Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

สรุปโครงการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

Published by 1459556napalai, 2023-04-16 05:21:33

Description: สรุปโครงการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

คำนำ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ จดั การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล ท่จี ัดโครงการขน้ึ เพื่อให้ประชาชนอาเภอเมอื งหนองคาย พัฒนา กระบวนการการเรียนรูไ้ ด้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และได้เรียนรหู้ ลากหลายรปู แบบแลความสามารถนาความรู้ ทีไ่ ด้มาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ขอบคุณ ผู้อานวยการอาเภอเมืองหนองคาย บุคลากร กศน.อาเภอเมือง หนองคาย และผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งในการจัดโครงการครัง้ นี้เสรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี คณะผู้จัด ฯ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ในการดาเนนิ โครงการ ฯในครงั้ นี้จะเป็นประโยชน์กบั กลุ่มเป้าหมาย และมกี ารขยายผลตอ่ ยอดองคค์ วามรูใ้ ห้กบั คนในครอบครัว ชุมชน สังคมตอ่ ไป กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ผจู้ ัดทา

สำรบญั เรื่อง หนำ้ คานา สารบัญ 1-3 บทที่ 1 บทนา 4-7 บทที่ 2 วิธีการดาเนินงาน 8-10 บทท่ี 3 การดาเนินงาน 11-15 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 16-17 บทท่ี 5 สรุป ภาคผนวก ภาพกิจกรรม

บทท่ี 1 บทนำ “คนไทยมีปัญหาพระราชาก็ทรงคิดหาทางแก้ไขโดยศาสตร์พระราชา” มีคากล่าวถึง “ศาสตร์พระราชา” มานานหลายปีท่ีผ่านมา เช่น ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน, ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน, ศาสตร์พระราชาจากภูผาสู่มหานที ซ่ึงในต่างประเทศต่างทราบว่าเป็นแนวคิดตามแนวพระราชดาริขององค์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี 9 ในความคิดแวบหนึ่งคนไทยนีช่ า่ งโชคดี ท่ีเจอปญั หา อะไร พระราชาของเราก็หาทางแก้ไขไว้ให้ มีคาถามว่า “คนไทยรู้จักศาสตร์ของพระราชาดีแค่ไหน และเคย นาไปปฏิบัติกันหรือยัง” มาเริ่มต้นที่ตัวเรา และต่อไปก็คนรอบข้าง แล้วขยายออกวงกลางไปสู่สังคมและ ประเทศชาติในท่ีสดุ ตัวอย่างปัญหาเช่น ทุกครั้งท่ีคนไทยมีปัญหา น้าเสีย น้าท่วมดินถลม่ ไฟป่า พระองค์ท่านก็ จะคิดศาสตร์มาแก้ไข เมื่อประเทศไทยฝนแล้งพระองค์ท่านก็มีศาสตร์ในการทาฝนเทียม หรือ ฝนหลวง ท่ี เรียกว่า “ฟากฟ้าลงภูผา ผ่านทุ่งนาสู่มหานที” เม่ือประชาชนชาว กทม.น้าท่วม พระองค์ท่านก็คิดศาสตร์ทีช่ ื่อ วา่ โครงการแก้มลงิ ทีค่ ลองมักกะสัน เพ่ือแก้ไขปัญหา โครงการขดุ คลองลดั โพธ์ิ หรอื การแก้ไขปัญหาน้าเสยี ใช้ ผักตบชวาท่ีเรียกว่า “ใช้อธรรมปราบอธรรม” (The use of vice to defeat vice) และก็มีกังหันชัยพัฒนา เติมออกซิเจน มีคาถามหนึ่งว่า “ทาไมคนไทยรักพระราชาของเขาได้มากขนาดยอมตายแทนได้” คาตอบก็คือ พระราชา ทรงห่วงใยประชาชนของพระองค์ และทาเพ่ือบาบัดความทุกข์ทุกอย่างของประชาชนตลอด ระยะเวลาที่ทรงครองราชย์ กว่า 70 ปี จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยท่ีต้องศึกษาศาสตร์แหง่ พระราชา และช่วยกัน ดาเนินการตามรอยพระบาท หรือ “การเดินตามรอยเท้าพ่อ” ท่ีต้องศึกษาแนวทาง ที่พระองค์ท่านได้ทรงงาน และวางแนวทางหาหนทางแก้ไขปัญหาของประชาชนไว้ ที่ทุกคนรู้จักกันในนาม “ศาสตร์พระราชา” หรือ “ศาสตร์แห่งพระราชา” ในแง่แนวคิด ปรัชญา และการปฏิบัตินั้น “การรักพระราชาของเรา” น้ันก็คือการ ปฏิบัติบูชาตามคาสอน หากคนไทยทุกคน ช่วยกันทา กันปฏิบัติ และขยายผลการปฏิบัติให้กว้างขวาง จะยิ่ง เกิดผลดีในการปฏิบตั ิ “เชงิ สัญลักษณ์” มากขึน้ ท่ปี กตเิ หลา่ บรรดาขา้ ราชการและพสกนิกรทัว่ ไปทกุ คนก็ได้ทา กันอยู่แล้ว เช่น คาขวัญ สโลแกน ท่ีเขียนข้ึนป้าย ติดเสื้อ ติดรถ ต่าง ๆ อาทิ “เราเกิด ในรัชกาลท่ี 9” ซึ่งเรียก รวมๆกันว่า “ปฏิบัติบูชา” ช่วยกันทา สังคมก็จะดียิ่งข้ึน การเขียนให้ดูสวยดูดีดูเท่ห์ แต่ไม่ช่วยกันทา ช่วยกัน ปฏบิ ตั ิ กจ็ ะไม่เรยี กว่า “รกั พระองคท์ า่ นอย่างแทจ้ ริง” การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นการบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน เป็นเวลาเกือบ 20 ปีทีค่ นไทยรูจ้ กั “หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ท่ี “พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภมู ิ พลอดุลยเดช” พระราชทานเปน็ แนวทางในการนาพาประเทศไทยใหข้ า้ มพ้นวิกฤตเศรษฐกิจคร้ังใหญ่ท่ีเกดิ ขึ้น เมื่อปี 2540 หรือ “วิกฤตต้มยากงุ้ ” หรอื ชว่ งวิกฤตเศรษฐกจิ “ฟองสบูแ่ ตก” จนหลายภาคส่วนนอ้ มนาหลัก ปรัชญาน้ไี ปเปน็ แนวทางปฏบิ ัติ โดยอาจารยย์ กั ษ์ หรือ ดร.ววิ ัฒน์ ศัลยกาธร ผ้เู ด็ดเดย่ี วตามรอยในหลวงให้ เศรษฐกิจพอเพยี งเลย้ี งชีวิต [3] ได้ศึกษาและเขียนเรื่องเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาตลอดตงั้ แต่ปี 2540 จวบจนทกุ วนั นี้ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไดร้ บั การนาไปประยกุ ต์ใช้อยา่ งแพรห่ ลาย ท้ังในภาคเกษตรกรรม ธรุ กิจ การ จัดการทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม และสถานศึกษา จนประสบความสาเร็จอยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดย “มลู นธิ ิ มนั่ พฒั นา” ท่จี ัดต้งั ข้นึ เมื่อ 25 กรกฎาคม 2557 ศาสตร์พระราชา...ศาสตร์เพอื่ การพฒั นาที่ย่งั ยืนสมเด็จ

พระเทพรัตนราชสดุ าฯ มีพระราชดารสั เมอ่ื ปี 2554 ว่า [5] “เป้าหมายในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อย่หู วั คอื ‘การพัฒนาทีย่ ั่งยนื ’ เพ่อื ปรบั ปรุงชีวติ ความเป็นอยขู่ องคน โดยไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม ใหค้ นมี ความสขุ โดยต้องคานึงเรื่องสภาพภูมศิ าสตร์ ความเช่ือทางศาสนา เชื้อชาติ และภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สงั คม แม้วา่ วธิ ีการพฒั นามหี ลากหลาย แตท่ ส่ี าคัญคือนักพฒั นาจะต้องมคี วามรัก ความหว่ งใย ความรบั ผิดชอบ และ การเคารพในเพ่อื นมนุษย์ จะเห็นได้ว่าการพฒั นาเกยี่ วข้องกับมนษุ ยชาติ และเปน็ เร่ืองของจิตใจ”เม่ือ 28 ตุลาคม 2559 พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรี ได้กลา่ วในรายการ “ศาสตร์พระราชาสกู่ ารปฏบิ ัตอิ ย่าง ยง่ั ยนื ” ในการพฒั นาเศรษฐกิจสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 รวมท้งั การพฒั นาประเทศเพ่ือก้าวเข้าสู่สงั คมโลกทัง้ ใน ระดบั ภูมิภาค และ ในระดบั โลก เพ่อื น้อมนาพระราชดารสั ขององค์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ภมู ิพลอดุลย เดชท่ใี ห้ “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ของการพฒั นา มาเป็นแนวทางในการดาเนินงาน เพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ ความ ขัดแยง้ ในพนื้ ที่ ประชาชนมีสว่ นรว่ ม และได้ประโยชนจ์ ากการพัฒนาอยา่ งแท้จรงิ ให้มีความ อยู่ดี กนิ ดีรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้เชื่อมโยง “ศาสตร์พระราชา”ในเรื่องหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง (SEP - Sufficiency Economy Philosophy) กับเปา้ หมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยืน (SDGs - Sustainable Development Goals) ประสบความสาเร็จ ในการสร้างความตระหนักและการยอมรับในเวที ระหวา่ งประเทศในระดบั หนงึ่ ยกตวั อยา่ ง ได้แก่ (1) ศนู ยส์ าธิตสหกรณโ์ ครงการหบุ กะพง เพ่ือแก้ปัญหาการขาดน้ากนิ และนา้ ใช้, การขาดทีด่ ินทากิน ซึ่งมกี ารส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีอย่างงา่ ย (2) ธนาคารอาหารเปน็ กิจกรรมจากกองทุนอาหารกลางวนั แบบยงั่ ยืน ใหเ้ ด็กนักเรียนทุกคนนาไป ลงทนุ เพื่อประกอบอาชพี ทาการเกษตรและปศุสัตวข์ นาดเลก็ (3) โรงเรียนพระดาบส จดั ให้มีการสอนวชิ าชพี หลักสูตร 1 ปี มุ่งให้สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ จริง เสรมิ ดว้ ยทกั ษะชีวติ ใหส้ ามารถดารงตน ได้อย่างเหมาะสม (4) กังหนั ชัยพฒั นา เป็นการเพิ่มปรมิ าณออกซเิ จนในน้า ลดกลนิ่ น้าไม่เนา่ เสยี เปน็ ทอี่ ยู่อาศยั ของ สัตว์น้าได้ (5) บริษทั ประชารฐั รักสามคั คี จากดั ดาเนนิ การตามรปู แบบ “วิสาหกจิ เพื่อสังคม” บนกลไก “ประชารัฐ”ท่ีไม่มุ่งเนน้ ผลกาไรจากการประกอบการลองมาดเู นือ้ หาโดยสรปุ ของ “ศาสตรแ์ หง่ พระราชา” ท่ี สาคัญเหล่านก้ี นั อาทิ โครงการฝนหลวง จากฟากฟา้ ลงภผู า ผ่านทงุ่ นาสมู่ หานทวี ธิ ีทาฝนหลวงมอี ยู่ 3 ขน้ั ตอน คือ ขัน้ ตอนท่ี 1 ก่อกวน คือการดดั แปรสภาพอากาศหรือก้อนเมฆในขณะนนั้ เพ่อื กระตนุ้ ใหม้ วลอากาศ ชื้นไหล พาข้ึนสเู่ บื้องบนอันเปน็ การชักนาไอนา้ หรอื อากาศชืน้ เข้าสู่กระบวน การเกดิ เมฆ ขนั้ ตอนท่ี 2 เลย้ี งให้อ้วน คือ การดัดแปรสภาพอากาศเพอ่ื ทาใหเ้ มฆเจริญขึน้ จนมีขนาดใหญ่หนาแนน่ และพร้อมที่จะตกลงมาเปน็ ฝน ขัน้ ตอนที่ 3 โจมตีคอื การดัดแปรสภาพอากาศทีจ่ ะกระตุ้นใหเ้ ม็ดละอองเมฆปะทะชนกนั แล้วรวมตัว เข้า ด้วยกัน จนมีขนาดใหญ่ข้ึน ขณะเดยี วกันกเ็ ป็นการลดแรงไหลพาขึน้ เบื้องบน เพ่ือให้เมด็ น้า มีขนาดใหญ่ตกลงสู่ เบื้องล่างแลว้ เกดิ เป็นฝนตกลงมาสเู่ ป้าหมายฝายชะลอความชมุ่ ชน้ื (Check Dam) หรือฝายแม้ว

ใช้วัสดุธรรมชาติทีห่ าง่ายในท้องถ่นิ เชน่ ก้อนหนิ และไม้เพื่อก่อเปน็ ฝายขวางร่องน้าหรือห้วยเลก็ ๆทาหนา้ ที่กัก กระแสน้าไว้ให้ไหลช้าลงและใหน้ า้ สามารถซึม ลงใต้ผวิ ดินสร้างความชมุ่ ชน้ื ในบรเิ วณนั้น อีกท้ังยังชว่ ยดัก ตะกอนดนิ และทราย ไมใ่ หไ้ หลลงส่แู หล่งน้าเบ้ืองล่าง แฝก การปลกู หญ้าแฝกตามแนวระดบั เพื่อช่วยชะลอความชุม่ ชื้นไวใ้ นดิน โดยรากของหญ้า แฝกจะขยาย ออกด้านข้างเป็นวงเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกนิ 50 เซนติเมตรและจะแทงลงไป เป็นแนวลึกใตด้ นิ 1-3 เมตรแล้ว สานกนั เปน็ แนวกาแพงดดู ซับความชมุ่ ช้ืนให้แกผ่ ิวดนิ ทฤษฎีใหม่ เปน็ การสร้างแหลง่ น้าขนาดเล็กบนผิวดนิ ในพ้นื ท่ีการเกษตรของเกษตรกรโดยแบ่ง ที่ดนิ สาหรบั ใช้ขดุ เป็นสระเก็บนา้ ให้สามารถใช้ทาการเกษตรไดต้ ลอดปีและสามารถ เลยี้ งปลาไปพร้อมๆกันนอกจากนี้บริเวณ ขอบสระยังสามารถใช้ปลกู พืชผกั สวนครวั ไดอ้ ีกดว้ ย 1) โครงการแก้มลิง หลกั การของโครงการ คือเมื่อเกิดนา้ ท่วมกข็ ดุ คลองชกั นา้ ให้ไหลมารวมกันเกบ็ ไว้ ในแหล่งพักนา้ แลว้ จึงคอ่ ยทาการระบายลงสทู่ ะเลผา่ นทางประตูระบายน้าในช่วงที่ ปรมิ าณน้าทะเลลดลง ขณะเดียวกนั ก็สามารถ สบู นา้ ออกจากคลองท่เี ปน็ แก้มลงิ ลงสู่ ทะเลตลอดเวลาเพอื่ ที่นา้ จากตอนบนจะได้ไหลลงมาไดเ้ ร่ือยๆและเม่ือใด ก็ตามที่ ระดบั นา้ ทะเลข้นึ สงู กวา่ ระดับน้าในคลองที่เป็นแก้มลิงกใ็ หป้ ิดประตูระบายน้ากัน้ ไมใ่ หน้ ้าทะเลไหล ย้อนกลับเข้ามา 2) การใชน้ า้ ดไี ล่นา้ เสีย เป็นการนานา้ คุณภาพดจี ากแม่น้าเจา้ พระยาส่งเข้าไปไลน่ ้าเสียตามคลองใน เขตกรงุ เทพฯและ ปริมณฑลไดแ้ ก่คลองบางเขน คลองบางซอ่ื คลองแสนแสบ คลองเทเวศรแ์ ละ คลองบางลาภเู พื่อช่วยลดปัญหา ความเน่าเสยี ของน้าในคลองต่างๆคลา้ ยกับ การ “ชักโครก”คือปิดและเปดิ น้าใหไ้ ดจ้ ังหวะตามเวลาน้าขึ้น-นา้ ลงหากนา้ ขน้ึ สูงก็เปิดประตนู ้าใหน้ ้าดเี ขา้ ไปไล่น้าเสียคร้นั น้าทะเลลงก็เปิดประตูถ่ายนา้ เสียออกจากคลองไป ด้วย 3) กังหันนา้ ชยั พัฒนา กังหันชัยพัฒนา หรอื เคร่ืองกลเตมิ อากาศที่ผวิ น้าหมุนช้าแบบทนุ่ ลอย เปน็ กังหันน้าเพ่ือบาบดั นา้ เสยี ด้วยวิธีการเตมิ อากาศ ทางานโดย การหมุนป่นั เพื่อเตมิ อากาศใหน้ า้ เสียกลายเปน็ น้าดี สามารถประยุกต์ใช้ บาบดั น้าเสียจากการอปุ โภคของประชาชน น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งเพิ่มออกซเิ จน ให้กับบ่อ เพาะเล้ียงสตั ว์น้าทางการเกษตร ใชบ้ าบดั น้าเสียที่เกดิ จากชมุ ชนและอุตสาหกรรมลักษณะเปน็ เคร่ืองกลหมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอยเพ่ือช่วยเตมิ ออกซเิ จนทีผ่ ิวน้า กำรบำบดั นำเสยี โดยใช้จุลนิ ทรยี ์ 2 วิธี วิธที ่ี 1 การใช้น้าหมักชวี ภาพ โดยการใช้น้าหมกั ชีวภาพปรมิ าณ 1 ตอ่ 500 ส่วนราดลงทงั้ ในนา้ ทงิ้ จากครัวเรอื น ตลาดสดฟารม์ ปศุสัตว์หรอื โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้จลุ ินทรยี ์ชว่ ยยอ่ ยสลาย อินทรยี ส์ ารใน

แหลง่ นา้ นอกจากนี้นา้ หมักชวี ภาพยงั สามารถนาไปใช้ได้ดใี นการปรบั สภาพน้าในบ่อประมงทั้งบ่อเลยี้ งกุ้งและ ปลาได้เป็นอย่างดี วิธีท่ี 2 ลูกระเบิดจลุ นิ ทรยี ์ เป็นการบาบัดและฟน้ื ฟูแหลง่ น้าให้ดขี นึ้ ดว้ ยจุลินทรียเ์ ชน่ เดยี วกับการใช้น้า หมักประกอบด้วยโคลนจากท้องน้า 50กิโลกรัม,ร้า 10 กิโลกรัม,ปุ๋ยอินทรีย์เม็ดหรือ ผง 50 กิโลกรัมและน้า หมักชีวภาพที่หมักจนได้ท่ีแล้ว 3 เดือนข้ึนไปโดยนาทุกอย่างมาผสมเข้าด้วยกันจนสามารถป้ันเป็นก้อนขนาด เท่าลูกเปตองนาไปผึ่งไว้ในท่ีร่ม จนแห้งสามารถนาไปบาบัดน้าได้โดยใช้ในอัตราส่วน 5 กิโลกรัมต่อน้า 1 ล้าน ลิตร หรือ 25 กิโลกรัมต่อพื้นที่ไร่ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับสภาพน้าท่ีเน่าเสีย ในบริบทของท้องถ่ินนั้นปัจจุบันได้มีการ น้อมนาแนวพระราชดาริดังกล่าว มาปฏิบัติเพื่อให้เป็นไปตาม “แผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น ในด้าน การเกษตรและแหล่งน้า” (Local Sufficiency Economy Plan : LSEP) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ซึ่ง เปน็ ทางเดินท่ีถูกทางแล้ว

บทท่ี 2 วธิ ดี ำเนนิ กำร 1. ช่ือโครงกำร : จดั การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย 2. สอดคล้องกับ นโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนนิ งำน สำนกั งำน กศน. 2565 ด้านการสร้างสมรรถนะและ ทกั ษะคุณภาพ 3 สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่อื ง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รยี นการศกึ ษาต่อเน่อื ง ประเด็นท่ี 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมของสังคม ประเด็นท่ี 1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นาความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือ ตวั อย่างทดี่ ี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรียนร้กู ารศึกษาต่อเนือ่ ง ประเด็นที่ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรง ตามหลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง ประเดน็ ที่ 2.3 ส่ือที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ ประเดน็ ท่ี 2.5 การจัดกระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนือ่ งที่มีคุณภาพ มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ประเด็นท่ี 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทเ่ี นน้ การมีส่วนรว่ ม ประเดน็ ท่ี 3.5 การกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ประเด็นท่ี 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคเี ครอื ข่ายให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา 4. หลกั กำรและเหตุผล การสรา้ งความรู้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักเกษตรทฤษฎีใหมส่ ู่ “โดก หนอง นา โมเดล” กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ไดจ้ ดั ข้ึนเพราะปัจจบุ ัน โดยมจี ุดมุ่งหมายสาคัญ ในการฟืน้ ฟูเศรษฐกจิ ท้องถิ่นและ ชุมชน เปน็ การสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ชุมชนตน้ แบบ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และฟ้นื ฟูเศรษฐกิจท้องถิน่ และชุมชน เป็นการสรา้ งงาน สร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชน เกิดการกระตุน้ เศรษฐกจิ ฐานราก ฟื้นฟูและพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง โคก หนอง นา โมเดล คอื การจัดการพื้นท่ีซึ่งเหมาะ กับพนื้ ที่การเกษตร ซงึ่ เป็นผสมผสานเกษตรทฤษฎใี หม่ เขา้ กับภูมปิ ัญญาพนื้ บา้ นที่อยู่อย่างสอดคล้องกับ ธรรมชาติในพน้ื ทน่ี น้ั ๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เปน็ การที่ให้ธรรมชาตจิ ดั การตัวมนั เองโดยมี มนษุ ยเ์ ปน็ สว่ น สง่ เสรมิ ใหม้ ันสาเร็จเรว็ ขน้ึ อย่างเป็นระบบ ซง่ึ โคก-หนอง-นา โมเดล ซึง่ เป็นแนวทางทาเกษตรอินทรยี แ์ ละการ สร้างชวี ติ ทย่ี ง่ั ยืน

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองหนองคายเป็นสถานศึกษาที่มบี ทบาท หนา้ ที่ในการสง่ เสริมความรเู้ พอื่ นามาปรับใช้ในชวี ิตประจาวันไอย่างเหมาะสม ตระหนักถงึ ความสาคัญของการ ส่งเสริมใหช้ ุมชนมีศักยภาพในการพง่ึ พาตนเองไดอ้ ย่างยั่งยืนจึงได้จัดทาโครงการนขี้ นึ้ 5.วตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมประชาชนกลุม่ เป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการ ดาเนินชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องและมีความพึงพอใจ 6. เปำ้ หมำย 6.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ - ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ในเขตพนื้ ที่ กศน.ตาบล 16 แห่งๆละ 15 คน รวม 240 คน 6.2 เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ - ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตส์ ู่การปฏิบัติในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล 7. ระยะเวลำดำเนินกำร กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้ำห เปำ้ หมำย พนื ที่ ระยะ งบประมำณ มำย (คน) ดำเนนิ กำร เวลำ 1. ประชุมชแี้ จง เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ ประชาชน จานวน กศน.ตาบล 2 ธันวาคม 65 7,600 บคุ ลากรทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ประชาชน การเรียนรู้ 240 คน 16 แหง่ 2. เขียนโครงการ/ การน้อมนาหลกั ขออนุมัติโครงการ ปรัชญาของเศรษฐกิจ 3. คาสัง่ แตง่ ตง้ั พอเพียงมาประยุกตส์ ู่ กรรมการดาเนินงาน การปฏบิ ตั ิในรปู แบบ 4.ดาเนินกิจกรรม โคก หนอง นา ตามโครงการ โมเดลและมคี วามพึง 5ประเมินความพึง พอใจ พอใจโครงการ 6. สรปุ และรายงาน ผล

8. งบประมำณ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2566 แผนงาน : พืน้ ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ งบดาเนินงาน กจิ กรรม จดั การศึกษานอกระบบ รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 จานวน 7,600- บาท (เจ็ดพันหกร้อยบาทถ้วน) ดังรายการ ตอ่ ไปน้ี - ค่าวสั ดดุ าเนนิ โครงการ (475 X 16 แห่ง) จานวน 7,500 บาท รวมเป็นเงนิ ทังสิน จำนวน 7,500 บำท 9. แผนกำรจัดโครงกำร กจิ กรรมหลัก ไตรมำส 1 ไตรมำส 2 ไตรมำส 3 ไตรมำส 4 (ต.ค – ธ.ค. พ.ศ.2565) (ม.ค. – มี.ค.พ.ศ. (เม.ย.-ม.ิ ย.พ.ศ (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ. 2566) 2566 ) 2566) บรรยายความรโู้ ดย 7,600.- วทิ ยากร /ครู กศน.ตาบล -เร่ือง การเรยี นร้รู ะบบ เศรษฐกจิ พอเพียงรูปแบบ โคกหนองนา โมเดล 10. ผ้รู บั ผิดชอบโครงกำร - ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองหนองคาย - กศน.ตาบล 16 แห่ง 11. เครือขำ่ ย - ภมู ิปญั ญา / ปราชญท์ อ้ งถิ่น 12.โครงกำรทเี่ กีย่ วขอ้ ง - โครงการ ชมุ ชนตน้ แบบหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการ การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 13.ผลลัพธ์ (Outcomes) - ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถนาความรู้ เป็นผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา ท่ี สอดคลอ้ งกับธรรมชาติในพนื้ ทใี่ นชุมชนของตน 14.ดชั นีชีวัดควำมสำเรจ็ ของโครงกำร 14.1 ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) - ประชาชน กลุ่มเป้าหมาย ท่ีเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ได้รับส่งเสริมความรู้ การ ขับเคล่ือนการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โคก หนอง นา โมเดล

14.2 ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome) - ประชาชน กลมุ่ เป้าหมาย ท่ีเขา้ ร่วมโครงการ ฯ นาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประโยชน์ใน การดาเนินชีวิตและมคี วามพงึ พอใจ 15. กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร - แบบสอบถาม - สรปุ และรายงานผล

บทท่ี 3 กำรดำเนนิ งำน เคร่ืองมอื 1.เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งน้ี เป็นแบบสอบถามเพื่อประเมนิ ความคดิ เห็น ความพงึ พอใจ ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมการจัดการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย ประกอบดว้ ยคาถามท่ีแบ่งเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผูร้ ว่ มกิจกรรม ตอนท่ี 2 รายการประเมินความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ลกั ษณะของแบบสอบถามเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า ของลิเคอร์ท (Likert) มี 5 ระดบั (บญุ ชุม ศรสี ะอาด, 2545 : 65 - 74) กาหนดระดับคา่ ความพึงพอใจ โดยใช้เกณฑ์ใน การกาหนดค่าคะแนน ดังน้ีคือ 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจต่อการจัดการศึกษา ระดบั มากทส่ี ดุ 4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษา ระดบั มาก 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจตอ่ การจดั การศึกษา ระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจต่อการจดั การศึกษา ระดบั น้อย 1 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจตอ่ การจดั การศึกษา ระดบั น้อยที่สุด ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ เสนอแนะ ในการสร้างเครื่องมือได้มีการร่างและตรวจสอบเครอื่ งมอื โดยเนน้ และลงประเดน็ ที่เกี่ยวกับรปู แบบ กจิ กรรมที่จดั แต่ทัง้ นี้ไดค้ านึงถงึ ความเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมายที่จะสามารถตอบคาถามได้อยา่ งตรงประเดน็ โดยโครงสรา้ งของคาถามจะเป็นในรูปแบบทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยไมซ่ ับซอ้ น จากน้นั ได้นาไปให้ผู้บรหิ าร และผทู้ ี่ เชยี่ วชาญตรวจสอบความครอบคลุม ความสมบูรณค์ รบถ้วนจงึ นามาสขู่ น้ั ตอนของการปรบั ปรงุ และแก้ไข เคร่ืองมอื ตามข้อเสนอแนะการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจของผเู้ ขำ้ รับกำรอบรม โครงกำรจัดกำรเรยี นรตู้ ำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นำ โมเดล กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย วนั ที่ 2 ธันวำคม 2565 ************************* คาอธิบาย แบบสอบถามฉบบั นมี้ ีทั้งหมด 2 ตอน ขอให้ผตู้ อบแบบสอบถามให้ครบถ้วน เพอื่ ให้การดาเนนิ โครงการเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ และเพ่ือเปน็ ประโยชน์ในการนาไปใช้ตอ่ ไป ตอนท่ี 1 สถานภาพทั่วไป คาชี้แจง โปรดทาเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ ง  หนา้ ข้อความ 1. เพศ  หญิง  ชาย 2. อายุ  ต่ากว่า 20 ปี 20 – 30 ปี  31 – 40 ปี  41 – 50 ปี  51 ปีข้ึนไป 3. การศกึ ษา  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนต้น  มัธยมศึกษาตอนปลาย  อนุปรญิ ญา  ปริญญาตรี 4. อาชีพ  เกษตร  รับจ้างทว่ั ไป  ธรุ กิจส่วนตวั อื่นๆ............................ ตอนที่ 2 ระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาไปใช้ ตอ่ การเขา้ รว่ มโครงการ คาชีแ้ จง โปรดทาเครื่องหมาย ในชอ่ งระดับความพงึ พอใจตามความคิดเหน็ ของท่านเพยี งระดับ เดียว ที่ รายการประเมินความคดิ เห็น ระดับความพึงพอใจ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สุด (5) (4) (3) (2) (1) 1 การให้ข้อมูลก่อนการอบรม 2 การอานวยความสะดวกในการอบรม 3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการอบรม 4 ความเหมาะสมของสถานที่ท่เี รียนรู้ 5 ความสอดคล้องระหว่างเนอ้ื หาและวิธี จดั การเรยี นรู้

6 ความรู้ ความสามารถของวิทยากรในการถา่ ยทอดความรู้ และ ประสบการณ์ 7 การจัดลาดับข้นั ตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8 การเปดิ โอกาสให้มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในกลมุ่ ผ้เู ขา้ รบั การ อบรมและวิทยากร 9 ประโยชนท์ ่ีได้รับจากการเข้ารับการอบรม ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ................................................................................................................................................................ .......... ........................................................................................................................ .................................................. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมลู ดาเนินการดังน้ี 1. แบบลงเวลา จานวนประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการ 2. ระหวา่ งการอบรม ดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังนี้ 2.1 แบบสอบถามโดยใหผ้ ู้เรียนที่เขา้ รว่ มกิจกรรมตอบแบบสอบถามหลงั สนิ้ สุดการ อบรม ซง่ึ เป็นแบบสอบถามทเ่ี ก็บข้อมูลเก่ียวกับ 1) ข้อมูลท่ัวไป 2) ขอ้ มูลความพงึ พอใจต่อการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 3) ข้อเสนอแนะ กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ได้มีการดาเนนิ การดงั น้ี สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ ค่าร้อยละ ส่วนข้อมูลเชิงคณุ ภาพจาก ข้อคาถามปลายเปิดใชว้ ธิ ีวเิ คราะห์เนื้อหา เกณฑ์กำรประเมนิ เกณฑ์กำรประเมิน ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมร้อยละ 80 ประชาชนอาเภอเมอื งหนองคาย ท่เี ข้าร่วมโครงการฯ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมีประสบการณ์เพิ่มมากขึน้ สามารถนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ สถำนท่ีจดั กจิ กรรมและระยะเวลำกำรจดั กจิ กรรม ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งหนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวัด หนองคาย ระหวา่ งวนั ที่ 2 ธันวาคม 2565

รปู แบบกำรจัดกิจกรรม บรรยายและฝึกปฏิบัติ ผเู้ ขำ้ รับกำรอบรม ประชาชนทัง้ 16 ตาบล ในอาเภอเมืองหนองคาย จานวน 244 คน ผ้เู ก่ยี วข้องกำรจดั กจิ กรรม วิทยากร ผู้ดาเนนิ รายการ และผปู้ ระสานงาน ครู กศน.ตาบล อาเภอเมืองหนองคาย งบประมำณ จานวน 7,600.-บาท

บทท่ี 4 ผลกำรดำเนินงำน กำรเก็บรวบรวมข้อมลู การส่งเสริม ให้ความรูด้ ้านจัดการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย มีการเก็บรวบรวมข้อมูล ท่ีไดจ้ ากผู้เข้ารว่ มโครงการและการ ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ดงั นี้ ผเู้ ข้ารว่ มการส่งเสรมิ ใหค้ วามรดู้ า้ นจดั การเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏี ใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย กาหนดเป้าหมายจานวน 240 คน ดาเนินการได้ 244 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ตามแบบสรุป ต่อไปนี้ ข้อมูลท่ัวไป ตำรำงท่ี 1 แสดงจานวนของผเู้ ข้ารบั การอบรมตามการจัดการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฏี ใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ท่ีมีความคิดเหน็ ต่อการจัดอบรมตามโครงการ ฯ จาแนกตามเพศ เพศ จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ชาย 118 49% หญงิ 126 52% รวม 244 101% จำกตำรำงพบวำ่ ผูเ้ ขา้ รับการอบรมตามโครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ระหวา่ งวันท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2565 ณ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองคาย อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ผู้ตอบแบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น เปน็ เพศชาย จานวน 118 คน เพศหญงิ จานวน 126 คน รวม จานวน 244 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 101

ตำรำงท่ี 2 แสดงจานวนของผเู้ ขา้ รับการอบรมตามโครงการจดั การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ทม่ี คี วามคดิ เห็นต่อการจัดอบรมตามโครงการ ฯ จาแนกตามอายุ อำยุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ ตา่ กวา่ 20 ปี 187 77.5 20 - 30 ปี 38 16 31 - 40ปี 19 7.5 41 - 50 ปี -- 51 ปีขน้ึ ไป -- รวม 244 101 จำกตำรำงพบวำ่ ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมตามโครงการจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ระหวา่ งวันท่ี 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ศนู ย์ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองหนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวดั หนองคาย ผตู้ อบ แบบสอบถามการแสดงความคิดเห็น อายตุ า่ กว่า 20 ปจี านวน 187 คน คดิ เป็นร้อยละ 77.5 ผตู้ อบ แบบสอบถามการแสดงความคดิ เหน็ อายุ 20-30 ปจี านวน 38 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16 ผู้ตอบแบบสอบถาม การแสดงความคิดเห็น อายุ 31-40 ปจี านวน 19 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.5 ผตู้ อบแบบสอบถามการแสดงความ คิดเหน็ อายุ 41-50 ปจี านวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ -

ตำรำงท่ี 3 แสดงจานวนของผเู้ ขา้ รบั การอบรมตามโครงการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ท่ีมคี วามคดิ เห็นต่อการจัดอบรมตามโครงการ ฯ จาแนกตามการศึกษา อำชพี จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ ประถมศกึ ษา 11 4.5 มธั ยมศึกษาตอนต้น 119 50 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 114 47.5 อนปุ ริญญา -- ปริญญาตรี -- รวม 244 101 จำกตำรำงพบว่ำ ผู้เขา้ รบั การอบรมตามโครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฏีใหม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ระหวา่ งวนั ท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2565 ณ ศูนย์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองหนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย จากผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น ผู้เขา้ รับการอบรมมรี ะดับการศึกษา ระดบั ประถมศึกษา จานวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4.5 จากผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ ผู้เข้ารบั การอบรมมรี ะดบั การศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 119 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50 จากผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีระดับการศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 114 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 47.5

ตำรำงท่ี 4 แสดงจานวนของผเู้ ข้ารบั การอบรมตามโครงการจัดการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ทีม่ คี วามคดิ เหน็ ต่อการจัดอบรมตามโครงการ ฯ จาแนกตามการศึกษา อำชพี จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ เกษตร 67 28 รับจ้างทว่ั ไป 137 57.09 ธรุ กจิ สว่ นตัว 40 16.66 อ่ืนๆ.......... -- รวม 244 101 จำกตำรำงพบวำ่ ผ้เู ขา้ รับการอบรมตามโครงการจดั การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร ทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ระหวา่ งวันท่ี 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ศูนย์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย จากผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมอี าชีพเกษตร จานวน 67 คน คิดเปน็ ร้อยละ 28 จากผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็น ผู้เข้ารบั การอบรมมีอาชพี รบั จา้ งทวั่ ไป จานวน 137 คน คดิ เปน็ ร้อยละ57.09 จากผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ ผู้เขา้ รับการอบรมมีอาชีพธรุ กจิ สว่ นตัว จานวน 40 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16.66 จำกกำรสังเกต โดยทัว่ ไปแลว้ ผ้เู ข้ารบั การอบรมตามโครงการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ผเู้ ข้ารบั การอบรมใหค้ วาม สนใจในเน้ือหาสาระท่วี ทิ ยากรนามาสอนเปน็ อยา่ งดี และสามารถปฏิบัตติ ามคาส่งั ในรว่ มกิจกรรมที่ทาง วทิ ยากรสง่ั ได้ จำกกำรสัมภำษณ์ ผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฏีใหม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย มีความพึงพอใจในการให้ความรู้ ของวิทยากร และพร้อมจะนาความร้ทู ี่ได้จากการอบรมคร้งั นี้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ในโอกาสตอ่ ไปดว้ ย

ท่ี รายการประเมนิ ความคดิ เห็น มากที่สุด ระดับความพึงพอใจ นอ้ ยทีส่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย 1 การให้ข้อมูลก่อนการอบรม (5) (1) 2 การอานวยความสะดวกในการอบรม (4) (3) (2) 3 ความเหมาะสมของระยะเวลาในการอบรม 244 4 ความเหมาะสมของสถานท่ที ี่เรียนรู้ 198 46 5 ความสอดคล้องระหว่างเน้ือหาและวิธี 184 60 244 จัดการเรยี นรู้ 244 44 6 ความรู้ ความสามารถของวทิ ยากรในการถ่ายทอด 40 200 ความรู้ และประสบการณ์ 7 การจัดลาดับขัน้ ตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 204 8 การเปดิ โอกาสให้มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ในกลุ่มผู้ 244 เข้ารับการอบรมและวทิ ยากร 244 9 ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการเข้ารับการอบรม สรุปหวั ข้อทีป่ ระเมนิ 1.โครงการ/กิจกรรมนบ้ี รรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นระดบั ใด 1 ผูเ้ ข้าอบรมมคี วามพงึ พอใจต่อการให้ขอ้ มลู ก่อนการอบรมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสดุ จานวน 244 คน คิดเป็นร้อยละ 101 2.ผ้เู ข้าอบรมมคี วามพึงพอใจตอ่ การอานวยความสะดวกในการอบรมความพึงพอใจในระดับมากที่สดุ จานวน 198 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 82.5 3.ผ้เู ขา้ อบรมมคี วามพึงพอใจต่อความเหมาะสมของระยะเวลาในการอบรมมคี วามพงึ พอใจในระดับมากท่สี ุด จานวน 184 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 76.67 4.ผ้เู ข้าอบรมมคี วามพึงพอใจต่อความเหมาะสมของสถานทท่ี ี่เรียนรู้มีความพงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุดจานวน 244 คน คิดเป็นร้อยละ 101 5.ผู้เขา้ อบรมมีความพึงพอใจต่อความสอดคล้องระหว่างเนื้อหาและวิธจี ดั การเรียนรู้ ความพึงพอใจในระดับ มากทส่ี ุดจานวน 244 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 101 6.ผู้เข้าอบรมมคี วามพึงพอใจตอ่ ความรู้ ความสามารถของวทิ ยากรในการถ่ายทอดความรู้ และประสบการณม์ ี ความพงึ พอใจในระดับมากท่ีสุดจานวน 200 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.33

7 ผู้เขา้ อบรมมีความพึงพอใจต่อการจดั ลาดับขัน้ ตอนในการจดั กจิ กรรมการเรียนรูม้ คี วามพงึ พอใจในระดับมาก ท่สี ดุ จานวน 204 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 85 8.ผูเ้ ขา้ อบรมมีความพึงพอใจตอ่ การเปิดโอกาสให้มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นกลมุ่ ผเู้ ข้ารับการอบรมและ วทิ ยากรมีความพงึ พอใจในระดับมากท่ีสดุ จานวน 244 คน คดิ เป็นร้อยละ 101 9.ผเู้ ข้าอบรมมีความพงึ พอใจต่อประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการเข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในระดับมากทีส่ ุด จานวน 244 คน คดิ เป็นร้อยละ 101 บทที่ 5สรปุ ผลกำรดำเนินงำน การดาเนินงาน โครงการจัดการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย ระหว่างวนั ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ศูนยก์ ารศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองหนองคาย อาเภอเมอื ง จังหวดั หนองคาย มีผลดังนี้ 1. ผลกำรดำเนินงำนตำมวตั ถปุ ระสงค์ ที่ วัตถุประสงค/์ กิจกรรม/โครงกำร สภำพควำมสำเรจ็ ผลกำรดำเนินงำน บรรลุ ไม่บรรลุ 1 เพ่ือให้นักศึกษาพัฒนากระบวนการการเรยี นรู้ได้ อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม สามารถนามา นักศกึ ษาพัฒนากระบวนการการ ปรับเปลยี่ นรูปแบบการจัดการเรียนรตู้ ามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏใี หมส่ ู่ เรียนร้ไู ด้อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย สามารถนามาปรับเปล่ยี นรูปแบบ 2 เพือ่ ใหน้ ักศึกษาไดเ้ รยี นรู้การทาบญั ชคี รัวเรอื นมา ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาวนั ได้ / จัดการเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏี ใหม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน. อาเภอเมืองหนองคาย อย่างมีคุณภาพ นักศกึ ษาไดเ้ รยี นรูก้ ารทาบัญชี / ครัวเรอื นมาประยุกต์ใชใ้ น ชีวิตประจาวนั ได้ 2. สรุปผลกำรดำเนินงำนตำมเป้ำหมำย ที่ เปำ้ หมำยของกิจกรรม/โครงกำร สภำพควำมสำเร็จ ผลกำรดำเนินงำน บรรลุ ไม่บรรลุ เชงิ นักศกึ ษาในพน้ื ที่อาเภอเมอื งหนองคาย จานวน นักศึกษาในพ้นื ท่ีอาเภอเมือง ปรมิ ำณ 240 คน / หนองคาย จานวน 240 คน

ท่ี เป้ำหมำยของกิจกรรม/โครงกำร สภำพควำมสำเรจ็ ผลกำรดำเนนิ งำน บรรลุ ไม่บรรลุ เชงิ นกั ศึกษาในพนื้ ที่อาเภอเมืองหนองคาย สามารถ นักศึกษาในพื้นท่ีอาเภอเมือง คุณภำพ จัดการเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง / หนองคาย สามารถจดั การเรียนรู้ และเกษตรทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กศน.อาเภอเมืองหนองคาย และเกษตรทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมือง หนองคาย อย่างมีคุณภาพ และได้ เรยี นรกู้ ารทาบญั ชคี รวั เรือนมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ ที่ เป้ำหมำยของกิจกรรม/โครงกำร สภำพควำมสำเร็จ ผลกำรดำเนนิ งำน บรรลุ ไม่ ตัวชีวัด 1. ตวั ชีวดั ผลผลติ นกั ศึกษา ท่เี ข้าร่วมโครงการฯ จานวน ควำมสำเร็จ นกั ศกึ ษา ที่เข้าร่วมโครงการฯ จานวน 244 บรรลุ 244 คน ร้อยละ 80 มคี วามสขุ และ คน รอ้ ยละ 80 มีความสขุ และความเข้าใจ ความเขา้ ใจบทบาทภารกิจพัฒนา บทบาทภารกจิ พัฒนากระบวนการการเรยี นรู้ / กระบวนการการเรยี นรูไ้ ด้อย่างถูกต้อง ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม สามารถนามา เหมาะสม สามารถนามาปรบั เปลี่ยน ปรับเปลย่ี นรูปแบบการเกษตรกรรมแบบ / รูปแบบการเกษตรกรรมแบบเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่อยา่ ง พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หมอ่ ย่างมี มคี ุณภาพ คณุ ภาพ 2. ตัวชีวัดผลลัพธ์ ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมร้อยละ 80 นกั ศึกษา ทเ่ี ขา้ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมร้อยละ 80 นกั ศึกษา ร่วมโครงการฯ มคี วามรู้ความเขา้ ใจ และมี ทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ มคี วามรู้ความ ประสบการณ์เพม่ิ มากขน้ึ สามารถนาความรู้ เข้าใจ และมปี ระสบการณ์เพิ่มมากข้นึ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ น ชีวติ ประจาวันได้

3. จุดเดน่ /จดุ ควรพฒั นำ จุดเด่นของโครงการจัดการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย มีดงั นี้ 1. ผเู้ รยี นได้เรียนรู้โครงการ จัดการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร ทฤษฏีใหม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมืองหนองคาย ในการแกป้ ัญหาและการเตรียมความพรอ้ มกบั การเปล่ยี นแปลงโลกในโลกปัจจบุ นั ไดเ้ รยี นร้กู บั วิทยากรทีม่ ีความร้สู ามารถในการเรียนร้ใู นเนือ้ หาต่างๆ เกีย่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ในการจดั การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย เป็นโครงการท่ดี ีท่ชี ว่ ยให้ผ้เู รยี นในการเตรียมความพรอ้ มในการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ จดุ ที่ควรพัฒนาของจดั การเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏีใหมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคายมีดงั นี้ 1. ในเนอื้ หาท่ตี ้องใชผ้ เู้ ช่ยี วชาญ เชน่ การทาป๋ยุ หมัก 2. ผู้เขา้ ฝึกอาชพี บางคนมีเวลาเรยี นไม่ไดเ้ ตม็ เวลาเพราะติดภารกิจ เรื่องการทางาน 4. ข้อเสนอแนะเพ่ือการจดั การเรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หมส่ ู่ โคก หนอง นา โมเดล กศน.อาเภอเมอื งหนองคาย มีดงั น้ี - ควรมีการจัดทาโครงการอย่างต่อเน่ือง เพราะผเู้ รยี นได้เกิดการเรียนรโู้ ดยตรงกบั วิทยากรท่ี มคี วามชานาญในสาระการเรียนรู้นนั้ ๆ

ภำคผนวก

ภำพกิจกรรม โครงกำรจดั กำรเรียนรู้ตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นำ โมเดล กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย วนั ท่ี 2 ธนั วำคม 2565 ณ กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย

ภำพกิจกรรม โครงกำรจดั กำรเรียนรู้ตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นำ โมเดล กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย วนั ที่ 2 ธนั วำคม 2565 ณ กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย

ภำพกิจกรรม โครงกำรจดั กำรเรียนรู้ตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นำ โมเดล กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย วนั ท่ี 2 ธนั วำคม 2565 ณ กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย

ภำพกิจกรรม โครงกำรจดั กำรเรียนรู้ตำมหลกั ปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏใี หม่สู่ โคก หนอง นำ โมเดล กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย วนั ท่ี 2 ธนั วำคม 2565 ณ กศน.อำเภอเมอื งหนองคำย

คณะผ้จู ัดทำ ท่ปี รึกษำ ผอ.กศน.อาเภอเมืองหนองคาย นางสาวฐปนา อนิ ทร์มา บรรณารักษช์ านาญการ นางปวริศา โยชนส์ วุ รรณ ครูชานาญการ นางพรพิมพ์ บญุ ที ครูชานาญการ นางสมาน มงคลนา รวบรวมข้อมูล / เรียบเรียง / จัดพิมพ์ / รปู เล่ม นางขนิษฐา พรหมเขจร ครู กศน.ตาบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook