Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์

Published by s.petnark, 2020-05-20 00:24:47

Description: บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์

Search

Read the Text Version

ความรู้ทว่ั ไปทางเศรษฐศาสตร์ http://www.ceted.org/course/economic/We b/e-learning/unit01/lesson4.html

ความหมายของวชิ าเศรษฐศาสตร์ “เศรษฐศาสตร์” (Economics) Economics” มรี ากศพั ท์มาจากภาษากรกี วา่ “oikonomikos” แปลว่า การบรหิ ารจัดการของครวั เรอื น ( skilled in the management household)

อลั เฟรด มารเ์ ชล เศรษฐศาสตร์ คอื ศาสตรท์ ีว่ ่าดว้ ยการดารงชีวติ ตามปกตขิ องมนษุ ย์และสังคมในการใช้ ทรพั ยากรเพ่อื ให้บรรลุถงึ ความกนิ ดอี ย่ดู ี

ไลโอเนล รอบบินส์ เศรษฐศ์ าสตรค์ ือวิชาทศี่ กึ ษาถงึ การเลอื ก หาหนทางที่จะใช้ปัจจยั การผลิตอนั มีอยู่ อยา่ งจากดั เพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็ ตาม จดุ ประสงค์ทม่ี ีอยอู่ ยา่ งนบั ไม่ถ้วน

พอล เอ. แซมมวลสัน เศรษฐศ์ าสตร์เป็นการศึกษาถึงวธิ ีการที่มนุษยแ์ ละสังคมเลือกใช้ ทรัพยากรการผลิตซ่ึงมีจากดั ซ่ึงทรัพยากรเหล่าน้นั อาจนาไปใชใ้ นทาง อ่ืนไดห้ ลายทางเพือ่ ผลิตสินคา้ ตา่ ง ๆ ติดต่อกนั ไป แลว้ จาหน่ายจา่ ยแจก สินคา้ เหล่าน้นั ไปยงั ผบู้ ริโภคท้งั ในเวลาปัจจุบนั และอนาคตและสาหรับ ชนกลุ่มต่าง ๆ ในสงั คม

ประยรู เถลิงศรี เศรษฐศาสตร์ เป็นวชิ าสงั คมศาสตร์ที่ศกึ ษาวา่ มนุษยเ์ ลือกตดั สินใจ อยา่ งไร ในการใชท้ รัพยากรท่ีมีอยจู่ ากดั เพ่อื ผลิตส่ิงของและบริการ และแบ่งปันส่ิงของและบริการเหล่าน้นั เพื่ออุปโภคและบริโภค ระหวา่ งบุคคลต่าง ๆ ในสงั คม ท้งั ในเวลาปัจจุบนั และในอนาคต

สรุป : วิชาเศรษฐศาสตร์เป็นการศึกษาถึงวธิ ีการจดั สรรทรัพยากรการ ผลิตอนั มีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด เพื่อผลิตสินคา้ และบริการต่าง ๆ สาหรับสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ซ่ึงโดย ทวั่ ๆ ไปมีความตอ้ งการไม่จากดั ใหไ้ ดร้ ับความพอใจสูงสุด หรือเป็นการศึกษาหาทางเลือกใชท้ รัพยากรที่ขาดแคลนให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุด

แขนงของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์จุลภาค microeconomics เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกจิ ของแตล่ ะบคุ คล ไดแ้ ก่ ผู้ผลติ ผบู้ รโิ ภค และเจ้าของปัจจัยการผลิต เนือ้ หาของวชิ าส่วนใหญ่ จึงเกี่ยวขอ้ งกับการผลิต การบริโภค การกาหนดราคาสนิ ค้าและ ปจั จัยการผลิตภายใต้การดาเนินงานของตลาดต่างๆ หรือเรยี กทฤษฎี เศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาคว่า \"ทฤษฎีราคา (Price Theory)\" 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค macroeconomics

แขนงของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค macroeconomics เปน็ การศึกษาถึงพฤตกิ รรมของเศรษฐกิจสว่ นรวม เชน่ รายได้ ประชาชาติ การลงทนุ การจา้ งงาน การคา้ ระหว่างประเทศและ การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ หรอื เรียกวา่ \"ทฤษฎีรายได้และ การจ้างงาน”(Income and Employment)

วิธีการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ 1. วิธีอนุมาน (Deductive Method) เป็น \"วธิ หี าผลจากเหตุ\" ซึ่งจะมี ขัน้ ตอนอยู่ 3 ข้อ ดังน้คี ือ 1) ตัง้ ข้อสมมตฐิ านข้ึน 2) สรปุ นัยสาคญั ของสมมติฐานทตี่ ้งั ขนึ้ เพือ่ วางเปน็ หลักหรอื ทฤษฎที างเศรษฐศาสตร์ 3) ทดสอบวา่ หลกั หรอื ทฤษฎที ีต่ ั้งข้ึนน้ันใชไ้ ด้หรือไม่ โดย พิจารณาจากผลท่เี กิดข้นึ ถา้ ได้ผลส่วนใหญ่ตรงกบั ทฤษฎที ่ตี ้งั ไว้ ทฤษฎีนั้น ก็ถือว่าถูกต้องและใชป้ ระโยชนไ์ ด้

วธิ ีการศึกษาวิชาเศรษฐศาตร์ 2. วิธีอุปมาน (Inductive Method) เป็น \"วิธหี าเหตุจากผล\" กล่าวคือ กอ่ นทจี่ ะสรปุ วา่ ปรากฏการณ์ใดเป็นจรงิ เพื่อตั้งเป็นทฤษฎขี ึน้ มานั้น จะตอ้ ง รวบรวมหลกั ฐานข้อเทจ็ จริงจากประสบการณ์ที่เกิดขึน้ จริงอยา่ งมรี ะบบ เสียกอ่ น แล้วจงึ ทาการวเิ คราะหเ์ พ่อื ตั้งเปน็ ทฤษฎีขน้ึ ขอ้ สมมติในการศึกษาวชิ าเศรษฐศาตร์ คือ การสมมติใหป้ ัจจยั อนื่ ๆ คงท่ี

ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ 1. ผลติ อะไร : ควรผลิตสนิ คา้ -บริการอะไร ในปรมิ าณ เท่าใด (what to produce) 2. ผลติ อยา่ งไร : โดยใชท้ รัพยากรได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ มากทส่ี ุด (how to produce) 3. ผลติ เพ่ือใคร : จะกระจายสินคา้ บรกิ ารไปใหใ้ คร (for whom to produce)

หน่วยเศรษฐกจิ 1. หน่วยครัวเรอื น (Household): ผู้บรโิ ภค และเจ้าของปัจจยั การผลิต 2. หนว่ ยธุรกจิ (Firm) 3. รฐั บาล (Government Agency)

ิสนค้าและบ ิรการ ตลาดสินค้าและ ราย ่จาย บริการ กาไร ผลผ ิลต หน่วย สินคา้ รัฐบาล สินคา้ ครัวเรือน ค่าใชจ้ า่ ย หน่วยธุรกิจ คา่ ใชจ้ า่ ย ราย ่จาย ัปจจัยการผ ิลต ตลาดปัจจัยการ ผลติ ัปจจัยการผ ิลต รายได้

ประโยชน์ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 1. ในฐานะผู้บรโิ ภค ช่วยให้สามารถซื้อหรอื ใช้ บริโภคสินคา้ ทมี่ ีอย่จู ากัดให้ เกดิ ประโยชน์ สูงสุด ร้จู กั ใช้ รจู้ ักออม 2. เจ้าของปจั จัยการผลติ ใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ตัดสนิ ใจใช้ปจั จยั การผลิตทต่ี ้นทนุ ตา่ แต่เกิดกาไรสงู สดุ 3. เขา้ ใจสถานการณ์ปัญหาเศรษฐกิจและปรบั ตวั เข้ากับสถานการณไ์ ด้ 4. ใชค้ วามรูใ้ นการจดั สรรทรัพยากร กาหนดนโยบายการแกไ้ ขปญั หา เศรษฐกิจ และรกั ษาผลประโยชน์ในการลงทุน การคา้ กบั ตา่ งประเทศ ได้

เคร่ืองมือสาหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร์ 1. การนาเสนอในเชิงคณิตศาสตร์ 1.1 ฟังกช์ นั่ Y = ƒ(x) 1.2 สมการ Y = 2x 2. การใชก้ ราฟ (Graph) 3. การใชว้ ธิ ีบรรยายหรือพรรณา (Logical Analysis)

ระบบเศรษฐกิจ ๑. ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนิยมหรือทุนนิยม (Laissez-Faire or Capitalism) 1) เอกชนมเี สรีภาพในการเลือกดาเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ 2) เอกชนมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน และเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลติ ได้ 3) ราคาและระบบตลาดเป็นกลไกสาคญั ในการจดั สรรทรัพยากร

ข้อดีของระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม • เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกตดั สินใจดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตามท่ีตนถนดั • กาไร และการมีระบบกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินเป็นแรงจูงใจทาใหก้ าร ทางานเป็นไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ กล่าวคือ เอกชนจะทางานอยา่ งเตม็ ท่ี เน่ืองจากผลิตไดม้ ากนอ้ ยเท่าไรกจ็ ะไดร้ ับผล ตอบแทนหรือรายไดไ้ ป เท่าน้นั ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจระบบน้ีจะมีการคิดคน้ สิ่งประดิษฐห์ รือ เทคนิคใหม่ๆ อยเู่ สมอ ทาใหเ้ กิดการพฒั นาอยตู่ ลอดเวลา

ข้อเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม • ก่อใหเ้ กิดปัญหาความเหล่ือมล้าอนั เน่ืองจากความสามารถท่ีแตกตา่ งกนั ใน แต่ละ บุคคลโดยพ้นื ฐาน ทาใหค้ วามสามารถในการหารายไดไ้ มเ่ ทา่ กนั ผทู้ ่ี มีความสามารถสูงกวา่ จะเป็นผไู้ ดเ้ ปรียบผทู้ ี่ออ่ นแอกวา่ ในทางเศรษฐกิจ • การใชร้ ะบบการ แขง่ ขนั หรือกลไกราคาอาจทาใหเ้ กิดการใชท้ รัพยากรทาง เศรษฐกิจอยา่ ง สิ้นเปลือง เช่น ในบางช่วงที่มีการแข่งขนั กนั สร้าง ศูนยก์ ารคา้ เพราะคิดวา่ เป็นกิจการที่ใหผ้ ล ตอบแทนหรือกาไรดี ศูนยก์ ารคา้ เหล่าน้ีเม่ือสร้างข้ึนมามากเกินไปกอ็ าจไม่มีผซู้ ้ือมากพอ ทาใหป้ ระสบกบั การขาดทุน กิจการตอ้ งลม้ เลิก เสียทุนท่ีใชไ้ ปในกิจการน้นั เป็ นการสูญเสีย ทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปอยา่ งเปล่าประโยชน์และไมค่ ุม้ ค่า เป็นตน้

ข้อเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม • ใน หลายๆกรณี ราคาหรือกลไกตลาดยงั ไมใ่ ช่เครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพเพยี งพอ สาหรับการจดั สรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจ ตวั อยา่ งเช่น สินคา้ และบริการที่มี ลกั ษณะของการผกู ขาดโดยธรรมชาติหรือสินคา้ และบริการ สาธารณะ ซ่ึงไดแ้ ก่ บริการดา้ นสาธารณูปโภค (น้าประปา ไฟฟ้า โทรศพั ท์ ฯลฯ) โครงสร้างพ้นื ฐาน (ถนน เขื่อน สะพาน ฯลฯ) จะเห็นไดว้ า่ สินคา้ และบริการดงั กล่าวส่วนใหญ่จะตอ้ งใช้ เงินลงทุนมาก เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั เสี่ยงกบั ภาวะการขาดทุน เน่ืองจากมีระยะการ คืนทุนนาน ไม่คุม้ ค่าในเชิงเศรษฐกิจ ทาใหเ้ อกชนไม่ค่อยกลา้ ลงทุนท่ีจะผลิต ส่งผล ใหร้ ัฐบาลตอ้ งเขา้ มาดาเนินการแทน อนั เนื่องจากสินคา้ และบริการเหล่าน้ีเป็ น ส่ิงจาเป็ นข้นั พ้ืนฐานท่ีประชาชน ตอ้ งการ จะเห็นไดว้ า่ กรณีดงั กล่าวราคาไมส่ ามารถ เขา้ มาทาหนา้ ท่ีในการจดั สรรทรัพยากร ได้

๒. ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนิสต์ (Communism) • รัฐบาลเป็นเจา้ ของทรัพยากรต่างๆ รวมท้งั ปัจจยั การผลิตทุกชนิด เอกชน ไม่มีกรรมสิทธ์ิ ตลอดจนเสรีภาพท่ีจะเลือกใช้ ปัจจยั การผลิต • หน่วยธุรกิจและครัวเรือน จะผลิตและบริโภคตามคาสง่ั ของรัฐ กลไก ราคาไม่มีบทบาทในการแกไ้ ขปัญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ

• ข้อดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนิสต์ • เป็น ระบบเศรษฐกิจท่ีช่วยลดปัญหาความเหลื่อมล้าทางฐานะและรายได้ ของบุคคลในสังคม ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจน้ีเอกชนจะทาการผลิตและ บริโภคตามคาส่งั ของรัฐ ผลผลิตท่ีผลิตข้ึนมาจะถูกนาส่งเขา้ ส่วนกลาง และรัฐจะเป็นผจู้ ดั สรรหรือแบง่ ปัน สินคา้ และบริการดงั กล่าวให้ ประชาชนแต่ละคนอยา่ งเท่าเทียมกนั โดยไมม่ ีการได้ เปรียบเสียเปรียบ

ข้อเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์ • ประชาชนไมม่ ีเสรีภาพที่จะผลิตหรือบริโภคอะไรไดต้ ามใจ ถกู บงั คบั หรือสง่ั การจากรัฐ • สินคา้ มีคุณภาพไมด่ ีเท่าท่ีควร เน่ืองจากผผู้ ลิตขาดแรงจูงใจ เพราะไม่วา่ จะผลิต สินคา้ ได้ มากนอ้ ยเพยี งใด คุณภาพเป็ นอยา่ งไร ผบู้ ริโภคกไ็ มม่ ีทางเลือกจะตอ้ ง บริโภคตามการปันส่วนท่ีรัฐจดั ให้ • การ ใชท้ รัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็ นไปอยา่ งไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจาก รัฐบาลไม่สามารถท่ีจะมีข่าวสารสมบูรณ์ในทุกๆเรื่อง เช่น รัฐไม่รู้ความตอ้ งการ ท่ีแทจ้ ริงของประชาชนทาใหผ้ ลิต สินคา้ ท่ีไมต่ รงกบั ความตอ้ งการ ส่งผลใหม้ ี สินคา้ เหลือ (ไม่เป็ นที่ตอ้ งการ) จะเห็นไดว้ า่ ลกั ษณะดงั กล่าว ก่อใหเ้ กิดการ สูญเสียทรัพยากรของประเทศไปโดยเปล่าประโยชน์ เป็ นตน้

๓. ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม (Socialism) • ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีมีลกั ษณะใกลเ้ คียง กบั ระบบเศรษฐกิจ แบบคอมมิวนิสต์ • รัฐจะเป็นผคู้ รอบครองทรัพยากรการผลิตพ้นื ฐาน ไวเ้ กือบท้งั หมด และ เป็นผวู้ างแผนเศรษฐกิจ กาหนดแนวทางการแกไ้ ขปัญหาพ้ืนฐาน

ข้อดีของระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม • ระบบ เศรษฐกิจแบบสังคมนิยมเป็นระบบเศรษฐกิจที่มีส่วนช่วยลด ปัญหาความเหล่ือมล้า ทาง ฐานะและรายไดข้ องบุคคลเช่นเดียวกบั ระบบ เศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ นอกจากน้นั ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจน้ีเอกชน มีเสรีภาพและมีกรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพยส์ ิน บา้ งพอสมควร

4. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ( mixed economy ) • ระบบเศรษกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษกิจที่มีลกั ษณะผสมผสาน ระหวา่ งแบบทุนนิยมและสังคมนิยม กล่าวคือ ภายใตร้ ะบบเศรษฐกิจ แบบผสมท้งั รัฐและเอกชนต่างมีส่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหาพ้ืนฐานทาง เศรษฐกิจ ปัจจยั การผลิตมีท้งั ส่วนท่ีเป็นของรัฐและเอกชน

ข้อดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบผสม - เป็นระบบเศรษฐกิจที่คอ่ นขา้ งมีความคล่องตวั ข้อเสียของระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 1.การมีกาไรและระบบกรรมสิทธ์ิในทรัพสินอาจทาใหเ้ กิดการเหลื่อมล้า ทางฐานะและรายได้ 2.การท่ีรัฐสามารถเขา้ แทรกแซงตลาดโดยใชก้ ลไกรัฐอาจก่อใหเ้ กิด 2.1 ปัญหาการฉอ้ ราษฎร์บงั หลวง 2.2ปัญหาเอกชนไม่กลา้ ลงทุนอยา่ งเตม็ ท่ี เน่ืองจากไมแ่ น่ใจใน สถานการณ์ทางการเมืองและนโยบายของรัฐบาลซ่ึงมีความผนั ผวนและ เปล่ียนแปลงไดง้ ่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook