เอตา ต. เอตาย เอตาหิ จ. เอตสสฺ า เอติสฺสา เอตาสํ เอตาสานํ เอตสิ สฺ าย ปญ.ฺ เอตาย เอตาหิ ฉ. เอตสฺสา เอตสิ ฺสา เอตาสํ เอตาสานํ เอติสสฺ าย ส. เอตสสฺ ํ เอตสิ สฺ ํ เอตาสุ |นาม เอต ศัพท ท่ีเปนนปุงสกลิงคแจกเหมือนปุงลิงค แปลกแต ป.ทุ.เอก. เอต,ํ  พหุ. เอตานิ 62

อิม ศพั ท (นี)้ ในปงุ ลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อยํ อิเม ทุ. อิมํ อเิ ม ต. อมิ ินา อเนน อิเมหิ จ. อิมสสฺ อสฺส อเิ มสํ อเิ มสานํ ปญ.ฺ อมิ สมฺ า อมิ มฺหา อสฺมา อเิ มหิ ฉ. อิมสสฺ อสฺส อเิ มสํ อเิ มสานํ ส. อมิ สมฺ ึ อมิ มหฺ ิ อสฺมึ อเิ มสุ อมิ ศัพท (นี)้ ในอิตถีลงิ ค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อยํ อมิ า อมิ าสานํ ทุ. อิมํ อิมา ต. อมิ าย อมิ าหิ จ. อิมสิ สฺ า อมิ ิสฺสาย อิมาสํ อสฺสา อิมาหิ อิมาสานํ ปญ.ฺ อมิ าย อิมาสํ ฉ. อมิ สิ ฺสา อมิ ิสฺสาย อิมาสุ อสฺสา ส. อมิ สิ ฺสํ อสสฺ ํ อมิ ศพั ทท เี่ ปน นปงุ สกลงิ ค แจกเหมอื นในปงุ ลงิ คแ ปลกแต ป.เอก. นาม| อิท,ํ ทุ.เอก.อิทํ อมิ ,ํ ป.ท.ุ พหุ. อิมานิ 63

อมุ ศัพท (โนน) ในปุงลงิ ค แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. อมุ อมู ทุ. อมํุ อมู ต. อมนุ า อมูหิ จ. อมุสสฺ อมโุ น อมสู ํ อมสู านํ อมสู านํ ปญฺ. อมสุ มฺ า อมมุ ฺหา อมูหิ ฉ. อมสุ ฺส อมโุ น อมูสํ ส. อมุสฺมึ อมุมหฺ ิ อมสู ุ อมุ ศัพท (โนน ) ในอิตถีลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อมุ อมู ทุ. อมุํ อมู ต. อมุยา อมูหิ จ. อมุสสฺ า อมสู ํ อมสู านํ ปญฺ. อมุยา อมูหิ ฉ. อมสุ ฺสา อมูสํ อมสู านํ ส. อมสุ ฺสํ อมสู ุ อมุ ศพั ท ทเ่ี ปนนปงุ สกลงิ ค แจกหมอื นในปงุ ลงิ ค แปลกแต ป.ท.ุ เอก.|นาม อทํุ, ป.ท.ุ พห.ุ อมูนิ อมุ ศัพทนี้ อาเทสเปน อสุ ไดบาง ลง ก ท้ายศัพท มีรูปเปน อมุก, อสุก บาง แจกตาม ย ศัพท ทงั้ ๓ ลงิ ค 64

อพั ยยศัพท อัพยยศัพท์| ศพั ทท ไี่ มแ่ จกวภิ ตั ตทิ งั้ ๗ เหมือนนามทัง้ ๓ คงรูปของตนอยูอยางนัน้ เรยี กวา อัพยยศัพท อพั ยยศพั ท์ แบง เปน ๓ คอื  อุปสัค นิบาต ปจ จัย อุปสัค อปุ สคั ใชน �ำหนานามและกริ ยิ าใหว เิ ศษข้นึ เม่อื น�ำหนานามนามมอี าการ คลายคณุ ศพั ท เม่ือน�ำหนากิรยิ ามอี าการคลายกิริยาวเิ สสนะ มี ๒๐ ตวั ดงั นี้ อต ิ ยง่ิ , เกิน, ลวง อธ ิ ยงิ่ , ใหญ, ทับ อนุ นอ ย, ภายหลัง, ตาม อป ปราศ, หลีก อป หรอื ป ใกล, บน อภิ ย่งิ , ใหญ, จำ� เพาะ, ขางหนา อว หรือ โอ ลง อา ทวั่ , ย่ิง, กลับความ อ ุ ข้ึน, นอก อุป เขาไป, ใกล, มนั่ ท ุ ชวั่ , ยาก 65

นิ เขา, ลง นิ ไมม,ี ออก ป ทวั่ , ขางหนา, กอ น, ออก ปฏิ เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลบั ปรา กลบั ความ ปร ิ รอบ วิ วิเศษ, แจง, ตาง สํ พรอม, กบั , ดี ส ุ ดี, งาม, งาย นบิ าต นิบาต ใชลงระหวางนามศัพทบาง กิริยาศัพทบาง บอกอาลปนะ กาล ท่ี ปรเิ ฉท อุปมาอุปไมย ปฏเิ สธ ความไดย ินเลาลอื ความปรกิ ัป ความรบั ความถาม ความเตือน เปน ตน ดงั นี้ นิ บาตบอกอาลปนะ ยคฺเฆ ใชสำ� หรบั บคุ คลทอ่ี ยใู ตบงั คบั รอ งเรียกคนสูงกวาตน แปลวา ขอเดชะ ภนเฺ ต, ภทนฺเต ใชส�ำหรบั คฤหัสถเ รยี กบรรพชติ หรอื บรรพชติ ผอู อ น พรรษากวา เรยี กบรรพชติ ผูม พี รรษาสูงกวา แปลวา |อัพยยศัพท์ ผูเจรญิ ภเณ ใชส �ำหรับคนที่สงู กวาเรยี กคนรบั ใชท ่ตี ่�ำกวาตน แปลวา พนาย อมฺโภ ใชสำ� หรับคนทัว่ ไปรอ งเรยี กบุรษุ แปลวา ผเู จริญ 66

อาวุโส ใชสำ� หรับบรรพชิตเรียกคฤหัสถ หรอื บรรพชิตท่ี แกก วาเรียกบรรพชติ ท่อี อนกวาตน แปลวา ผูมอี ายุ เร, อเร ใชส�ำหรบั รอ งเรียกคนเลวทรามทัว่ ไป แปลวา เวย , โวย เห ใชสำ� หรับรองเรียกคนเลวทรามทัว่ ไป แปลวา เฮย เช ใชส �ำหรบั นายเรยี กสาวใช แปลวา แม นิ บาตบอกกาล อถ ครัง้ นัน้ หิยโฺ ย วนั วาน ปาโต เช้า เสวฺ วนั พรุง่ ทิวา วนั สมปฺ ติ บดั เด๋ียวนี้ สายํ เย็น อายตึ ต่อไป สเุ ว ในวัน นิ บาตบอกท่ี อทุ ธฺ ํ เบ้ืองบน อโธ เบ้ืองต่�ำ อัพยยศัพท์| อุปริ เบ้ืองบน เหฏฺ า ภายใต้ อนฺตรา ระหวา่ ง โอรํ ฝั่งใน อนฺโต ภายใน ปารํ ฝั่งนอก ติโร ภายนอก หุรํ โลกอ่นื พหิ ภายนอก สมมฺ ุขา ตอ่ หน้า พหทิ ธฺ า ภายนอก ปรมมฺ ุขา ลับหลัง พาหริ า ภายนอก รโห ทล่ี ับ 67

นิบาตบอกปรเิ ฉท กีว เพียงไร ยาวตา มปี ระมาณเพียงใด ยาว มปี ระมาณเพยี งนนั้ ตาว เพียงใด ตาวตา มปี ระมาณเท่าใด ยาวเทว มปี ระมาณเท่านัน้ ตาวเทว เพียงนัน้ กติ ตฺ าวตา รอบคอบ, โดยรอบ วิย เพียงใดนัน่ เทยี ว เอตฺตาวตา อิว ยถา เพยี งนัน้ นัน่ เทียว สมนฺตา ยถา นิบาตบอกอปุ มาอปุ ไมย ตถา, เอวํ ราวกะ เสยยฺ ถา ฉนั ใด น โน เพยี งดัง ตถา ฉนั นัน้ มา ว ฉนั ใด เอวํ ฉนั นัน้ กริ นิ บาตบอกประการ ขลุ โดยประการใด กถํ โดยประการไร 68 โดยประการนัน้ นิบาตบอกปฏเิ สธ นัน่ เทียว ไม่ เอว เวน้ ไม่ วินา พอ, อยา่ เลย อยา่ อลํ เทยี ว |อัพยยศัพท์ นิบาตบอกความไดยินคำ� เลา ลือ ได้ยนิ วา่ สทุ ํ ได้ยินว่า ไดย้ นิ ว่า

นิบาตบอกปรกิ ัป เจ หากวา่ อถ ถ้าว่า ยทิ ผวิ า่ สเจ ถ้าวา่ อปฺเปว นาม ช่ือแมไ้ ฉน ยนนฺ นู กระไรหนอ นิ บาตบอกความถาม กึ หรอื , อะไร นนุ มิใช่หรือ กถํ อยา่ งไร อุทาหุ หรือว่า กจจฺ ิ แลหรือ อาทู หรอื วา่ นุ หนอ เสยฺยถที ํ อย่างไรนี้ นิ บาตบอกความรบั อาม เออ อามนตฺ า เออ นิบาตบอกความเตอื น องิ ฺฆ เชญิ เถดิ หนฺท เอาเถิด ตคฆฺ เอาเถดิ นิบาตสำ� หรบั ผูกศพั ทแ ละประโยคมอี ัตถะเปนอเนก จ ด้วย, อน่ึง ปน สว่ นว่า, ก็ ก,็ จรงิ อยู่ อัพยยศัพท์| อปิ แม้, บ้าง, ก็ดี วา หรือ, บ้าง หิ ก,็ จรงิ อย,ู่ เพราะวา่ อปิจ เออก็ ตุ สว่ นว่า, ก็ อถวา อีกอยา่ งหน่ึง 69

นิบาตสักวาเปน เคร่อื งท�ำบทใหเต็ม นุ หนอ โข แล สุ สิ วต หนอ เว เวย หเว เวย โว โวย นิบาตมีเนื้อความตา งๆ อญฺทตถฺ ุ โดยแท้ อาวี แจง้ อโถ สูง อทฺธา|อัพยยศัพท์อน่ึง อจุ จฺ ํ แน่แท้ อติ ิ แน่แท้ อวสสฺ ํ โอ เพราะเหตนุ ัน้ , อโห กิญฺจาปิ ว่า...ดงั นี้, ไกล ดว้ ยประการนี้, ช่อื อารา กฺวจิ แมน้ ้อยหน่ึง, ต่�ำ มจิ ฺฉา แมก้ ็จรงิ นีจํ แน่ มุธา บ้าง นูน ตา่ งๆ มสุ า ผดิ นานา ภายหลงั สกึ เปล่า ปจฉฺ า ตัง้ ก่อน, จำ� เดมิ สตกขฺ ตฺตํุ เทจ็ ปฏฺาย จ�ำเดิม สทฺธึ คราวเดยี ว ปภูติ อีก สณกิ ํ ร้อยคราว ปุน บ่อยๆ สยํ พร้อม, กับ ปนุ ปปฺ ุนํ ยง่ิ สห ค่อยๆ ภิยโฺ ย โดยยง่ิ เอง ภิยโฺ ยโส 70 สามํ กับ เอง

ปจ จยั ปจจัย ใชลงทายนามศัพทเปนเคร่ืองหมายวิภัตติ ลงทายธาตุเปน เคร่ืองหมายกิริยา โต ปจ จยั เปน เคร่อื งหมาย ตตยิ าวภิ ตั ติ แปลวา “ขา ง” เปน เคร่อื งหมาย ปญจมวี ภิ ตั ติ แปลวา “แต” เปนตน ดงั นี้ สพพฺ โต แต...ทงั้ ปวง ปุรโต ขางหนา อญฺโต แต...อ่นื ปจฺฉโต ขางหลัง อญฺ ตรโต แต. ..อันใดอันหน่ึง ทกขฺ ิณโต ขางขวา อิตรโต แต. ..นอกนี้ วามโต ขางซาย เอกโต ขางเดยี ว อุตตฺ รโต ขางเหนือ อุภโต สองขาง อธรโต ขางลาง ปรโต ขางอ่ืน ยโต แต...ใด ตโต แต. ..นัน้ อมุโต แต...โนน เอโต, อโต แต. ..นัน่ กตรโต แต. ..อะไร อโิ ต แต...นี้ กุโต แต...ไหน อปรโต ขางอ่นื อีก ปจจัย คอื ตรฺ ตฺถ ห ธ ธิ หึ หํ หญิ จฺ นํ ว เปน เคร่อื งหมาย สตั ตมี วภิ ัตติ แปลวา “ใน” ดังนี้ สพพฺ ตฺร ใน...ทัง้ ปวง อตฺถ ใน...นี้ สพพฺ ตถฺ ใน...ทงั้ ปวง เอกตรฺ ใน...เดยี ว อัพยยศัพท์| สพฺพธิ ใน...ทงั้ ปวง เอกตถฺ ใน...เดียว อญฺตฺร ใน...อ่ืน อุภยตรฺ ใน...สอง 71 อญฺตถฺ ใน...อ่นื อภุ ยตถฺ ใน...สอง ยตฺร ใน...ใด เอตฺถ ใน...นี้

ยตฺถ ใน...ใด อธิ ใน...นี้ ยหึ ใน...ใด อหิ ใน...นี้ ยหํ ใน...ใด กตรฺ ใน...ไหน ตตรฺ ใน...นัน้ กตฺถ ใน...ไหน ตตฺถ ใน...นัน้ กหุ ึ ใน...ไหน ตหึ ใน...นัน้ กหุ ํ ใน...ไหน ตหํ ใน...นัน้ กุหิญฺจนํ ใน...ไหน อตรฺ ใน...นี้ กฺว ใน...ไหน ปจจัย คอื ทา ทานิ รหิ ธนุ า ทาจนํ ชชฺ ชฺชุ เปนเคร่อื งหมายสตั ตมี วภิ ตั ติ แปลวา “ใน” ลงในกาล ดังนี้ สพพฺ ทา ในกาลทงั้ ปวง เอตรหิ ในกาลนี้, เด๋ยี วนี้ สทา ในกาลทกุ เม่อื กรหจิ ในกาลไหนๆ, บางครงั้ เอกทา ในกาลหน่ึง, บางที อธนุ า ในกาลนี้, เม่อื กี้ ยทา ในกาลใด, เม่อื ใด กทุ าจนํ ในกาลไหน ตทา ในกาลนัน้ , เม่อื นัน้ อชชฺ ในวนั นี้ กทา ในกาลไร, เม่อื ไร สชชฺ ุ ในวันมอี ยู, วันนี้ กทาจิ ในกาลไหน, บางคราว ปรชฺชุ ในวันอ่ืน อิทานิ ในกาลนี้, เด๋ยี วนี้ อปรชชฺ ุ ในวันอ่ืนอกี ปจจยั ทเี่ ปน กิรยิ ากิตก ๕ ตัว คอื ตเว ตุํ ตนู ตวฺ า ตวฺ าน และปจจยั ท่ี อาเทศออกจาก ตฺวา เปน อพั ยยะ แจกดวยวิภตั ตทิ ัง้ ๗ ไมไ ด ดังนี้ |อัพยยศัพท์ กาตเว เพ่ืออนั ท�ำ กตฺวา ท�ำแลว กาตุํ ความท�ำ, เพ่อื อันท�ำ กตฺวาน ท�ำแลว กาตูน ทำ� แลว 72

อาขยาต ศัพทก ลาวกริ ยิ าคือความทำ� เปนตนวา ยืน เดนิ นัง่ นอน กิน ด่ืม ทำ� พดู คดิ ช่อื วา อาขยาต อาขยาต ประกอบดวย วภิ ตั ติ กาล บท วจนะ บรุ ุษ ธาตุ วาจก ปจจัย เพ่ือเปน เคร่อื งหมายทำ� เน้ือความใหช ดั เจน วิภัตติ วิภัตติ จ�ำแนกไวเพ่ือเปนเคร่ืองหมายใหรู กาล บท วจนะ บุรุษ จดั เปน ๘ หมวด ในแต่ละหมวด มี ๑๒ วิภัตติ ดังนี้ ๑. วตฺตมานา แปลว่า ...อยู,่ ย่อม..., จะ... ปรัสสบท อตั ตโนบท เอก. พหุ. บุรษุ เอก. พหุ. ป. ติ อนตฺ ิ เต อนเฺ ต ม. สิ ถ เส วเฺ ห อุ. มิ ม เอ มเฺ ห ๒. ปญฺจม ี แปลว่า จง..., ...เถิด, ขอจง... ปรัสสบท อตั ตโนบท เอก. พหุ. บุรุษ เอก. พห.ุ อาขยาต| ป. ตุ อนตฺ ุ ตํ อนฺตํ ม. หิ ถ สสฺ ุ วฺโห 73 อ.ุ มิ ม เอ อามฺหเส

๓. สตฺตม ี แปลว่า ควร..., พงึ ... ปรัสสบท อตั ตโนบท เอก. พหุ. บุรษุ เอก. พห.ุ ป. เอยฺย เอยฺยํุ เอถ เอรํ ม. เอยยฺ าสิ เอยฺยาถ เอโถ เอยฺยวโฺ ห อุ. เอยฺยามิ เอยฺยาม เอยยฺ ํ เอยยฺ ามฺเห ๔. ปโรกขฺ า แปลว่า ...แลว้ ปรัสสบท อัตตโนบท เอก. พหุ. บุรษุ เอก. พหุ. ป. อ อุ ตถฺ เร ม. เอ ตฺถ ตโฺ ถ วฺโห อ.ุ อํ มหฺ อึ มเฺ ห ๕. หิยตตฺ นี แปลวา่ ...แลว้ , มี อ น�ำหน้า แปลวา่ ได.้ ..แล้ว ปรัสสบท อตั ตโนบท เอก. พห.ุ บรุ ษุ เอก. พห.ุ ป. อา อู ตถฺ ตฺถํุ ม. โอ ตถฺ เส วฺหํ อ.ุ อํ มฺห อึ มฺหเส ๖. อชชฺ ตฺตนี แปลว่า ...แลว้ , มี อ น�ำหน้า แปลว่า ได.้ ..แล้ว ปรสั สบท อตั ตโนบท เอก. พห.ุ บรุ ุษ เอก. พหุ. ป. อี อุํ อา อู |อาขยาต ม. โอ ตฺถ เส วหฺ ํ อุ. อึ มฺหา อํ มฺเห 74

๗. ภวิสฺสนตฺ  ิ แปลวา่ จกั ... ปรัสสบท อัตตโนบท เอก. พห.ุ บรุ ุษ เอก. พหุ. ป. สฺสติ สสฺ นฺติ สสฺ เต สสฺ นฺเต ม. สสฺ สิ สฺสถ สสฺ เส สฺสวฺเห อุ. สสฺ ามิ สสฺ าม สฺสํ สฺสามฺเห ๘. กาลาติปตฺติ แปลว่า จกั ...แล้ว, มี อ น�ำหน้า แปลว่า จกั ได.้ ..แล้ว ปรสั สบท อัตตโนบท เอก. พหุ. บุรษุ เอก. พหุ. ป. สฺสา สฺสสํ ุ สสฺ ถ สฺสสึ ุ ม. สเฺ ส สสฺ ถ สฺสเส สฺสวเฺ ห อุ. สสฺ ํ สฺสามหฺ า สฺสํ สสฺ ามฺหเส กาล ในอาขยาต แบงเป็น ๓ กาล คือ กาลทเ่ี กิดข้นึ จำ� เพาะหนา เรียกวา ปจจบุ ันกาล กาลท่ีลวงแลว เรียกวา อดีตกาล กาลทย่ี งั ไมม าถงึ เรยี กวา อนาคตกาล ปจ จบุ ันกาล จัดเปน ๓ คือ ปจ จบุ ันแท ๑ ปจจุบันใกลอดีต ๑ ปจจุบันใกลอ นาคต ๑ อดตี กาล จดั เปน ๓ คอื อาขยาต| ลวงแลวไมม กี �ำหนด ๑ ลว งแลว วานนี้ ๑ ลว งแลว วนั นี้ ๑ อนาคตกาล จดั เปน ๒ คอื 75 อนาคตของปจ จุบนั ๑ อนาคตของอดีต ๑

|อาขยาต ๑. วตฺตมานา บอกปจ จุบันกาล ปจจุบันแท แปลวา “อย”ู อุ. ภิกขฺ ุ ธมมฺ ํ เทเสติ. ภิกษุ แสดงอยู ซ่งึ ธรรม ปัจจุบันใกลอ ดตี แปลวา “ยอ ม” อ.ุ กโุ ต นุ ตฺวํ อาคจฉฺ สิ. ทาน ยอมมา แตที่ไหน หนอ ปัจจุบันใกลอนาคต แปลวา “จะ” อุ. กึ กโรมิ. (ขา) จะทำ� ซ่งึ อะไร ๒. ปญจฺ มี บอกความบงั คับ ความหวัง และความออนวอน เปนตน บอกความบังคับ แปลวา “จง” อุ. เอวํ วเทหิ. (เจา) จงกลาว อยางนี้ บอกความหวงั แปลวา “เถดิ ” อ.ุ สพเฺ พ สตตฺ า อเวรา โหนตฺ ุ. สัตว ท. ทงั้ ปวง เปนผูมเี วรหามไิ ดเถิด บอกความออ นวอน แปลวา “ขอ...จง” อุ. ปพพฺ าเชถ มํ ภนฺเต. ขาแตท านผเู จรญิ ขอ (ทาน ท.) จงยังขาพเจา ใหบวช ๓. สตตฺ มี บอกความยอมตาม ความก�ำหนด และความรำ� พึง เปนตน บอกความยอมตาม แปลวา “ควร” อ.ุ ภเชถ ปุรสิ ุตฺตเม. (ชน) ควรคบ ซ่งึ บุรษุ สูงสุด ท. บอกความกำ� หนด แปลวา “พึง” 76 อ.ุ ปญุ ฺญฺเจ ปรุ โิ ส กยิรา. ถาวา บุรษุ พึงท�ำ ซ่งึ บุญไซร

บอกความร�ำพงึ แปลวา “พงึ ” อุ. ยนฺนูนาหํ ปพฺพชฺเชยฺยํ. ไฉนหนอ เรา พงึ บวช ๔. ปโรกขา บอกอดีตกาล ไมมกี ำ� หนด แปลวา “แลว” อ.ุ เตนาห ภควา. ดว ยเหตุนัน้ พระผูม พี ระภาค ตรัสแลว เตนาหุ โปราณา. ดวยเหตนุ ัน้ อาจารยม ใี นปางกอ น ท. กลาวแลว ๕. หิยตฺตนี บอกอดตี กาล ตงั้ แตว านนี้ แปลวา “แลว ” ถามี “อ” อยหู นา แปลวา “ได. ..แลว ” อ.ุ ขโณ โว มา อปุ จจฺ คา. ขณะ อยาไดเ ขาไปลว งแลว ซ่งึ ทาน ท. เอวํ อวจ.ํ  ขา ไดกลาวแลว อยางนี้ ๖. อชฺชตฺตนี บอกอดตี กาล ตงั้ แตวนั นี้ แปลวา “แลว” ถามี “อ” อยหู นา แปลวา “ได...แลว” อุ. เถโร คามํ ปณ ฺฑาย ปาวสิ ิ. พระเถระ เขาไปแลว สบู าน เพ่อื กอ นขาว เอวรปู ํ กมมฺ ํ อกาส.ึ  (ขา) ไดท ำ� แลว ซ่งึ กรรม มอี ยางนี้ เปนรปู ๗. ภวสิ สฺ นตฺ ิ อาขยาต| บอกอนาคตกาลแหงปจ จบุ ัน แปลวา “จกั ” 77 อุ. ธมมฺ ํ สุณิสฺสาม. (ขา ท.) จักฟง ซ่ึงธรรม

๘. กาลาตปิ ตฺติ บอกอนาคตกาลแหง อดตี แปลวา “จกั ...แลว ” ถามี “อ” อยหู นา แปลวา “จกั ได...แลว ” อ.ุ โส เจ ยานํ ลภิสฺสา อคจฺฉิสสฺ า. ถาวา เขา จกั ไดแลว ซ่ึงยานไซร (เขา) จักไดไปแลว บท บท คอื ฝ่ายหรอื ส่วนของวิภตั ติ แบง เปน ๒ คือ ปรสั สบท บทเพ่อื ผูอ่นื  เปน เคร่อื งหมายใหรูกิรยิ าทเ่ี ปน กัตตุวาจก และเหตกุ ตั ตุวาจก อตั ตโนบท บทเพ่อื ตน เปน เคร่ืองหมายใหรกู ิริยาท่เี ปน กมั มวาจก เหตกุ มั มวาจก และภาววาจก วจนะ วจนะ คอื วภิ ตั ตบิ อกจำ� นวนนามนามทเี่ ป็นประธาน มี ๒ คอื  เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑ ถาประธานเปนเอกวจนะ ตองประกอบกิรยิ าเปน เอกวจนะ ถาประธาน เปน พหวุ จนะ ตองประกอบกริ ยิ าเปนพหุวจนะ ดังนี้ เอกวจนะ อ.ุ ว่า โส คจฉฺ ต ิ เขา ไปอยู พหุวจนะ อุ.ว่า เต คจฉฺ นตฺ ิ เขาทงั้ หลาย ไปอยู ยกเว้นประธานที่เปนเอกวจนะหลายศัพท ควบดวย จ ศัพท ต้อง ใชกิริยาเปนพหุวจนะ |อาขยาต บุรษุ บรุ ษุ คอื ชนั้ ของกริ ยิ าอาขยาต มี ๓ คอื  ประถมบรุ ษุ ๑ มธั ยมบรุ ษุ ๑ 78 อุตตมบุรุษ ๑ เหมือนปุริสสัพพนาม ถาปุริสสัพพนามใดเปนประธาน

ตองใชก ริ ยิ าประกอบวิภตั ตใิ หถูกตองตามปรุ สิ สัพพนามนัน้ ดังนี้ ปฐมบุรษุ อุ.วา่ โส ยาติ เขา ไป มัธยมบรุ ุษ อุ.ว่า ตฺวํ ยาสิ เจา ไป อตุ ตมบรุ ุษ อ.ุ วา่ อหํ ยามิ ขา ไป ธาตุ ธาตุ คอื ศพั ททเ่ี ปนมูลราก จัดเปน ๘ หมวด ตามทลี่ งปจจัยเดียวกนั ดังนี้ ๑. หมวด ภู ธาตุ (ลง อ, เอ ปจจยั ) ภู ธาตุ เปนไปในความมี, ความเปน ภวติ ยอ มม,ี ยอมเปน หุ ธาต ุ เปน ไปในความม,ี ความเปน โหติ ยอ มมี, ยอ มเปน สี ธาต ุ เปน ไปในความนอน เสต,ิ สยติ ยอ มนอน มรฺ ธาต ุ เปนไปในความตาย มรติ ยอ มตาย ปจฺ ธาตุ เปน ไปในความหงุ , ความตม ปจติ ยอมหงุ , ยอมตม อิกฺขฺ ธาต ุ เปน ไปในความเหน็ อิกฺขติ ยอมเห็น ลภฺ ธาต ุ เปนไปในความได ลภติ ยอ มได คมฺ ธาต ุ เปนไปในความไป คจฺฉติ ย่อมไป ๒. หมวด รุธฺ ธาตุ (ลง อ, เอ ปจจัย และลงนิคคหิตทต่ี น้ ธาต)ุ รุธฺ ธาต ุ เปนไปในความกนั้ , ในความปด รนุ ธฺ ต,ิ รนุ เฺ ธติ ยอ มกนั้ , ยอ มปด มจุ ฺ ธาตุ เปนไปในความปลอ ย มุญจฺ ติ ยอ มปลอย ภุชฺ ธาตุ เปนไปในความกิน ภญุ ชฺ ติ ยอ มกิน อาขยาต| ภทิ ฺ ธาต ุ เปนไปในความตอย ภินฺทติ ยอ มตอย ลิปฺ ธาต ุ เปน ไปในความฉาบ ลิมปฺ ติ ยอ มฉาบ 79

๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ (ลง ย ปจ จยั ) ทิวฺ ธาต ุ เปน ไปในความเลน ทพิ พฺ ติ ยอมเลน สิวฺ ธาต ุ เปน ไปในความเยบ็ สิพพฺ ติ ยอ มเยบ็ พุธฺ ธาต ุ เปน ไปในความตรัสรู้ พชุ ฌฺ ติ ยอมตรสั รู ขี ธาต ุ เปนไปในความสนิ้ ขยี ติ ยอ มสิน้ มุหฺ ธาต ุ เปน ไปในความหลง มุยฺหติ ยอ มหลง มุสฺ ธาต ุ เปน ไปในความลมื มสุ ฺสติ ยอ มลมื รชฺ ธาต ุ เปน ไปในความยอ ม รชฺชติ ยอ มยอ ม ๔. หมวด สุ ธาตุ (ลง ณ,ุ ณา ปจจัย) สุ ธาต ุ เปน ไปในความฟง สณุ าติ ยอ มฟง วุ ธาต ุ เปน ไปในความรอย วณุ าติ ยอ มรอ ย สิ ธาตุ เปนไปในความผกู สโิ ณติ ยอ มผูก ๕. หมวด กี ธาตุ (ลง นา ปจจัย) กี ธาตุ เปน ไปในความซ้อื กนี าติ ยอมซ้อื ชิ ธาตุ เปนไปในความชนะ ชินาติ ยอมชนะ ธุ ธาต ุ เปน ไปในความก�ำจดั ธนุ าติ ยอมก�ำจดั จิ ธาต ุ เปนไปในความกอ, ความสัง่ สม จินาติ ยอ มกอ, ยอ มสัง่ สม ลุ ธาต ุ เปนไปในความเกย่ี ว, ความตดั ลนุ าติ ยอ มเก่ียว, ยอ มตดั |อาขยาต า ธาตุ เปนไปในความรู ชานาติ ยอ มรู ผุ ธาต ุ เปน ไปในความฝด , ความโปรย ผนุ าติ ยอมฝด , ยอ มโปรย 80

๖. หมวด คหฺ ธาตุ (ลง ณหฺ า ปจจยั ) คหฺ ธาต ุ เปนไปในความถือเอา คณหฺ าติ ยอมถอื เอา ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ (ลง โอ ปจจยั ) ตนฺ ธาต ุ เปน ไปในความแผไป ตโนติ ยอ มแผไป กรฺ ธาต ุ เปน ไปในความท�ำ กโรติ ยอ มทำ� สกกฺ ฺ ธาต ุ เปนไปในความอาจ สกฺโกติ ยอ มอาจ ชาครฺ ธาตุ เปน ไปในความต่นื ชาคโรติ ยอ มต่นื ๘. หมวด จรุ ฺ ธาตุ (ลง เณ, ณย ปจจัย) จุรฺ ธาต ุ เปน ไปในความลัก โจเรต,ิ โจรยติ ยอ มลกั ตกกฺ ฺ ธาตุ เปนไปในความตรกึ ตกฺเกต,ิ ตกฺกยติ ยอ มตรกึ ลกขฺ ฺ ธาต ุ เปนไปในความก�ำหนด ลกเฺ ขติ, ลกขฺ ยติ ยอมก�ำหนด มนตฺ ฺ ธาต ุ เปนไปในความปรึกษา มนเฺ ตต,ิ มนฺตยติ ยอ มปรกึ ษา จนิ ฺตฺ ธาต ุ เปน ไปในความคดิ จนิ เฺ ตต,ิ จนิ ตฺ ยติ ยอมคิด สกัมมธาต–ุ อกัมมธาตุ ธาตุทัง้ หมด จัดเป็น ๒ คอื  สกัมมธาตุ ๑ อกัมมธาตุ ๑ สกัมมธาตุ ธาตุเรยี กหากรรม ได้แกส่ ิ่งท่ีบุคคลพึงท�ำ เป็นได้ ๔ วาจก ยกเวน้ ภาววาจก อกมั มธาตุ ธาตไุ มเ่ รยี กหากรรม เป็นได้ ๓ วาจก คอื กัตตุวาจก เหตุกัตตวุ าจก และภาววาจก วาจก อาขยาต| กิริยาศัพทท่ีประกอบดวย วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ ปจจัย 81 จดั เปน วาจก คอื บง่ ให้ทราบบทท่เี ปน ประธานของกริ ิยา ๕ ชนิด ไดแ้ ก่ กัตตุวาจก กมั มวาจก ภาววาจก เหตุกัตตุวาจก และเหตกุ ัมมวาจก

|อาขยาต กตั ตุวาจก กิริยาศัพทที่กลาวผูท�ำ คือแสดงวาเปนกิริยาของผูท�ำนั้น ช่ือวา กตั ตุวาจก อ.ุ วา่  สูโท โอทนํ ปจต.ิ  พอ ครวั หุงอยู ซ่ึงขาวสกุ กัมมวาจก กิริยาศัพทท่ีกลาวกรรม ส่ิงที่ถูกท�ำ คือแสดงวาเปนกิริยาของสิ่งนั้น ช่อื วา กัมมวาจก อ.ุ ว่า สเู ทน โอทโน ปจยิ เต. ขาวสุก อันพอครัว หุงอยู ภาววาจก กริ ยิ าศพั ทท กี่ ลาวสกั วา่ ความมคี วามเปน ไมก ลาวกตั ตา (ประธาน) และ กรรม ช่อื วา ภาววาจก อุ.ว่า เตน ภูยเต. อนั เขา เปน อยู เหตุกัตตุวาจก กริ ยิ าศัพทท่ีกลาวผูใ ชใหคนอ่นื ท�ำ คือเปนกริ ิยาของผใู ชใ หผ ู้อ่ืนท�ำนัน้ ช่ือวา เหตกุ ัตตุวาจก อุ.วา่ สามิโก สทู ํ โอทนํ ปาเจต.ิ นาย ยงั พอครัว ใหห งุ อยู ซ่งึ ขาวสกุ เหตกุ ัมมวาจก กิริยาศัพทที่กลาวสิ่งซ่ึงถูกเขาใชใหคนอ่ืนท�ำ คือเปนกิริยาของส่ิงนัน้ ช่ือวา เหตุกมั มวาจก อุ.วา่ สามเิ กน สูเทน โอทโน ปาจาปย เต. ขาวสกุ อันนาย ยังพอ ครวั ใหห ุงอยู 82

ปจจยั ปัจจัย เป็นเคร่ืองหมายกำ� หนดวาจก จดั เปน ๕ หมวด ตามวาจก ดงั นี้ กัตตุวาจก ลงปจจัย ๑๐ ตัว คือ อ เอ ย ณุ ณา นา ณฺหา โอ เณ ณย ปจจัยในกตั ตุวาจกทงั้ ๑๐ ตัว แบง ลงในธาตุทัง้ ๘ หมวด ดังนี้ อ, เอ ปจจัย ลงในหมวด ภู ธาต,ุ รธุ ฺ ธาตุ แตในหมวด รุธฺ ธาตุ ลงนิคคหิตอาคมหนา พยญั ชนะทีส่ ดุ ธาตุดวย เชน่ ภวต,ิ รุนฺเธติ ย ปจจัย ลงในหมวด ทวิ ฺ ธาตุ (ทิพฺพต)ิ ณุ, ณา ปจ จัย ลงในหมวด สุ ธาตุ (สณุ าติ) นา ปจจยั ลงในหมวด กี ธาตุ (กนี าติ) ณฺหา ปจ จยั ลงในหมวด คหฺ ธาตุ (คณหฺ าติ) โอ ปจจยั ลงในหมวด ตนฺ ธาตุ (ตโนต)ิ เณ, ณย ปจจยั ลงในหมวด จรุ ฺ ธาตุ (โจเรต,ิ โจรยต)ิ กัมมวาจก ลงปั จจัย ๑ ตัว คือ ย กับลง อิ อาคม หน้า ย ด้วย เช่น ปจิยเต, สวิ ยิ เต ภาววาจก ลงปัจจัย ๑ ตัว คอื ย เช่น ภยู เต เหตุกัตตุวาจก ลงปั จจัย ๔ ตัว คือ เณ ณย ณาเป ณาปย เชน่  ปาเจติ, ปาจยต,ิ ปาจาเปติ, ปาจาปยติ เหตุกมั มวาจก ลงปจ จัย ๑๐ ตัวในกตั ตุวาจก ตวั ใดตัวหน่ึงนัน้ ดวย ลง เหตุปจจัย คือ ณาเป และลง ย ปจจัย กับ อิ อาคม หนา ย ดวย เช่น ปาจาปิ ยเต ปจั จัยพิเศษ อาขยาต| ปจ จยั ทีส่ ำ� หรบั ประกอบกบั ธาตุอีก ๓ ตวั คือ ข ฉ ส เปนไปในความ ปรารถนา ดังนี้ 83

ภชุ ฺ ธาต ุ เปน ไปในความกนิ ลง ข ปจ จัย อ.ุ ว่า พุภุกขฺ ติ (ภุช+ฺ ข=พภุ กุ ขฺ +ติ) ปรารถนาจะกนิ ฆสฺ ธาตุ เปนไปในความกิน ลง ฉ ปจ จยั  อุ.ว่า ชิฆจฺฉติ (ฆส+ฺ ฉ=ชฆิ จฺฉ+ต)ิ ปรารถนาจะกิน หรฺ ธาต ุ เปน ไปในความน�ำไป ลง ส ปจจยั  อุ.ว่า ชคิ สึ ติ (หรฺ+ส=ชคิ สิํ +ติ) ปรารถนาจะน�ำไป ปจจัยท่ีส�ำหรับประกอบกับนามศัพท ท�ำใหเปนกิริยาศัพท ๒ ตัว คือ อาย อยิ เปน ไปในความประพฤติ อุทาหรณ์วา จริ ายติ (จริ +อาย+ต)ิ ประพฤติชาอยู ปุตตฺ ิยติ (ปตุ ตฺ +อยิ +ต)ิ ยอมประพฤติใหเ ปน เพียงดงั บตุ ร อสฺ ธาตุ อสฺ ธาตุ เปน ไปในความม,ี ความเปน อยหู นา แปลงวภิ ตั ตทิ งั้ หลายแลว ลบพยัญชนะตนธาตุบาง ที่สุดธาตุบาง ดงั นี้ ติ เปน ตถฺ ิ ลบท่สี ุดธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อตถฺ ิ อนฺติ คงรูป ลบตน ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน สนตฺ ิ ส ิ คงรปู ลบท่ีสุดธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อสิ ถ เปน ตถฺ ลบท่สี ุดธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อตถฺ ม ิ เปน มฺหิ ลบท่ีสดุ ธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อมหฺ ิ ม เปน มหฺ ลบท่ีสุดธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อมฺห ตุ เปน ตถฺ ุ ลบท่สี ุดธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อตฺถุ |อาขยาต เอยยฺ เปน อยิ า ลบตน ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน สยิ า เอยฺย กับทงั้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อสสฺ เอยฺย ํุ กบั ทงั้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อสฺสํุ 84 เอยยฺ ุํ เปน อิย ํุ ลบตน ธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน สยิ ํุ

เอยฺยาสิ กบั ทงั้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อสสฺ กบั ทัง้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อสสฺ ถ เอยยฺ าถ กับทงั้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อสสฺ ํ กบั ทงั้ ธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อสฺสาม เอยฺยามิ ทฆี ะตนธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อาสิ ทฆี ะตนธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อาสํุ เอยยฺ าม ทีฆะตนธาตุ ส�ำเรจ็ รปู เปน อาสติ ถฺ ทฆี ะตนธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อาสึ อ ิ คงรปู ทฆี ะตนธาตุ ส�ำเรจ็ รูปเปน อาสมิ หฺ า อุํ คงรปู ตถฺ คงรปู อึ คงรูป มฺหา คงรปู อาขยาต| 85

|กิตก์ กติ ก กิตก เปนช่ือของศัพทที่ประกอบปจจัยหมูหน่ึง ซ่ึงเปนเคร่ืองหมาย กำ� หนดเน้ือความของนามศพั ทและกริ ยิ าศพั ทที่แตกตางกนั แบ่งเป็น ๒ คอื นามกิตก์ ๑ กิริยากติ ก์ ๑ กติ ก์ทัง้ ๒ มีธาตเุ ป็นที่ตงั้ ทัง้ สิน้ กิริยากิตก กิตกท์ ่ีเปน กริ ยิ า เรยี กวา กิรยิ ากติ ก์ ประกอบดวย วภิ ัตติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปจ จยั วิภัตตแิ ละวจนะ วิภตั ติ วภิ ตั ตขิ องกริ ยิ ากติ กใ์ ชว ภิ ตั ตนิ าม ถานามศพั ทเ ปน วภิ ตั ตแิ ละวจนะใด กริ ยิ ากิตกก็เปนวภิ ัตติและวจนะนัน้ ตาม ดงั นี้ ภกิ ขฺ ุ คามํ ปณฑฺ าย ปวฏิ โ. ภกิ ษุ เขาไปแลว สูบาน เพ่อื กอนขาว เย เกจิ พทุ ฺธํ สรณํ คตา เส. ชน ท. เหลาใดเหลาหน่ึง ถงึ แลว ซ่งึ พระพทุ ธเจา วาเปนทร่ี ะลกึ สิ เอกํ ปรุ สิ ํ ฉตฺตํ คเหตฺวา คจฺฉนฺตํ ปสสฺ าม.ิ เรา เหน็ ซ่งึ บรุ ษุ คนหน่ึง ถือ ซ่ึงรม ไปอยู กาล 86 กาลของกิรยิ ากติ ก แบง เป็น ๒ คือ ปจ จุบนั กาล ๑ อดตี กาล ๑

ปจจุบนั กาล จดั เปน ๒ คือ ปจ จบุ ันแท ๑ ปจจบุ นั ใกลอ นาคต ๑ อดีตกาล จัดเปน ๒ คือ ลวงแลว ๑ ลว งแลว เสร็จ ๑ กาลนี้ ตองหมายรดู วยปจจัย ปจจบุ นั กาล ปจ จุบนั แท แปลวา “อยู” อุ. อหํ ธมฺมํ สุณนฺโต ปตึ ลภามิ. เรา ฟง อยู ซ่ึงธรรม ยอ มได ซ่งึ ปติ ปจ จบุ นั ใกลอนาคต แปลวา “เม่ือ” อุ. อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห. พระศาสดา เม่อื – ทรงสบื ตอ ซ่งึ อนสุ นธิ –แสดง ซ่งึ ธรรม ตรสั แลว ซ่งึ พระคาถา นี้ อดตี กาล ลวงแลว แปลวา “แลว ” อุ. ตโย มาสา อตกิ ฺกนตฺ า. เดือน ท. ๓ กาวลว งแลว ลว งแลวเสร็จ แปลวา “ครนั้ ...แลว ” อ.ุ เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา, เอกมนตฺ ํ นิสีทิ. (พระเถระรูปหน่ึง) พระผมู พี ระภาคเจา ประทบั อยู โดยสวนแหง ทิศใด เขาไปเฝาแลวโดยสวนแหงทิศนัน้ ครนั้ เขาไปเฝาแลว อภิวาทแลว ซ่ึงพระผมู พี ระภาคเจา นัง่ แลว ณ ท่สี ุดสว นขางหน่ึง วาจก วาจกในกิริยากิตก์ มี ๕ เหมือนวาจกในอาขยาต ตางกันเพียงรูป กิตก์| แหง กิรยิ าศพั ทเ ท่านัน้ 87

|กิตก์ ๑. กตั ตุวาจก อ.ุ ว่า ภกิ ฺขุ คามํ ปณ ฑฺ าย ปวฏิ โ . ภกิ ษุ เขา ไปแลว สูบ าน เพ่ือกอ นขาว ๒. กมั มวาจก อ.ุ วา่ อธิคโต โข มยายํ ธมโฺ ม. ธรรมนี้ อันเรา ถงึ ทับแลว แล ๓. ภาววาจก อุ. วา่ การเณเนตฺถ ภวติ พฺพ.ํ อนั เหตุ ในสิง่ นี้ พึงมี ๔. เหตกุ ัตตุวาจก อ.ุ ว่า สเทวกํ ตารยนฺโต. (ทาน) ยงั โลกนี้ กับทงั้ เทวโลก ใหขา มอยู ๕. เหตกุ ัมมวาจก อ.ุ วา่ อยํ ถูโป ปติฏ าปโ ต. พระสถปู นี้ (อนั เขา) ใหต งั้ เฉพาะแลว ปจจยั แหงกิริยากติ ก ปจจัยในกิริยากติ ก์ จดั เปน ๓ หมวด ดังนี้ กิตปจจัย มปี ัจจยั ๓ ตัว คอื  อนฺต ตวนตฺ ุ ตาวี เป็นเคร่อื งหมายกัตตุวาจก และเหตุกัตตวุ าจก กจิ จปจจยั  มปี ัจจัย ๒ ตัว คือ อนีย ตพฺพ เป็นเคร่อื งหมายกัมมวาจก เหตกุ ัมมวาจก และภาววาจก กติ กจิ จปจจัย มีปัจจัย ๕ ตวั คือ มาน ต ตูน ตวฺ า ตฺวาน เป็นเคร่อื งหมายบอกวาจกทัง้ ๕ ในปจจัยทัง้ ๓ หมวดนัน้  อนฺต, มาน บอกปจจุบันกาล ตวนฺตุ, 88 ตาวี, ต, ตูน, ตฺวา, ตฺวาน บอกอดีตกาล อนีย, ตพฺพ บอกความจำ� เปน

กิตปจ จยั อนตฺ ปจ จัย สณุ นโฺ ต ฟงอยู กโรนฺโต ทำ� อยู กเถนฺโต กลาวอยู ถาเปนอิตถลี งิ ค ลง อี เปน สณุ นฺตี กโรนตฺ ี กเถนตฺ ี ตวนตฺ ุ ปจจยั สตุ วา ฟง แลว  ภุตฺตวา กินแลว  วสุ ติ วา อยูแ ลว ถาเปน อิตถีลิงค ลง อี เปน สตุ วตี ภตุ ฺตวตี วุสติ วตี ตาวี ปจจยั ปุงลิงค อติ ถลี ิงค นปุงสกลิงค คำ� แปล สตุ าว ี สตุ าวินี สุตาวิ ฟงแลว ภตุ ฺตาว ี ภุตฺตาวินี ภตุ ตฺ าวิ กนิ แลว วุสติ าว ี วุสิตาวินี วสุ ติ าว ิ อยแู ลว กิจจปจ จัย อนีย ปจจัย กรณียํ อันเขาพึงท�ำ วจนียํ อนั เขาพึงกลาว โภชนียํ อันเขาพึงกนิ ศัพทท ปี่ ระกอบดวยปจ จัยนี้ บางศัพทใชเปน นามกิตกไ ด เชน่ ปณี เตน ขาทนีเยน โภชนีเยน ปรวิ ิสิ. เขา เลี้ยงแลว ดวยของ ควรเคยี้ ว ดว ยของควรบรโิ ภค อันประณีต ตพพฺ ปจ จยั กิตก์| กตฺตพพฺ ํ อนั เขาพึงทำ�  วตฺตพฺพํ อนั เขาพงึ กลาว ภุญฺชติ พฺพํ อันเขาพึงกิน 89

กิตกจิ จปจจยั มาน ปจ จยั มาน ปจ จัย เป็นกัตตวุ าจก ถาเป็นกัมมวาจก ลง ย ปัจจยั อิ อาคมหน้า ย ดังนี้ กัตตวุ าจก กัมมวาจก กุรมุ าโน ท�ำอยู กรยิ มาโน อนั เขาทำ� อยู ภุญฺชมาโน กนิ อยู  ภญุ ชฺ ิยมาโน อนั เขากนิ อยู วทมาโน กลาวอยู วจุ ฺจมาโน อนั เขากลาวอยู ต ปจจยั ๑. ธาตุมี มฺ และ นฺ เปน ทีส่ ดุ ลบท่สี ุดธาตุ คโต ไปแลว , ถงึ แลว้ คมฺ ธาตุในความไป, ความถึง รโต ยนิ ดีแลว รมฺ ธาตใุ นความยินดี ขโต อันเขาขุดแลว ขนฺ ธาตใุ นความขุด หโต อนั เขาฆาแลว หนฺ ธาตุในความฆ่า ๒. ธาตมุ ี จฺ, ชฺ และ ปฺ เปนทส่ี ดุ เอาทีส่ ดุ ธาตเุ ปน ตฺ สติ ฺโต อนั เขารดแลว สจิ ฺ ธาตใุ นความรด ววิ ติ ฺโต สงดั แลว วิ บทหนา วิจฺ ธาตใุ นความสงัด ภตุ ฺโต อันเขากินแลว ภชุ ฺ ธาตใุ นความกิน จตฺโต อันเขาสละแลว จชฺ ธาตุในความสละ คุตฺโต อันเขาคมุ ครองแลว คปุ ฺ ธาตใุ นความค้มุ ครอง ตตโฺ ต รอ นแลว ตปฺ ธาตุในความร้อน |กิตก์ ๓. ธาตมุ ี อา เปนท่สี ุดก็ดี ต เปนกัมมวาจกก็ดี ลง อิ ทีส่ ุดธาตุ โิ ต ยนื แลว า ธาตใุ นความยนื 90 ปโต อนั เขาด่ืมแลว ปา ธาตใุ นความด่มื

อภิชฌฺ โิ ต อนั เขาเพงจ�ำเพาะแลว ฌา ธาตใุ นความเพ่ง ภาสโิ ต อันเขากลาวแลว ภาสฺ ธาตุในความกล่าว ๔. ธาตมุ ี ทฺ เปน ทสี่ ดุ แปลง ต เปน นฺน แลว ลบทส่ี ดุ ธาตุ ฉนฺโน อันเขามุงแลว ฉทฺ ธาตุในความมุง สนฺโน จมแลว สทิ ฺ ธาตุในความจม รนุ โฺ น รองไหแ ลว รทุ ฺ ธาตใุ นความรอ้ งให้ ฉินโฺ น อนั เขาตัดแลว ฉิทฺ ธาตุในความตดั ภินฺโน แตกแลว ภทิ ฺ ธาตใุ นความแตก ทินโฺ น อนั เขาใหแ ลว ทา ธาตุในความให้ ๕. ธาตมุ ี รฺ เปนที่สดุ แปลง ต เปน ณฺณ แลว ลบที่สดุ ธาตุ ชิณฺโณ แกแ ลว ชริ ฺ ธาตุในความแก่ ตณิ ฺโณ ขามแลว ตรฺ ธาตใุ นความข้าม ปณุ ฺโณ เตม็ แลว ปูรฺ ธาตุในความเต็ม ๖. ธาตุมี สฺ เปน ทส่ี ุด แปลง ต เปน ฏ แลวลบทส่ี ุดธาตุ ตฏุ โ ยินดแี ลว ตุสฺ ธาตใุ นความยนิ ดี หฏโ  ราเริงแลว หสฺ ธาตใุ นความรา่ เรงิ ปวิฏโ เขาไปแลว วิสฺ ธาตใุ นความเข้าไป ๗. ธาตมุ ี ธฺ และ ภฺ เปนท่สี ุด แปลง ต เปน ทธฺ แลวลบท่ีสดุ ธาตุ พทุ โฺ ธ รแู ลว พุธฺ ธาตใุ นความรู้ กุทฺโธ โกรธแลว กธุ ฺ ธาตุในความโกรธ รทุ ฺโธ ปด แลว รธุ ธาตุในความปิด, ความกนั้ ลทฺโธ อันเขาไดแลว ลภฺ ธาตุในความได้ อารทฺโธ  อันเขาปรารภแลว รภฺ ธาตุในความเรม่ิ ๘. ธาตมุ ี มฺ เปนทสี่ ุด แปลง ต เปน นตฺ แลว ลบที่สดุ ธาตุ กิตก์| ปกฺกนโฺ ต หลีกไปแลว กมฺ ธาตุในความกา้ วไป 91 ทนโฺ ต ทรมานแลว ทมฺ ธาตใุ นความทรมาน

สนฺโต ระงบั แลว สมฺ ธาตุในความสงบ ๙. ธาตุมี หฺ เปนทส่ี ดุ แปลง ต เปน ฬหฺ แลว ลบทสี่ ดุ ธาตุ รุฬโฺ ห งอกแลว รุหฺ ธาตใุ นความงอก มฬุ โฺ ห หลงแลว มหุ ฺ ธาตใุ นความหลง วฬุ ฺโห อันน้�ำพดั ไปแลว วุหฺ ธาตุในความลอย ตูนาทิ ปจจัย (ตูน, ตฺวา, ตฺวาน) ตนู ตฺวา ตวฺ าน คำ� แปล กาตูน กตวฺ า กตวฺ าน ท�ำแลว คนตฺ ูน คนตฺ วฺ า คนฺตวฺ าน ไปแลว หนตฺ นู หนตฺ วฺ า หนตฺ วฺ าน ฆาแลว อปุ สัคอยหู นา แปลงปจจัยทงั้ ๓ เปน ย อาทาย ถอื เอาแลว ทา ธาตใุ นความถือเอา ปหาย ละแลว หา ธาตุในความละ นิสสฺ าย อาศัยแลว สี ธาตใุ นความอาศัย ธาตมุ ี มฺ เปน ท่ีสุด แปลง ย กับทสี่ ุดธาตุ เปน มมฺ อาคมฺม มาแลว คมฺ ธาตุในความไป นิกขฺ มฺม ออกไปแลว ขมฺ ธาตุในความอดทน อภริ มฺม ยินดยี ่งิ แลว รมฺ ธาตใุ นความยินดี ธาตมุ ี ทฺ เปนทสี่ ุด แปลง ย กับทส่ี ดุ ธาตุ เปน ชฺช อปุ ปฺ ชชฺ เกิดแลว ปทฺ ธาตใุ นความถึง ปมชฺช ประมาทแลว มทฺ ธาตใุ นความประมาท |กิตก์ อจฺฉิชชฺ ชงิ เอาแลว ฉิทฺ ธาตุในความชิงเอา ธาตุมี ธฺ และ ภฺ เปนที่สุด แปลง ย กบั ที่สุดธาตุ เปน ทธฺ า และ พฺภ 92 วทิ ฺธา แทงแลว วธิ ฺ ธาตใุ นความแทง

ลทฺธา ไดแ ลว ลภฺ ธาตุในความได้ อารพภฺ ปรารภแลว รภฺ ธาตุในความเรม่ิ ธาตมุ ี หฺ เปน ที่สุด แปลง ย กับที่สดุ ธาตุ เปน ยฺห ปคคฺ ยหฺ ประคองแลว คหฺ ธาตุในความถอื เอา สนนฺ ยหฺ ผูกแลว นหฺ ธาตุในความผกู อารยุ ฺห ข้ึนแลว รหุ ฺ ธาตุในความข้นึ เฉพาะ ทสิ ฺ ธาตุ แปลง ตฺวา เปน สฺวา, ตฺวาน เปน สฺวาน นามกติ ก กิตกท เี่ ปน นามนามหรือเปน คณุ นาม เรยี กวา นามกิตก นามกิตกจัดเปนสาธนะ มีปจจัยเปนเคร่ืองหมายวาศัพทนี้เปนสาธนะ นัน้  ๆ เพ่ือใหม ีเน้ือความแปลกกัน สาธนะ ศัพทท่ีส�ำเร็จมาจากรปู วเิ คราะห ช่อื สาธนะ มี ๗ อยา่ ง คือ กตั ตุสาธนะ กัมมสาธนะ ภาวสาธนะ กรณสาธนะ สัมปทานสาธนะ อปาทานสาธนะ อธกิ รณสาธนะ รปู วเิ คราะหแ หงสาธนะจดั เปน ๓ คือ กัตตรุ ปู กมั มรปู ภาวรปู สาธนะที่เปนกัตตรุ ปู มีรูปวเิ คราะหเ ปนกตั ตุวาจกและเหตุกตั ตุวาจก สาธนะทเี่ ปนกมั มรปู มรี ปู วเิ คราะหเปน กมั มวาจกและเหตุกัมมวาจก สาธนะท่ีเปน ภาวรปู มรี ปู วิเคราะหเ ปน ภาววาจก กัตตสุ าธนะ กิตก์| ศัพท์ท่ีส�ำเร็จมาจากรูปวิเคราะห์อันมีผู้ท�ำเองเป็ นประธานในกิริยา 93 เม่ือสำ� เรจ็ เป็นสาธนะแลว้ มผี ้ทู �ำเองนัน้ เป็นประธาน เรยี กวา่ กัตตสุ าธนะ

|กิตก์ กัตตุสาธนะ แปลว่า “ผู้...” ถ้าลงในอรรถแห่งตัสสีละ แปลว่า “ผ้.ู .. โดยปกต”ิ  เชน่ กมุ ภฺ กาโร (ชน) ผูท�ำซ่งึ หมอ, ทายโก (ชน) ผูใ ห, โอวาทโก (ชน) ผูกลาวสอน, สาวโก (ชน) ผูฟง กมั มสาธนะ ศัพท์ที่ส�ำเร็จมาจากรูปวิเคราะห์อันมีสิ่งที่ถูกท�ำบ้าง ผู้ท�ำเองบ้าง เป็ น ประธานในกริ ยิ า เม่อื สำ� เรจ็ เป็นสาธนะแลว้ มกี รรมคอื สงิ่ ทถ่ี กู ทำ� เทา่ นัน้ เป็น ประธาน เรียกวา่ กมั มสาธนะ กมั มสาธนะ ท่เี ปน กัตตรุ ปู แปลวา “เปน ท่.ี ..” ท่ีเปน กมั มรูป แปลวา “เปน ท่อี นั เขา...” เช่น ปโย (บตุ ร) เปนท่รี กั , รโส (วสิ ัย) เปน ทยี่ นิ ดี, กจิ ฺจํ (กรรม) อนั เขาพึงท�ำ, ทานํ (สง่ิ ของ) อนั เขาพึงให ภาวสาธนะ ศพั ทท์ สี่ ำ� เรจ็ มาจากรปู วเิ คราะหอ์ นั เป็นภาววาจก เม่อื สำ� เรจ็ เป็นสาธนะ แลว้ ไมม่ ีประธาน เรียกวา ภาวสาธนะ ภาวสาธนะเปน ภาวรปู อยางเดยี ว แปลวา “ความ...” กไ็ ด้ “การ...” กไ็ ด้ เชน่ คมนํ ความไป, านํ ความยืน, นิสชชฺ า ความนัง่ , สยนํ ความนอน กรณสาธนะ ศัพท์ที่ส�ำเร็จมาจากรูปวิเคราะห์อันมี ต สัพพนาม โยกวัตถุเคร่ืองท�ำ เป็นตตยิ าวภิ ตั ติ เขา้ ในกริ ยิ า เม่อื สำ� เรจ็ เป็นสาธนะแลว้ มวี ตั ถเุ คร่อื งทำ� นัน้ เป็นประธาน เรยี กว่า กรณสาธนะ กรณสาธนะท่ีเปนกัตตรุ ูป แปลวา “เปน เคร่อื ง...” ก็ได้ “เปนเหตุ...” กไ็ ด้ ทเ่ี ปน กมั มรปู แปลวา “เปน เคร่อื งอนั เขา...” กไ็ ด้ “เปน เหตอุ นั เขา...” กไ็ ด ้ เชน่ พนธฺ นํ วตั ถเุ ปน เคร่อื งผกู , ปหรณํ วตั ถเุ ปน เคร่อื งประหาร, วชิ ฌฺ นํ 94 วัตถุเปนเคร่อื งเจาะ

สัมปทานสาธนะ ศพั ทท์ ่สี ำ� เร็จมาจากรปู วเิ คราะหอ์ นั มี ต สัพพนาม โยกผู้รับ เป็นจตุตถี วภิ ัตติ เขา้ ในกิรยิ า เม่ือสำ� เร็จเป็นสาธนะแล้ว มีผรู้ ับนัน้ เป็นประธาน เรียก วา่ สัมปทานสาธนะ สัมปทานสาธนะท่ีเปนกัตตุรูป แปลวา “เปนท่ี...” ที่เปนกัมมรูป แปลวา “เปนท่ีอนั เขา...” เช่น สมฺปทานํ วัตถเุ ปนที่มอบให อปาทานสาธนะ ศพั ทท์ สี่ ำ� เรจ็ มาจากรปู วเิ คราะหอ์ ันมี ต สัพพนาม โยกส่งิ ท่จี ากไป เป็น ปั ญจมีวิภัตติ เข้าในกิริยา เม่ือส�ำเร็จเป็ นสาธนะแล้ว มีที่จากไปนัน้ เป็ น ประธาน เรียกวา่ อปาทานสาธนะ อปาทานสาธนะเป็ นกัตตุรูปอย่างเดียว แปลวา “เปนแดน...” เช่น ปภสสฺ โร (กายเทวดา) แดนสรานออกแหง รศั ม,ี ปภโว (ภเู ขา) แดนเกดิ กอ น, ภีโม (ยักษ) แดนกลวั อธิกรณสาธนะ ศัพทท์ ่ีส�ำเร็จมาจากรปู วิเคราะหอ์ นั มี ต สัพพนาม โยกสถานท่ีทำ� เป็น สัตตมีวิภัตติ เข้าในกิริยา เม่ือส�ำเร็จเป็ นสาธนะแล้ว มีสถานที่ท�ำนัน้ เป็ น ประธาน เรียกวา่ อธกิ รณสาธนะ อธิกรณสาธนะทเี่ ป็นกัตตุรปู แปลวา “เปน ท่ี...” ที่เปน กมั มรูป แปล วา “เปน ท่อี ันเขา...” เชน่ านํ ทต่ี งั้ , ทย่ี นื , อาสนํ ท่นี ัง่ , สยนํ ทนี่ อน นามกิตก์ท่ีเป็นภาวสาธนะ เป็นนามนาม ไมต่ ้องโยกอญั ญบท สว่ นนา กิตก์| มกติ กท์ เ่ี ป็นสาธนะอ่นื เป็นคณุ นาม แปลออกสำ� เนียงอายตนิบาตแหง่ วภิ ตั ติ นามไมไ่ ด้ ต้องโยกอัญญบท 95

|กิตก์ ปจ จัยแหงนามกติ ก ปจ จัยนามกิตก มี ๓ หมวด คือ กติ ปั จจยั  มี ๕ ตัว คือ กฺวิ, ณี, ณวฺ ,ุ ตุ, รู ส�ำหรบั ประกอบศัพท์ท่เี ป็นกัตตรุ ปู เป็นเคร่ืองหมายกตั ตุสาธนะ กจิ จปั จจัย มี ๒ ตวั คือ ข, ณยฺ ส�ำหรับประกอบศัพท์ที่เป็ นกัมมรูปและภาวรูป เป็ นเคร่ืองหมาย กัมมสาธนะและภาวสาธนะ กติ กิจจปั จจัย มี ๗ ตัว คือ อ, อ,ิ ณ, ตเว, ต,ิ ตุ,ํ ยุ ส�ำหรบั ประกอบศพั ทท์ ัง้ ๓ รูป เป็นเคร่ืองหมายสาธนะ ทัง้ ๗ วิเคราะหใ นกิตปจจยั กวฺ ิ ปจ จยั (สยมฺภู, อรุ โค, สงโฺ ข) สยํ ภวตตี ิ สยมฺภู. (ชนใด) ยอมเปนเอง เหตนุ ัน้ (ชนชัน้ ) ช่อื วาผูเ ปนเอง อุเรน คจฺฉตตี ิ อุรโค. (สัตวใ ด) ยอมไปดว ยอก เหตุนัน้ (สัตวน ัน้ ) ช่อื วา ผไู ปดวยอก สํ สุฏฐุ ขนตีติ สงโฺ ข. (สตั วใ ด) ยอมขุด (ซ่งึ แผน ดนิ ) ดี คอื วา ดว ยดี เหตุนัน้ (สัตวน ัน้ ) ช่ือวาผูขดุ ดี ณี ปจจัย (ธมฺมวาท,ี ปาปการ,ี ธมมฺ จาร)ี ธมมฺ ํ วทติ สีเลนาติ ธมมฺ วาท.ี (ชนใด) ยอ มกลาวซ่งึ ธรรม โดยปกติ เหตนุ นั้ (ชนชนั้ ) ช่อื วาผกู ลาว 96 ซ่งึ ธรรมโดยปกติ

ธมฺมํ วตตฺ ํุ สีลมสฺสาติ ธมมฺ วาที. ความกลาว ซ่งึ ธรรม เปน ปกติ ของเขา เหตุนัน้ (เขา) ช่ือวา ผมู ี ความกลาว ซ่งึ ธรรมเปน ปกติ ปาปํ กโรติ สเี ลนาติ ปาปการ.ี (ชนใด) ยอ มท�ำ ซ่ึงบาป โดยปกติ เหตุนัน้ (ชนชัน้ ) ช่ือวา ผูท ำ� ซ่ึง บาปโดยปกติ ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจาร.ี (ชนใด) ยอมประพฤตซิ ่งึ ธรรม โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่ือวา ผูประพฤติ ซ่งึ ธรรมโดยปกติ ณวฺ ุ ปจจัย (ทายโก, นายโก, อนสุ าสโก, สาวโก) เทตตี ิ ทายโก. (ชนใด) ยอมให เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูให เนตีติ นายโก. (ชนใด) ยอมน�ำไป เหตุนัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผนู �ำไป อนสุ าสตตี ิ อนุสาสโก. (ชนใด) ยอ มตามสอน เหตุนัน้ (ชนชัน้ ) ช่อื วา ผตู ามสอน สุณาตีติ สาวโก. (ชนใด) ยอ มฟง เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่ือวา ผูฟง ตุ ปจจัย (กตตฺ า, วตฺตา, าตา, ธาตา) กโรตีติ กตฺตา. กิตก์| (ชนใด) ยอมท�ำ เหตุนัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูท �ำ 97 กโรติ สีเลนาติ กตฺตา. (ชนใด) ยอมท�ำ โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วาผทู �ำโดยปกติ

|กิตก์ วทตตี ิ วตตฺ า. (ชนใด) ยอมกลาว เหตุนัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผกู ลาว ชานาตีติ าตา. (ชนใด) ยอ มรู เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูรู ธาเรตตี ิ ธาตา. (ชนใด) ยอ มทรงไว เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูทรงไว รู ปจจยั (ปารค,ู วิญฺญู, ภกิ ขฺ )ุ ปารํ คจฺฉติ สีเลนาติ ปารค.ู (ชนใด) ยอ มถงึ ซ่งึ ฝง โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผถู งึ ซ่งึ ฝง โดยปกติ วชิ านาติ สีเลนาติ วิญญฺ ู. (ชนใด) ยอ มรวู เิ ศษ โดยปกติ เหตนุ นั้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผรู วู เิ ศษโดยปกติ ภกิ ฺขติ สีเลนาติ ภกิ ฺขุ. (ชนใด) ยอมขอ โดยปกติ เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูขอโดยปกติ วเิ คราะหในกจิ จปจจัย ข ปจจยั (ทุกฺกรํ, สภุ โร, ทุรกขฺ ํ) ทกุ ฺเขน กรยิ ตีติ ทุกกฺ ร.ํ (กรรมใด) อันเขาท�ำไดโดยยาก เหตนุ ัน้ (กรรมนัน้ ) ช่ือวา อันเขา ท�ำไดโ ดยยาก สุเขน ภรยิ ตตี ิ สภุ โร. (ชนใด) อันเขาเลยี้ งได โดยงาย เหตุนัน้ (ชนชนั้ ) ช่อื วา ผูอนั เขา 98 เลีย้ งไดโดยงาย

ทุกเฺ ขน รกฺขิยตีติ ทุรกฺข.ํ กิตก์| (จิตใด) อนั เขารกั ษาได โดยยาก เหตุนัน้ (จิตนัน้ ) ช่อื วา อันเขา รกั ษาไดโ ดยยาก ณฺย ปจจยั (การิยํ, เนยยฺ ํ, วชฺชํ, ทมฺโม, โยคคฺ ํ, คารยหฺ ,ํ เทยยฺ ํ) กาตพพฺ นตฺ ิ การยิ ํ. (กรรมใด) อนั เขาพงึ ท�ำ เหตนุ ัน้ (กรรมนัน้ ) ช่ือวา อันเขาพงึ ทำ� เนตพฺพนฺติ เนยฺย.ํ (วตั ถใุ ด) อันเขาพงึ น�ำไป เหตนุ ัน้ (วตั ถุนัน้ ) ช่อื วา อนั เขาพึงน�ำไป วตฺตพฺพนตฺ ิ วชชฺ ํ. (ค�ำใด) อันเขาพึงกลาว เหตุนัน้ (ค�ำนัน้ ) ช่อื วา อนั เขาพงึ กลาว ทมิตพโฺ พติ ทมฺโม. (ชนใด) อันเขาพงึ ฝึกได เหตนุ ัน้ (ชนชนั้ ) ช่ือวา อนั เขาพึงฝึกได ยญุ ชฺ ติ พฺพนตฺ ิ โยคค.ํ (สิ่งใด) อันเขาพึงประกอบ เหตุนั้น (สิ่งนั้น) ช่ือวา อันเขาพึง ประกอบ ครหติ พฺพนฺติ คารยหฺ ํ. (กรรมใด) อันเขาพงึ ตเิ ตยี น เหตุนัน้ (กรรมนัน้ ) ช่อื วา อนั เขาพึง ติเตียน ทาตพฺพนตฺ ิ เทยยฺ .ํ (สงิ่ ใด) อันเขาพงึ ให เหตนุ ัน้ (สงิ่ นัน้ ) ช่ือวา อนั เขาพึงให ศัพทท่ีประกอบดวย ณฺย ปจจัยนี้ บางศัพท์ก็ใชเปนกิริยากิตก์ เช่น คารยฺห อุทาหรณ์ว่า เต จ ภิกฺขู คารยฺหา. อน่ึง ภิกษุ ท. เหลานั้น อนั บคุ คล พงึ ตเิ ตียน 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook