Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปีและสารสนเทศ 2564

รายงานประจำปีและสารสนเทศ 2564

Published by malaiphan, 2022-07-20 04:49:57

Description: รายงานประจำปีและสารสนเทศ 2564
https://ssru.ac.th
https://plan.ssru.ac.th
https://www.facebook.com/plan.ssru

Keywords: #PLAN #SSRU

Search

Read the Text Version

รแาลยะสงาารนสปนรเะทจศําปี 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา SSSSRRUU

สารจากนายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีทิศทางการ พัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 15 ปี เพื่อก้าวสู่การเป็น “มหาวทิ ยาลัยเอตทคั คะนานาชาต”ิ โดยในช่วงระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 – 2564) มหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์มุ่งที่จะเป็น “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม (Smart Archetype University of the Society)” มีเป้าหมายความสำเร็จตาม วิสัยทัศน์ : รักษาความเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ในกลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีผลงานที่เป็นแม่แบบสวนสุนันทา ด้านการสอน วิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งมหาวิทยาลัยมียุทธศาสตร์ เป้าหมาย นโยบาย ในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยในการ ขับเคลื่อนไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวแปลงไปสู่ การปฏิบัติในแต่ละปี รวมทั้งมีการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นสารสนเทศ ในการบริหารจดั การมหาวทิ ยาลัย การจัดทำรายงานประจำปี และสารสนเทศของ มหาวิทยาลัยนับเป็นประโยชน์ให้มหาวิทยาลัย ได้นำไป ขบั เคล่ือนการดำเนินงานตามพันธกจิ ทีส่ อดคล้องกับความเปน็ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ สะท้อนหลักการบริหารจัดการ ที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล พัฒนาระบบบริหารที่เป็นของ ตนเอง เพื่อสร้างมาตรฐานและแนวปฏิบัติที่ดีของ มหาวิทยาลัย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า มหาวิทยาลัยจะได้รับ ความร่วมมอื ในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสู่การปฏบิ ัติและ วางแผนการดำเนินงานก้าวสู่การเป็น“มหาวิทยาลัยแม่แบบ ทด่ี ีของสังคม” ตามทไ่ี ดว้ างไว้ รองศาสตราจารย์ ดร. ฤๅเดช เกิดวิชยั นายกสภามหาวิทยาลัย รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

สารจากอธิการบดี ตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัยที่จะมุ่ง เป็น “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม (Smart Archetype University of the Society)” มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา ดำเนินการตามภารกิจหลักทุกด้าน ให้เป็นไปตามทิศทาง ที่ตั้งเป้าหมายไว้ ดังปรากฏได้จากภารกิจด้านการศึกษา การวิจัย การบริการวชิ าการ และทำนุบำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ตามแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลยั ระยะ 15 ปี เพือ่ ก้าวสู่การ เป็น “มหาวิทยาลัยเอตทัคคะนานาชาติ” ในช่วง 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 – 2564) มหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์มุ่งที่จะเป็น “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม (Smart Archetype University of the Society)” ซึ่งมหาวิทยาลัยมียุทธศาสตร์ เ ป ้ า ห ม า ย น โ ย บ า ย ใ น ก า ร บ ร ิ ห า ร แ ล ะ พ ั ฒ น า ม ห า ว ิ ท ย า ลั ย เพื่อขับเคลื่อนไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายดังกล่าวแปลงไปสู่ การปฏิบัติในแต่ละปี รวมทั้งมีการติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำเป็นสารสนเทศ ในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายความสำเร็จ ตามวิสัยทัศน์ : รักษาความเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ในกลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งในปีน้ีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ยังครองตำแหน่งมหาวิทยาลัยราชภัฏอันดับ 1 สมัยที่ 14 จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก โดย webometrics ประเทศสเปน ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันการแพร่ระบาด ของเชอ้ื ไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ต่อมหาวิทยาลัย ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงมีการปรับตัวและ เตรียมการรับมือ ทั้งด้านการทำงาน การเรียนการสอน และ การดำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อให้ มหาวทิ ยาลัยได้รับผลกระทบน้อยทีส่ ุด ในนามของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอขอบคณุ ผู้มสี ว่ นรว่ มในความสำเรจ็ ทุกภาคส่วน และหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมอื ในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนยุทธศาสตร์ และการดำเนินงาน ต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร. ชตุ กิ าญจน์ ศรีวบิ ูลย์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

สารบญั สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 1 3 4 5 ประวตั ิความเปน็ มา วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ ภารกิจหลัก 6 7 8 8 ค่านยิ มหลกั เป้าหมายการพฒั นา อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ มหาวิทยาลัย 9 11 11 10 พ้ืนที่จดั การศึกษาของ คณะผู้บรหิ าร โครงสร้างมหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั สภามหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สว่ นท่ี 2 รายงานประจำปี 2564 15 17 18 19 ผลงานโดดเด่น ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 2564 ส่วนท่ี 3 สารสนเทศ เพ่อื การบริหาร 21 37 39 45 พนั ธกจิ ท่ี 1 พนั ธกจิ ที่ 2 พนั ธกิจที่ 3 พันธกจิ ท่ี 4 ใหก้ ารศึกษา การวิจัย การบรกิ ารวิชาการ ทำนุบำรงุ ศลิ ปะและ วฒั นธรรม 46 53 54 พนั ธกจิ ท่ี 5 แผนผงั มหาวิทยาลยั แผนผงั วทิ ยาเขต การบริหารจัดการ ราชภัฏสวนสุนันทา นครปฐม มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั สวนสนุ ันทา รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 0 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา

ประวัติความเปน็ มา แรกเริ่มของการก่อตั้ง มหาวิทยาลัยเป็นส่วนหนึ่งของวังสวนสุนันทา ซึ่งถือเป็นเขตพระราชฐาน และเป็นสถานที่ประทับพักผ่อนพระอิริยาบถของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมี พระราชประสงค์โปรดเกล้าให้มีการจัดหาดอกไม้นานาพรรณและจัดตั้งเป็น “สวนสุนันทาอุทยาน” อันมีชื่อ มาจากสวนของพระอินทร์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ และพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการสร้างพระตำหนักเพิ่มเติม เพื่อไว้สำหรับเป็นที่ประทับให้แก่เจ้านายฝ่ายในรวมทั้งเป็นอาคารที่พักสำหรับข้าราชบริพาร จำนวน 32 ตำหนัก โดยพระวิมาดาเธอกรมพระสุทธาสินีนาฏปิยมหาราชปดิวรัดดาได้ทรงโปรดให้จัดตั้ง “โรงเรียน นิภาคาร” ขึ้นภายในสวนสุนันทา เพื่อเป็นโรงเรียนสำหรับกุลสตรีให้การศึกษาแก่บุตรีของขุนนาง ข้าราชการ ผู้มบี รรดาศักดิ์และขา้ หลวงจากตำหนักต่าง ๆ กระทั่งในปี พ.ศ. 2475 เกิดการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองที่ส่งผลกระทบต่อระบบเจ้านาย เป็นอย่างมากทำให้บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ในสวนสนุ นั ทาหว่นั เกรงต่อภัยทางการเมือง จงึ ตา่ งพากนั ทยอยออก จากสวนสุนันทาจนหมดสิ้น ส่งผลใหว้ ังสวนสนุ นั ทาท่เี คยงดงามถูกปล่อยให้รกร้างขาดการดูแลและทำให้โรงเรียน นภิ าคารถกู ยกเลิกดำเนนิ การไปโดยปริยาย ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลวังสวนสุนันทาที่ทรุดโทรมได้รับการฟื้นฟู กลับมาสวยงามอีกครั้ง โดยคณะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้พื้นที่ของวังสวนสุนันทาให้เกิดประโยชน์โดยแปรจาก ราชสำนักฝ่ายในเป็นสถานศึกษาและได้จัดตั้งเป็นสถานศึกษาของชาติ อันก่อเกิดพัฒนาการของมหาวิทยาลัย ราชภฏั สวนสุนนั ทามาเป็นลำดบั รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 1 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

จากรวั้ วงั สปู่ ที ี่ 84 มหาวิทยาลยั ราชภัฏอนั ดับ 1 พ.ศ. 2564 (84 ป)ี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา พ.ศ. 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา พ.ศ. 2535 สถาบันราชภัฏสวนสุนนั ทา พ.ศ. 2518 วิทยาลัยครูสวนสนุ นั ทา พ.ศ. 2480 โรงเรยี นสวนสนุ นั ทาวิทยาลัย รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 2 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา

วสิ ยั ทศั น์ “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม” (Smart Archetype University of the Society) ความสำเร็จตามวิสยั ทัศน์ : “รกั ษาความเป็นมหาวิทยาลยั อันดับ 1 ในกล่มุ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ และมผี ลงาน ที่เปน็ แมแ่ บบสวนสนุ นั ทาดา้ นการสอน วจิ ัย บรกิ ารวชิ าการ และทำนุบำรงุ ศิลปะและ วัฒนธรรม” แมแ่ บบที่ดขี องความสมารท์ (SMART) คือ เป็นลักษณะของ “ฉลาดหลกั แหลมนา่ มอง” ในเรือ่ งตา่ ง ๆ ดงั น้ี S Smart M Smart Research TSmart Management การวจิ ยั ASmart การบรหิ ารจัดการ RSmart Academic Technology & วชิ าการ ฉลาดหลกั แหลม Teacher Students ฉลาดหลักแหลม ฉลาดหลักแหลม น่ามอง นักศึกษา นา่ มอง เทคโนโลยี & ครู ฉลาดหลักแหลม นา่ มอง “สร้างผลงานวจิ ัยท่ี ฉลาดหลักแหลม นา่ มอง ตอบสนองสงั คมและ “ผูบ้ รหิ ารเกง่ และดี “สร้างหลกั วิชา นำไปใชป้ ระโยชน์ได้ นา่ มอง “มคี วามคิดดี รับผดิ ชอบตอ่ สังคม ทีส่ รา้ งสรรคแ์ ละ รวมท้ังมรี ปู แบบ “มเี ทคโนโลยี ทำดี ทำดี มงุ่ คุณภาพและ นำไปใช้ประโยชน์ได้ การนำเสนอท่ีดี” ทท่ี นั สมัย พดู ดี มีธรรมาภบิ าล” รวมทั้งมรี ูปแบบ มีประสิทธผิ ลและ การนำเสนอทีด่ ี” มปี ระสิทธภิ าพรวมทัง้ แต่งกายดี” มคี รทู ีเ่ ป็นต้นแบบ ในการคดิ ด”ี รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา

พันธกจิ ให้การศกึ ษา (To offer education) ผลิตบัณฑิตที่เน้นองค์ความรู้เป็นเอตทัคคะ ฝึกหัดครู ปลูกฝังประชาชนให้สามารถเรียนรู้ในระดับสูง มีความ เป็นมนุษย์ที่รับผิดชอบต่ออนาคตของโลกที่มีแนวโน้ม เป็นนานาชาติ มีจิตวิญญาณในการท้าทายโดยไม่กลัว ลม้ เหลว วิจยั (To conduct research) มุ่งมั่นในการลงทุนทางการศึกษาวิจัย ในศาสตร์ที่เป็นเอตทัคคะที่สามารถ นำไปใช้ให้เกิดผลประโยชน์ได้ เพื่อความสงบสุขและความเจริญรุ่งเรือง ผ่านการแสวงหาดว้ ยการวจิ ัยทางวิชาการท่อี ุดมไปดว้ ยความคดิ สร้างสรรค์ บรกิ ารวิชาการ (To provide academic services) การส่งมอบผลงานวชิ าการในระดับเอตทคั คะท่ีตอบและแก้ปัญหาของสังคม โดยการมสี ่วนรว่ มกับชุมชนท้องถนิ่ และสงั คม ทำนุบำรงุ ศิลปะและวัฒนธรรม (To conserve arts and culture) การส่งเสริมและสนับสนุนศิลปะและ วัฒนธรรมไทย โดยการพัฒนาและสร้าง แม่แบบวัฒนธรรมวังสวนสุนันทา ให้เป็น ทยี่ กย่องและช่ืนชมของมนุษยชาติ รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

ผลิตบัณฑิตทมี่ ีคุณภาพระดับแนวหน้า ใหบ้ รกิ ารวิชาการและ (Produce Graduates with Front Row Quality) ถ่ายทอดเทคโนโลยี แกช่ มุ ชนและสังคม (Provide Academic Services and Transfer Technology to Communities and .International Society) ภารกจิ หลัก อนรุ ักษ์ พัฒนาใหบ้ รกิ ารเปน็ ศูนย์กลาง วิจัย สรา้ งนวัตกรรมและองคค์ วามรู้ ทางดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมและธำรงรักษา สบื สานความเปน็ ไทย (Conduct Research, Create Innovation and Develop Knowledge for Society) (Conserve and Develop Services Provision as the Center for Arts and Culture Service Center and Sustain the Thainess) เป็นมหาวิทยาลัยท่ีมคี วามคลอ่ งตัวในการบริหารจดั การ และเน้นให้เครอื ข่ายมสี ่วนร่วม (Employ Modern Management System for Versatility with Concentration on Network Participation) รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564 5 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา

ค่านยิ มหลัก มหาวทิ ยาลยั ฯ จะยดึ มน่ั ในคา่ นยิ มหลัก 4 ประการ ในการนำพามหาวทิ ยาลยั สูค่ วามสำเร็จในอนาคต W H I Professionalism PWisdom Happiness Integration ความเป็นมืออาชีพ & & & Creativity Loyalty Collaboration ปัญญาและ ความผาสกุ และ บูรณาการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความภักดใี นองคก์ ร และความร่วมมอื การยึดมั่นในค่านิยมหลักที่เรียกว่า WHIP ข้างต้น จะเป็นสิ่งที่ใช้เป็นแนวทางการส่งเสริม การดำเนินการของมหาวิทยาลัยและการดำเนินชีวิตของคนในมหาวิทยาลัย ซึ่งประเด็นคุณค่าที่มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทาให้ความสำคัญและยึดถือ และมีการแสดงออกเป็นวิถีชีวิตของสมาชิกทุกคนในมหาวิทยาลัย แห่งนี้ ซึ่งจะสร้างความเขม้ แข็งให้กับวัฒนธรรมองค์การที่ทกุ คนประพฤตปิ ฏิบัติเป็นประจำ กล่าวคือ มหาวิทยาลยั แห่งนี้มีบรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ความสุข ความรักและภักดีต่อมหาวิทยาลัย มีการทำงานเป็นทีม และความเปน็ มืออาชีพ ซึ่งเปน็ วฒั นธรรมที่ทุกคนประจักษ์ และตอบสนองปรชั ญานำทางของมหาวิทยาลัยท่ยี ึดถือ “ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม” ไปตลอดระยะเวลาของแผนยทุ ธศาสตร์น้ี รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564 6 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา

เป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัยได้กำหนดรูปแบบของการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คือ SSRU “KEEP” Model เพ่ือมงุ่ เติมเต็มในสิง่ ท่ียงั เดินไปไม่ถงึ จุดหมายปลายทางและเป้าหมายท่ีต้ังไวต้ อ่ ยอดทุนความรู้และ ทนุ สงั คมทมี่ อี ยู่ มีการกำกบั ติดตามระบบการทำงานใหเ้ กิดการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพือ่ นำไปสูค่ วามเป็น “ต้นแบบ” ตามวิสัยทัศน์ 15 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา “มหาวิทยาลัยแม่แบบที่ดีของสังคม” เพราะนี่คือ สง่ิ ท่ที รงคณุ ค่าทจี่ ะตอ้ งดแู ลรักษาเอาไว้ รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 7 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา

อัตลกั ษณ์ “เป็นนกั ปฏิบตั ิ ถนัดวิชาการ เชย่ี วชาญการสอื่ สาร ชำนาญ การคิด มีจติ สาธารณะ” เป็นนักปฏิบัติ หมายถึง บัณฑิตที่มีความสามารถ ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะและมีความมุ่งมั่นในการ ปฏิบัติงาน สามารถใช้หลักวิชาการด้วยความชำนาญ ม ี ค ุ ณ ธ ร ร ม ใ ฝ ่ ศ ึ ก ษ า เ ร ี ย น ร ู ้ แ ล ะ พ ั ฒ น า ต น เ อ ง ใ ห ้ มี ความกา้ วหน้าอย่างตอ่ เนอ่ื ง เชี่ยวชาญการสื่อสาร หมายถึง บัณฑิตที่มีทักษะ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สามารถสื่อสารและถ่ายทอด ความรู้ความชำนาญในสาขาวิชาที่ศึกษา โดยใช้ระบบ เครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยสู่ชุมชนและ สังคม มีจิตสาธารณะ หมายถึง บัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือผู้อื่น มุ่งทำความดี ท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ เอกลกั ษณ์ “เนน้ ความเป็นวงั ปลูกฝงั องคค์ วามรู้ ยึดมน่ั คุณธรรม ใหเ้ ชิดชู เป็นองค์กรแหง่ การเรยี นร้สู สู่ ากล” เนน้ ความเปน็ วงั หมายถงึ เปน็ มหาวทิ ยาลยั ที่สืบสานความเป็นวังสวนสุนันทา เน้นการอนุรักษ์ โบราณสถาน และเผยแพร่แหล่งเรียนรู้ข้อมูล ศิลปวัฒนธรรมด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะศิลปวัฒนธรรม กรุงรัตนโกสินทร์ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้สู่สากล หมายถึง เป็นมหาวิทยาลัยที่มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัยสามารถแข่งขนั ได้ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ ตอบสนองทุกรูปแบบการเรียนรู้ของผู้รับบริการได้ อยา่ งทวั่ ถึงและมีประสิทธิภาพ รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 8 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา

พืน้ ท่ีจัดการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย วิทยาเขตนครปฐม ศนู ย์การศึกษาจงั หวดั อุดรธานี พื้นที่ 275 ไร่ (14 หลักสตู ร) พืน้ ท่ี 15 ไร่ (2 หลกั สตู ร)  วทิ ยาลัยโลจิสตกิ ส์และซพั พลายเชน  วทิ ยาลยั การจัดการอุตสาหกรรมบรกิ าร  วทิ ยาลัยนเิ ทศศาสตร์  วิทยาลัยการเมอื งและการปกครอง ศนู ยก์ ารศกึ ษาจังหวัดสมุทรสงคราม มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนนั ทา พ้นื ท่ี 80 ไร่ (10 หลักสูตร) กรงุ เทพมหานคร  วิทยาลยั สหเวชศาสตร์ พื้นท่ี 62 ไร่ (92 หลกั สูตร)  วทิ ยาลัยพยาบาลและสขุ ภาพ (ชนั้ ปที ่ี 1)  คณะครศุ าสตร์ ศูนยก์ ารศกึ ษาจังหวดั ระนอง  คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี พน้ื ท่ี 128 ไร่ (3 หลกั สตู ร)  คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์  คณะวิทยาการจัดการ  คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์  คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม  วทิ ยาลัยนวตั กรรมและการจดั การ  คณะศลิ ปกรรมศาสตร์  วิทยาลัยโลจสิ ติกส์และซพั พลายเชน  บณั ฑติ วิทยาลัย  วิทยาลยั นวตั กรรมและการจดั การ  วทิ ยาลยั พยาบาลและสุขภาพ (ชนั้ ปที ี่ 2-4)  วิทยาลยั สถาปตั ยกรรมศาสตร์  โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564 9 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

สภามหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกดิ วิชัย นายกสภามหาวิทยาลยั ดร.เอนก เพม่ิ วงศเ์ สนีย์ อปุ นายกสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ นายประทีป เฉลมิ ภัทรกลุ ดร.สุทธพิ งษ์ จุลเจริญ ศาสตราจารย์ ดร.บุญทัน ดอกไธสง ดร.เทพรกั ษ์ เหลอื งสุวรรณ ดร.ชชู ีพ เออื้ การณ์ นายวิโรจน์ กิจกลุ อนันตเอก ดร.อาภา อรรถบูรณว์ งศ์ นางนฤมล ศิริวัฒน์ นายแพทยม์ าโนชญ์ ลีโทชวลิต 10 ดร.วิทูรย์ สิมะโชคดี รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา

กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหนง่ ดร.สมชาย อศั วเศรณี รองศาสตราจารย์ ดร.ชุตกิ าญจน์ ศรีวบิ ลู ย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีระ โชติธรรมาภรณ์ ประธานสภาคณาจารยแ์ ละขา้ ราชการ ประธาน กก. สง่ เสริมกิจการมหาวทิ ยาลัย อธิการบดี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้แทนผู้ดำรงตำแหน่งบรหิ าร รองศาสตราจารย์ ดร.วทิ ยา เมฆขำ รองศาสตราจารย์ ดร.นิพนธ์ ศศธิ รเสาวภา รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑติ ผงั นริ นั ดร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สมเกยี รติ กอบวั แกว้ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้แทนจากคณาจารยป์ ระจำ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิยม สวุ รรณเดช ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤช รตั นมณี อาจารย์สกลุ จรยิ าแจม่ สิทธ์ิ อาจารย์พทุ ธวิ ัฒน์ ไวยวฒุ ธิ นาภูมิ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสัน โสมณวตั ร เลขานุการสภามหาวิทยาลยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศริ ลิ กั ษณ์ เกตุฉาย 11 นางสาววรรณวภิ า บำรงุ พงศ์ ผชู้ ่วยเลขานกุ ารสภามหาวิทยาลยั ผูช้ ว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลัย รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา

คณะผบู้ ริหารมหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.ชตุ ิกาญจน์ ศรวี บิ ูลย์ อธกิ ารบดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรชี า พงษ์เพง็ รองศาสตราจารย์ ดร.นันทิยา นอ้ ยจนั ทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขำ รองอธิการบดฝี ่ายบรหิ าร รองอธกิ ารบดีฝ่ายวชิ าการ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยแผนงานและประกนั คณุ ภาพ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สวุ รยี ์ ยอดฉมิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจตนส์ ฤษฏ์ิ องั ศุภาญจนกุล ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คมสนั โสมณวตั ร รองอธกิ ารบดฝี ่ายกิจการนักศึกษา รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตนครปฐม รองอธิการบดฝี ่ายวจิ ยั และพัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธชิ ยั ธรรมเสนห่ ์ ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ ริ ิอร จำปาทอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนันตชัย เอกะ ดร.ดวงพร แสงทอง ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี ผูช้ ว่ ยอธิการบดี ผ้ชู ว่ ยอธกิ ารบดี ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี ฝ่ายวิชาการ ฝา่ ยกจิ การนกั ศกึ ษา ฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ ฝา่ ยวิเทศสมั พันธ์ รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 12 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา

โครงสรา้ งมหาวทิ ยาลยั สภามหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา สภาวชิ าการ สภาคณาจารย์ คณะกรรมการส่งเสริม คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ กิจการมหาวทิ ยาลยั และประเมนิ ผลงานของมหาวทิ ยาลัย หน่วยตรวจสอบภายใน หน่วยงานตามโครงสร้าง หนว่ ยงานในกำกบั - คณะครุศาสตร์ - โรงเรยี นสาธติ ฯ - คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี - บณั ฑติ วทิ ยาลัย - คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ - วิทยาลยั นวัตกรรมและการจัดการ - คณะวทิ ยาการจัดการ - วิทยาลยั พยาบาลและสุขภาพ - คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม - วทิ ยาลัยสหเวชศาสตร์ - คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ - วทิ ยาลยั โลจสิ ติกส์และซัพพลายเชน - สำนกั งานอธิการบดี - วิทยาลยั สถาปัตยกรรมศาสตร์ - วทิ ยาลยั การจดั การอุตสาหกรรมบรกิ าร - กองกลาง - วทิ ยาลัยการเมอื งและการปกครอง - กองพัฒนานกั ศกึ ษา - วิทยาลยั นเิ ทศศาสตร์ - กองบรกิ ารการศกึ ษา - วิทยาเขตนครปฐม - กองบริหารงานบุคคล - ศนู ยก์ ารศึกษาจงั หวดั สมุทรสงคราม - กองนโยบายและแผน - ศนู ย์แหง่ ความเป็นเลศิ ในการดแู ลผูส้ ูงอายุ - กองคลงั - ศูนย์การศกึ ษาจังหวัดอุดรธานี - สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ - ศูนยก์ ารศึกษาจงั หวัดระนอง - สำนักศิลปะและวัฒนธรรม - สถาบนั สรา้ งสรรค์และส่งเสริมการเรียนรู้ - สถาบันวจิ ยั และพัฒนา ตลอดชีวติ (สสสร.) - สำนกั วชิ าการศกึ ษาทว่ั ไปและนวัตกรรม การเรียนรอู้ เิ ล็กทรอนกิ ส์ - สำนักทรพั ย์สนิ และรายได้ รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา

สว่ นที่ 2 รายงานประจำปี 2564 รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประ1จำปีงบประมาณ มหาวิทยาลัยราชภ 2564

พิพิธภณั ฑอ์ าคารสายสุทธานภดล ผลงา ได้รบั รางวัลพิพิธภณั ฑด์ ีเดน่ แห่งชาติ โดดเ 256 พิ พ ิ ธ ภ ั ณ ฑ ์ อ า ค า ร ส า ย ส ุ ท ธ า น ภ ด ล แ ล ะ แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น รู้ ศิลปวัฒนธรรมสวนสุนันทาได้รับรางวัลในงาน Museum Thailand Awards 2021 ที่จัดขึ้นโดยสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) หน่วยงานในการกำกับดูแลของสำนักนายกรัฐมนตรี โดยพิพิธภัณฑ์ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาเข้าร่วมประกวดพิพิธภัณฑ์ด้านศิลปะ สังคม และวัฒนธรรม และได้รับรางวัลพิพิธภัณฑ์ดีเด่น ด้านการอนุรักษ์ และสืบสาน และรางวัลดีเด่นด้านการสื่อความหมายและสร้าง ประสบการณ์ รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564

าน กรมส่งเสริมวฒั นธรรม เลอื ก ‘กฤษณะ’ เดน่ นกั ศกึ ษาสวนสนุ ันทา ให้เป็นเยาวชน 64 ผู้ใชภ้ าษาไทยดีเดน่ ประจำปี 2564 15 นายกฤษณะ โรจนร์ ตั น์ นักศึกษาชน้ั ปที ่ี 5 สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ได้รับคัดเลือกให้เป็น เยาวชนผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่นที่มีความสามารถด้านการพูด การอ่าน การเขียน ระดับอุดมศกึ ษาหรือบุคคลทั่วไป ประจำปีพุทธศกั ราช 2564 จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม โดยนายกฤษณะ โรจน์รัตน์ มีคุณสมบัติ เป็นไปตามเกณฑ์การคัดเลือก ได้แก่ เป็นผู้ที่ถ่ายทอดการใช้ภาษาไทย ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ เช่น การเขียนหนังสือ ทุกประเภท หรือการเป็นพิธีกรในกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงมีผลงานวิจัย หรืองานเขยี นอนื่ ๆ เผยแพร่ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา

นกั วจิ ยั สวนสนุ นั ทา ควา้ รางวลั เหรียญทอง ผลงานวิจัย ผลง เวทนี านาชาติ ‘กระดาษจากเปลอื กถัว่ ’ นวตั กรรมใหม่ โดด เพ่อื ความยง่ั ยนื 25 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพงศ์ อินเกื้อ นักวิจัยในฐานะ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้ารางวัลเหรียญทอง Gold Medal จากการประกวดสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมนานาชาติ กับผลงานวิจัยเรื่อง กระดาษจากเปลือกถ่ัว (Peanut shell Paper) บนเวทรี ะดบั นานาชาติ ในงาน EUROINVENT 13th European Exhibition of Creativity and Innovation 2021 (ONLINE) ณ เมือง Iasi Romania เมอ่ื วันท่ี 22-23 พฤษภาคม 2564 รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปงี บประมาณ 2564

งาน งานวจิ ัย ‘กระถางตน้ ไมจ้ ากกากกาแฟ’ ดเด่น ควา้ รางวลั เหรียญทองเวทีระดบั นานาชาติ 564 ผู้ช่วยศาสตCราOจาOรยL์นTภดUลRสEังวาลเพ็ชร นักวิจัยสาขาวิชาการออกแบบ 16 ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และนายอรรถวุฒ คุ้มบ้าน นักศึกษาสาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในฐานะผู้ช่วยนักวิจัย คว้ารางวัลเหรียญทอง Gold Medal จากการประกวดสิ่งประดิษฐน์ วตั กรรมนานาชาติ กบั ผลงานวิจยั เรอ่ื ง ‘กระถางต้นไม้จากกากกาแฟ’ Plant Pot from Coffee Grounds บนเวทีระดับ นานาชาติ ในงาน EUROINVENT 13th European Exhibition of Creativity and Innovation 2021 (ONLINE) ณ เมอื ง Iasi Romania เมอ่ื วนั ที่ 22-23 พฤษภาคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นามหาวิทย 14 คุณภาพ หลกั สตู รระยะสนั้ ดมี าก 29 Non Degree ดี 85 9 11 สาขาวิชา 2 9 เอตทัคคะ หลกั สูตร หลักสตู ร บคุ ลากร 1,879 คน 2 ภาษา นานาชาติ สายวิชาการ 916 คน สายสนับสนนุ วิชาการ 963 คน ระดับ ตำแหนง่ ทางวิชาการ 31.99 ปรญิ ญาเอก 47.16 ผ่านภาษาอังกฤษ 78.6 0 บคุ ลากรรบั รแู้ ละมสี ว่ น การบ ร่วมในการขบั เคล่อื น ภารกจิ ใหส้ ำเร็จ (97.17) รายงานประจำปแี ละสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564

ยาลยั ใหเ้ ป็นเอตทัคคะอย่างย่ังยนื พหลักสตู ร 9 หลกั สูตร 5 หลักสูตร คุณภาพของบณั ฑติ 4.75 ระดบั ดมี าก 147 บณั ฑติ มีงานทำภายใน 1 ปี 96.10 5,507 คน บชาติ นานาชาติ 497 คน นกั ศกึ ษาสอบผ่านมาตรฐาน ภาษาอังกฤษ CEFR ระดบั B1 นักศกึ ษาพฒั นาใหม้ ที กั ษะ ในศตวรรษท่ี 21 และ Talents 8,920 คน รายไดข้ องการบรกิ ารวิชาการหรือวจิ ยั บรหิ ารจดั การ Big data SSRU 442.56 ล้านบาท (erp.ssru.ac.th) 17 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 สรา้ งผลงานวิชาการส่กู า ระน1อง อ1ุดรธานี สพุ รร1ณบุรี 3 1ค6น2 102คน 1ค2น5 องค์ความรู้ สมุทร3สงคราม ดา้ นศิลปะ 3,293 20 และวฒั นธรรมระดบั คน แหลง่ เรียนรู้ นานาชาติ 5 9ผ,เู้ 6ย8่ยี ม1ชคมน 1 บันทกึ กาลเวล ดอกไม้งามใน นครปฐม เชียงราย ภาพเขยี นสีน คณุ ขา้ หลวง 1,322 8 4ค0น4 คน ผลงานว กรงุ เทพฯ 4ค,2น73 ศนู ยก์ าร ศูนย์การเรียนรวู้ ิจยั ศนู ยก์ ารเรียนรวู้ ิจยั บริการ ศนู ยก์ ารเรยี นรวู้ จิ ัย 364 เรียนรู้ บริการวิชาการ วชิ าการ และถา่ ยทอด เทคโนโลยีเกษตรสรา้ งสรรค์ ผลงาน นวัตกรรมสู่การพัฒนา แก่สังคม บ้านสารภี และนวตั กรรม 60 ชมุ ชนเมอื ง วัดประชาระบอื บา้ นดอนมะโนรา ผลงาน ธรรม 894 คน 16 วารสารทไี่ ด้รบั การยอมรับ อาจารย์ประจำทีม่ ผี ลงานวจิ ัย รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564 www.free-powerpoint-templates-design.com

ารยกระดบั ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นอยา่ งยั่งยนื โครงการยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพอื่ การพฒั นาทอ้ งถ่นิ ลา สวนสนุ ันทาแหล่ง ดอกไม้ภมู ิ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและยกระดบั 100 น เรียนร้สู ำหรบั สตรี ปัญญาประดิษฐ์ รายได้ให้กบั คนในชุมชนฐานราก ครัวเรือน ของสตรไี ทย น้ำ พัฒนาระบบข้อมูลตำบลใน 3 ง จังหวัด ตำบล วจิ ยั งานสร้างสรรค์ 1,164 พฒั นาความรู้ ทกั ษะด้าน 2,025 ผลงาน ภาษาองั กฤษในศตวรรษท่ี 21 คน งานวิจยั ท่ตี พี มิ พ์ ระดับชาติ 667 ระดบั นานาชาติ 497 การยกระดับคณุ ภาพการเรยี นรู้ 22 ดา้ นการอา่ น การเขยี น โรงเรียน ผลงานท่ยี ่ืนจดอนสุ ทิ ธิบตั ร/สิทธิบตั ร สนับสนนุ สือ่ วดี ีทศั น์ 10 เรือ่ ง ประกอบการเรยี นการสอน 20 ตอน พัฒนาผลิตภณั ฑ์ชุมชนท้องถิ่น 15 ผลิตภณั ฑ์ ผลงานนกั ศึกษาทตี่ พี ิมพ์ 568 พัฒนาทกั ษะอาชีพของชุมชน ร้อยละ ปริญญาโท 176 ปริญญาเอก 84 ผลงาน 72.25 ส่งเสริม ความรกั สามคั คี 4,552 เสริมสรา้ งคณุ ลักษณะคนไทยท่ี คน พึงประสงค์ท้ัง 4 ประการ งานวิจยั ฯท่ีนำไปใช้ประโยชน์ งบรายได้ งานวจิ ยั ท่ีเกิดประโยชนต์ อ่ 8,627,093 บาท มหาวิทยาลัย ชมุ ชน และสังคม งบแผน่ ดนิ 4 48,853,742 บาท แหล่งทนุ ภายนอก 85,649,176 บาท เงินสนับสนนุ งานวจิ ยั 143,130,011 บาท 18 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนนั ทา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 สรา้ งความสัมพนั ธ์กับเครือ เครอื ขา่ ยร่วมกนั 137 ระดับ นานาชาติ ภายใน ต่างประเทศ ประเทศ 20 37 117 รางวัลข 549 คน 1 คน 1 คน 1 คน นกั ศึกษาชาวตา่ งชาต/ิ แล รายงานประจำปีและสารสนเทศ ประจำปีงบประมาณ 2564

อขา่ ยและขยายการยกยอ่ งระดบั นานาชาติ ระดบั ชาติ นักเรียน นักศกึ ษา 3 7,405 5,891 ของอาจารย์ 79.55 1 คน 2 คน 1 คน ลกเปลี่ยน จำนวน 556 คน 19 มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา

สภามหาวิทยาลยั สว่ นที่ 3มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา สารสนเทศ เพ่ือการบรหิ าร 20รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

พันธกจิ ท่ี 1 ให้การศึกษา ผลิตบัณฑิตที่เน้นองค์ความรู้เป็นเอตทัคคะ ฝึกหัดครู ปลูกฝังประชาชนให้สามารถเรียนรู้ในระดับสูง มีความเป็นมนุษย์ที่รับผิดชอบต่ออนาคตของโลกที่มีแนวโน้มเป็นนานาชาติ มีจิตวิญญาณในการท้าทาย โดยไม่กลัวลม้ เหลว นักศึกษา 1. นักศกึ ษาคงอยู่ ปีการศึกษา 2562 – 2564 จำแนกตามระดบั การศกึ ษา 27,525 ปริญญาตรี ( : 4,000 คน) 2564 2563 26,525 2562 28,000 ปรญิ ญาโท ( : 100 คน) 2564 688 2563 400 2562 700 ปรญิ ญาเอก ( : 100 คน) 664 2564 2563 287 2562 300 ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ วชิ าชีพครู ( : 100 คน) 2564 224 2563 86 2562 200 แหลง่ ข้อมลู : กองบริการการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนับ: คน รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 21 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

2. นกั ศกึ ษาคงอยู่ ปีการศึกษา 2562 – 2564 จำแนกตามกล่มุ สาขาวชิ า กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ ( : 500 คน) 2564 2,113 2563 1,305 2562 1,285 กลมุ่ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ( : 500 คน) 2564 4,158 2563 3,634 4,049 2562 : 4,000 คน) กลุม่ สงั คมศาสตร์ ( 24,673 22,364 2564 23,144 2563 แหล่งข้อมลู : กองบรกิ ารการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนบั : คน 2562 22รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

3. นักศกึ ษาเข้าใหม่ ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 จำแนกตามประเภทนักศกึ ษา ภาคปกติ ( : 1,000 คน) 2564 6,158 2563 6,508 2562 7,735 ภาคพิเศษ ( : 100 คน) 1,106 2564 2563 527 2562 700 4. นกั ศกึ ษาตา่ งชาติ ปีการศึกษา 2562 – 2564 ( : 100 คน ) 2564 556 2563 315 2562 90 แหล่งข้อมูล: กองบรกิ ารการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนับ: คน รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 23 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

5. การรับเข้านกั ศกึ ษาใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2562–2564 จำแนกตามประเภทการรับ ( : 1,000 คน) Portfolio 2564 8,556 2563 3,889 2562 4,000 โควต้า 1,810 2564 2563 572 2562 700 รบั ตรง 3,193 2564 2563 326 2562 400 สอบเข้า 2564 10,644 2563 797 2562 1,000 รบั ตรงอิสระ 2,424 2564 2563 924 2562 2,500 แหล่งขอ้ มลู : กองบรกิ ารการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : คน 24รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

6. ภมู ลิ ำเนาของนักศึกษาเข้าใหม่ ปีการศึกษา 2562 – 2564 แหล่งขอ้ มลู : กองบรกิ ารการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนบั : คน รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 25 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

7. ผสู้ ำเรจ็ การศึกษา ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 จำแนกตามประเภทนกั ศึกษา ภาคปกติ ( : 1,000 คน) 2563 5,887 2562 6,297 2561 6,000 ภาคพิเศษ ( : 200 คน ) 2563 810 2562 244 แหลง่ ข้อมูล: กองบรกิ ารการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี 2561 234 หนว่ ยนับ: คน 8. การมงี านทำของบณั ฑติ ปกี ารศึกษา 2561 - 2563 96.01 2563 95.94 2562 95.32 2561 9. การทำงานตรงสาขาของบณั ฑิต ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 2563 80.78 2562 85.30 2561 86.28 รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 แหลง่ ขอ้ มูล: กองบริการการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนบั : รอ้ ยละ 26 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

10. ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บัณฑติ ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 4.55 4.63 4.75 2561 2562 2563 แหล่งขอ้ มลู : กองบริการการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนับ: คะแนน นักเรยี น 11. นักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2562 – 2564 จำแนกตาม ระดับการศึกษา ( : 100 คน) ประถมศกึ ษา 2564 477 2563 486 2562 475 มัธยมศกึ ษา 858 2564 2563 869 2562 827 แหลง่ ข้อมลู : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา หน่วยนบั : คน รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 27 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

12. นักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีการศึกษา 2562 – 2564 จำแนกตาม ประเภทการจัดการเรยี นการสอน ( : 100 คน) ภาคภาษาไทย 2564 1,073 2563 1,089 2562 1,085 ภาษาอังกฤษ 262 2564 2563 265 2562 272 แหล่งขอ้ มูล: โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา หน่วยนับ: คน 13. การเข้าศกึ ษาตอ่ ของนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 จำแนกตามประเภทของสถานศึกษา ( : 10 คน) ต่างประเทศ 2563 7 2562 10 2561 7 มหาวิทยาลัยเอกชน 8 2563 22 2562 2561 19 มหาวทิ ยาลัยรัฐ 78 2563 2562 115 2561 131 28รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 แหลง่ ข้อมลู : โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา หน่วยนับ: คน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

การจดั การเรยี นการสอน 14. หลักสตู รที่เปดิ การเรยี นการสอน ปกี ารศึกษา 2561 – 2563 จำแนกตามระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี 2563 81 71.05 % 2562 82 73.22 % 2561 77 74.76 % ปรญิ ญาโท 19 16.67 % 2563 2562 17 15.18 % 2561 15 14.56 % ปริญญาเอก 13 11.40 % 2563 2562 12 10.71 % 2561 10 9.71 % ประกาศนียบตั รวิชาชีพครู 0.88 % 2563 1 2562 1 0.97 % 2561 1 0.97 % รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 29 แหล่งข้อมลู : กองบรกิ ารการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หน่วยนับ: หลกั สูตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

15. หลักสตู รทเี่ ปิดการเรียนการสอน ปกี ารศึกษา 2561 - 2563 จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา กลุ่มสาขาวิชา 72 63.16 % 75 66.96 % 68 66.02 % สังคมศาสตร์ กล่มุ สาขาวชิ า 29 25.44 % 27 24.11 % 29 28.16 % วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่มุ สาขาวิชา 13 11.40 % 10 8.93 % 6 5.82 % วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ 2563 2562 2561 แหลง่ ขอ้ มลู : กองบรกิ ารการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : หลักสตู ร 30รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

16. สาขาวิชาส่เู อตทคั คะ ปีการศกึ ษา 2563 สาขาวชิ าออกแบบกราฟฟกิ และมลั ติมเี ดยี สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม สาขาวชิ าอังกฤษธุรกิจ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ และเทคโนโลยี สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวชิ าการบรหิ ารการพัฒนา วทิ ยาลัยพยาบาลและสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ตกิ ส์ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ วทิ ยาลัยโลจิสตกิ ส์ (การดแู ลสขุ ภาพและความงาม) และซัพพลายเชน วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ สาขาวชิ าการสร้างสรรคแ์ ละ สือ่ ดจิ ทิ ลั สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม วิทยาลัยสถาปตั ยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยนเิ ทศศาสตร์ สาขาวิชานติ ศิ าสาตร์ สาขาวิชาการจดั การคุณภาพ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง วิทยาลัยนวตั กรรม และการจัดการ สาขาวิชาศลิ ปะการแสดง คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าการตลาด คณะวิทยาการจัดการ สาขาวชิ าธุรกจิ การบิน วทิ ยาลัยการจดั การอุตสาหกรรมบรกิ าร รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 31 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

17. หลักสตู รใหม่ ปีการศกึ ษา 2561 – 2563 11 2563 2562 7 2561 2 18. สาขาวิชายอดนิยม ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 แหล่งข้อมูล: กองบรกิ ารการศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี 2562 2563 หนว่ ยนบั : หลกั สตู ร 2564 คณะครศุ าสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ ภาษาไทย 1 : 36 ภาษาไทย 1 : 20 ภาษาไทย 1 : 22 คณะครศุ าสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ คณิตศาสตร์ 1 : 34 คณิตศาสตร์ 1 : 19 การศึกษาปฐมวัย 1 : 21 คณะครศุ าสตร์ คณะครศุ าสตร์ คณะครศุ าสตร์ การศกึ ษาปฐมวัย 1 : 29 การศกึ ษาปฐมวัย 1 : 16 คณติ ศาสตร์ 1 : 20 คณะครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ สังคมศึกษา 1 : 29 สังคมศกึ ษา 1 : 12 ภาษาองั กฤษ 1 : 18 คณะครุศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ วิทยาลัยพยาบาลฯ ภาษาอังกฤษ 1 : 28 ภาษาองั กฤษ 1 : 11 พยาบาลศาสตร์ 1 : 11 แหล่งขอ้ มูล: กองบรกิ ารการศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : สดั สว่ นผู้สมคั รต่อสัดส่วนรับ 32รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

กจิ กรรมพัฒนานกั ศึกษา 19. กจิ กรรมพฒั นานักศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563 112 112 130 2561 2562 2563 20. ชมรมนักศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2561 - 2563 แหล่งขอ้ มูล: กองพฒั นานกั ศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนับ: กจิ กรรม 65 6625 66 2561 2562 2563 รางวัลของนกั ศกึ ษาและศษิ ยเ์ กา่ แหลง่ ข้อมูล: กองพฒั นานกั ศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : ชมรม 21. รางวัลของนกั ศึกษา ปีการศึกษา 2561 - 2563 2563 147 2562 148 2561 221 22. รางวัลของศิษยเ์ กา่ ปีการศึกษา 2561 - 2563 31 2563 2562 10 2561 10 รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 33 แหล่งขอ้ มูล : กองพัฒนานกั ศึกษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : รางวัล มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

สวสั ดกิ ารสนับสนนุ การศึกษา 23. ทุนสนับสนนุ ในภาพรวมของมหาวทิ ยาลัย ปกี ารศึกษา 2561 - 2563 1 2563 70 1 2562 27 1 2561 31 ทนุ สนบั สนนุ ภายใน ทุนสนบั สนนุ ภายนอก แหลง่ ขอ้ มลู : กองพัฒนานกั ศกึ ษา สำนกั งานอธกิ ารบดี หนว่ ยนบั : ทุน ผลงานของผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และเอกท่ีได้รับการตพี ิมพ์หรือเผยแพร่ 24. ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ระดับชาติหรือนานาชาติ ปีการศึกษา 2561 - 2563 163 66.53 % 32.09 % 86 176 67.69 % 32.31 % 84 33.47% 82 182 67.91 % 2561 2561 2562 2562 2563 2563 ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก 34รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 แหล่งขอ้ มลู : บณั ฑติ วิทยาลัย หน่วยนบั : ผลงาน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

การให้บริการด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 25. ความพึงพอใจต่อการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 94.67 95.00 98.8 2562 2563 2564 แหลง่ ข้อมลู : สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ หน่วยนับ: รอ้ ยละ 26. กจิ กรรมหอ้ งสมุดมีชวี ติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2564 2564 15 2563 37 2562 37 แหล่งขอ้ มูล: สำนักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ หน่วยนบั : กจิ กรรม หมายเหตุ: ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มกี ารระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 27. จำนวนผใู้ ชบ้ ริการห้องสมดุ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 ( : 40,000) 2564 130,837 2563 161,731 2562 257,136 แหล่งข้อมลู : สำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ หน่วยนับ: คน หมายเหต:ุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มกี ารระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 35 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

การผลติ และพฒั นาครู : 100) 28. บัณฑติ ผ้สู ำเร็จการศึกษาด้านครศุ าสตร์ ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 ( 2563 317 2562 394 2561 359 29. เครือขา่ ยดา้ นวิชาชพี ครูกับสถาบันการศึกษา แหล่งขอ้ มลู : คณะครศุ าสตร์ 14 2564 หน่วยนับ: คน 63 10 2563 98 8 2562 98 หนว่ ยงานเอกชนภายใน หน่วยงานรัฐ 30. การยกระดับคณุ ภาพบุคลากรทางการศกึ ษา และโรงเรยี นขนาดเลก็ แหลง่ ข้อมลู : คณะครศุ าสตร์ บคุ ลากรทางการศึกษา ( : 100) หน่วยนบั : สถาบนั 2564 134 2563 227 2562 640 โรงเรียนขนาดเลก็ แหล่งข้อมูล: คณะครศุ าสตร์ หนว่ ยนบั : คน 2564 2563 22 2562 20 70 รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 36 แหลง่ ขอ้ มูล: คณะครศุ าสตร์ หนว่ ยนบั : โรงเรยี น มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

พันธกจิ ที่ 2 การวจิ ยั วิจัย สร้างนวัตกรรม และองค์ความรู้ สู่การพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนา ภูมิปัญญาไทย สปู่ ระชาคมอาเซยี น และสากล 1. งานวจิ ยั สร้างสรรค์ทีไ่ ดร้ ับการตีพิมพ์และหรือเผยแพรใ่ นวารสาร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 181 2564 320 136 2563 430 158 2562 119 ระดบั ชาติ ระดบั นานาชาติ แหลง่ ข้อมลู : สถาบันวจิ ยั และพัฒนา หน่วยนับ: ผลงาน 2. งบประมาณสนับสนุนงานวิจยั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 57.4808 2564 85.6491 389.3621 2563 68.2607 184.6108 2562 65.2372 แหลง่ ทนุ ภายนอก แหลง่ ทนุ ภายใน แหล่งข้อมลู : สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา หน่วยนบั : ลา้ นบาท รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 37 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

3. อาจารยป์ ระจำที่มีผลงานวจิ ัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 2564 88.51 2563 86.24 2562 86.79 แหลง่ ขอ้ มูล: สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา หน่วยนับ: รอ้ ยละ 4. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 2564 83.81 2563 82.12 2562 83.33 แหลง่ ขอ้ มูล: สถาบันวิจยั และพัฒนา หน่วยนบั : รอ้ ยละ 5. คณุ ภาพผลงานวิจัยทต่ี ีพิมพ์เผยแพรใ่ นระดับชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2564 2564 73.21 2563 100.87 2562 74.70 แหล่งข้อมูล: สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา หนว่ ยนบั : ผลรวมน้ำหนกั คะแนนต่ออาจารย์ประจำ 38รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

พนั ธกจิ ที่ 3 การบริการวชิ าการ การส่งมอบผลงานวิชาการในระดับเอตทัคคะที่ตอบและแก้ปัญหาของสังคม โดยการ มสี ว่ นร่วมกับชุมชนท้องถนิ่ และสงั คม โครงการยุทธศาสตรร์ าชภฏั เพ่อื การพัฒนาท้องถน่ิ พ้ืนที่ดาเนินการ 1. กรงุ เทพมหานคร 2. นครปฐม 3. สมุทรสงคราม 4. อดุ รธานี 5. ระนอง 1. โครงการพฒั นาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ใหก้ บั คนในชมุ ชนฐานราก เพม่ิ ช่องทางการตลาด ร้อยละ 60 ของครัวเรือน รปู แบบ Offline และ Online ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดบั รายไดค้ รัวเรือน จำนวน 100 ครัวเรอื น รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 39 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา

2. โครงการพฒั นาระบบข้อมูลตำบลในจังหวดั (Big Data) ขอ้ มูลประชากรในชมุ ชนระบบข้อมลู ตำบล ครอบคลุมท้ัง 8 มิติ cabd.ssru.ac.th พฒั นาประชากร/พัฒนาพื้นที่ ลงพ้ืนท่ี 3 ตำบล ตำบลบางจะเกรง็ ตำบลคลองโคน และตำบลดอนมะโนรา 3. โครงการพัฒนาความรู้ทกั ษะด้านภาษาอังกฤษในศตวรรษท่ี 21 สอบผา่ นตามเกณฑ์ รอ้ ยละ 22.01 จำนวน 497 คน นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน/ นำไปประกอบอาชีพ 40รายงานประจาปี และสารสนเทศ ประจาปี งบประมาณ 2564 พัฒนานกั ศกึ ษา 2,025 คน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook