Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore WHTdoc_100260

WHTdoc_100260

Published by s.petnark, 2017-09-15 19:14:44

Description: WHTdoc_100260

Search

Read the Text Version

การหกั ณ ท่ีจ่ายเงินเดือน ค่าจา้ งตามโครงสร้างภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ และกฎหมายใหม่ ท่ีเกี่ยวกบั ุคคลธรรมดา

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตาม ร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงิน ไดพ้ ึงประเมินต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 25601. การหกั คา่ ใช้จ่าย สาหรับเงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (1) (เงินเดือน คา่ จ้าง) และมาตรา 40 (2) (ค่านายหน้า ค่าท่ีปรึกษา เงินได้จากหน้าท่ีตาแหน่งงาน การรับทางานให้) หกั เป็นการเหมาได้ ร้อยละ 50 แตไ่ มเ่ กิน100,000 บาท (จากเดนิ ร้อยละ 40 แตไ่ มเ่ กิน 60,000 บาท)2. การหกั คา่ ใช้จ่าย สาหรับเงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40 (3) ที่เป็น คา่ แหง่ ก๊ดู วิลล์ ค่าแหง่ ลขิ สทิ ธ์ิ หรือสทิ ธิอยา่ งอื่น หกั เป็นการเหมาได้ตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (แตเ่ ดิมหกั ได้เฉพาะคา่ แห่งก๊ดู วลิ ล์ ร้แยละ40 แตไ่ มเ่ กิน 60,000 บาท) 2

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 25603. การหกั คา่ ลดหยอ่ นสว่ นตวั 60,000 บาท (จากเดิม 30,000 บาท)4. การหกั คา่ ลดหยอ่ นคสู่ มรส 60,000 บาท (จากเดมิ 30,000 บาท)5. การหกั คา่ ลดหยอ่ นบตุ ร - บตุ รคนละ 30,000 บาท (เดมิ 15,000 บาท) (1) บตุ รชอบด้วยกฎหมาย บตุ รขอบด้วยกฎหมายของสามีภริยาของผ้มู ีเงินได้ (2) บตุ รบญุ ธรรมของผ้มู ีเงินได้ 3

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แตว่ นั ที่ 1 มกราคม 2560 ในกรณีผ้มู ีเงินได้มีบตุ รทงั้ ตาม (1) และ (2) การหกั ลดหยอ่ นสาหรับบตุ รให้นาบตุ รตาม (1) ทงั้ หมดมาหกั กอ่ น แล้วจงึ นาบตุ รตาม (2) มาหกั เว้นแตใ่ นกรณีผ้มู ีเงินได้มีบตุ รตาม (1) ท่ีมีชีวิตอยรู่ วมเป็นจานวนตงั้ แตส่ ามคนขนึ ้ ไป จะนาบตุ รตาม (2) มาหกั ไมไ่ ด้ แตถ่ ้าบตุ รตาม (1) มีจานวนไมถ่ งึ 3 คนให้นาบตุ รตาม (2)มาหกั ได้โดยเม่ือรวมกบั บตุ รตาม (1) แล้วต้องไมเ่ กิน 3 คน - การนบั จานวนบตุ รให้นบั เฉพาะบตุ รท่ีมีชีวิตอยตู่ ามลาดบั อายสุ งู สดุ ของบตุ ร โดยให้นบั รวมทงั้ บตุ รท่ีไมอ่ ยใู่ นเกณฑ์ได้รับการหกั ลดหยอ่ นด้วย 4

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพมิ่ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2560 - การหกั ลดหยอ่ นสาหรับบตุ ร ให้หกั ได้เฉพาะบตุ รซงึ่ มีอายไุ มเ่ กินย่ีสบิ ห้าปีและยงั ศกึ ษาอยใู่ นหมาวทิ ยาลยั หรือชนั้ อดุ มศกึ ษา หรือซง่ึ เป็นผ้เู ยาว์ หรือศาลสง่ั ให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถอนั อยใู่ นความอปุ การะเลีย้ งดู แตม่ ใิ ห้หกั ลดหยอ่ นสาหรับบตุ รดงั กลา่ วทม่ี เี งินได้พงึ ประเมินในปีภาษีลว่ งมาแล้วตงั้ แต่ 30,000 บาทขนึ ้ ไป โดยเงินได้พงึ ประเมนิ นนั้ ไมเ่ ข้าลกั ษณะตามมาตรา 42 - การหกั ลดหยอ่ นสาหรับบตุ รดงั กลา่ วให้หกั ได้ตลอดปีภาษี ไมว่ า่ กรณีท่ีจะหกั ได้นนั้ จะมีอยตู่ ลอดปีภาษีหรือไม่ และในกรณีบตุ รบญุ ธรรมนนั้ ให้หกั ลดหยอ่ นในฐานะบตุ รบญุ ธรรมได้แตฐ่ านะเดียว 5

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่มิ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ท่ี 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2560 6. ยกเลกิ การหกั ลดหย่อนเพื่อการศกึ ษาบตุ ร (เดิมหกั ได้ 2,000 บาท) 7. การคานวณเงินได้สทุ ธิเพื่อเสียภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา (เงินได้พงึ ประเมนิ – คา่ ใช้จ่าย – คา่ ลดหยอ่ น)เมื่อคานวณเงินได้สทู ธิได้เทา่ ใดแล้วให้คณู ด้วยอตั ราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ได้จานวนภาษีเทา่ ใดเป็นภาษีที่คานวณได้ตามวิธีท่ี 1 (มาตรา 48 (1)) แตถ่ ้ามีเงินได้พงึ ประเมนิ ตามมาตรา 40(2)-(8) มีจานวนตงั ้ แต่ 120,000 บาท (เดมิ 60,000 บาท) จะต้องคานวณตามวิธีที่ 2 (มาตรา 48(2)) โดยนาเงินได้ดงั กลา่ วคณู ด้วยอตั ราร้อยละ 0.5 ได้จานวนภาษีเทา่ ใดให้เปรียบเทียบตามวิธีท่ี 1 6

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่ิมเติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ท่ี 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2560 8. จานวนเงินได้ที่เป็นเกณฑ์ขนั้ ต่าที่จะต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา (ภ.ง.ด.90ภ.ง.ด.91) (1) คนโสดมีเงินได้พงึ ประเมนิ ในปีภาษีท่ีลว่ งมาแล้วเฉพาะมาตรา 40(1) ประเภทเดียวเกิน120,000 บาท (2) มีสามีหรือภริยาและมีเงินได้พงึ ประเมนิ ในปีภาษีที่ลว่ งมาแล้วเฉพาะตามมาตรา 40 (1) ประเภทเดียวเกิน 220,000 บาท (3) คนโสดมีเงินได้พงึ ประเมนิ ในปีภาษีที่ลว่ งมาแล้วเกิน 60,000 บาท (อาจมีเงินได้ตามมาตรา 40(1)และเงินได้ประเภทอื่น หรือไม่มเี งินได้ตามมาตรา 40(1) แตม่ ีเงินได้ประเภทอื่น) (4) มีสามีหรือภริยาและมีเงินได้พงึ ประเมินในปีภาษีท่ีลว่ งมาแล้วเกิน 120,000 บาท 7

Update กฎหมายใหม่โครงสร้างอตั ราภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหม่ใชส้ าหรับปี 2559 (ตามร่างพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพ่มิ เติมประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 44 ) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมินต้งั แตว่ นั ท่ี 1 มกราคม 25609. อตั ราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา (แบง่ เป็น 7 ขนั้ เดิมมี 5 ขนั้ )เงินได้สทุ ธิ0 - 300,000 ร้อยละ 5 (ยกเว้นสว่ นที่ไมเ่ กิน 150,000 ตาม พ.ร.ฎ.470))300,001 - 500,000 ร้อยละ 10500,001 - 750,000 ร้อยละ 157500,001 - 1,000,000 ร้อยละ 201,000,001 - 2,000,000 ร้อยละ 252,000,000 - 5,000,000 ร้อยละ 30เกิน 5,000,000 ร้อยละ 35 8

วธิ ีการหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย กรณีจ่ายเงินไดต้ ามมาตรา 40(1)/ เงินเดือนค่าจา้ ง สวสั ดิการ การหกั ภาษี ณ ท่ีจา่ ย ในระหวา่ งท่ีลกู จ้างทางาน (1) เงินได้ตามมาตรา 40(1)xคราวที่จา่ ยเสมือนทงั้ ปี xxxxx (2) หกั คา่ ใช้จา่ ยเหมาร้อยละ 50 ไมเ่ กิน 100,000 บาท xxxx (3) หกั คา่ ลดหยอ่ น (ตามเง่ือนไขกฎหมาย) - สว่ นตวั 60,000 บาท - คสู่ มรส 60,000 บาท - บตุ ร 30,000 บาท - ประกนั ชีวิต ไมเ่ กิน 100,000 บาท (ประกนั แบบบานาญหกั ได้มากขนึ้ ) 9

วธิ ีการหกั ภาษี ณ ที่จ่าย กรณีจ่ายเงินไดต้ ามมาตรา 40(1)/ เงินเดือนค่าจา้ ง(ตอ่ หกั คา่ ลดหยอ่ น) - ดอกเบีย้ เงินก้ยู ืมเพื่อซือ้ บ้าน ไมเ่ กิน 100,000 บาท - ประกนั สงั คม ตามจริง - อปุ การะบดิ ามารดา 30,000 บาทตอ่ บดิ า/มารดา - ประกนั สขุ ภาพบิดามารดา ไมเ่ กิน 15.000 บาท - อปุ การะคนพกิ าร คนทพุ พลภาพ 60,000 บาทตอ่ คน - RMF/LTF (R ไมเ่ กิน 500,000 บาท L ไมเ่ กิน 500,000 บาท) 10

วธิ ีการหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย กรณีจ่ายเงินไดต้ ามมาตรา 40(1)/ เงินเดือนค่าจา้ ง สวสั ดิการรวม คา่ ลดหยอ่ น XXXX(4) เหลอื เงินได้สทุ ธิ xxxxxx(5) คานวณภาษี เงินได้สทุ ธิxอตั ราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา(6) ภาษีท่ีคานวณได้ xxxxx(7) ภาษีหกั ณ ที่จา่ ย ภาษีที่คานวณได้ตาม 6/คราวที่จา่ ย 11

การใชส้ ิทธิหกั ลดหยอ่ น ในการหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย 1. พนกั งานต้องสารวจ วา่ ตนเองมีคา่ ลดหยอ่ นอะไรบ้าง 2. พนกั งานแจ้งนายจ้าง โดยใช้แบบ ล.ย. 01 เพ่ือนายจ้างเกบ็ ไว้เป็นหลกั ฐาน 3. การใช้สิทธิหกั ลดหยอ่ นต้องมีหลกั ฐานตามที่กฎหมายกาหนด 4. ต้องดสู ทิ ธิตา่ งๆ และจานวนคา่ ลดหย่อนให้ถกู ต้อง 12

ตวั อยา่ ง 1• ปี ภาษี 2560 นาย ก. ไดร้ ับเงินเดือน ๆ ละ 70,000 บาท• นาย ก. ไดแ้ จง้ สถานะการหกั ลดหยอ่ นไวด้ งั น้ี • ภรรยาไม่มีเงินได้ • บุตรกาลงั ศึกษา 2 คน • ตอ้ งจ่ายเบ้ียประกนั ชีวติ ในเดือนกรกฎาคม 2560 จานวน 90,000 บาท และ • ตอ้ งจ่ายดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ฯ ท่ีจะตอ้ งจ่ายท้งั ปี จานวน 130,000 บาท• ผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งคานวณหกั ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายและนาส่งแต่ละเดือน ดงั น้ี

ตวั อยา่ ง 1• ผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งคานวณหกั ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายและนาส่งแต่ละเดือน ดงั น้ีวธิ ีคำนวณ• เงินเดือนเสมือนหน่ึงวา่ ไดจ้ ่ายท้งั ปี = 70,000 x 12 = 840,000 บาท• หัก คา่ ใชจ้ ่าย (50 % ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท• คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั ค่าใชจ้ ่าย = 740,000 บาท

ตวั อยา่ ง 1วธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่าย = 740,000 บาท บาท• หกั คา่ ลดหยอ่ นส่วนตวั 60,000 บาท บาท• ค่าลดหยอ่ นคู่สมรส 60,000 บาท บาท = 370,000 บาท• ค่าลดหยอ่ นบุตร 2 คน 60,000 = 370,000 บาท• ค่าลดหยอ่ นเบ้ียประกนั ชีวิต 90,000• คา่ ลดหยอ่ นดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ฯ 100,000• คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ

ตวั อยา่ ง 1วธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ = 370,000 บาท• ภาษีเงินไดท้ ้งั ปี ((300,000 - 150,000) X 5%) + (70,000 X10%) = 14,500 บาท• ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 14,500 ÷ 12 = 1,208.33 บาท• เหลือเศษ = 0.003 บาทใหร้ วมกบั เงินภาษีท่ีจะตอ้ งหกั ไวค้ ร้ังสุดทา้ ยในเดือนธนั วาคม1,208.33 + (0.003 x 12) = 1,208.37 บาท

ตวั อยา่ ง 1สรุป• ผจู้ ่ายเงินไดจ้ ะตอ้ งหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายของ นาย ก. ในกรณีน้ี ดงั น้ี• เดือนมกราคม ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 1,208.33 บาท• เดือนธนั วาคม = 1,208.37 บาท

ตวั อยา่ ง 2 เงินเดือนข้ึนระหวา่ งปี ภาษี• จากตวั อยา่ งท่ี 1 ถา้ นาย ก. ไดร้ ับเงินเดือนต้งั แต่เดือนตุลาคม 2560 เป็นเดือนละ 100,000 บาท• ผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งคานวณหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่าย ดงั น้ีวธิ ีคำนวณ• เงินเดือนเสมือนหน่ึงวา่ ไดจ้ ่ายท้งั ปี = 100,000 x 12 = 1,200,000 บาท• หัก ค่าใชจ้ ่าย (50 % ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท• คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่าย = 1,100,000 บาท

ตวั อยา่ ง 2 เงินเดือนข้ึนระหวา่ งปี ภาษีวธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั ค่าใชจ้ ่าย = 1,100,000 บาท บาท• หกั คา่ ลดหยอ่ นส่วนตวั 60,000 บาท บาท• คา่ ลดหยอ่ นคู่สมรส 60,000 บาท บาท = 370,000 บาท• คา่ ลดหยอ่ นบุตร 2 คน 60,000 = 730,000 บาท• ค่าลดหยอ่ นเบ้ียประกนั ชีวติ 90,000• ค่าลดหยอ่ นดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ฯ 100,000• คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ

ตวั อยา่ ง 2 เงินเดือนข้ึนระหวา่ งปี ภาษีวธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ = 730,000 บาท• ภาษีเงินไดท้ ้งั ปี ((300,000 - 150,000) X 5%) + (200,000 X10%) + (230,000 X15%) = 62,000 บาท• ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายต้งั แต่เดือน ต.ค. – พ.ย. 62,000 ÷ 12 = 5,166.66 บาท

ตวั อยา่ ง 2 เงินเดือนข้ึนระหวา่ งปี ภาษีวธิ ีคำนวณ (ต่อ)สาหรับในเดือนธนั วาคม ใหป้ รับปรุงการหกั ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ดงั น้ี :• ภาษีท่ีตอ้ งเสียท้งั ปี จากเงินไดท้ ี่ไดร้ ับจริง [(70,000 X 9) + (100,000 X 3)] – 100,000 – 370,000 = 460,000  ((300,000 - 150,000) X 5%) + (160,000 X10%) = 23,500 บาท• ภาษีเงินไดท้ ี่ตอ้ งหกั ณ ที่จ่าย และนาส่งไวแ้ ลว้ (ม.ค.-พ.ย.) (1,208.33 X 9) + (5,166.66 X 2) = 21,208.29 บาท• เป็นภาษีท่ีตอ้ งหกั ณ ท่ีจ่าย ในเดือนธนั วาคม = 23,500 - 21,208.29 = 2,291.71 บาท

ตวั อยา่ ง 2 เงินเดือนข้ึนระหวา่ งปี ภาษีสรุป• ผจู้ ่ายเงินไดจ้ ะตอ้ งหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายของ นาย ก. ในกรณีน้ี ดงั น้ี• เดือน ม.ค. – ก.ย. เดือนละ = 1,208.33 บาท• เดือน ต.ค. – พ.ย. เดือนละ = 5,166.66 บาท• เดือนธนั วาคม = 2,291.71 บาท

ตวั อยา่ ง 3 จ่ายโบนสั เพ่ิม• จากตวั อยา่ งที่ 1• ถา้ ในเดือนมีนาคม 2560 นาย ก. ไดร้ ับเงินโบนสั จานวนหน่ึงเป็นเงิน 200,000 บาท• ผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งคานวณหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่าย ดงั น้ีวธิ ีคำนวณ• เงินเดือนเสมือนหน่ึงวา่ ไดจ้ ่ายท้งั ปี = 70,000 x 12 = 840,000 บาท• บวก เงินโบนสั = 200,000 X 1 = 200,000 บาท• รวมเงินไดพ้ งึ ประเมิน = 1,040,000 บาท

ตวั อยา่ ง 3 จ่ายโบนสั เพ่มิวธิ ีคำนวณ (ต่อ)• หัก คา่ ใชจ้ ่าย (50 % ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท• คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่าย = 940,000 บาท• หกั ค่าลดหยอ่ น (60,000 + 60,000 + 60,000 + 90,000 + 100,000) = 370,000 บาท• คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ = 570,000 บาท

ตวั อยา่ ง 3 จ่ายโบนสั เพม่ิ• วธิ ีคำนวณ (ต่อ)• ภาษีเงินได้ทงั้ ปีของเงินเดือนรวมโบนสั ((300,000 - 150,000) X 5%) + (500,000 – 300,000) X10%) +(70,000 X 15%)) = 38,000 บาท• หัก ภาษีเงินได้ทงั้ ปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตวั อยา่ ง 1) = 14,500 บาท• คงเหลือภาษีเงินได้ของโบนสั = 23,500 บาท• บวก ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยเงนิ เดือนของเดือนมีนาคม (ตามตวั อยา่ ง 1) = 1,208.33 บาท• รวม ภาษีท่ีต้องหกั ณ ที่จ่าย เดือนมีนาคม = 24,708.33 บาท

ตวั อยา่ ง 3 จ่ายโบนสั เพ่มิ• สรุป ผจู้ ่ายเงินไดจ้ ะตอ้ งหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายของ นาย ก. ในกรณีน้ี ดงั น้ี• เดือนมกราคม ถึง กมุ ภาพนั ธ์ เดือนละ = 1,208.33 บาท• เดือนมีนาคม = 24,708.33 บาท• เดือนเมษายน ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 1,208.33 บาท• เดือนธนั วาคม = 1,208.37 บาท

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลา• จากตวั อยา่ ง 1 นาย ก. ได้รับเงินเดือนและได้รับเงินคา่ ลว่ งเวลาตามจานวนวนั ที่ทางาน• เดือนมกราคมได้รับคา่ ลว่ งเวลา 13,000 บาท• เดือนกมุ ภาพนั ธ์ได้รับคา่ ลว่ งเวลา 10,400 บาท• ผ้จู ่ายเงินได้ต้องหกั ภาษีเงินได้ ณ ที่จา่ ยดงั นี ้

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ มกรำคม• เงินเดือนเสมือนหนงึ่ วา่ ได้จา่ ยทงั้ ปี = 70,000 X 12 = 840,000 บาท• บวก คา่ ลว่ งเวลาเดือนมกราคม = 13,000 บาท• รวมเงินได้พงึ ประเมิน = 853,000 บาท• หกั คา่ ใช้จา่ ย (50% ไมเ่ กิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท• คงเหลือเงินได้หลงั หกั คา่ ใช้จา่ ย = 753,000 บาท• หัก คา่ ลดหยอ่ น (60,000 + 60,000 + 60,000 + 90,000 + 100,000) = 370,000 บาท• คงเหลอื เงินได้สทุ ธิ = 383,000 บาท

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ มกรำคม (ต่อ)• ภาษีเงินได้ทงั้ ปีของเงินเดือนรวมค่าลว่ งเวลา ((300,000 - 150,000) X 5%) + (83,000 X 10%)) = 15,800 บาท• หกั ภาษีเงินได้ทงั้ ปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตวั อยา่ ง 1) = 14,500 บาท• คงเหลือภาษีเงินได้ของคา่ ลว่ งเวลาเดือนมกราคม = 1,300 บาท• บวก ภาษีเงินได้หกั ณ ท่จี ่ายเงินเดือนของเดือนมกราคม = 1,208.33 บาท• รวมภาษีต้องหกั ณ ทจ่ี า่ ย เดือนมกราคม (1,300 + 1,208.33) = 2,508.33 บาท

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ กุมภำพนั ธ์• เงินเดือนเสมอื นหนง่ึ วา่ ได้จา่ ยทงั้ ปี = 70,000 X 12 = 840,000 บาท 13,000 บาท• บวก คา่ ลว่ งเวลาเดอื นมกราคม = 10,400 บาท• บวก ค่าลว่ งเวลาเดือนกมุ ภาพนั ธ์ = 863,400 บาท 100,000 บาท• รวมเงินได้พงึ ประเมิน = 763,400 บาท• หกั ค่าใช้จา่ ย (50% ไม่เกิน 100,000 บาท) = 370,000 บาท 393,400 บาท• คงเหลือเงินได้หลงั หกั คา่ ใช้จา่ ย =• หกั คา่ ลดหยอ่ น (60,000 + 60,000 + 60,000 + 90,000 + 100,000) =• คงเหลือเงนิ ได้สทุ ธิ =

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ กุมภำพนั ธ์ (ต่อ)• ภาษีเงินได้ทงั้ ปีของเงินเดอื นรวมคา่ ลว่ งเวลา ((300,000 - 150,000) X 5%) + (93,400 X 10%)) = 16,840 บาท• หกั ภาษีเงินได้ทงั้ ปีเฉพาะเงินเดือน (ตามตวั อย่าง 1) = 14,500 บาท• ภาษีเงินได้ของค่าลว่ งเวลา = 2,340 บาท• หกั ภาษีเงินได้ค่าลว่ งเวลาเดือนมกราคม = 1,300 บาท• คงเหลือ ภาษีเงินได้ค่าลว่ งเวลาเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ = 1,040 บาท• ภาษีเงินได้หกั ณ ทจี่ า่ ยเงนิ เดือนของเดือนกมุ ภาพนั ธ์ = 1,208.33 บาท• รวมภาษีต้องหกั ณ ทีจ่ า่ ยเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ (1,040 + 1,208.33) = 2,248.33 บาท

ตวั อยา่ ง 4 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ กุมภำพนั ธ์ (ต่อ)สรุป• ผ้จู า่ ยเงินได้จะต้องหกั ภาษีเงินได้ ณ ทจี่ า่ ยของนาย ก. ในกรณีนี ้ดงั นี ้• เดือนมกราคม = 2,508.33 บาท 2,248.33 บาท• เดือนกมุ ภาพนั ธ์ = 1,208.33 บาท 1,208.37 บาท• เดือนมีนาคม ถงึ พฤศจิกายน เดือนละ =• เดือนธนั วาคม =

ตวั อยา่ ง 5 เขา้ ทางานระหวา่ งปี ปี ภาษี 2560 นาย ก. เป็นโสด เร่ิมเขา้ ทางานในวนั ท่ี 9 เม.ย. 2560 ไดร้ ับเงินเดือน ๆ ละ 50,000บาทผจู้ ่ายเงินได้ ตอ้ งคานวณหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายและนาส่งแต่ละเดือน ดงั น้ีวธิ ีคำนวณ• เงินเดอื นเสมือนหนงึ่ วา่ ได้จ่ายทงั้ ปี = 50,000 x 9 = 450,000 บาท• หกั คา่ ใช้จ่าย (50 % ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท• คงเหลือเงนิ ได้หลงั จากหกั คา่ ใช้จ่าย = 350,000 บาท

ตวั อยา่ ง 5 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดห้ ลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่าย = 350,000 บาท• หกั คา่ ลดหยอ่ นส่วนตวั 60,000 บาท คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ = 290,000 บาท

ตวั อยา่ ง 5 ค่าล่วงเวลาวธิ ีคำนวณ (ต่อ) คงเหลือเงินไดส้ ุทธิ = 290,000 บาท = 7,000 บาท• ภาษีเงินไดท้ ้งั ปี ((290,000 - 150,000) X 5%) = 777.77 บาท = .07 บาท• ภาษีเงินไดห้ กั ณ ที่จ่ายแต่ละเดือน 7,000 ÷ 9• เหลือเศษ (7,000) – (777.77x9)ใหร้ วมกบั เงินภาษีที่จะตอ้ งหกั ไวค้ ร้ังสุดทา้ ยในเดือนธนั วาคม777.77 + 0.07 = 777.84 บาท

ตวั อยา่ ง 5 ค่าล่วงเวลาสรุป• ผจู้ ่ายเงินไดจ้ ะตอ้ งหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายของ นาย ก. ในกรณีน้ี ดงั น้ี• เดือนเมษายน ถึง พฤศจิกายน เดือนละ = 777.77 บาท• เดือนธนั วาคม = 777.84 บาท

การออกหนงั สือรับรองการหกั ภาษี ณ ที่จ่าย หนงั สอื รับรองการหกั ภาษี ณ ที่จา่ ยตามมาตรา 50 ทวิ และประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เก่ียวกบัภาษีเงินได้ (ฉบบั ที่ 62)ฯ - ต้องออกภายในวนั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ - ออกให้พนกั งาน 2 ฉบบั - ภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษก็ได้ (ภาษาอ่ืนต้องมีภาษาไทยกากบั ) - การลงลายมือช่ือ เปียก แห้ง scan คอมพิวเตอร์ - กรณีไมอ่ อกหนงั รับรองการหกั ภาษี ณ ที่จ่าย นายจ้างมีความผิดทางอาญาตามมาตรา 35 - วนั ท่ีจา่ ยเงินกบั วนั ที่ออกหนงั สือรับรองไมต่ รงกนั - นายจ้างออกภาษีหกั ณ ที่จ่ายให้ แต่ไมอ่ อกหนงั สือรับรองการหกั ภาษี ณ ที่จา่ ย - ใครมีอานาจแก้ไขหนงั สือรับรองฯอ. ชุมพร เสนไสย 37

ความรับผดิ กรณีนายจา้ งหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย เงินเดือน ค่าจา้ งไม่ถูกตอ้ ง - หกั ขาด -หกั เกิน - หกั แล้วไมน่ าสง่ หรือนาสง่ ไมค่ รบ - ผลกระทบที่ฝ่ายบญั ชี/ฝ่ายบคุ คลคานวณภาษีหกั ณ ที่จา่ ยผิดพลาด มาตรา 27 การนาสง่ ภาษีหกั ณ ที่จ่ายไมค่ รบถ้วนต้องรับผดิ เสยี เงินเพิ่มในอตั ราร้อยละ 1.5 ตอ่ ปีหรือเศษ ของปี 38

Update กฎหมายท่ีเกี่ยวกบั บคุ คลธรรมดา 39 อ. ชุมพร เสนไสย

การคานวณภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา การคานวณภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาตามมาตรา 48 (1) แห่งประมวลรัษฎากร คานวณโดยหาจานวนเงินได้สทุ ธิแล้วนามาคณู กบั อตั ราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา เงนิ ได้สทุ ธิ = เงนิ ได้พงึ ประเมนิ - คา่ ใช้จ่าย - คา่ ลดหยอ่ นการหกั คา่ ใช้จา่ ยมี 2 วิธีคือ - หกั คา่ ใช้จ่ายเปน้ การเหมาตามท่ีกฎหมายกาหนด - หกั ค่าใช้จา่ ยตามความจาเป็นและสมควร (ค่าใช้จ่ายจริง) เงินได้บางประเภทหกั คา่ ใช้จา่ ยเหมาได้อย่างเดยี ว (เงินได้ประเภทท่ี 1 2 และ 3 บางประเภทไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย (เงินได้ประเภทท่ี 4) บางประเภทยอมให้หกั คา่ ใชจ่ายได้ทงั้ เหมาและตามความจาเป็นและสมควร (ประเภทที่ 5-8)

พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบบั ท่ี 629) พ.ศ.2560 ใชบ้ งั คบั สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมิน ประจาปี พ.ศ.2560 ซ่ึงจะตอ้ งยน่ื รายการในป พ.ศ.2561 เป็นตน้ ไป - เงินได้พงึ ประเมินตำมมำตรำ ๔๐ (๗) แห่งประมวลรัษฎำกร ยอมให้หักค่ำใช้จ่ำย เป็ นกำรเหมำร้อยละ ๖๐ - เงินได้พงึ ประเมนิ ตำมมำตรำ ๔๐ (8) แห่งประมวลรัษฎำกร ยอมให้หักค่ำใช้จ่ำย เป็ นกำรเหมำร้อยละ ดังต่อไปนี้ (หน้ำถดั ไป) เว้นแตผ่ ้มู ีเงินได้จะแสดงหลกั ฐานตอ่ เจ้าพนกั งานประเมินและพิสจู น์ได้วา่ มีคา่ ใช้จ่ายมากกวา่ นนั้ กย็ อมให้หกั คา่ ใช้จ่ายได้ตามความจาเป็นและสมควร ทงั้ นี ้ ให้นามาตรา ๖๕ ทวิ แหง่ ประมวลรัษฎากร และมาตรา ๖๕ ตรี แหง่ ประมวลรัษฎากร มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม แตถ่ ้าตามหลกั ฐานท่ีนามาพิสจู น์นนั้ ปรากฏวา่ มีรายจ่ายท่หี กั ได้ตามกฎหมายน้อยกวา่ อตั ราคา่ ใช้จา่ ยที่กาหนดไว้ข้างต้น ก็ให้ถือวา่ มีคา่ ใช้จา่ ย เพียงเทา่หลกั ฐานที่นามาพสิ จู น์”

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ %(1) การเกบ็ คา่ ต๋งหรือคา่ เกมจากการพนนั การแขง่ ขนั หรือการเล่นต่างๆ 65 (ปี 2560 เป็ นต้นไป)(2) การถ่าย ลา้ ง อดั หรือขยายรูป ภาพยนตร์ รวมท้งั การขายส่วนประกอบ 70(3) การทากิจการคานเรือ อูเ่ รือ หรือซ่อมเรือที่มิใช่ซ่อมเคร่ืองจกั ร เคร่ืองกล 70 60(4) การทารองเทา้ และเคร่ืองหนงั แทห้ รือหนงั เทียม รวมท้งั การขาย 70 60ส่วนประกอบ 60(5) การตดั เยบ็ ถกั ปักเส้ือผา้ หรือสิ่งอื่น ๆ รวมท้งั การขายส่วนประกอบ 60(6) การทา ตกแตง่ หรือซ่อมแซมเคร่ืองเรือน รวมท้งั การขายส่วนประกอบ(7) การทากิจการโรงแรมหรือภตั ตาคาร หรือการปรุงอาหาร หรือเคร่ืองดื่ม 70 60จาหน่าย 70 60 70 60

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ % 60(8) การดดั ตดั แต่งผม หรือตกแตง่ ร่างกาย 70 60 60(9) การทาสบู่ แชมพู หรือเคร่ืองสาอาง 70 60(10) การทาวรรณกรรม 75 60(11) การคา้ เครื่องเงิน ทอง นาก เพชร พลอย หรืออญั มณีอื่น ๆ รวมท้งั 75 60การขายส่วนประกอบ 60(12) การทากิจการสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาลเฉพาะที่ 75มีเตียงรับผปู้ ่ วยไวค้ า้ งคืน รวมท้งั การรักษาพยาบาลและการจาหน่ายยา(13) การโม่หรือยอ่ ยหิน 75(14) การทาป่ าไม้ สวนยาง หรือไมย้ นื ตน้ 80

พรฎ. 629(15) การขนส่งหรือรับจา้ งดว้ ยยานพาหนะ อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ %(16) การทาบลอ็ ก และตรา การรับพิมพ์ หรือเยบ็ สมุด เอกสาร รวมท้งั การ 80 60ขายส่วนประกอบ 80 60(17) การทาเหมืองแร่(18) การทาเครื่องด่ืมตามกฎหมายวา่ ดว้ ยภาษีสรรพสามิต 80 60(19) การทาเคร่ืองกระเบ้ือง เคร่ืองเคลือบ เคร่ืองซีเมนต์ หรือดินเผา 80 60(20) การทาหรือจาหน่ายกระแสไฟฟ้า 80 60(21) การทาน้าแขง็ 80 60(22) การทากาว แป้งเปี ยกหรือสิ่งที่มีลกั ษณะทานองเดียวกนั และการทา 80 60แป้งชนิดตา่ งๆ ที่มิใช่เคร่ืองสาอาง 80 60

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ % 80 60(23) การทาลูกโป่ ง เคร่ืองแกว้ เครื่องพลาสติก หรือเครื่องยางสาเร็จรูป 80 60(24) การซกั รีด หรือยอ้ มสี 80 60(25) การขายของนอกจากที่ระบุไวใ้ นขอ้ อ่ืนซ่ึงผขู้ ายมิไดเ้ ป็ นผผู้ ลิต 80 60(26) รางวลั ที่เจา้ ของมา้ ไดจ้ ากการส่งมา้ เขา้ แข่ง 85 60(27) การรับสินไถท่ รัพยส์ ินท่ีขายฝากหรือการไดก้ รรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินโดยเดด็ ขาดจากการขายฝาก 85 60(28) การรมยาง การทายางแผน่ หรือยางอยา่ งอื่นที่มิใช่ยางสาเร็จรูป 85 60(29) การฟอกหนงั

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ % 85 60(30) การทาน้าตาล หรือน้าเหลืองของน้าตาล 85 60(31) การจบั สัตวน์ ้า 85 60(32) การทากิจการโรงเลื่อย 85 60(33) การกลนั่ หรือหีบน้ามนั 85 60(34) การใหเ้ ช่าซ้ือสังหาริมทรัพยท์ ี่ไม่เขา้ ลกั ษณะตามมาตรา 40 (5)แห่งประมวลรัษฎากร ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิแกไ้ ขเพิม่ เติม 85 60ประมวลรัษฎากร (ฉบบั ที่ 16) พ.ศ. 2502 85 60(35) การทากิจการโรงสีขา้ ว(36) การทาเกษตรกรรมประเภทไมล้ ม้ ลุกและธญั ชาติ

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ % 85 60(37) การอบหรือบ่มใบยาสูบ 85 60(38) การเล้ียงสัตวท์ ุกชนิด รวมท้งั การขายวตั ถุพลอยได้ 85 60(39) การฆ่าสัตวจ์ าหน่าย รวมท้งั การขายวตั ถุพลอยได้ 85 60(40) การทานาเกลือ 85 60(41) การขายเรือกาป่ันหรือเรือท่ีมีระวางต้งั แตห่ กตนั ข้ึนไป เรือกลไฟหรือเรือยนตม์ ีระวางต้งั แตห่ า้ ตนั ข้ึนไป หรือแพ 61 60(42) การขายที่ดินเงินผอ่ นหรือการใหเ้ ช่าซ้ือท่ีดิน

พรฎ. 629 อตั รำเดมิ % อตั รำใหม่ % 60 60(43) การแสดงของนกั แสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยหุ รือโทรทศั น์ นกั ร้องนกั ดนตรี นกั กีฬาอาชีพ หรือนกั แสดงเพื่อความบนั เทิงใดๆ (ก) สาหรับเงินไดส้ ่วนที่ไม่เกิน 300,000 บาท(ข) สาหรับเงินไดส้ ่วนที่เกิน 300,000 บาท 40 40การหกั ค่าใชจ้ ่ายตาม (ก) และ (ข) รวมกนั ตอ้ งไม่เกิน 600,000 บาท”

พระราชกฤษฎีกา ฯ (ฉบบั ที่ 630) พ.ศ.2560 การโอนทรัพยส์ ินของบุคคลธรรมดาไปเป็นบริษทัหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล สิทธิประโยชน์ทางภาษี มาตรา ๓ ในพระราชกฤษฎีกานี ้ “ขาย” หมายความวา่ จาหนา่ ย จ่าย หรือโอนสนิ ค้า โดยมีหรือไมม่ ีประโยชน์หรือคา่ ตอบแทน และให้หมายความรวมถงึ สญั ญาให้เช่าซือ้ สนิ ค้า สญั ญาซือ้ ขายผอ่ นชาระท่ีกรรมสทิ ธิ์ในสนิ ค้ายงั ไมโ่ อน ไปยงั ผ้ซู ือ้เม่ือมกี ารสง่ มอบสนิ ค้าให้แกผ่ ้ซู ือ้ แล้ว และการสง่ สนิ ค้าออกนอกราชอาณาจกั ร “สินค้า” หมายความวา่ ทรัพย์สนิ ที่มีรูปร่างและไมม่ ีรูปร่างที่อาจมีราคาและถือเอาได้ท่ีมีไว้ เพือ่ ขายเทา่ นนั้ “บริการ” หมายความวา่ การกระทาใด ๆ อนั อาจหาประโยชน์อนั มีมลู คา่ ซงึ่ มใิ ช่เป็นการขายสนิ ค้าอ. ชุมพร เสนไสย 49

พระราชกฤษฎีกา ฯ (ฉบบั ท่ี 630) พ.ศ.2560 การโอนทรัพยส์ ินของบุคคลธรรมดาไปเป็นบริษทัหรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล สิทธิประโยชนท์ างภาษี มาตรา ๔ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ตามสว่ น ๒ หมวด ๓ ภาษีมลู ค่าเพม่ิ ตามหมวด ๔ ภาษีธุรกิจเฉพาะตามหมวด ๕ และอากรแสตมป์ ตามหมวด ๖ ในลกั ษณะ ๒ แหง่ ประมวลรัษฎากร ให้แกบ่ คุ คลธรรมดาสาหรับเงินได้ที่ได้รับจากการโอนทรัพย์สนิ การขายสนิ ค้า หรือการกระทาตราสาร อนั เน่ืองมาจากการโอนทรัพย์สนิ ให้แกบ่ ริษัทหรือห้างห้นุ สว่ นนติ บิ คุ คลที่ตงั้ ขนึ ้ ตามกฎหมายไทย โดยได้รับ คา่ ตอบแทนเป็นห้นุ สามญัของบริษัทหรือห้างห้นุ สว่ นนติ ิบคุ คลนนั้ ทงั้ นี ้ เฉพาะการโอนทรัพย์สนิ และการจดทะเบยี นจดั ตงั้ บริษัทหรือห้างห้นุ สว่ นนติ บิ คุ คลที่ได้กระทาตงั้ แตว่ นั ที่ ๑๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ถงึ วนั ท่ี ๓๑ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๐ และให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ีอธิบดีประกาศกาหนด 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook