คู่มือการวิเคราะหภ์ าษีกรณเี งนิ ไดเ้ พราะเหตอุ อกจากงาน ศนู ยว์ ิเคราะห์ขอ้ มูลการเสยี ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา
คาํ นํา ในการคาํ นวณภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดาสําหรบั เงนิ ไดท้ ่นี ายจา้ งจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตอุ อกจากงาน อนั ถือเปน็ เงินไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) น้ัน ผ้มู ีเงินได้สามารถเลือกเสียภาษโี ดยไมน่ ําไปรวมคํานวณภาษกี บั เงนิ ได้ประเภทอื่นได้ตามมาตรา ๔๘ (๕) แห่งประมวลรษั ฎากรแต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ และเง่ือนไข ของประกาศอธิบดกี รมสรรพากร เก่ียวกับภาษีเงินได(้ ฉบับท่ี ๔๕)ฯลงวนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่งึ พบประเด็นทท่ี ําให้การคาํ นวณภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดาแตกต่างกนัหลายประการอนั มผี ลให้จํานวนภาษีคลาดเคลอื่ น และการปฎบิ ตั งิ านไม่เปน็ แนวทางเดียวกัน ศูนยว์ ิเคราะห์ข้อมลู การเสยี ภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา จงึ ได้จดั ทาํ คมู่ ือการวเิ คราะหภ์ าษีกรณีเงินได้เพราะเหตุออกจากงาน พร้อมท้ังแสดงวิธกี ารคํานวณและยกตัวอยา่ งประกอบเพ่อื ให้ง่ายและสะดวกแก่การศึกษา หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่าจะสามารถใช้เป็นคู่มือในการปฏิบตั งิ าน การให้คําแนะนาํแก่ผมู้ ีเงนิ ได้ ตลอดจนการให้คาํ แนะนาํ แก่ผู้จ่ายเงินได้เพื่อปฏิบัติในการคาํ นวณภาษีและการหักภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่ายให้ถูกต้องตอ่ ไป ศนู ยว์ ิเคราะหข์ อ้ มลู การเสียภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา พฤษภาคม ๒๕๕๕
สารบญั หนา้หัวขอ้ ๔ ๕บทนํา ๗ ๙วัตถุประสงค์ ๑๑ข้อกฎหมาย ๑๓ ๑๓-๑๖การคํานวณ ๑๗ ๑๗-๑๘วธิ กี ารคาํ นวณ ๑๘ ๑๙เงนิ ไดเ้ พราะเหตุออกจากงานท่ไี ด้รับยกเว้นภาษี ๑๙ เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๒๑ วธิ กี ารคาํ นวณเงนิ ชดเชยท่ไี ดร้ บั ยกเว้น เงินช่วยเหลอื ผ้ซู ึง่ ออกจากราชการ ๒๓-๒๔ เงนิ บาํ เหน็จดํารงชพี ๒๕-๒๗ เงินหรือผลประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากกองทนุ สํารองเลยี้ งชีพ ๒๘-๓๐ เงนิ หรอื ผลประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากกองทุนบําเหนจ็ บํานาญข้าราชการ ๓๑-๓๓ เงินหรอื ผลประโยชน์ที่ได้รับจากกองทุนสงเคราะห์ ๓๕ประเดน็ ที่ควรศึกษา ๓๖ ๓๗ตวั อยา่ งการคาํ นวณ ๓๘-๓๙ ตวั อยา่ งท่ี ๑ และการกรอกใบแนบ ๔๐ ตวั อย่างที่ ๒ และการกรอกใบแนบ ๔๑ ตัวอยา่ งท่ี ๓ และการกรอกใบแนบ ๔๒ ตัวอยา่ งที่ ๔ และการกรอกใบแนบ ๔๔ขอ้ หารือ กค ๐๘๑๑/๒๙๓ ลงวนั ที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๕ กค ๐๗๐๖/๕๑๕ ลงวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๐ กค ๐๗๐๒/๖๕๗ ลงวนั ท่ี ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ กค ๐๗๐๒/๗๖๐ ลงวันท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๕๓ กค ๐๗๐๒/๑๙๖๘ ลงวนั ท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓ กค ๐๗๐๒/๖๔๖๘ ลงวนั ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ กค ๐๗๐๒/๑๐๑๙๕ ลงวนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๕๓ภาคผนวก ๑. ประมวลรษั ฎากร - มาตรา ๔๘ (๕)
๒. พระราชกฤษฎีกา ๔๕ - (ฉบบั ท่ี 470) พ.ศ. 2551 ๔๖-๕๐ - เงินชว่ ยเหลอื ผซู้ งึ่ ออกจากราชการตามมาตรการ ปรบั ปรงุ อตั รากาํ ลงั ของส่วนราชการ 2551 ๕๑ ๕๒-๕๓๓. กฎกระทรวง ๕๔ - กาํ หนดอัตราและวธิ ีการรับบาํ เหนจ็ ดาํ รงชพี (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ - ฉบบั ท่ี ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ขอ้ ๒ (๓๖) (๔๔) (๕๑) (๕๗) (๗๓) (๗๙) ๕๕-๕๗ - ฉบับที่ ๒๗๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒) ๕๘ ๕๙-๖๑๔. ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เก่ยี วกับภาษเี งนิ ได้ ๖๒-๖๓ - (ฉบบั ท่ี ๔๕) - (ฉบบั ที่ ๙๙) - (ฉบบั ที่ ๑๘๘) - (ฉบบั ที่ ๑๘๙)
๔ บทนํา จากการทข่ี า้ ราชการหนว่ ยงานของรฐั พนักงานของรัฐวิสาหกิจ ธนาคาร บรษิ ัทเอกชน หรอืองค์การบรหิ ารส่วนทอ้ งถิน่ มีเหตอุ อกจากงานจะดว้ ยความสมคั รใจตามโครงการเกษยี ณอายุก่อนกาํ หนดเกษียณอายุ หรือการสิ้นสุดสัญญาจ้าง หรือการออกจากงานโดยไม่สมัครใจจากการปรับปรุงโครงสรา้ งองค์กร การลดจํานวนพนักงานฯ ทาํ ให้ข้าราชการ พนักงานไดร้ ับเงนิ ได้ทจี่ า่ ยจากนายจา้ งแตกตา่ งกันไป แลว้ แต่กรณี อาทิ ๑. เงนิ ช่วยเหลือผซู้ ึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ อตั รากําลงั ของส่วนราชการ ๒. เงนิ ทจ่ี า่ ยจากกองทนุ บําเหนจ็ บํานาญข้าราชการ (กบข.) ๓. เงินทจี่ ่ายจากกองทุนสาํ รองเล้ยี งชีพ ๔. เงินช่วยเหลือตามระเบียบของธนาคาร ๕. เงินบาํ เหน็จชราภาพจากกองทนุ ประกันสงั คม ๖. เงนิ ประโยชน์ทดแทนทผ่ี ปู้ ระกนั ตนได้รบั จากกองทุนประกนั สงั คม ตามกฎหมายว่าด้วยการประกนั สงั คม ๗. เงนิ บําเหน็จดํารงชีพ ๘. เงินคา่ ชดเชยที่คาํ นวณตามพระราชบัญญัตคิ ้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ๙. เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๑๐. สนิ จ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า ๑๑. คา่ จ้างสําหรบั วนั หยุดพกั ผ่อนประจําปีทีไ่ ม่ไดใ้ ช้ ๑๒. เงนิ ค่าตอบแทนพเิ ศษ เงินทไ่ี ด้รับดงั กลา่ วถอื เป็นเงินได้พึงประเมนิ ตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) แห่งประมวลรษั ฎากรทนี่ ายจา้ งจา่ ยใหเ้ พราะเหตุออกจากงาน ในบางกรณีมีการจ่ายเงนิ จากผู้จา่ ยรายเดียวกันหลายครั้ง มีการแบ่งจา่ ยจากเงินประเภทเดียวกนั หรือหลายประเภท บางกรณีมกี ารจา่ ยเงนิ จากผจู้ ่ายหลายราย ซึ่งในการย่นื แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดากฎหมายให้สิทธผิ ู้มีเงินได้สามารถเลือกเสียภาษโี ดยไมน่ าํเงินไดเ้ พราะเหตุออกจากงานไปรวมคํานวณภาษีกบั เงินได้อ่ืนๆ ตามมาตรา ๔๘ (๕) แห่งประมวลรษั ฎากรเพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษี แต่ต้องเขา้ หลกั เกณฑ์ และเงือ่ นไขทก่ี รมสรรพากรกําหนด ทาํ ให้การคาํ นวณภาษีมปี ระเด็นท่ตี ้องศึกษาและทาํ ความเขา้ ใจ ศูนย์วเิ คราะห์ข้อมูลการเสยี ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๕วัตถปุ ระสงค์ การจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) ซ่ึงนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ผู้มีเงินไดส้ ามารถเลือกเสียภาษโี ดยไมน่ ําไปรวมคํานวณภาษกี ับเงินไดป้ ระเภทอ่ืนได้ ตามมาตรา ๔๘ (๕) แห่งประมวลรัษฎากร แตต่ ้องเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ และเงอื่ นไข ข้อ ๒ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เก่ียวกบั ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ ๔๕)ฯ ลงวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๓๕ซึ่งผู้มีเงินได้และเจ้าหน้าท่ีบางรายยังมีความเข้าใจไม่ตรงกับแนวทางปฏิบัติของกรมสรรพากรเกี่ยวกับเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานทผ่ี มู้ เี งนิ ได้ไดร้ บั เพราะเหตุเกษยี ณอายุ เกษียณอายุก่อนกําหนดเวลา หรือส้ินสดุ สัญญาจา้ ง และการยกเวน้ เงนิ ได้เพราะเหตุออกจากงาน เชน่ เงินชว่ ยเหลอื ผอู้ อกจากราชการตามมาตรการปรบั ปรุงอตั รากาํ ลงั ของส่วนราชการ เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน เงนิ บาํ เหนจ็ ดํารงชพีและเงินหรอื ผลประโยชนใ์ ด ๆ ทไี่ ด้รบั จากกองทุนสาํ รองเล้ยี งชีพ กองทนุ บําเหนจ็ บํานาญข้าราชการกองทนุ สงเคราะห์ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรงเรียนเอกชน เปน็ ตน้ เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจอันดี และลดข้อโต้แยง้ ระหว่างผู้มีเงินได้กับเจ้าหน้าที่กรมสรรพากรศูนยว์ เิ คราะห์ข้อมลู การเสยี ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา จึงรวบรวมประเดน็ ตา่ ง ๆ และข้อกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้อง จดั ทําเปน็ คมู่ ือการวิเคราะหภ์ าษี กรณเี งินได้เพราะเหตอุ อกจากงาน พร้อมทัง้ ยกตวั อย่างประกอบและแสดงวิธกี ารคาํ นวณ วิธีการกรอกใบแนบแบบแสดงรายการภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาเพื่อให้ง่ายและสะดวกแก่การศึกษา และนาํ ไปปฏิบัติได้ถูกต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกันตามที่กรมสรรพากรกาํ หนดไว้ ทัง้ ผ้มู เี งนิ ได้ เจา้ หนา้ ทผี่ ู้ปฏิบัติงาน และผู้จ่ายเงินได้ ศูนยว์ เิ คราะหข์ ้อมูลการเสียภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
ขอ้ กฎหมาย
๗ ขอ้ กฎหมาย กฎหมายทเี่ ก่ียวกับเงนิ ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ครงั้ เดยี วเพราะเหตุออกจากงาน การเลอื กเสียภาษีโดยไมน่ ําเงนิ ได้พงึ ประเมนิ ท่นี ายจ้างจ่ายให้ครง้ั เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ไปรวมคํานวณภาษกี ับเงนิ ได้อื่น และการกรอกรายการในใบแนบแบบแสดงรายการภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา ผ้มู ีเงนิ ได้จะเลอื กเสียภาษีแยกตา่ งหากจากเงินได้อ่ืนตามมาตรา ๔๘ (๕) แหง่ ประมวลรษั ฎากรได้ต้องมีเง่อื นไขดงั น้ี (ตามหลกั เกณฑ์ข้อ ๒ (ก) ของประกาศอธิบดกี รมสรรพากร เกยี่ วกบั ภาษีเงนิ ได้(ฉบบั ท่ี ๔๕) ลงวนั ที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕) (๑) ต้องมีระยะเวลาการทาํ งานไม่น้อยกว่า ๕ ปเี ต็ม (๒) เฉพาะเงินได้ทีม่ กี ารจ่ายในปภี าษีแรกเท่านั้น (๓) เฉพาะกรณีท่ีผู้มีเงินได้ไม่นาํ เงนิ ไดด้ ังกลา่ วไปรวมคํานวณภาษตี ามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒)แหง่ ประมวลรษั ฎากรไมว่ า่ ทั้งหมดหรือบางส่วน เงนิ ไดพ้ ึงประเมนิ ท่ีนายจ้างจ่ายให้คร้ังเดยี วเพราะเหตุออกจากงาน หมายถึงเงินได้ ดังนี้ (ก) เงนิ ได้ที่คํานวณตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการเชน่ เดยี วกบั วิธกี ารคาํ นวณบําเหน็จตามกฎหมายวา่ ด้วยบาํ เหน็จบาํ นาญขา้ ราชการ (ข) เงินท่จี ่ายจากกองทุนสาํ รองเล้ียงชีพ หรอื กองทนุ ตามกฎหมายวา่ ด้วยบาํ เหนจ็ บาํ นาญขา้ ราชการ (ค) เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน (ง) เงินได้พงึ ประเมินทีจ่ า่ ยให้คร้ังเดียวเพราะเหตุออกจากงานท่ีมวี ิธกี ารคํานวณแตกตา่ งไปจากวธิ กี ารตาม (ก) ศูนย์วเิ คราะหข์ อ้ มูลการเสียภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา
การคํานวณ
๙ การคํานวณ การคํานวณจาํ นวนเงินไดท้ ีจ่ ะนํามาเปน็ ฐานเพอื่ คํานวณหาค่าใช้จ่าย (๑) กรณีไดร้ บั เงินตาม (ก) และหรือ (ข) และหรอื (ค) ใหน้ ําเงินไดฯ้ ที่ได้รับดงั กล่าวมาเป็นฐานเพ่ือคาํ นวณหาค่าใชจ้ า่ ยได้ทง้ั จาํ นวน (๒) กรณีได้รับเงินตาม (ง) ให้นํามาเปรยี บเทยี บกับผลลพั ธต์ าม ๒.๑ และ ๒.๒ ให้นาํ ตัวท่ีนอ้ ยกว่ามาเป็นฐานเพื่อคํานวณหาคา่ ใช้จ่าย ๒.๑ *เงินเดือนเดอื นสุดทา้ ย คณู **จาํ นวนปที ท่ี าํ งาน ๒.๒ เงนิ เดอื นถวั เฉล่ีย ๑๒ เดอื นสดุ ท้ายบวกรอ้ ยละ ๑๐ คูณ **จํานวนปีทท่ี ํางาน กรณีเงนิ เดือน ๑๒ เดือนสุดท้ายเท่ากนั ทุกเดือน ให้นาํ เงนิ ไดต้ าม (ง) มาเปรยี บเทยี บกับผลลพั ธต์ าม ๒.๑ แล้วนาํ ตัวทนี่ ้อยกวา่ มาเป็นฐานเพื่อคาํ นวณหาค่าใชจ้ ่าย กรณีเงนิ เดอื น ๑๒ เดอื นสุดทา้ ยไมเ่ ทา่ กันทุกเดือน ต้องนาํ เงินไดต้ าม (ง) มาเปรียบเทียบกับผลลัพธ์ตาม ๒.๑ และ ๒.๒ แลว้ นําตัวทีน่ ้อยสุดมาเปน็ ฐานเพอ่ื คาํ นวณหาค่าใชจ้ ่าย (๓) กรณไี ด้รับเงินตาม (ก) (ข) (ค) แล้วยงั ได้รับเงินตาม (ง) อกี ใหน้ ําเงนิ ไดต้ าม (ก) (ข) (ค)มาเป็นฐานไดท้ ้ังจาํ นวน แตเ่ ฉพาะเงินได้ตาม (ง) ใหน้ ํามาเปรยี บเทยี บตาม (๒) โดยนําตวั ที่น้อยสุดมารวมกบั เงนิ ไดต้ าม (ก) (ข) (ค) มาเป็นฐานเพ่ือคํานวณหาค่าใชจ้ ่าย *เงินเดือนเดือนสุดท้าย หมายความถึง จํานวนเงนิ เดือนสาํ หรับระยะเวลาเตม็ เดือนเดอื นสดุ ท้าย **จาํ นวนปีทที่ าํ งาน กรณเี ศษของปีถงึ ๑๘๓ วัน ใหน้ บั เป็น ๑ ปี ถ้าไมถ่ ึงให้ปัดท้งิ ศนู ยว์ เิ คราะหข์ ้อมูลการเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
วธิ กี ารคาํ นวณ
๑๑ วธิ กี ารคํานวณ๑. เงนิ ทีน่ ายจ้างจ่ายใหค้ รงั้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน = XXXX บาท …… ก (ในใบแนบ)๒. หัก คา่ ใช้จ่ายคา่ ใช้จ่ายส่วนแรก (*๗,๐๐๐ X จาํ นวนปีทท่ี าํ งาน) = XXXX บาทคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นท่ีสอง (ฐาน – ค่าใช้จ่ายส่วนแรก) X ๕๐% = XXXX บาทรวมค่าใช้จ่าย = XXXX บาท …… ข (ในใบแนบ)๓. เงนิ ได้หลงั หักค่าใช้จ่าย (๑. – ๒.) = XXXX บาท ..……ค (ในใบแนบ)๔. นาํ เงนิ ไดต้ าม ๓. **คํานวณภาษีตามอตั ราภาษเี งนิ ได้เป็นภาษที ตี่ ้องเสีย = XXXX บาท *กรณีเงนิ ได้ที่ได้รับจา่ ยในลักษณะเงินบําเหนจ็ สว่ นหนึ่งและเงินบาํ นาญอกี ส่วนหนง่ึ คา่ ใช้จ่ายสว่ นแรกใหล้ ดลง เหลือ ๓,๕๐๐ X จาํ นวนปีที่ทาํ งาน **การคาํ นวณภาษีกรณีนีไ้ มไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีสาํ หรับเงินไดส้ ุทธสิ ว่ นท่ีไม่เกิน ๑๕๐,๐๐๐ บาทแรก(ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รษั ฎากร (ฉบบั ที่ 470) พ.ศ. 2551) ศนู ย์วเิ คราะห์ขอ้ มูลการเสียภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
เงนิ ได้ท่ไี ด้รบั ยกเว้นภาษี
๑๓เงินไดท้ ีไ่ ด้รบั ยกเวน้ ภาษีเงินได้เพราะเหตอุ อกจากงานทีไ่ ดร้ ับยกเว้นภาษี๑. เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน คา่ ชดเชยท่ลี กู จ้างได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและค่าชดเชยทีพ่ นักงานได้รับตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพนักงานรฐั วิสาหกิจสัมพนั ธ์ แตไ่ ม่รวมถึงค่าชดเชยท่ลี กู จา้ งหรือพนักงานไดร้ ับเพราะเหตุเกษียณอายุหรือส้นิ สดุ สัญญาจ้าง ท้งั นเี้ ฉพาะคา่ ชดเชยสว่ นทีไ่ มเ่ กนิ ค่าจา้ งหรือเงินเดือนค่าจา้ งของการทํางานสามรอ้ ยวนั สดุ ท้ายแต่ไม่เกินสามแสนบาท ตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร ข้อ ๒ (๕๑)วิธีการคํานวณเงินชดเชยทไี่ ด้รบั ยกเวน้การคาํ นวณเงินชดเชยท่ีไดร้ ับยกเว้นกรณีทหี่ นึ่ง ออกจากงาน วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๕ ได้รบั เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยได้รับเงนิ เดือน ๑๒ เดือน สดุ ทา้ ยก่อนออกจากงานเทา่ กนั ทุกเดือน ๆ ละ ๒๕,๐๐๐ บาทวธิ ีการคาํ นวณ ค่าชดเชยสว่ นทไี่ ม่เกินคา่ จา้ งหรือเงินเดอื นคา่ จา้ งของการทํางานสามร้อยวนั สดุ ท้ายแตไ่ มเ่ กินสามแสนบาท ดงั นี้ให้นับย้อนจากวันท่อี อกจากงาน วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ธันวาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงนิ ทไ่ี ด้รับ ๒๕,๐๐๐ บาทพฤศจกิ ายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงินทไ่ี ด้รบั ๒๕,๐๐๐ บาทตุลาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงินทีไ่ ด้รบั ๒๕,๐๐๐ บาทกนั ยายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงินท่ีได้รบั ๒๕,๐๐๐ บาทสงิ หาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงนิ ทไี่ ดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทกรกฎาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงนิ ท่ไี ดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทมถิ ุนายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงินทไี่ ดร้ บั ๒๕,๐๐๐ บาทพฤษภาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินทีไ่ ดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทเมษายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงนิ ที่ไดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทมีนาคม ๕๔ ใชไ้ ด้ ๒๕ วนั (๒๕,๐๐๐X๒๕/๓๑) ๒๐,๑๖๑.๒๙ บาทรวม ๓๐๐ วันสุดท้ายเป็นเงิน ๒๔๕,๑๖๑.๒๙ บาท นาํ ไปเปรยี บเทยี บกบั ๓๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งน้อยกวา่ ดงั น้นั จงึ ไดร้ บั ยกเวน้ ไม่เกิน ๒๔๕,๑๖๑.๒๙ บาทแต่เนอ่ื งจากเงนิ ชดเชยไดร้ ับจรงิ เพียง ๒๐๐,๐๐๐ บาท เทา่ กบั ได้รบั ยกเวน้ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ศนู ยว์ เิ คราะห์ข้อมูลการเสียภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๑๔การคํานวณเงนิ ชดเชยทไ่ี ด้รบั ยกเวน้กรณที ส่ี อง ออกจากงาน วันท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๕ ไดร้ บั เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๒๗๐,๐๐๐ บาท โดยไดร้ บั เงินเดือน ๑๒ เดอื น สดุ ท้ายก่อนออกจากงานเทา่ กันทุกเดือน ๆ ละ ๒๕,๐๐๐ บาทวธิ กี ารคํานวณ ค่าชดเชยส่วนที่ไมเ่ กินคา่ จา้ งหรอื เงินเดือนคา่ จา้ งของการทาํ งานสามรอ้ ยวนั สดุ ท้ายแต่ไมเ่ กินสามแสนบาท ดังน้ีใหน้ บั ย้อนจากวันท่อี อกจากงาน วนั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๕ธันวาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงนิ ที่ไดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทพฤศจิกายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงินท่ีได้รบั ๒๕,๐๐๐ บาทตลุ าคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงนิ ทไ่ี ดร้ บั ๒๕,๐๐๐ บาทกนั ยายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงินท่ไี ดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทสงิ หาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงินทไ่ี ดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทกรกฎาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงินท่ีไดร้ บั ๒๕,๐๐๐ บาทมิถุนายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงินท่ีไดร้ ับ ๒๕,๐๐๐ บาทพฤษภาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินท่ีได้รบั ๒๕,๐๐๐ บาทเมษายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงินทไ่ี ดร้ บั ๒๕,๐๐๐ บาทมีนาคม ๕๔ ใช้ได้ ๒๕ วัน (๒๕,๐๐๐X๒๕/๓๑) ๒๐,๑๖๑.๒๙ บาทรวม ๓๐๐ วันสดุ ทา้ ยเปน็ เงนิ ๒๔๕,๑๖๑.๒๙ บาท นาํ ไปเปรียบเทยี บกบั ๓๐๐,๐๐๐ บาท ซึง่ นอ้ ยกวา่ ดงั นัน้ ได้รับยกเวน้ ไมเ่ กิน ๒๔๕,๑๖๑.๒๙ บาทแต่เนอื่ งจากเงนิ ชดเชยได้รับจริง ๒๗๐,๐๐๐ บาท จึงต้องนําสว่ นท่เี กินจาก ๒๔๕,๑๖๑.๒๙ บาท จํานวน๒๔,๘๓๘.๗๑ บาท (๒๗๐,๐๐๐ - ๒๔๕,๑๖๑.๒๙) ไปคาํ นวณเพ่ือเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อไป ศูนย์วิเคราะหข์ ้อมลู การเสยี ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา
๑๕การคํานวณเงินชดเชยท่ไี ดร้ ับยกเวน้กรณีท่ีสาม ออกจากงาน วันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ไดร้ บั เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๒๕๐,๐๐๐ บาท โดยไดร้ ับเงินเดอื น ๑๒ เดอื น สดุ ทา้ ยกอ่ นออกจากงาน ดังนี้ ธ.ค. ๕๓ - ก.ย. ๕๔ เดอื นละ ๓๐,๐๐๐ บาท ต.ค. ๕๔ - พ.ย. ๕๔ เดอื นละ ๓๕,๐๐๐ บาทวิธีการคาํ นวณ ค่าชดเชยส่วนทีไ่ ม่เกนิ ค่าจา้ งหรือเงนิ เดือนค่าจา้ งของการทาํ งานสามร้อยวันสุดท้ายแต่ไมเ่ กินสามแสนบาท ดงั น้ีใหน้ ับย้อนจากวันทอี่ อกจากงาน วนั ท่ี ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕พฤศจิกายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงนิ ทไ่ี ดร้ ับ ๓๕,๐๐๐ บาทตุลาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินทไ่ี ดร้ ับ ๓๕,๐๐๐ บาทกนั ยายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงนิ ทไี่ ด้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทสงิ หาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงนิ ทไ่ี ด้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทกรกฎาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินท่ีไดร้ บั ๓๐,๐๐๐ บาทมถิ ุนายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงินท่ีไดร้ ับ ๓๐,๐๐๐ บาทพฤษภาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงนิ ที่ไดร้ บั ๓๐,๐๐๐ บาทเมษายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงินที่ได้รบั ๓๐,๐๐๐ บาทมนี าคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงนิ ที่ได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทกุมภาพันธ์ ๕๔ ใชไ้ ด้ ๒๕ วัน (๓๐,๐๐๐X๒๕/๒๘) ๒๖,๗๘๕.๗๑ บาท รวม ๓๐๐ วันสุดท้ายเปน็ เงิน ๓๐๖,๗๘๕.๗๑ บาท นําไปเปรียบเทยี บ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ซง่ึ มากกว่า ดังนั้นได้รบั ยกเว้นไมเ่ กนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาทแตเ่ น่ืองจากเงินชดเชยไดร้ บั จรงิ เพยี ง ๒๕๐,๐๐๐ บาท จึงเทา่ กบั ไดร้ ับยกเวน้ ๒๕๐,๐๐๐ บาท ศูนย์วิเคราะห์ขอ้ มูลการเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
๑๖การคํานวณเงนิ ชดเชยที่ไดร้ บั ยกเวน้กรณที ีส่ ่ี ออกจากงาน วนั ท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ได้รบั เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๓๕๐,๐๐๐ บาท โดยได้รบั เงินเดอื น ๑๒ เดอื น สดุ ท้ายก่อนออกจากงาน ดงั นี้ ธ.ค. ๕๓ - ก.ย. ๕๔ เดือนละ ๓๐,๐๐๐ บาท ต.ค. ๕๔ - พ.ย. ๕๔ เดือนละ ๓๕,๐๐๐ บาทวธิ กี ารคาํ นวณ คา่ ชดเชยสว่ นทไี่ ม่เกินค่าจา้ งหรือเงนิ เดือนค่าจ้างของการทาํ งานสามร้อยวนั สดุ ท้ายแต่ไมเ่ กินสามแสนบาท ดงั น้ีให้นบั ย้อนจากวันทอ่ี อกจากงาน วนั ที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๕พฤศจิกายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงนิ ทีไ่ ด้รบั ๓๕,๐๐๐ บาทตุลาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินท่ไี ดร้ บั ๓๕,๐๐๐ บาทกันยายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงนิ ท่ีได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทสงิ หาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงนิ ทไี่ ด้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทกรกฎาคม ๕๔ มี ๓๑ วัน เงินที่ได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทมิถนุ ายน ๕๔ มี ๓๐ วนั เงนิ ทไ่ี ด้รบั ๓๐,๐๐๐ บาทพฤษภาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินท่ีไดร้ บั ๓๐,๐๐๐ บาทเมษายน ๕๔ มี ๓๐ วัน เงนิ ที่ได้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทมีนาคม ๕๔ มี ๓๑ วนั เงินทีไ่ ด้รับ ๓๐,๐๐๐ บาทกมุ ภาพนั ธ์ ๕๔ ใชไ้ ด้ ๒๕ วัน (๓๐,๐๐๐X๒๕/๒๘) ๒๖,๗๘๕.๗๑ บาทรวม ๓๐๐ วนั สุดทา้ ยเป็นเงนิ ๓๐๖,๗๘๕.๗๑ บาท นําไปเปรียบเทียบ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ซ่งึ มากกว่า ดงั นั้นได้รบั ยกเวน้ ไม่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาทแต่เนอื่ งจากเงินชดเชยได้รบั จริง ๓๕๐,๐๐๐ บาท จึงตอ้ งนาํ ส่วนที่เกินจาก ๓๐๐,๐๐๐ บาท จาํ นวน๕๐,๐๐๐ บาท (๓๕๐,๐๐๐ - ๓๐๐,๐๐๐) ไปคาํ นวณเพ่ือเสยี ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาตอ่ ไป ศูนย์วเิ คราะหข์ อ้ มลู การเสียภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๑๗๒. เงนิ ช่วยเหลือผู้ซ่งึ ออกจากราชการ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๗๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒ ) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รัษฎากร กําหนดใหเ้ งินไดต้ ่อไปนี้ไมต่ ้องรวมคาํ นวณเพื่อเสยี ภาษีเงนิ ได้ใหใ้ ชบ้ งั คบั สาํ หรบั เงนิ ได้พึงประเมนิ ประจาํ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๕ (๑) เงินชว่ ยเหลือผซู้ ง่ึ ออกจากราชการตามมาตรการปรบั ปรุงอัตรากาํ ลังของส่วนราชการตามพระราชกฤษฎีกาเงินช่วยเหลือผู้ซึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากําลังของส่วนราชการพ.ศ. ๒๕๕๑ (๒) เงินหรอื ผลประโยชนใ์ ด ๆ ท่ีสมาชิกกองทนุ บาํ เหน็จบํานาญข้าราชการไดร้ บั จากกองทนุบําเหนจ็ บํานาญขา้ ราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทนุ บําเหน็จบํานาญขา้ ราชการ เมือ่ ออกจากราชการตาม (๑) ข้าราชการผู้ซึ่งออกจากราชการตามมาตรการปรับปรุงอัตรากําลังของส่วนราชการพ.ศ. ๒๕๕๑ ต้องเป็นข้าราชการ ดังต่อไปน้ี จึงได้สิทธิยกเว้นเงนิ ชว่ ยเหลอื ผู้ซ่ึงออกจากราชการ ตามมาตรา ๓ในพระราชกฤษฎีกาเงินช่วยเหลอื ผ้ซู ึง่ ออกจากราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ อัตรากาํ ลงั ของสว่ นราชการพ.ศ. ๒๕๕๑ ซงึ่ ไดก้ ําหนดความหมายไว้ ๑. ข้าราชการพลเรอื นตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บข้าราชการพลเรือน ๒. ขา้ ราชการพลเรือนในสถาบันอดุ มศึกษาตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบียบข้าราชการพลเรอื นในสถาบนั อุดมศกึ ษา ๓. ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๔. ขา้ ราชการธุรการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบียบขา้ ราชการฝ่ายอัยการ ๕. ข้าราชการตํารวจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการตาํ รวจ ๖. ข้าราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการทหาร ๓. เงนิ บาํ เหนจ็ ดาํ รงชีพ ใหไ้ ด้รับยกเว้นเงินได้ในอัตราไมเ่ กนิ ๑๕ เท่า ของบํานาญรายเดอื นท่ีไดร้ ับแต่ไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ดงั นี้ ๓.๑ บาํ เหน็จดํารงชพี ตามกฎหมายวา่ ด้วยบําเหน็จบํานาญขา้ ราชการ และกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญขา้ ราชการ ท้งั น้ี ต้งั แตว่ ันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ตามข้อ ๒ (๖๔) แหง่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ ด้วยการยกเว้นรษั ฎากร(แก้ไขเพ่มิ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒๔๕ ใชบ้ ังคบั ๑๐ มนี าคม ๒๕๔๗ เปน็ ตน้ ไป) รวมทัง้ เงนิ บาํ เหน็จดํารงชีพท่ีข้าราชการ และพนักงานส่วนทอ้ งถิน่ ได้รับตามมาตรา ๔๖/๑ แห่งพระราชบัญญตั บิ ําเหนจ็บาํ นาญข้าราชการสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๐๐ ซงึ่ แก้ไขเพ่ิมเติม โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญตั บิ าํ เหนจ็บํานาญขา้ ราชการสว่ นท้องถิ่น ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามข้อหารอื เลขที่ กค ๐๗๐๒/๖๔๖๕ ลงวนั ที่๒๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ศนู ยว์ ิเคราะห์ข้อมูลการเสียภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
๑๘ ๓.๒ เงนิ ท่มี ลี กั ษณะเดียวกบั บาํ เหนจ็ ดาํ รงชพี ตามกฎหมายว่าด้วยบาํ เหนจ็ บาํ นาญข้าราชการและกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทนุ บําเหน็จบาํ นาญขา้ ราชการ ซึง่ พนักงานการทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย พนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทย และพนกั งานธนาคารออมสนิ ได้รบั โดยมอี ตั ราและวิธีการคํานวณเชน่ เดียวกับบําเหนจ็ ดํารงชีพตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบําเหนจ็ บํานาญข้าราชการและกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบําเหนจ็ บํานาญขา้ ราชการ ท้งั น้ี ตั้งแตว่ ันท่ี ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗) เป็นต้นไป ตามขอ้ ๒ (๗๓) แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ดว้ ยการยกเวน้ รษั ฎากร (แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๒๕๘ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ใชบ้ งั คับ ๑๐ มนี าคม ๒๕๔๗ เปน็ ตน้ ไป) ๓.๓ เงินได้ทีม่ ีลักษณะเดยี วกับบาํ เหนจ็ ดํารงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบาํ นาญขา้ ราชการและกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบําเหน็จบํานาญขา้ ราชการ ซ่ึงเจ้าหน้าทสี่ ภากาชาดไทยได้รับ โดยมีอตั ราและวธิ ีการคาํ นวณเชน่ เดยี วกับบําเหน็จดาํ รงชพี ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบําเหน็จบาํ นาญขา้ ราชการและกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบาํ เหน็จบํานาญขา้ ราชการ ตามขอ้ ๒ (๗๙) แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙)ออกตามความในประมวลรษั ฎากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรษั ฎากร (แกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๖๘(พ.ศ. ๒๕๕๒) ใช้บงั คบั ๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เปน็ ตน้ ไป)๔. เงินหรอื ผลประโยชน์จากกองทนุ ๔.๑ เงนิ หรอื ผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รบั จากกองทุนสาํ รองเล้ยี งชีพตามกฎหมายวา่ ด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ดังต่อไปนี้ (ก) เงนิ หรือผลประโยชนใ์ ด ๆ ที่ได้รบั เนอื่ งจากลกู จ้างออกจากงานเพราะตาย ทุพพลภาพหรือเกษียณอายตุ ามข้อบังคบั ของกองทนุ สาํ รองเล้ียงชพี นนั้ (ข) เงนิ หรือผลประโยชนใ์ ด ๆ ทมี่ ีสทิ ธิได้รบั จากกองทุนสํารองเลยี้ งชพี เน่ืองจากลกู จ้างออกจากงานในกรณอี น่ื นอกจาก (ก) แต่เม่ือออกจากงานแลว้ ไดค้ งเงินหรือผลประโยชนน์ ้นั ไวท้ ้ังจํานวนในกองทุนสาํ รองเลยี้ งชีพ และต่อมาไดร้ บั เงนิ หรือผลประโยชน์หลังจากลูกจ้างผูน้ ้ันตาย ทุพพลภาพ หรอื ครบกาํ หนดเวลาเกษยี ณอายุตามขอ้ บงั คบั ของกองทุนสาํ รองเล้ียงชีพนน้ั ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ์ เงอ่ื นไข และวิธีการทอี่ ธิบดกี รมสรรพากรกําหนด ตามขอ้ ๒ (๓๖) แหง่ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙)ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๗๗(พ.ศ. ๒๕๕๓) ใช้บังคบั สาํ หรบั เงนิ ได้พึงประเมินท่ีได้รบั ตง้ั แต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป)(ดปู ระกาศอธิบดกี รมสรรพากร เกย่ี วกบั ภาษเี งนิ ได้ (ฉบับที่ ๑๘๘)) ศูนย์วเิ คราะหข์ ้อมลู การเสียภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
๑๙ ๔.๒ เงนิ หรือผลประโยชน์ใด ๆ ทไ่ี ดร้ บั จากกองทุนบําเหนจ็ บํานาญขา้ ราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญข้าราชการ ดังต่อไปน้ี (ก) เงนิ หรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไดร้ บั เนอ่ื งจากสมาชกิ กองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญข้าราชการออกจากราชการเพราะตาย เหตุทพุ พลภาพ เหตทุ ดแทน หรือเหตุสงู อายุ (ข) เงนิ หรอื ผลประโยชน์ใด ๆ ที่มีสิทธไิ ด้รับจากกองทนุ บําเหน็จบํานาญข้าราชการเนื่องจากสมาชกิ กองทุนบําเหนจ็ บํานาญขา้ ราชการออกจากราชการในกรณีอน่ื นอกจาก (ก) แตเ่ มอื่ออกจากราชการแลว้ ไดค้ งเงนิ หรือผลประโยชนน์ ัน้ ไวท้ ้งั จาํ นวนในกองทุนบําเหน็จบาํ นาญขา้ ราชการและตอ่ มาไดร้ ับเงนิ หรอื ผลประโยชนห์ ลงั จากสมาชิกผูน้ ้ันตาย ทุพพลภาพ หรืออายุครบหกสิบปบี รบิ รู ณ์ท้ังน้ตี ามหลักเกณฑ์ เง่อื นไข และวธิ กี ารท่ีอธิบดีกรมสรรพากรกาํ หนด ตามขอ้ ๒ (๔๔) แห่งกฎกระทรวงฉบบั ที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร (แก้ไขเพิ่มเตมิโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒๗๗ (พ.ศ. ๒๕๕๓) ใชบ้ ังคับสําหรบั เงินไดพ้ ึงประเมนิ ท่ีไดร้ ับต้งั แต่ วนั ที่ ๑มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เปน็ ตน้ ไป)(ดปู ระกาศอธบิ ดกี รมสรรพากร เกี่ยวกับภาษเี งินได้ (ฉบบั ท่ี ๑๘๙)) ๔.๓ เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ทคี่ รูใหญห่ รือครูโรงเรยี นเอกชนได้รับจากกองทนุ สงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เม่ือครใู หญ่หรือครโู รงเรยี นเอกชนออกจากงานเพราะเหตสุ ูงอายุทุพพลภาพ หรือตาย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดตามข้อ ๒ (๕๗) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓๓ (พ.ศ. ๒๕๔๔) ใช้บงั คบั๑ มกราคม ๒๕๔๓ เปน็ ต้นไป)(ดปู ระกาศอธบิ ดีกรมสรรพากร เก่ียวกบั ภาษเี งินได้ (ฉบบั ท่ี ๙๙)) ศูนยว์ ิเคราะห์ขอ้ มูลการเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
ประเดน็ ที่ควรศกึ ษา
๒๑ ประเดน็ ท่คี วรศึกษา ๑. เงินชดเชยที่ผู้มีเงินได้ได้รับเพราะเหตุเกษียณอายุ หรือส้ินสุดสัญญาจ้างไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามข้อ ๒ (๕๑) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙)ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร และเงินได้ดังกล่าวเข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินท่ีจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงานตามข้อ ๑ (ง) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงนิ ได้ (ฉบับท่ี ๔๕) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ต้องนาํ ไปรวมคํานวณกับเงินได้ที่จ่ายให้คร้ังเดียวท่ีมีวิธีการคํานวณแตกต่างไปจาก ๑. ตาม ก ๕. ในใบแนบแบบ ฯเทียบเคียงกับทางปฏิบัติตามหนังสือกรมสรรพากร ท่ี กค ๐๘๑๑/๒๙๓ ลงวันที่ ๑๒ กมุ ภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๔๕ และ กค ๐๗๐๖/๕๑๕ ลงวนั ที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒. เงินบําเหน็จดํารงชีพซ่ึงพนักงานการท่าเรือแห่งประเทศไทย พนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทย พนักงานธนาคารออมสิน และเจ้าหน้าท่ีสภากาชาดไทย ได้รับยกเว้นเงินได้จาํ นวน๒๐๐,๐๐๐ บาท ไม่ต้องรวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามข้อ ๒ (๗๓) (๗๙) แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากรสาํ หรับเงินบําเหนจ็ ดาํ รงชีพส่วนที่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา ๔๐ (๑)แห่งประมวลรัษฎากร ต้องนาํ มารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และถือเป็นเงินที่นายจ้างจ่ายให้คร้ังเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ตามข้อ ๑ (ง) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีเงินได้ (ฉบับท่ี ๔๕) ลงวันท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ๓. การคํานวณค่าใช้จ่ายกรณีผู้มีเงินได้ที่ได้รับท้ังเงินบาํ นาญและเงินบาํ เหน็จดาํ รงชีพเฉพาะเงินบําเหน็จดาํ รงชีพสาํ หรับส่วนท่ีเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ให้คาํ นวณค่าใช้จ่ายเท่ากับ ๓,๕๐๐ บาทคูณด้วยจาํ นวนปีที่ทาํ งานแต่ไม่เกินเงินได้พึงประเมิน เหลือเท่าใดให้หักค่าใช้จ่ายอีกร้อยละ ๕๐ ของเงินที่เหลือน้ัน สว่ นเงินบํานาญให้นําไปรวมคาํ นวณภาษีตามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) แห่งประมวลรัษฎากรตามหนังสือที่ กค ๐๗๐๒/๘๖๓๖ ลงวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ๔. เงินค่าภาษีจากกองทุนสาํ รองเล้ียงชีพท่ีบริษัทเป็นผู้รับภาระ ถือเป็นเงินได้ประเภทเดียวกับเงินได้ที่ได้รับจากกองกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ให้นาํ ไปรวมคาํ นวณกับเงินท่ีจ่ายจากกองทุนสํารองเล้ียงชีพ ในใบแนบฯ เทียบเคียงกับทางปฏิบัติที่กรมสรรพากรกาํ หนดไว้ ตามบันทึกท่ี กค ๐๗๐๖/๕๗๑๓ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๖ ศนู ย์วิเคราะหข์ อ้ มูลการเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
ตวั อยา่ งการคาํ นวณ
๒๓ ตวั อยา่ งการคาํ นวณตวั อยา่ งที่ ๑ นาย ค. ลาออกจากงานเมือ่ วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ ไดร้ บั เงินที่นายจ้างจ่ายให้ครงั้ เดยี วเพราะเหตุออกจากงาน ตามหลกั เกณฑ์ของนายจ้าง ๑๕๐,๐๐๐ บาท นาย ค ไดร้ บั เงินเดือนตง้ั แต่เดือนมกราคม - มถิ ุนายน ๒๕๕๔ เดือนละ ๑๒,๐๐๐ บาท และเดอื นกรกฎาคมถงึ ธันวาคม ๒๕๕๔ เดอื นละ ๑๕,๐๐๐ บาท ทาํ งานมา ๑๐ ปี นาย ค. เลอื กเสียภาษเี งนิ ไดโ้ ดยไม่นาํ ไปรวมคํานวณกบั เงนิ ได้อย่างอ่นื วธิ กี ารคํานวณ๑. เงินทีน่ ายจ้างจ่าย = ๑๕๐,๐๐๐ บาท๒. เงนิ เดอื นเดอื นสดุ ท้าย = ๑๕,๐๐๐ บาท๓. เงินเดอื นถัวเฉลย่ี ๑๒ เดอื นสดุ ทา้ ย + ๑๐%(๑๒,๐๐๐ x ๖) + (๑๕,๐๐๐ x ๖) + ๑๐% = ๑๔,๘๕๐ บาท๑๒ (๑๓,๕๐๐ + ๑,๓๕๐)๔. เปรยี บเทียบ เงินที่นายจ้างจา่ ย กับ เงนิ เดือนเดอื นสดุ ท้าย X จํานวนปที ท่ี าํ งาน และ เงนิ เดือนถัวเฉลี่ย๑๒ เดอื นสดุ ทา้ ย + ๑๐% X จาํ นวนปที ี่ทาํ งาน = ๑๕๐,๐๐๐ , ๑๕๐,๐๐๐ , ๑๔๘,๕๐๐๕. นําจาํ นวนเงนิ ทนี่ อ้ ยท่สี ดุ ตาม ๔. มาเป็นฐาน = ๑๔๘,๕๐๐ บาทเพื่อคํานวณหาค่าใชจ้ า่ ย๖. คา่ ใช้จ่ายสว่ นแรก (๗,๐๐๐ X ๑๐) = ๗๐,๐๐๐ บาทคา่ ใชจ้ ่ายส่วนท่ีสอง (๑๔๘,๕๐๐ - ๗๐,๐๐๐) X ๕๐% = ๓๙,๒๕๐ บาทรวม คา่ ใชจ้ ่าย (๗๐,๐๐๐ + ๓๙,๒๕๐) = ๑๐๙,๒๕๐ บาท๗. เงินไดห้ ลงั หกั ค่าใชจ้ า่ ย ๑. – ๖. = ๔๐,๗๕๐ บาท๘. นําเงินไดห้ ลงั หกั ค่าใช้จา่ ยตาม ๗. คํานวณภาษตี ามอตั ราภาษเี งินได้ภาษีทตี่ ้องชําระ = ๒,๐๓๗.๕๐ บาทข้อสังเกต เงนิ ท่ีนายจา้ งจา่ ยตามหลกั เกณฑ์ของนายจ้าง เป็นเงนิ ได้พึงประเมินตามข้อ ๑ (ง) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษเี งินได้ (ฉบับที่ ๔๕) ลงวนั ท่ี ๒๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ต้องนาํ ไปกรอกในใบแนบแบบแสดงรายการ ก ๕. เงินไดท้ จี่ า่ ยให้คร้ังเดียวท่ีมีวธิ ีการคํานวณแตกตา่ งไปจาก ๑. ศูนยว์ เิ คราะหข์ อ้ มลู การเสียภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา
ศนู ยว์ เิ คราะห์ขอ้ มลู การเสยี ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา(ศบ.)
๒๕ตัวอยา งท่ี ๒ นาย จ. ทํางาน ๒ แหง คือรบั ราชการและบริษัท ไดลาออกจากราชการ และบรษิ ัทใหอ อกจากงาน เมื่อ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ หนว ยราชการจา ยเงนิ ใหโ ดยคํานวณจา ยตามวิธีการเชนเดยี วกับการคํานวณบําเหน็จตามกฎหมายวาดว ยบําเหน็จบาํ นาญขาราชการ ๒๐๐,๐๐๐ บาท และจายจากกองทนุ สํารองเลี้ยงชีพ ๕๐๐,๐๐๐ บาท เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน ๔๖๖,๑๒๙ บาท และจายเงินอกีจาํ นวนหนึง่ ตามหลกั เกณฑของนายจา ง ๖๐๐,๐๐๐ บาท ในป ๒๕๕๔ นาย จ. ไดร ับเงนิ เดือน ๆ ละ ๒๐,๐๐๐ บาทตดิ ตอกัน กอนออกจากงาน ๓เดือน ไดร บั เงนิ เดือนเพิ่มขน้ึ เปนเดือน ๆ ละ ๓๐,๐๐๐ บาท ทํางานมาเปนเวลา ๑๐ ป นาย จ. เลือกเสียภาษเี งินไดโ ดยไมน ําไปรวมคาํ นวณกบั เงินไดอยา งอื่น วธิ ีคํานวณคาชดเชยทไี่ ดรบั ยกเวน ๓๐๐ วนัธ.ค. ๕๔ ๓๑ วนัพ.ย. ๕๔ ๓๐ วนั ๙๒ วนั เงนิ เดือน ๓๐,๐๐๐ X ๓ = ๙๐,๐๐๐ต.ค. ๕๔ ๓๑ วนัก.ย. ๕๔ ๓๐ วันส.ค. ๕๔ ๓๑ วนัก.ค. ๕๔ ๓๑ วันมิ.ย. ๕๔ ๓๐ วนัพ.ค. ๕๔ ๓๑ วันเม.ย. ๕๔ ๓๐ วัน ๑๘๓ วนั เงนิ เดอื น ๒๐,๐๐๐ X ๖ = ๑๒๐,๐๐๐ บาทมี.ค. ๕๔ ๒๕ วัน ๒๕ วนั เงนิ เดือน ๒๐,๐๐๐ X ๒๕/๓๑ = ๑๖,๑๒๙ บาทรวม ๓๐๐ วัน ไดรบั ยกเวน = ๒๒๖,๑๒๙คงเหลอื คาชดเชยทไ่ี มไดรบั ยกเวน (๔๖๖,๑๒๙ - ๒๒๖,๑๒๙) = ๒๔๐,๐๐๐ บาท บาท วธิ กี ารคาํ นวณ๑. เงินทน่ี ายจางจา ย = ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๑ เงนิ บาํ เหนจ็ บํานาญขาราชการ = ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๒ กองทุนสํารองเล้ียงชีพ = ๒๔๐,๐๐๐ บาท ๑.๓ เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน = ๖๐๐,๐๐๐ บาท ๑.๔ เงนิ ทีจ่ า ยตามหลักเกณฑของนายจา ง = ๑,๕๔๐,๐๐๐ บาท รวม ศนู ยวเิ คราะหขอมูลการเสยี ภาษเี งนิ ไดบคุ คลธรรมดา
๒๖๒. เงินเดอื นเดอื นสดุ ทา้ ย = ๓๐,๐๐๐ บาท๓. เงนิ เดอื นถัวเฉลี่ย ๑๒ เดอื นสดุ ท้าย + ๑๐% = ๒๔,๗๕๐ บาท(๒๐,๐๐๐ x ๙) + (๓๐,๐๐๐ x ๓) + ๑๐% = (๒๒,๕๐๐ + ๒,๒๕๐)๑๒๔. เปรยี บเทียบ เงินที่นายจ้างจา่ ยตามเกณฑน์ ายจ้าง กับ เงินเดอื นเดือนสุดทา้ ย X จาํ นวนปีที่ทาํ งานและเงินเดือนถวั เฉลย่ี ๑๒ เดือนสดุ ทา้ ย + ๑๐% X จาํ นวนปีท่ีทํางาน = ๖๐๐,๐๐๐, ๓๐๐,๐๐๐, ๒๔๗,๕๐๐๕. นําจํานวนเงินท่ีนอ้ ยสุดตาม ๔. มารวมกบั เงนิ ไดต้ าม ๑.๑, ๑.๒, ๑.๓ เพื่อเปน็ ฐานในการคํานวณค่าใช้จา่ ย ๒๐๐,๐๐๐ + ๕๐๐,๐๐๐ + ๒๔๐,๐๐๐ + ๒๔๗,๕๐๐ = ๑,๑๘๗,๕๐๐ บาท๖. ค่าใช้จ่ายส่วนแรก (๗,๐๐๐ X ๑๐) = ๗๐,๐๐๐ บาทคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นทีส่ อง (๑,๑๘๗,๕๐๐ - ๗๐,๐๐๐) X ๕๐% = ๕๕๘,๗๕๐ บาทรวม ค่าใช้จา่ ย (๗๐,๐๐๐ + ๕๕๘,๗๕๐) = ๖๒๘,๗๕๐ บาท๗. เงนิ ไดห้ ลงั หักค่าใชจ้ ่าย ๑. – ๖. = ๙๑๑,๒๕๐ บาท๘. นาํ เงินไดห้ ลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยตาม ๗. คาํ นวณภาษีตามอัตราภาษีเงินได้ภาษที ตี่ อ้ งชําระ = ๑๒๗,๒๕๐ บาทข้อสงั เกต บรษิ ัทให้ออกจากงานและจ่ายเงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงานให้ ๔๖๖,๑๒๙ บาท เงนิ ชดเชยดังกล่าวได้รบั ยกเวน้ เฉพาะคา่ ชดเชยสว่ นท่ีไมเ่ กนิ คา่ จา้ งหรือเงินเดือนค่าจา้ งของการทาํ งานสามร้อยวนั สุดท้ายแตไ่ มเ่ กนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท เงินชดเชยส่วนทเี่ หลอื ๒๔๐,๐๐๐ บาท ตอ้ งนาํ ไปกรอกในใบแนบแบบแสดงรายการ ก ๓. ศนู ย์วิเคราะหข์ ้อมลู การเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
ศนู ยว์ เิ คราะห์ขอ้ มลู การเสยี ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา(ศบ.)
๒๘ตัวอยางท่ี ๓ นาย ส. เปน พนักงานธนาคารเขา โครงการเกษยี ณอายกุ อนเวลา ทํางานมาแลว ๓๐ ปออกจากงานเมื่อ ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ไดร บั เงินเดือนเทากันทุกเดือน ๘๖,๐๐๐ บาท นายจา งจายเงินใหจาํ นวนหนงึ่ เปน เงินบําเหนจ็ ดาํ รงชีพ ๙๘๐,๐๐๐ บาท เงนิ ตอบแทนพิเศษ ๑,๙๕๐,๐๐๐ บาทเงินชดเชย ๘๙๐,๐๐๐ บาท และไดเ งินบํานาญหลังเกษียณอายุ ๖๕,๐๐๐ บาท นาย ส. เลือกเสียภาษีเงนิ ไดโดยไมน าํ ไปรวมคํานวณกบั เงนิ ไดอยางอืน่ วิธกี ารคํานวณ๑. เงนิ ท่ีนายจางจา ย๑.๑ เงนิ บาํ เหน็จดาํ รงชีพ (๙๘๐,๐๐๐ - ๒๐๐,๐๐๐) = ๗๘๐,๐๐๐ บาท๑.๒ เงนิ ตอบแทนพิเศษ = ๑,๙๕๐,๐๐๐ บาท๑.๓ เงนิ ชดเชย = ๘๙๐,๐๐๐ บาท รวม = ๓,๖๒๐,๐๐๐ บาท๒. เงนิ เดอื นเดือนสุดทาย = ๘๖,๐๐๐ บาท๓. เปรียบเทยี บ เงนิ ท่ีนายจา งจายตามเกณฑนายจาง กบั เงินเดอื นเดือนสุดทาย X จํานวนปท ี่ทาํ งาน = ๓,๖๒๐,๐๐๐, ๒,๕๘๐,๐๐๐๔. นําจาํ นวนเงินท่ีนอยตาม ๓.เปนฐานในการคาํ นวณคา ใชจ าย = ๒,๕๘๐,๐๐๐ บาท๕. คาใชจายสว นแรก (๓,๕๐๐ X ๓๐) = ๑๐๕,๐๐๐ บาทคาใชจายสว นทีส่ อง (๒,๕๘๐,๐๐๐ - ๑๐๕,๐๐๐)X ๕๐% = ๑,๒๓๗,๕๐๐ บาทรวม คาใชจาย (๑๐๕,๐๐๐ + ๑,๒๓๗,๕๐๐) = ๑,๓๔๒,๕๐๐ บาท๖. เงนิ ไดห ลังหกั คา ใชจ าย ๑. – ๕. = ๒,๒๗๗,๕๐๐ บาท๗. นาํ เงินไดห ลงั หกั คา ใชจา ยตาม ๖. คาํ นวณภาษีตามอัตราภาษเี งนิ ได ภาษที ตี่ อ งชําระ = ๕๒๘,๒๕๐ บาทขอ สงั เกต ๑. เงินบาํ เหน็จดํารงชีพซ่ึงพนักงานธนาคารไดรับยกเวนเงินไดจํานวน ๒๐๐,๐๐๐ บาทไมตองรวมคํานวณเพ่ือเสียภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ตามขอ ๒ (๗๓) แหง กฎกระทรวงฉบับที่ ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙)ออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร สว นทเี่ กิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ถอื เปน เงินท่ีนายจางจา ยใหครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ตามขอ ๑ (ง) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีเงินได (ฉบับที่ ๔๕) ลงวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ตองนําไปกรอกในใบแนบแบบแสดงรายการ ก ๕. เงินไดที่จายใหคร้ังเดียวท่ีมีวิธีการคาํ นวณแตกตา งไปจาก ๑. ศนู ยวิเคราะหข อมูลการเสยี ภาษีเงนิ ไดบคุ คลธรรมดา
๒๙ ๒. นาย ส. เขา้ โครงการเกษยี ณอายุก่อนเวลา เงนิ ชดเชย ๘๙๐,๐๐๐ บาท ไม่ไดร้ ับยกเวน้คา่ ชดเชยสว่ นทไ่ี มเ่ กนิ คา่ จ้างหรอื เงินเดือนคา่ จา้ งของการทํางานสามรอ้ ยวนั สุดทา้ ยแตไ่ ม่เกนิ ๓๐๐,๐๐๐บาท เข้าลักษณะเป็นเงินได้พึงประเมินท่นี ายจ้างจา่ ยให้คร้ังเดยี วเพราะเหตุออกจากงาน ตาม ๑ (ง) ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ ๔๕) ลงวนั ที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้นําไปรวมกับเงินท่ีนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวท่ีมีวิธีการแตกต่างไปจาก ๑ ในใบแนบฯ ก ๕. เทียบเคียงกับทางปฏิบตั ิท่ีกรมสรรพากรกําหนดไวต้ ามบนั ทึกที่ กค ๐๘๑๑/๒๙๓ ลงวนั ท่ี ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ ๓. การคํานวณคา่ ใช้จา่ ยกรณีผู้มีเงินไดท้ ่ีได้รับท้ังเงนิ บํานาญและเงินบําเหนจ็ ดํารงชพี เฉพาะเงินบําเหน็จดาํ รงชีพสาํ หรับส่วนท่ีเกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ให้คํานวณค่าใช้จ่ายเท่ากับ ๓,๕๐๐ บาท คูณด้วยจาํ นวนปีท่ที ํางานแต่ไม่เกินเงินไดพ้ งึ ประเมนิ ๔. เงนิ บํานาญให้นาํ ไปรวมคาํ นวณภาษตี ามมาตรา ๔๘ (๑) และ (๒) แห่งประมวลรษั ฎากรคือต้องนําไปรวมกับเงนิ ได้อนื่ ในแบบแสดงรายการภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา ภ.ง.ด. ๙๐, ๙๑ ศูนยว์ เิ คราะหข์ ้อมูลการเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
ศนู ยว์ เิ คราะห์ขอ้ มลู การเสยี ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา(ศบ.)
๓๑ตวั อย่างท่ี ๔ นาย A. เป็นพนักงานบรษิ ัทเขา้ โครงการเกษียณอายุก่อนกาํ หนด ทํางานมาแล้ว ๒๐ ปีออกจากงานเมื่อ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ได้รับเงินเดือน ๆ ละ ๔๕,๐๐๐ บาท บรษิ ทั จา่ ยเงินได้เพราะเหตุออกจากงาน เชน่ เงินตอบแทนพิเศษ ๘๐๐,๐๐๐ บาท เงนิ ชดเชย ๔๕๐,๐๐๐ บาทเงนิ ท่จี ่ายจากกองทุนสํารองเล้ียงชพี ๙๖๐,๐๐๐ บาท และบรษิ ทั เปน็ ผู้รบั ภาระจา่ ยคา่ ภาษีจากกองทนุสํารองเลี้ยงชพี ให้ ๓๓,๐๐๐ บาท นาย A. เลอื กเสียภาษีเงินได้โดยไมน่ าํ ไปรวมคํานวณกบั เงนิ ได้อยา่ งอ่นื วิธกี ารคาํ นวณ๑. เงนิ ทน่ี ายจา้ งจา่ ย๑.๑ เงนิ ทจ่ี ่ายจากกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ(๙๖๐,๐๐๐ + ๓๓,๐๐๐) = ๙๙๓,๐๐๐ บาท๑.๒ เงินตอบแทนพิเศษ = ๘๐๐,๐๐๐ บาท๑.๓ เงนิ ชดเชย = ๔๕๐,๐๐๐ บาท รวม = ๒,๒๔๓,๐๐๐ บาท๒. เงนิ เดือนเดอื นสดุ ทา้ ย = ๔๕,๐๐๐ บาท๓. เปรยี บเทียบ เงนิ ตอบแทนพเิ ศษ + เงนิ ชดเชย กบั เงนิ เดือนเดือนสุดทา้ ย X จาํ นวนปที ่ีทาํ งาน = ๑,๒๕๐,๐๐๐, ๙๐๐,๐๐๐๔. นําจาํ นวนเงินท่ีนอ้ ยตาม ๓. มารวมกบั เงนิ ทจ่ี า่ ยจากกองทุนสาํ รองเลยี้ งชีพตาม ๑.๑ เปน็ ฐานในการคาํ นวณค่าใชจ้ า่ ย (๙๐๐,๐๐๐ + ๙๙๓,๐๐๐) = ๑,๘๙๓,๐๐๐ บาท๕. ค่าใช้จ่ายสว่ นแรก (๗,๐๐๐ X ๒๐) = ๑๔๐,๐๐๐ บาทค่าใชจ้ ่ายสว่ นทส่ี อง (๑,๘๙๓,๐๐๐ - ๑๔๐,๐๐๐)X ๕๐% = ๘๗๖,๕๐๐ บาทรวม ค่าใช้จ่าย (๑๔๐,๐๐๐ + ๘๗๖,๕๐๐) = ๑,๐๑๖,๕๐๐ บาท๖. เงนิ ได้หลังหักคา่ ใชจ้ า่ ย ๑. – ๕. = ๑,๒๒๖,๕๐๐ บาท๗. นําเงินได้หลงั หักค่าใช้จ่ายตาม ๖. คาํ นวณภาษีตามอตั ราภาษเี งินได้ ภาษที ตี่ อ้ งชําระ = ๒๑๒,๙๕๐ บาทขอ้ สังเกต ๑. เงินชดเชยทีน่ าย A. ได้รับเนอ่ื งจากเกษียณอายกุ ่อนกําหนด ๔๕๐,๐๐๐ บาท ไมไ่ ดร้ บัยกเวน้ ค่าชดเชยส่วนทไี่ มเ่ กินคา่ จ้างหรือเงนิ เดือนค่าจ้างของการทาํ งานสามร้อยวันสดุ ทา้ ยแต่ไม่เกนิ๓๐๐,๐๐๐ บาท เขา้ ลักษณะเป็นเงนิ ไดพ้ งึ ประเมินที่นายจ้างจ่ายให้คร้ังเดียวเพราะเหตอุ อกจากงาน ตาม ๑ (ง)ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับท่ี ๔๕) ลงวนั ที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ให้นาํ ไปรวมคาํ นวณกบั เงนิ ที่นายจา้ งจา่ ยให้ครั้งเดยี วท่ีมีวธิ กี ารแตกตา่ งไปจาก ๑ ในใบแนบฯ เทียบเคียงกับทางปฏิบัตทิ ีก่ รมสรรพากรกาํ หนดไว้ตามบนั ทึกที่ กค ๐๘๑๑/๒๙๓ ลงวนั ท่ี ๑๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๕ ศูนย์วเิ คราะหข์ ้อมูลการเสียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
๓๒ ๒. เงินค่าภาษีจากกองทุนสาํ รองเลี้ยงชีพที่บริษัทเป็นผู้รับภาระ ถือเป็นเงินได้ประเภทเดยี วกบั เงนิ ได้ที่ได้รับจากกองทนุ สํารองเลี้ยงชพี ใหน้ าํ ไปรวมกับเงินทจ่ี า่ ยจากกองทนุ สาํ รองเลย้ี งชีพกรอกในใบแนบฯ ก ๒. เทียบเคียงกับทางปฏบิ ัติที่กรมสรรพากรกําหนดไวต้ ามบันทึก ที่ กค ๐๗๐๖/๕๗๑๓ลงวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๔๖ ศนู ยว์ เิ คราะห์ขอ้ มลู การเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
ศนู ยว์ เิ คราะห์ขอ้ มลู การเสยี ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา(ศบ.)
ขอ้ หารอื
๓๕เลขท่ีหนงั สือ : กค 0811/293วันท่ี : 12 กุมภาพนั ธ์ 2545เรอ่ื ง : ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินไดท้ ่ีนายจ้างจ่ายให้ครงั้ เดยี ว เพราะเหตุออกจากงานข้อกฎหมาย : ประกาศอธบิ ดกี รมสรรพากร เกยี่ วกับภาษเี งนิ ได้ (ฉบบั ที่ 45)ฯข้อหารือ : การไฟฟา้ จ่ายเงนิ กองทนุ สงเคราะห์ (กองทนุ บาํ เหนจ็ ) เงนิ ชดเชย และเงนิตอบแทนพิเศษ ใหพ้ นกั งานที่เกษยี ณอายหุ รือเกษียณอายกุ ่อนกาํ หนดโดยจ่ายเงนิ ทกุ ประเภทในปีเดียวกนั และได้คํานวณภาษเี งนิ ได้สําหรบั เงนิ ไดท้ น่ี ายจ้างจ่ายใหค้ ร้งั เดียว เพราะเหตุออกจากงานดงั กลา่ วไว้ ดังนี้ 1. เงนิ ตอบแทนพเิ ศษ โดยนํามาเปรยี บเทียบกับเงนิ เดือนเดือนสุดทา้ ยคณู ด้วยจํานวนปีท่ีทาํ งาน ซง่ึ เงินเดอื นเดือนสุดท้ายจะตอ้ งไม่เกินจํานวนเงนิ เดือนถวั เฉล่ีย 12 เดอื นสดุ ทา้ ยกอ่ นออกจากงานบวกรอ้ ยละ 10 ของเงินเดือนถวั เฉล่ยี น้นั คณู ด้วยจาํ นวนปที ่ีทาํ งาน 2. เงนิ กองทุนสงเคราะหฯ์ (กองทนุ บําเหน็จ) และเงินชดเชยตามระเบยี บคณะกรรมการรฐั วิสาหกจิ สัมพันธฯ์ พ.ศ. 2534 ได้เลือกเสียภาษีโดยหักคา่ ใชจ้ ่ายตามเกณฑ์ที่กําหนดในมาตรา 48(5) แหง่ประมวลรัษฎากร ทั้งจาํ นวน ทั้งนเี้ พราะเงนิ กองทนุ สงเคราะหฯ์ ทก่ี ารไฟฟ้าฯ จ่ายให้พนักงานน้นั เปน็ เงินได้ท่คี าํ นวณตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารเชน่ เดยี วกบั การคํานวณบาํ เหน็จ ตามกฎหมายว่าด้วยบาํ เหนจ็ บํานาญข้าราชการจึงหารือว่าการไฟฟ้าฯ ไดค้ าํ นวณภาษีเงนิ ไดส้ าํ หรับกรณดี ังกล่าวไว้ถูกต้องหรือไม่แนววินจิ ฉัย : กรณีการไฟฟ้าจ่ายเงนิ กองทุนสงเคราะห์ เงนิ ชดเชย และเงินตอบแทนพิเศษ เข้าลักษณะเปน็ เงนิ ได้พึงประเมนิ ที่นายจ้างจา่ ยให้ครงั้ เดียวเพราะเหตุออกจากงานตามขอ้ 1(ง) ของประกาศอธบิ ดีกรมสรรพากรเกี่ยวกบั ภาษีเงินได้ (ฉบับท่ี 45)ฯ ลงวนั ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2535 การคํานวณค่าใชจ้ า่ ยเป็นไปตามขอ้ 3 ของประกาศอธิบดกี รมสรรพากร เก่ยี วกับภาษีเงินได้ฯ ฉบบั ดงั กล่าวเลขตู้ : 65/31257 ศูนยว์ เิ คราะหข์ อ้ มลู การเสยี ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
๓๖เลขทห่ี นังสือ : กค 0706/515วนั ท่ี : 18 มกราคม 2550เร่อื ง : ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา กรณีเงินได้จากการเกษียณอายตุ ามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานข้อกฎหมาย : ขอ้ 2(51) กฎกระทรวง ฉบับท่ี 126ฯข้อหารอื : นาย ก. ทํางานในสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชนและไดเ้ กษียณอายุเมื่อวันท่ี 31 พฤษภาคม2549 โดยไดร้ ับเงินชดเชยจากการเกษียณอายุ ตามพระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน นาย ก. จึงขอทราบวา่เงินไดจ้ ากการเกษียณอายุซ่ึงเป็นเงนิ ชดเชยตามพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองแรงงานดงั กล่าวนั้น เขา้ ลักษณะเป็นเงินชดเชยตามกฎหมายคุม้ ครองแรงงานทไี่ ด้รับยกเวน้ ไม่ตอ้ งนํามารวมคํานวณเพ่ือเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทงั้ นี้เฉพาะคา่ ชดเชยส่วนทไี่ ม่เกินค่าจ้าง หรอื เงนิ เดอื นคา่ จ้างของการทาํ งาน 300 วนั สดุ ทา้ ย แต่ไม่เกิน300,000 บาท ตาม ก 3. งินชดเชยตามกฎหมายแรงงานของใบแนบแบบแสดงรายการภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใชห่ รอื ไม่แนววินิจฉัย : เงนิ ชดเชยตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานเฉพาะสว่ นที่ไม่เกินคา่ จ้างหรือเงนิ เดอื นค่าจา้ งของการทํางาน 300 วนั สุดท้าย แต่ไม่เกนิ 300,000 บาท ซึง่ ได้รับยกเวน้ ไม่ต้องนํามารวมคาํ นวณเพอื่ เสยี ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาน้ัน ไม่รวมถงึ ค่าชดเชยท่ลี ูกจา้ งหรอื พนกั งานไดร้ บั เพราะเหตุเกษยี ณอายุหรือสน้ิ สุดสญั ญาจ้าง ทั้งนี้ ตามขอ้ 2(51) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร วา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร ดังนัน้ กรณีนาย ก. ไดร้ บั เงินชดเชยจากการเกษยี ณอายุ ตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองแรงงาน จงึ ไม่เข้าลักษณะเปน็ เงินชดเชยตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานตาม ก 3. เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงานของใบแนบแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาเลขตู้ : 70/34734 ศนู ยว์ ิเคราะหข์ ้อมลู การเสียภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๓๗เลขทหี่ นงั สือ : กค 0702/657วันที่ : 22 มกราคม 2553เร่ือง : ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา กรณีการคาํ นวณภาษจี ากเงินที่ไดร้ ับจากกองทุนสํารองเลย้ี งชีพขอ้ กฎหมาย : มาตรา 48(5) แหง่ ประมวลรัษฎากรขอ้ หารอื นาย ก. ได้รบั เงินได้คร้งั เดียวเพราะเหตอุ อกจากงาน 2 ประเภท ได้แก่ เงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน และเงินทจี่ ่ายจากกองทุนสาํ รองเลยี้ งชีพ แตน่ าย ก. ได้คงเงนิ ในกองทุนสาํ รองเลย้ี งชพี พนกั งานธนาคาร ท. ซึ่งจดทะเบยี นแลว้ โดยมี บรษิ ัทหลักทรัพยจ์ ดั การกองทุน ธนาคารทหารไทยจาํ กดั ท่มี หี น้าท่ีดูแลกองทุนสํารองเล้ยี งชีพของพนักงานต่อไป โดยจะขอรบั เงนิ จากกองทุนดงั กล่าวในปี2553 นาย ก. จึงขอทราบวา่ ในการย่นื แบบแสดงรายการเพอ่ื เสยี ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาใน ปี 2553 นายก. มสี ิทธิเลอื กเสยี ภาษแี ยกตา่ งหากจากเงินได้อืน่ ตามมาตรา 48(5) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ไดห้ รอื ไม่แนววนิ ิจฉยั ธนาคารฯ ได้จา่ ยเงินไดค้ ร้งั เดียวเพราะเหตุออกจากงานให้นาย ก. ดังนี้ 1. เงินเทยี บเท่าเงนิ ชดเชยตามกฎหมายแรงงาน และเงินตอบแทนพเิ ศษ (เงนิ บอกกลา่ วลว่ งหนา้ เงินเพมิ่ พิเศษตอบแทน ตามอายุงาน และเงินชดเชยสิทธหิ ยดุ พกั ผอ่ นประจําป)ี จํานวน1,305,827 บาท ไดร้ บั เม่ือวันที่ 30 กันยายน 2552 2. เงินท่ีจา่ ยจากกองทนุ สาํ รองเล้ยี งชพี จํานวน 1,224,240.96 บาท ได้รับเมื่อวนั ท่ี 2 ตุลาคม2552 ซึ่งนาย ก. เลอื กท่ีคงไว้ ในกองทุนฯ ต่อไป โดยจะขอรบั เงินดงั กลา่ วจากกองทุนฯ ในปี 2553 ดงั นนั้ กรณนี าย ก. ได้รบั ไดร้ ับเงนิ เทียบเท่าเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน และเงินตอบแทนเพราะเหตุออกจากงาน ในปี 2552 และตอ่ มาจะรับเงนิ จากกองทุนสาํ รองเลยี้ งชีพอกี ในปี 2553 ถอื เป็นกรณีท่ีมีการจ่ายเงินจากผจู้ ่ายรายเดยี วกันหลายครงั้ ไม่ว่าจะแบ่งจา่ ยจากเงินประเภทเดียวกันหรอื หลายประเภท ในการย่ืนแบบแสดงรายการเพ่ือเสียภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาในปี 2553 นาย ก. ไม่มสี ิทธินาํ เงนิ ที่ได้รับจากกองทุนสาํ รองเลย้ี งชีพมาเลอื กเสียภาษแี ยกตา่ งหากจากเงนิ ได้อน่ื ได้ ทั้งนี้ ตามมาตรา 48(5) แห่งประมวลรษั ฎากร ประกอบกับขอ้ 2(ข) ของประกาศอธบิ ดีกรมสรรพากร เก่ยี วกับภาษเี งินได้ (ฉบบั ท่ี 45)เร่อื ง กําหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไข ของเงนิ ได้พึงประเมิน ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ซ่งึ นายจ้างจา่ ยให้ครั้งเดยี วเพราะเหตุ ออกจากงานตามมาตรา 48(5) และ 50(1) แหง่ ประมวลรษั ฎากร ลงวันที่ 24 กนั ยายน พ.ศ. 2535 ดงั นน้ั นาย ก. จึงต้องนําเงินทีไ่ ด้ รบั จากกองทุนสํารองเลี้ยงชีพในปี 2553 มารวมคาํ นวณกบั เงนิ ได้พงึ ประเมินประเภทอ่ืนท่ีไดร้ ับในระหว่างปภี าษี เพอ่ื ย่ืนแบบแสดงรายการและชําระภาษี ตามมาตรา 56 แห่งประมวลรษั ฎากรเลขตู้ : 73/37112 ศนู ยว์ ิเคราะหข์ อ้ มูลการเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
๓๘เลขท่ีหนงั สือ : กค 0702/760วันที่ : 28 มกราคม 2553เร่อื ง : ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดาและภาษีเงินไดห้ ัก ณ ทีจ่ า่ ย กรณีเงนิ ทีไ่ ดร้ ับอนั เนอื่ งมาจากการส้นิ สุด สัญญาจา้ งขอ้ กฎหมาย : มาตรา 40 (1) มาตรา 48 (1) (5) แหง่ ประมวลรษั ฎากร และกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 126ฯ ขอ้ 2 (5)ขอ้ หารอื บริษัทฯ อยูร่ ะหว่างการดําเนินการปรบั โครงสรา้ งภายในองคก์ ร มีการเลกิ สัญญาจา้ งของพนักงานจาํ นวนหน่ึง โดยให้ พนกั งานยนื่ หนังสอื ลาออก และบรษิ ัทฯ จะจา่ ยเงินตอบแทนใหแ้ ก่พนกั งานจํานวนเท่ากับคา่ ชดเชยและผลประโยชน์อน่ื ๆ ตาม กฎหมาย ทพ่ี นกั งานควรจะได้รบั ตามที่กฎหมายคุ้มครองแรงงานกาํ หนดในกรณพี นกั งานถูกเลกิ จา้ ง ซึ่งเงินจาํ นวนนโ้ี ดยปกตแิ ล้ว จะไมจ่ ่ายใหแ้ ก่พนกั งานท่ีลาออก และบริษัทฯ จะออกหนังสอื รบั รองการทาํ งานใหแ้ กพ่ นักงานโดยระบเุ หตุของการส้ินสุดการจา้ ง ว่าเปน็ กรณกี ารลาออก พนกั งานท่ตี กลงจะส้ินสดุ สญั ญาจ้างมรี ะยะเวลาการปฏิบตั งิ านไม่ถึง 5 ปี และจะไดร้ ับเงินตอบแทน ดงั ต่อไปนี้ 1. คา่ ชดเชยซงึ่ คํานวณตามพระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 2. สนิ จ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหนา้ 3. ค่าจ้างสําหรับวนั หยุดพกั ผ่อนประจาํ ปีท่ีไมไ่ ด้ใช้ และ บริษัทฯ ขอหารอื ว่า 1. แม้วา่ เอกสารท่ีเกี่ยวกับการส้นิ สดุ สญั ญาจ้างจะแสดงว่าเหตแุ หง่ การสนิ้ สดุ สัญญาคือการลาออก โดยพนักงานไดย้ ื่น หนังสือลาออกใหแ้ ก่บริษัทฯ แต่สาระสาํ คัญของเงนิ ทจ่ี า่ ยให้แก่พนักงานตามข้อ 1 คอื การจา่ ยคา่ ชดเชยตามกฎหมายคุม้ ครอง แรงงาน ดงั นั้นเงนิ ทจี่ า่ ยตามข้อ 1 ยังคงถือเปน็คา่ ชดเชยที่ลูกจา้ งไดร้ ับตามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานตามข้อ 2 (51) ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี 126 (พ.ศ.2509) ออกตามความในประมวลรษั ฎากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร พนักงานจงึ มสี ทิ ธิได้รับยกเว้นภาษเี งินได้ บคุ คลธรรมดาจากคา่ ชดเชยส่วนทีไ่ ม่เกินคา่ จ้างของการทํางาน 300 วนั สดุ ท้าย แตไ่ ม่เกิน 300,000 บาทในกรณนี ี้ บรษิ ัทฯ ไม่มี หน้าท่ีตอ้ งหกั ภาษี ณ ทจ่ี ่ายจากเงนิ ที่ชําระตามขอ้ 1 ใช่หรือไม่ 2. เงินทจี่ า่ ยตามข้อ 2 - 3 ถอื ว่าเป็นเงนิ ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงานและถือเปน็ รายได้จากการจา้ งงาน เชน่ เดยี วกบั เงินเดอื น ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากร บรษิ ทั ฯ มีหน้าท่ีตอ้ งหกั ภาษี ณ ท่จี า่ ยจากจํานวนเงินดังกลา่ ว โดย พนกั งานจะมสี ทิ ธเิ ลือกคาํ นวณเพื่อเสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาตามมาตรา 48(5) แห่งประมวลรัษฎากร ใชห่ รือไม่แนววินิจฉยั 1. กรณบี ริษทั ฯ เลกิ จ้างพนักงาน โดยใหพ้ นักงานยนื่ หนังสอื ลาออกนน้ั แม้บรษิ ทั ฯจะจ่ายเงินชดเชยใหแ้ ก่พนกั งาน ซ่ึงคาํ นวณ ตามหลักเกณฑค์ า่ ชดเชย ตามพระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เงินจํานวนดงั กล่าวไม่ถอื เปน็ คา่ ชดเชยการเลิกจา้ งตาม มาตรา 118 แห่งพระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พนักงานทย่ี น่ื หนงั สือลาออก จึงไม่ได้รบั ยกเวน้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามขอ้ 2(51) แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 126 (พ.ศ. 2509) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร ศูนยว์ เิ คราะหข์ ้อมูลการเสยี ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๓๙ 2. กรณสี นิ จา้ งแทนการบอกกล่าวลว่ งหน้า และค่าจา้ งสําหรบั วันหยุดพักผอ่ นประจําปที ี่ไมไ่ ดใ้ ช้ โดยใหพ้ นักงานยืน่ หนังสือ ลาออกน้นั เขา้ ลกั ษณะเป็นเงินได้พึงประเมนิ ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรษั ฎากรและไมถ่ ือเปน็ เงินท่ีนายจ้างจ่ายให้คร้ังเดยี ว เพราะเหตุออกจากงานทผ่ี มู้ เี งินได้มสี ิทธิจะเลอื กเสยี ภาษีตามมาตรา 48(5) แหง่ ประมวลรัษฎากร ผู้มเี งนิ ได้ตอ้ งนําเงนิ ได้ดงั กลา่ วไปรวมคาํ นวณภาษีกับเงนิ ได้ประเภทอ่ืนตามมาตรา 48(1) แห่งประมวลรัษฎากรเลขตู้ :73/37114 ศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลการเสียภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา
๔๐เลขทีห่ นังสือ : กค 0702/1968วนั ที่ : 12 มนี าคม 2553เรื่อง : ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา กรณกี ารออกจากงานก่อนการเกษียณอายุข้อกฎหมาย : มาตรา 42 และมาตรา 42(25) แหง่ ประมวลรษั ฎากรข้อหารือ นาย ก. อายุ 54 ปี เป็นพนกั งานธนาคารฯ (ธนาคารฯ) มีอายงุ าน 31 ปี ได้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมองแตก เม่ือวันท่ี 31 มกราคม 2552 โดยมีอาการอัมพาตอ่อนแรงซีกขวา ธนาคารฯ ได้แนะนาํ ให้นาย ก. ย่ืน ใบลาออกโดยขอรับเงนิ ชว่ ยเหลอื ตามระเบียบของธนาคาร ซึ่งพิจารณาตามตําแหนง่ องค์กรและอายงุ าน นาย ก. มตี าํ แหนง่ เป็นหัวหนา้ งาน มอี ายงุ าน 25 ปขี ้ึนไป นาย ก. จงึ ยน่ื ใบลาออกจากงานโดยมผี ลตง้ั แต่วนั ท่ี 18 มกราคม 2553 โดยไดร้ ับเงนิ ชว่ ยเหลอื จากธนาคารฯ ดังนี้ 1. เงนิ ช่วยเหลือตามระเบียบของธนาคาร โดยคิดจากเงิน เดือน เดือนสดุ ท้ายรวมกบั คา่ ครองชีพคณู ด้วยอายุงาน 2. เงนิ สมทบจากกองทนุ สาํ รองเลี้ยงชีพ 3. เงินบาํ เหนจ็ ชราภาพ จากกองทนุ ประกนั สังคม นาย ก. จงึ ขอทราบว่า เงินดงั กลา่ วมีสิทธิไดร้ บั ยกเว้นภาษี เงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาหรอื ไม่แนววนิ ิจฉยั 1. กรณีตาม 1. เงนิ ชว่ ยเหลอื ตามระเบียบของธนาคารเข้าลักษณะ เป็นเงนิ ได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวล รัษฎากร ไม่เขา้ ลกั ษณะเป็นเงินได้พงึ ประเมนิ ทจ่ี ะได้รับยกเวน้ ไม่ตอ้ งนําไปรวมคาํ นวณเพ่ือเสยี ภาษเี งนิ ได้ตามมาตรา 42 แห่ง ประมวลรษั ฎากร และในขณะนีย้ ังไม่มกี ฎหมายใดกาํ หนดให้เงินได้พงึ ประเมนิ ดังกลา่ วได้ รับการยกเวน้ ภาษเี งินได้แต่อยา่ งใด 2. กรณีตาม 2. เมื่อนาย ก. ไดย้ ืน่ ความประสงคจ์ ะขอลาออก จากงานก่อนเกษยี ณอายุ 60 ปีเพราะปว่ ยดว้ ยโรคหลอดเลือด สมองแตก หากนาย ก. มหี ลักฐานยนื ยนั จากแพทยท์ ี่ทางราชการรบั รองว่านาย ก.ออกจากงานเพราะทุพพลภาพ ทาํ ให้ไมส่ ามารถ ทจ่ี ะทาํ งานในตําแหน่งหนา้ ท่ซี ่ึงปฏบิ ตั ิอยู่น้ันต่อไปและมหี ลกั ฐานจากธนาคารฯ รบั รองว่า นาย ก. ออกจากงานเพราะเหตุดังกลา่ ว มาแสดง จึงเข้าลกั ษณะเป็นการออกจากงานเพราะทพุ พลภาพ ตามข้อ 1 (2) และขอ้ 1 วรรคสอง ของประกาศอธบิ ดกี รมสรรพากรเก่ยี วกบั ภาษเี งนิ ได้ (ฉบบั ที่ 52) เรอื่ ง กําหนดหลักเกณฑ์ เง่ือนไขและวิธกี าร สาํ หรับกรณี ลูกจ้างออกจากงาน เพราะเกษยี ณอายุ ทุพพลภาพ หรอื ตาย ลงวันท่ี 16 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2538 เงนิ หรอื ผลประโยชนใ์ ดๆท่ีนาย ก. ได้รับจาก กองทุนสํารองเล้ียงชีพ ในกรณดี งั กล่าว จึงจะได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ตามขอ้ 2(36) ของกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 126 (พ.ศ. 2509) ออกตาม ความในประมวลรัษฎากร วา่ ดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร 3. กรณตี าม 3. หากเปน็ เงนิ ประโยชนท์ ดแทนทผ่ี ้ปู ระกนั ตน ได้รับจากกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายวา่ ด้วย การประกนั สงั คม ได้รบั ยกเว้นไมต่ ้องนําไปรวมคาํ นวณเพ่ือเสยี ภาษีเงินได้ ตามมาตรา42(25) แห่งประมวลรัษฎากรเลขตู้ : 73/37199 ศนู ยว์ ิเคราะห์ข้อมลู การเสียภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๔๑เลขที่หนังสือ : กค 0702/6468วนั ที่ : 26 สงิ หาคม 2553เรอื่ ง : การยกเว้นภาษีเงนิ ได้ กรณเี งินบําเหนจ็ ดํารงชพี ข้าราชการส่วนท้องถนิ่ขอ้ กฎหมาย : มาตรา 42(14) แหง่ ประมวลรษั ฎากรข้อหารือ กรมส่งเสริมการปกครองสว่ นท้องถิ่นได้หารือการยกเว้นภาษีเงนิ ได้ กรณเี งนิ บาํ เหนจ็ ดาํ รงชพีขา้ ราชการส่วนท้องถิน่แนววินิจฉัย เงินบาํ เหน็จดาํ รงชพี ท่ขี า้ ราชการสว่ นท้องถ่ินได้รับตามมาตรา 46/1 แห่งพระราชบญั ญัติบําเหนจ็ บํานาญข้าราชการ ส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2500 ซงึ่ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญัติบําเหน็จ บํานาญข้าราชการส่วนท้องถน่ิ ฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2548 เขา้ ลักษณะเป็นบาํ เหน็จดาํ รงชพี ตามกฎหมายวา่ ด้วยบําเหนจ็ บาํ นาญข้าราชการ และ กฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุน บาํ เหนจ็ บํานาญข้าราชการ โดยขา้ ราชการสว่ นท้องถ่นิ และพนกั งานของขา้ ราชการส่วนท้องถิ่นไดร้ บั ยกเวน้ ไม่ ต้องนาํ เงินบําเหนจ็ ดํารงชพี มารวมคํานวณเพื่อเสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ตามมาตรา 42 (17) แหง่ ประมวลรัษฎากรประกอบกับ ข้อ 2 (64) แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี 126 (พ.ศ. 2509) ออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ดว้ ยการยกเวน้ รัษฎากร ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2509เลขตู้ : 73/37484 ศนู ยว์ เิ คราะหข์ ้อมูลการเสียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
๔๒เลขท่ีหนงั สือ : กค 0702/10195วนั ที่ : 28 ธนั วาคม 2553เร่ือง : ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา กรณีออกจากงานก่อนเกษยี ณอายุขอ้ กฎหมาย : กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 126 ข้อ 2(36) และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรฯ (ฉบบั ท่ี 52) ลงวันท่ี๑๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๘ขอ้ หารือ ๑. นาย ส. และนาย ศ. เป็นพนกั งานของธนาคาร T จํากัด (มหาชน) ไดส้ มคั รเขา้ ร่วมโครงการเกษียณอายุกอ่ นกาํ หนดโดย สมัครใจในปี ๒๕๕๒ ตามระเบยี บของธนาคารท๕่ี ๔/๒๕๕๐ เร่อื ง ขอ้ บังคับวา่ด้วยการพ้นสภาพจากการเป็นพนกั งาน กรณลี าออก เกษียณอายุ และถงึ แกก่ รรม ลงวนั ท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งมีรายละเอยี ดดังนี้ ๑.๑ พนกั งานทุกคนจะเกษียณ เมอ่ื มีอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ ๑.๒ พนกั งานทุกตาํ แหน่ง ทม่ี อี ายุครบ ๕๕ ปบี ริบรู ณ์ข้นึ ไป มสี ิทธิทีจ่ ะย่ืนขอเกษียณอายุก่อนกําหนดได้ โดยข้ึนอยู่ กบั ดลุ ยพนิ จิ ของธนาคารแต่เพียงฝ่ายเดียวทีจ่ ะเหน็ สมควรให้พนักงานผู้น้นั พน้ สภาพจากการเป็นพนักงานของธนาคาร เพ่ือรับเงนิ ค่าชดเชยและเงนิ สมทบตามข้อบังคบั ของกองทุนสํารองเลย้ี งชพี พนักงานธนาคาร T จํากัด (มหาชน) ซึง่ จดทะเบียนแล้ว ธนาคารไดอ้ นุมัติให้นาย ส. และนาย ศ. เกษยี ณอายกุ ่อนกาํ หนดตามโครงการ โดยธนาคารไดส้ ้ินสุดสญั ญาจ้างตั้งแตว่ ันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ เป็นตน้ ไป ๒. นาย ส. และนาย ศ. ยื่นแบบแสดงรายการภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี ๒.๑ นาย ส. อายุ ๕๘ ปี เป็นสมาชกิ กองทุนสํารองเล้ียงชพี พนกั งานธนาคาร T จาํ กัด(มหาชน) ซึง่ จดทะเบียนแลว้ มอี ายสุ มาชกิ ๑๓ ปี ๙ เดอื น อายงุ าน ๓๘ ปี ไดย้ ื่นแบบแสดงรายการภาษเี งนิได้บุคคลธรรมดา ปีภาษี ๒๕๕๒ เม่ือวนั ที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๓ โดยนําเงนิ เดือน และเงินไดท้ ่ีจา่ ยให้คร้ังเดียวเพราะเหตุออกจากงานมาคํานวณในใบแนบ ๒.๒ นาย ศ. อายุ ๕๕ ปี เปน็ สมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนกั งานธนาคาร T จาํ กดั(มหาชน) ซ่งึ จดทะเบียนแลว้ มีอายสุ มาชกิ ๑๑ ปี ๙ เดือน อายงุ าน ๓๓ ปี ได้ยน่ื แบบแสดงรายการภาษีเงนิได้บคุ คลธรรมดา ปภี าษี ๒๕๕๒ เม่อื วนั ที่ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๓ โดยนําเงนิ เดือน และเงนิ ได้ที่จ่ายให้ครง้ัเดยี วเพราะเหตุออกจากงานมาคํานวณในใบแนบแนววินิจฉัย ธนาคารฯ มีขอ้ ตกลงให้พนกั งานทุกคนเกษียณอายุ เมอื่ มีอายุครบ ๖๐ ปีบริบรู ณ์ และต่อมาธนาคารฯ ได้ออกระเบียบแก้ไข เพ่ิมเติมตามระเบียบท่ี ๕๔/๒๕๕๐ฯ ลงวนั ท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๕๐ กําหนดให้พนักงานทุกคนเกษียณ เมื่อมีอายุครบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ หรือพนักงานทุกตาํ แหน่งท่ีมี อายคุ รบ ๕๕ ปีบรบิ รู ณ์ขึน้ ไป มีสิทธทิ ีจ่ ะย่ืนขอเกษียณอายุก่อนกําหนดได้ โดยขึน้ อยู่กบั ดลุ ยพนิ ิจ ของ ธนาคารฯ นน้ั หากเป็นการออกจากงานเมอ่ื พนกั งานมอี ายุไมต่ ํ่ากวา่ ๕๕ ปบี รบิ รู ณ์ ซึ่งออกจากงานเพราะครบกําหนดหรอื สิ้นกาํ หนด เวลาทํางานตามสัญญาจา้ งแรงงานทเี่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และเปน็ สมาชิกกองทนุ ฯ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี เงนิ หรอื ผลประโยชน์ใดๆ ทพ่ี นักงานจะได้รับจากกองทนุ สาํ รองเลย้ี งชีพ ยอ่ มได้รบั ยกเว้นภาษเี งนิได้บคุ คลธรรมดา ตามข้อ ๒(๓๖) แหง่ กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๕๐๙)ฯ ลงวันที่ ๒๓ กมุ ภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๐๙ ประกอบกบั ข้อ ๑(๑) ของประกาศอธบิ ดกี รมสรรพากร เกย่ี วกับภาษีเงนิ ได้ (ฉบับที่ ๕๒)ฯ ลงวันที่ ๑๖ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘เลขตู้ : 73/37654 ศูนย์วิเคราะหข์ ้อมลู การเสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา
ภาคผนวก
๔๔ประมวลรษั ฎากรมาตรา ๔๘ (๕) “ผมู้ เี งินไดจ้ ะเลือกเสยี ภาษโี ดยไมต่ ้องนําไปรวมคํานวณภาษีตาม ๔๘ (๑) และ (๒)กไ็ ด้ สําหรบั เงินไดพ้ ึงประเมนิ ตามมาตรา ๔๐ (๑) และ (๒) ซึง่ เปน็ เงินท่ีนายจา้ งใหค้ รัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ซงึ่ ได้คํานวณจ่ายจากระยะเวลาทท่ี ํางานและได้จา่ ยตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขท่ีอธบิ ดีกําหนด โดยให้นําเงินได้พึงประเมนิ ดงั กลา่ วหักคา่ ใช้จา่ ยเป็นจาํ นวนเท่ากับ ๗,๐๐๐ บาท คณู ด้วยจํานวนปที ่ีทํางานแต่ไม่เกินเงินไดพ้ งึ ประเมิน เหลือเท่าใดให้หกั ค่าใช้จ่ายอกี ร้อยละ ๕๐ ของเงนิ ที่เหลือนั้น แลว้ คาํ นวณภาษีตามอัตราภาษเี งนิ ได้ ในกรณีเงินได้พึงประเมนิ ดงั กลา่ วจา่ ยในลักษณะเงินบําเหน็จจาํ นวนหน่ึงและเงนิ บํานาญอีกจํานวนหน่ึง ให้ถือวา่ เฉพาะเงินท่ีจ่ายในลักษณะเงินบาํ เหน็จเปน็ เงนิ ซึง่ นายจา้ งจ่ายให้คร้ังเดยี วเพราะเหตุออกจากงาน และใหล้ ดคา่ ใช้จ่ายจํานวน ๗,๐๐๐ บาท ลงเหลือ ๓,๕๐๐ บาท จาํ นวนปที ่ีทาํ งานตามวรรคหนึ่ง ในกรณีเงนิ บําเหนจ็ หรือเงนิ อ่นื ใดในลกั ษณะเดยี วกนั ท่ีทางราชการจ่าย ให้ถอื จํานวนปที ่ีใช้เป็นเกณฑ์คํานวณเงินบาํ เหน็จหรอื เงนิ อ่ืนในลกั ษณะเดยี วกันนัน้ ตามกฎหมายระเบียบหรือขอ้ บังคบั ของทางราชการ ในการคาํ นวณจํานวนปีทท่ี าํ งาน นอกจากกรณีตามวรรคสาม เศษของปี ถา้ ถงึ หน่ึงรอ้ ยแปดสบิ สามวนั ใหถ้ อื เปน็ หนึ่งปี ถ้าไม่ถึงหนงึ่ ร้อยแปดสบิ สามวันใหป้ ดั ทิ้ง …..” ศนู ย์วิเคราะห์ข้อมูลการเสยี ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา
๔๕ พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรษั ฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ 470) พ.ศ. 2551 ------------------------------ ภมู ิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันท่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2551 เป็นปที ่ี 63 ในรชั กาลปัจจบุ ัน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศวา่ โดยที่เป็นการสมควรปรบั ปรุงการยกเวน้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สําหรบั เงินไดส้ ุทธจิ ากการคาํ นวณภาษีเงนิ ได้ตามมาตรา 48(1) แห่งประมวลรษั ฎากร อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา 187 ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย และมาตรา3(1) แหง่ ประมวลรัษฎากร ซ่งึ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั แิ ก้ไขเพ่มิ เติมประมวลรษั ฎากร (ฉบับที่ 10)พ.ศ. 2496 อนั เปน็ กฎหมายที่มบี ทบญั ญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 และมาตรา 41 ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย บญั ญัตใิ หก้ ระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชกฤษฎกี าข้นึ ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา่ “พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าดว้ ยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบบั ท่ี 470) พ.ศ. 2551” มาตรา 2 พระราชกฤษฎกี านี้ให้ใช้บังคับต้ังแตว่ ันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วา่ ดว้ ยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบับที่ 430) พ.ศ. 2548 มาตรา 4 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ตามส่วน 2 หมวด 3 ในลกั ษณะ 2 แห่งประมวลรษั ฎากร สาํ หรับเงนิ ไดส้ ุทธจิ ากการคํานวณภาษเี งนิ ไดต้ ามมาตรา 48(1) แหง่ ประมวลรัษฎากร ซึง่ แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 10 ลงวนั ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 เฉพาะสว่ นทไ่ี มเ่ กนิ หนึ่งแสนหา้ หมืน่ บาทแรก ในปีภาษีนัน้ ท้งั นี้ สําหรบั เงินได้สทุ ธิทีเ่ กดิ ขึ้นในปี พ.ศ. 2551 เปน็ ตน้ ไป มาตรา 5 ใหร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชกฤษฎกี าน้ีผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการสมคั ร สุนทรเวชนายกรัฐมนตรี ศนู ย์วิเคราะห์ข้อมูลการเสยี ภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา
Search