Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เกณฑ์การคัดเลือกผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว

เกณฑ์การคัดเลือกผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว

Published by boontip47, 2021-12-02 07:50:14

Description: เกณฑ์การคัดเลือกผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว

Search

Read the Text Version

เกณฑ์การคัดเลือกผลติ ภัณฑ์/บรกิ ารระดบั ดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2565 สำนกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผลิตภัณฑ์น้ำมันมะพร้าว ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอทบั สะแก สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดประจวบครี ีขันธ์ สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

ผลติ ภณั ฑ์นำ้ มันมะพรา้ ว 1. ปจั จัยทีใ่ ช้ในการผลติ 1.1 สดั สว่ นการใชว้ ัตถดุ บิ ทม่ี าจากพื้นทภี่ ายในจังหวัด มะพร้าวทับสะแก เป็นที่รู้จักและยอมรับเชื่อถือในคุณภาพของมะพร้าวว่าดีที่สุด คือ ผลใหญ่ เนื้อหนา ความมันสูง ไดร้ ับการขึ้นทะเบยี นสินค้า สง่ิ บ่งช้ที างภูมศิ าสตร์ ( Gi ) การผลติ น้ำมันมะพร้าวบ้านวังยางจึงเป็นการ นำมะพร้าวในพื้นที่ที่มีคุณภาพดีทีสุดของประเทศมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต 100 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่มีสิ่งเจือปน อ่ืนๆ นำ้ มันมะพร้าว 1.2 ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ /หลักสตู ร 1.2.1 เป็นภูมปิ ญั ญา ดงั น้ี 1. เปน็ ภมู ิปญั ญาจากทอ้ งถน่ิ เนอ่ื งจากเปน็ ผลิตภัณฑท์ ่ีสะทอ้ นถงึ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ วิถชี วี ติ ชาวบ้าน ตลอดจน วัฒนธรรมที่ดงี ามของการเรยี นรู้ 2 . มีลกั ษณะโดดเด่นที่เน้นงานฝีมือท่ีสามารถพัฒนาและเพ่ิมคุณค่าของวัสดุในท้องถ่ินและไม่ทำลายส่ิงแวดล้อม เป็นวิถที างสงั คมไดอ้ ย่างลงตวั 3 . เป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่สามารถพัฒนาสังคมแห่งการเรียนสังคมเอื้ออาทร สังคมภูมิปัญญาไป พร้อมกับการพฒั นารายได้ขยายการผลิตการตลาดอยา่ งกว้างขวาง และสามารถทำรายได้สู่ชุมชน 1.2.2 เป็นหลกั สูตรทีพ่ ัฒนามาจากท้องถิ่นเอง โดยได้รบั การรบั รองจากกศน.อำเภอทบั สะแก

หลกั สตู รการแปรรูปผลิตภณั ฑ์จากมะพร้าว จำนวน 40 ชว่ั โมง กลุ่มอาชพี พาณิชยกรรมและบรกิ าร ความเป็นมา การจัดการศึกษาอาชพี ในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของประเทศให้ มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศกึ ษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ ที่จะพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่ม อาชพี ใหม่ ให้สามารถแขง่ ขันไดใ้ น 5 ภมู ภิ าคหลกั ของโลก “รเู้ ขา รูเ้ รา เท่าทนั เพื่อแขง่ ขนั ได้ในเวทีโลก” ตลอดจน กำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพท่ี สามารถสรา้ งรายได้ ท่มี ัน่ คง โดยเนน้ การบรู ณาการให้สอดคล้องกับศกั ยภาพด้านตา่ งๆ มุง่ พัฒนาคนไทยให้ได้รับ การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี และการมงี านทำอยา่ งมี คณุ ภาพ ทวั่ ถึงและเท่าเทียมกนั ประชาชนมรี ายไดม้ ่ันคง มงั่ คง่ั และมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขนั ท้ังในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับสากลซึ่งจะเป็นการ จัดการศึกษาตลอดชีวติ ในรปู แบบใหมท่ ่สี ร้างความม่ันคงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ สภาพสังคมปัจจุบันมนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ การเมือง สงั คมและส่ิงแวดล้อมเปน็ อย่างมาก ประชากรมนษุ ยเ์ พิ่มมากข้นึ เร่ือย ๆ แตท่ รพั ยากรธรรมชาติถูกใช้ไป อยา่ งรวดเรว็ และไม่เพียงพอกับจำนวนประชากรทเ่ี พม่ิ ข้ึนทุกมมุ โลก มนษุ ยจ์ ึงประสบปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย โดยเฉพาะดา้ นการดำรงชีพและชีวติ ความเปน็ อยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพือ่ เปน็ การเล้ียง ตัวเองและครอบครวั แล้ว จึงจำเปน็ อย่างยิง่ ที่มนษุ ย์เราจะตอ้ งสรา้ งข้ึนหรือหามาทดแทนโดยวธิ ีการต่างๆ เพอื่ การ อยู่รอด การแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากมะพรา้ ว ปัจจุบันนี้สามารถนำมาประกอบอาชีพเสริมเล้ียงครอบครัวได้ และมี ความละเอียดอ่อนประณตี ในการถักทพ่ี ิถพี ิถนั ละเอียดลออ สวยงาม รูปลักษณ์ นา่ ใช้ และเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีความ เกี่ยวขอ้ งกบั เอกลกั ษณ์ของชุมชน เปน็ อาชพี อิสระในการทำมาหากนิ และสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเองได้ หลักการ 1. เปน็ หลักสูตรท่เี น้นการจัดการศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทำ ทเ่ี นน้ การบรู ณาการเนื้อหาสาระภาคทฤษฎี ควบคู่ไปกับการฝึกปฏิบัติจริง ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพได้จริงอย่างมีคุณภาพและ คณุ ธรรม จริยธรรม 2. เปน็ หลักสตู รทเ่ี น้นการดำเนินงานร่วมกบั เครือข่าย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการประกอบ อาชพี และการศกึ ษาดงู าน 3. เปน็ หลักสูตรที่ผเู้ รียนสามารถนำผลการเรยี นร้ไู ปเทยี บโอนเข้าส่หู ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในรายวชิ าเลอื กของสาระการประกอบอาชพี 4. เปน็ หลกั สตู รท่เี น้นการใชศ้ กั ยภาพ 5 ดา้ นในการประกอบอาชพี ได้แก่ ศกั ยภาพด้านทรัพยากร ภมู ิอากาศ ภูมิประเทศและทำเลทต่ี ั้ง ศลิ ปวฒั นธรรมประเพณแี ละวถิ ชี วี ิต และดา้ นทรัพยากรมนุษย์

จดุ หมาย เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะดงั นี้ 1. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายไดท้ ีม่ ่ันคง มั่งค่ัง 2. ตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับศักยภาพของตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างมี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 3. มีเจตคตทิ ีด่ ใี นการประกอบอาชีพ 4. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและฝึกทักษะการบรหิ ารจัดการในอาชพี ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ กลมุ่ เปา้ หมาย มี 2 กลมุ่ เป้าหมาย คอื 1. ผู้ทีไ่ มม่ อี าชีพ 2. ผู้ทมี่ ีอาชีพและต้องการพัฒนาอาชีพ ระยะเวลา จำนวน 40 ช่วั โมง ภาคทฤษฎี 5 ชั่วโมง ภาคปฏิบตั ิ 35 ชว่ั โมง

รายละเอยี ดโครงสรา้ งหลักสตู ร หลักสูตรการแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากมะพรา้ ว ประกอบดว้ ยเนอ้ื หา 2 เรือ่ ง จำนวน 40 ชว่ั โมง เรอ่ื ง จุดประสงค์การ เนอ้ื หา กิจกรรม จำนวนชวั่ โมง เรียนรู้ 1. ช่องทางการ 1.ความสำคัญในการ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ ประกอบอาชีพ เพอื่ ให้ผ้เู รียนบอก ประกอบอาชีพ การแปรรปู ความสำคัญในการ 1. ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาเนือ้ หาจากใบ 41 ผลิตภัณฑจ์ าก ประกอบอาชีพ มะพร้าว ความรู้ เรอื่ งความสำคัญในการ ประกอบอาชีพ 2. ผูเ้ รยี นและวิทยากรร่วมสนทนา แลกเปลีย่ นขอ้ มูลความคิดเหน็ 3. ผู้เรยี นสรุปความรู้ 1. เพือ่ ให้ผูเ้ รียนบอก 3. แหล่งเรยี นรกู้ าร 1. ใหผ้ ้เู รยี นศกึ ษาแหล่งเรยี นรกู้ าร แหลง่ เรยี นรู้การ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ ประกอบอาชีพ เพ่ือให้ผู้เรยี นบอกทิศ ทศิ ทางการประกอบ 1.1 ศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสารสื่อ ทางการประกอบ อาชีพ อาชพี ไดด้ ว้ ย สถานประกอบการ ส่อื ของจริง สอื่ กระบวนการคดิ เป็น บุคคลในชุมชน 1. วิทยากรและผูเ้ รียนรว่ มกัน วเิ คราะหข์ ้อมลู เกย่ี วกับการประกอบ อาชพี 2. การใชก้ ระบวนการคดิ เป็นกำหนด ทศิ ทางการประกอบอาชีพ 2. ทกั ษะการ เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถ 1.การเตรียมวัสดุ 1.ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเน้ือหาจากใบ 14 เลอื กซ้อื วสั ดุอุปกรณ์ อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการ ความรู้ เร่ืองการเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ ประกอบอาชพี ได้อยา่ งมีคุณภาพ ทำ ท่ีใช้ การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จาก 1.1 วสั ดอุ ปุ กรณ์ที่ใช้ มะพร้าว

เรือ่ ง จดุ ประสงค์การ เน้อื หา กิจกรรม จำนวนชัว่ โมง 2.1 การทำ เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ มะพรา้ วสกัด เย็น 1.2 งบประมาณใน 2.วิทยากรอธิบายและสาธติ เก่ียวกับ การทำสบู่ การจดั ซ้อื วสั ดุ วัสดุอปุ กรณ์ท่ีใช้ สมนุ ไพรจาก มะพรา้ ว อุปกรณ์ 3.ผเู้ รียนและวทิ ยากรร่วมสนทนา 1.3 .สถานท่ีจำหนา่ ย แลกเปลย่ี นข้อมูลความคดิ เหน็ วสั ดอุ ปุ กรณ์ 4.ผู้เรยี นสรปุ ความรู้ 1. เพอ่ื ให้ผูเ้ รียน 2. การทำนำ้ มัน 1. ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาเนอื้ หาจากใบ 20 สามารถทำน้ำมัน มะพรา้ วสกัดเย็น ความรู้ เรือ่ ง การนำ้ มันมะพร้าวสกดั มะพรา้ วสกดั เยน็ ได้ 2.1 ขัน้ ตอนการ เยน็ 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียน นำ้ มนั มะพร้าวสกัด 2. วิทยากรอธิบายและสาธิตเกี่ยวกับ สามารถบอกขนั้ ตอน เย็น การน้ำมนั มะพรา้ วสกัดเย็น การทำน้ำมนั มะพร้าว 2.2 งบประมาณการ 3. ผเู้ รียนฝึกปฏบิ ัติการทำน้ำมัน สกดั เย็นได้ นำ้ มนั มะพร้าวสกดั มะพรา้ วสกดั เย็น 3. เพ่อื ให้ผเู้ รยี น เยน็ 4. วิทยากรประเมินผลการทำน้ำมนั สามารถวเิ คราะห์งบ มะพรา้ วสกัดเยน็ ของผ้เู รียน ประมาณในการทำได้ 1. เพ่ือใหผ้ ้เู รยี น 2. การทำสบู่ 1. ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเน้อื หาจากใบ 10 สามารถทำสบู่ สมนุ ไพรจากมะพรา้ ว ความรู้ เร่ือง การทำสบู่สมนุ ไพรจาก สมุนไพรจากมะพร้าว 2.1 ข้นั ตอนการทำ มะพร้าว ได้ สบูส่ มุนไพรจาก 2. วิทยากรอธบิ ายและสาธิตเกี่ยวกบั 2. เพอ่ื ให้ผเู้ รียน มะพร้าว การทำสบู่สมนุ ไพรจากมะพร้าว สามารถบอกขั้นตอน 2.2 งบประมาณการ 3. ผู้เรยี นฝกึ ปฏิบัติการทำสบู่ การทำสบู่สมุนไพร การทำสบู่สมนุ ไพร สมนุ ไพรจากมะพรา้ ว จากมะพรา้ วได้ จากมะพร้าว 4. วิทยากรประเมนิ ผลการทำสบู่ 3. เพื่อให้ผ้เู รยี น สมนุ ไพรจากมะพรา้ วของผูเ้ รียน สามารถวเิ คราะหง์ บ ประมาณในการทำได้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 1. การบรรยาย 2. การสาธิต 3. การฝึกปฏิบตั ิ

สื่อการเรยี นรู้ 1. ศึกษาจากเอกสาร/ใบความรู้ 2. ศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน/วทิ ยากร/ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ การวดั และประเมนิ ผล 1. การประเมินความรภู้ าคทฤษฎรี ะหวา่ งเรียนและจบหลักสูตร 2. การประเมินผลระหวา่ งเรียนจากการปฏบิ ตั งิ านท่มี คี ณุ ภาพเพยี งพอ สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ ับตนเอง การจบหลกั สตู ร 1. มีเวลาเรยี นและฝึกปฏบิ ตั ิตามหลักสตู รไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านหลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. มผี ลงานผา่ นการประเมินทดสอบทม่ี คี ณุ ภาพตามหลกั เกณฑ์การถกั กระเป๋าจากไหมพรม เอกสารหลกั ฐานการศึกษา 1. หลกั ฐานการประเมนิ ผล 2. วุฒบิ ัตรออกโดยศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทับสะแก 3. ทะเบยี นคมุ วฒุ บิ ัตร การเทยี บโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรสามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลอื กทีส่ ถานศกึ ษาไดจ้ ดั ทำขึ้นในระดับ ใดระดับหนง่ึ ลงชื่อ......................................................ผขู้ ออนมุ ตั หิ ลกั สูตร (นายบุญทพิ ย์ สอนง่าย) ครู กศน.ตำบลอ่างทอง ลงชอื่ ......................................................ผู้เหน็ ชอบหลักสูตร (นายคำรณ หว้ ยหงษ์ทอง) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ลงชื่อ......................................................ผ้อู นมุ ัติหลกั สตู ร (นางมณีรัตน์ อัจฉรยิ พันธกลุ ) ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอทบั สะแก

ภาพกิจกรรม / โครงการ โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน กศน.ตำบลอ่างทอง หลักสูตร การแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากมะพร้าว จำนวน 40 ช่วั โมง ระหวา่ งวนั ท่ี 30 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันที่ 6 เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2564 สถานทจี่ ดั ณ บา้ นเลขท่ี 59/1 หมู่ 4 บา้ นวงั ยาง ตำบลอ่างทอง อำเภอทบั สะแก จังหวดั

1.3 การพฒั นาแบบสนิ คา้ /ผลติ ภัณฑ์ มีการพัฒนาแบบผลิตภณั ฑ์อย่เู สมอจากเดิมไมม่ ีแบบผลติ ภัณฑท์ ่ีสวยงาม ฉลากสนิ คา้ ไม่ส่งเสรมิ ผลิตภัณฑ์ ตอ่ มาไดพ้ ัฒนารูปแบบสวยงามและไดร้ บั การสนบั สนนุ ในการตอ่ ยอดผลติ ภัณฑ์ทเี่ กดิ จากน้ำมนั มะพร้าวดังนี้ รูปผลติ ภณั ฑ์ การพฒั นา รูปแบบสนิ ค้า/ผลิตภัณฑ์ในช่วงแรกฉลากสินค้ายงั ไมไ่ ดร้ ับการออกแบบท่ีสวยงาม ไม่ส่งเสริมใหส้ ินค้ามี ความเดน่ เมอ่ื วางในชน้ั สินค้า รูปแบบสนิ คา้ /ผลติ ภัณฑ์. มีตราโลโก้ เพอื่ สร้างจดุ สนใจในการจดั จำหนา่ ย ไดต้ อ่ ยอดผลิตภัณฑ์น้ำมนั มะพร้าวโดยการน้ำวสั ดทุ ี่ เหลอื จากการทำนำ้ มนั มะพร้าวมาทำยาสระผมจาก นำ้ มันมะพรา้ วโดยได้รบั การสนนุ งบประมาณจาก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในเร่ืองบรรจภุ ณั ฑ์ 1.4 คณุ ภาพผลิตภณั ฑ์/สินค้า 1.4.1 ผลติ ภัณฑ์น้ำมนั มะพรา้ วมบี รรจภุ ณั ฑท์ ่ีคงทน แข็งแรง ไม่ทำใหน้ ำ้ มันมะพรา้ วเสอ่ื มคณุ ภาพ หรอื เสียหายตลอดเวลาท่ีใช้ผลติ ภัณฑ์นี้

1.4.2 ผลติ ภัณฑ์น้ำมนั มะพร้าวมกี ารออกแบบสลากที่สวยงาม 1.4.3 ผลิตภัณฑ์นำ้ มันมะพร้าวมีอายกุ ารใชง้ าน 5 ปี ในอุณหภูมิปกติ 1.5 กรณีสินคา้ ท่ีตอ้ งได้รบั อย./ไดร้ ับการรับรองจากองค์กรภาครฐั หรอื หน่วยงานอ่ืน ไดร้ ับการรับรองจากองค์กรภาครฐั หรือหน่วยงานอน่ื 1.5.1 ได้รับการรบั รองจาก กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในการนำน้ำมนั มะพร้าว มาพัฒนาเปน็ ผลติ ภัณฑย์ าสระผมจากน้ำมนั มะพรา้ ว กลมุ่ พัฒนาผลติ ผลสินคา้ เกษตร GAP ทับสะแก 1.6 กระบวนการผลติ ต่อส่ิงแวดล้อม การผลิตไม่มผี ลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม โดยมีข้นั ตอนและหลักการดังน้ี 1.6.1 ขน้ั ตอนการผลติ 1. เลือกมะพร้าวทับสะแกทีแ่ กก่ ำลงั พอดโี ดยดจู ากเปลอื กมะพร้าวสีไมเ่ ขยี วและไมส่ ีนำ้ ตาลเกนิ ไป 2. คน้ั กะทโิ ดยผสมผสานน้ำตอ่ เนือ้ มะพรา้ วขดู ในอตั รา 1 : 1 3. นำนำ้ กะทิท่ีได้ใส่ในตู้เยน็ หรอื ช่องทำน้ำแขง็ หรอื แช่ในถังนำ้ แขง็ เพ่ือใหก้ ะทิแยกชั้นชดั เจน 4. แยกเอาชัน้ ครมี ช้ันบนของกะทิมาใส่โถหมกั 5. ปดิ โถดว้ ยผา้ ขาวสะอาดตงั้ ไว้ 36-48 ช่วั โมง ในทสี่ ะอาด อากาศโปร่ง จะสังเกตเหน็ ชัน้ น้ำมันเม่ือ ครบ 24 ชัว่ โมง ตง้ั ไวจ้ นนำ้ มันแยกช้ันสมบูรณ์ 6. ตกั น้ำมนั ออกมากรองดัวยผ้าขาวบางท่พี ับไว้หลายชน้ั 7. ไลน่ ้ำออกไปจากนำ้ มันท่กี รองได้ ด้วยหมอ้ ต้ม 2 ชนั้ สังเกตวา่ ไมม่ ีฟองปดุ ขึ้นมาแล้วจึงใช้ได้ 8. ต้ังท้งิ ไว้อกี 1 สัปดาห์ เพอื่ ให้นำ้ มันใสและตะกอนต่างๆ จะตกไปท่กี ้นภาชนะ 9. บรรจุขวด ตดิ สลาก ดูความเรียบร้อย และจำหนา่ ยปลกี และสง่

1.6.2 ใชว้ ตั ถดุ ิบในทอ้ งถ่นิ มาแปรรูปเปน็ นำ้ มันมพร้าว ไดแ้ ก่ มะพร้าวทับสะแก 1.6.3 มกี ารนำวตั ถุดิบที่เหลือใช้จากการทำนำ้ มนั มะพร้าวมาทำผลิตภณั ฑ์จึงไมเ่ กดิ ผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม หลกั ฐานได้แก่ 1) นำ้ ชน้ั ครีมท่ตี ักออกจาการหมกั มาทำผลติ ภณั ฑ์ยาสระผมจากน้ำมันมะพร้าวและสบู่

2) นำกากเน้อื มะพร้าวจากการคน้ั กะทิมาทำขนม 1.7 แหล่งจำหน่ายสินคา้ /ผลิตภณั ฑ์ มกี ารจำหน่ายสินคา้ /ผลิตภัณฑ์ ภายในประเทศมชี อ่ งทางการตลาด มีช่องทางการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์/สินคา้ ท่ี หลากหลายช่องทาง ดังนี้ 17.1 ภายในประเทศ 1.7.1.1 มีการจัดจดั จำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ เช่นเฟสบุ๊คไลน์ หลกั ฐานไดแ้ ก่ 1) รปู ภาพหน้าการค้าขายทางไลน์

4) มีการจดั จำหน่ายณแหลง่ ผลิต ไดแ้ ก่ บ้านเลขท่ี 13 ม.1 ต.อา่ งทอง อ.ทับสะแก จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 5) หน่วยงานราชการ/อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ มกี ารออกหน่วยเคล่อื นทจ่ี ำหนา่ ยสินค้ากับหน่วยงานราชการ และอน่ื ๆ 1.8 การเพิ่มของยอดจำหน่าย (ปริมาณการขาย) เทยี บกับปีทแ่ี ล้ว ยอดจำหน่ายปริมาณเพม่ิ ขน้ึ 10% ขึ้นไป โดยใช้ข้อมูลสถิติทาง ไลน์ และยอดการสงั่ ซือ้ ตา่ งๆ ตามขอ้ 1.7

1.9 ความต่อเนอ่ื งของตลาด มตี ลาดรองรับท่ีแนน่ อน มกี ารสง่ั ซอ้ื สั่งจ้าง หรอื จำหนา่ ยอย่างต่อเนื่องต้งั แต่ 10 เดือน ข้นึ ไปผลติ ภัณฑ์ นำ้ มันมะพร้าวมีการจัดจำหนา่ ยอย่างต่อเนือ่ งเสมอโดยดไู ด้จาก 1.9.3) รายได้จากการขายในรา้ นคา้ ชุมชน และ Line

1.10 รปู แบบของบรรจุภณั ฑ์ มบี รรจุภณั ฑ์ทไ่ี ดร้ บั มาตรฐานสากลเชงิ การคา้ ปัจจบุ นั ไดม้ รี ูปแบบบรรจภุ ณั ฑเ์ ป็นที่ทไ่ี ดร้ ับการสนับสนนุ จาก กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ ไดร้ ่วมกล่มุ พัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตร GAP ทับสะแก ดังนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook