Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเป็นพลเมืองดิจิทัล 607-2

ความเป็นพลเมืองดิจิทัล 607-2

Published by Prathana Nantawong, 2020-11-03 14:44:41

Description: ความเป็นพลเมืองดิจิทัล 607-2

Search

Read the Text Version

พลเมืองดจิ ทิ ลั และความฉลาดทางดจิ ทิ ัล ความเป็นพลเมอื งดจิ ิทลั (Digital Citizenship) เป็นพลเมืองท่ีมีความสามารถในการ ใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการบริหารจดั การ ควบคมุ กากบั ตน รู้ผดิ รู้ถกู และรู้เทา่ ทนั เป็นบรรทดั ฐานใน การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั อยา่ งเหมาะสม มีความรับผดิ ชอบ เรียนรู้ที่จะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญ ฉลาด และปลอดภยั พลเมืองดิจิทลั จงึ ต้องตระหนกั ถงึ โอกาสและความเสี่ยงในโลกดจิ ิทลั เข้าใจถึงสทิ ธิและความรับผดิ ชอบในโลกออนไลน์ ความเป็นพลเมืองดิจิทลั นบั เป็นมาตรฐาน หนงึ่ ด้านทางเทคโนโลยีการศึกษาที่เสนอโดยสมาคมเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ (ISTE : International Society for Technology in Education) เพื่อให้ผ้เู รียนสามารถแสดงความ เข้าใจประเดน็ ทางสงั คม วฒั นธรรม และความเป็นมนษุ ย์ ท่ีเก่ียวข้องกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ และปฏบิ ตั ิตนอยา่ งมีจริยธรรมและตามครรลองกฎหมายให้ใช้ข้อมลู ข่าวสารได้อยา่ งปลอดภยั ถกู กฎหมาย ซงึ่ มีความสาคญั ในทกั ษะแหง่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทกั ษะสาคญั ทีจ่ ะทาให้ เป็นพลเมืองดจิ ทิ ลั ท่ีสมบรู ณ์ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เป็นผลจากศกึ ษาและพฒั นาของ DQ institute หน่วยงานท่ี เกิดจากความร่วมมือกนั ของภาครฐั และเอกชนทว่ั โลกประสานงานร่วมกบั เวิลด์อโี คโนมกิ ฟอรมั่ (World Economic Forum) ท่ีมงุ่ มนั่ ให้เด็ก ๆ ทกุ ประเทศได้รบั การศึกษาด้านทกั ษะ พลเมืองดจิ ทิ ลั ท่ีมีคณุ ภาพและใช้ชีวติ บนโลกออนไลน์อย่างปลอดภยั ด้วยความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีสมยั ใหม่ ความฉลาดทางดจิ ิทลั เป็นกรอบแนวคิดทคี่ รอบคลมุ ของความสามารถ ทางเทคนคิ ความรู้ความเข้าใจและความคดิ ทางสงั คมท่ีมีพืน้ ฐานอยใู่ นคา่ นยิ มทางศีลธรรมท่ี ชว่ ยให้บคุ คลท่ีจะเผชญิ กบั ความท้าทายทางดิจิทลั ความฉลาดทางดิจิทลั มีสามระดบั 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะท่ีประกอบด้วย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและคา่ นิยม โดยบทความนจี ้ ะ กลา่ วถงึ ทกั ษะ 8 ด้านของความฉลาดดจิ ทิ ลั ในระดบั พลเมืองดจิ ทิ ลั ซึ่งเป็นความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั และสื่อในรูปแบบที่ ปลอดภยั รับผดิ ชอบ และมีจริยธรรม ดงั นี ้

1. เอกลกั ษณ์พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital Citizen Identity) เอกลกั ษณ์พลเมืองดิจิทลั เป็นความสามารถสร้างและบริหารจดั การอตั ลกั ษณ์ที่ดีของ ตนเองไว้ได้อยา่ งดีทงั้ ในโลกออนไลน์และโลกความจริงอตั ลกั ษณ์ท่ีดีคือ การท่ีผ้ใู ช้สอ่ื ดจิ ิทลั สร้างภาพลกั ษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองในแงบ่ วก ทงั้ ความคดิ ความรู้สกึ และการกระทา โดยมีวจิ ารณญาณในการรับสง่ ข่าวสารและแสดงความคดิ เหน็ มีความเห็นอกเหน็ ใจผ้รู ่วมใช้ งานในสงั คมออนไลน์ และรู้จกั รับผดิ ชอบต่อการกระทา ไมก่ ระทาการท่ีผดิ กฎหมายและ จริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ การกลนั่ แกล้งหรือการใช้วาจาท่ีสร้างความ เกลยี ดชงั ผ้อู ื่นทางส่ือออนไลน์ 2. การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ิทลั (Screen Time Management) การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ทิ ลั เป็นความสามารถ ควบคมุ ตนเอง ความสามารถในการจดั สรรเวลาในการ ใช้งาน อปุ กรณ์ดจิ ิทลั และอปุ กรณ์เทคโนโลยีได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมถงึ การใช้งานสอื่ สงั คม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ด้วยความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง สามารถบริหาร เวลาท่ีใช้อปุ กรณ์ยคุ ดจิ ทิ ลั รวมไปถึงการควบคมุ เพ่ือให้เกิดสมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกความเป็นจริง อกี ทงั้ ตระหนกั ถงึ อนั ตราย และสขุ ภาพจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกินไป และผลเสียของการเสพตดิ ส่อื ดิจิทลั

3.การจดั การการกลน่ั แกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจดั การการกลน่ั แกล้งบนไซเบอร์ เป็นความสามารถในการป้ องกนั ตนเอง การมี ภมู ิค้มุ กนั ในการรับมือและจดั การกบั สถานการณ์การกลน่ั แกล้งบนอนิ เทอร์เนต็ ได้อยา่ งชาญ ฉลาด การใช้อนิ เทอร์เนต็ เป็นเครื่องมือหรือชอ่ งทางเพ่ือก่อให้เกดิ การคกุ คามลอ่ ลวงและการ กลนั่ แกล้งบนโลกอนิ เทอร์เนต็ และสื่อสงั คมออนไลน์ โดยกลมุ่ เป้ าหมายมกั จะเป็นกลมุ่ เดก็ จนถงึ เด็กวยั รุ่น การกลนั่ แกล้งบนโลกไซเบอร์คล้ายกนั กบั การกลน่ั แกล้งในรูปแบบอ่ืน หากแต่ การกลน่ั แกล้งประเภทนีจ้ ะกระทาผา่ นสือ่ ออนไลน์หรือสื่อดิจิทลั เชน่ การสง่ ข้อความทาง โทรศพั ท์ ผ้กู ลนั่ แกล้งอาจจะเป็นเพ่ือนร่วมชนั้ คนรู้จกั ในสื่อสงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคน แปลกหน้าก็ได้ แต่สว่ นใหญ่ผ้ทู ่ีกระทาจะรู้จกั ผ้ทู ี่ถกู กลน่ั แกล้งรูปแบบของการกลนั่ แกล้งมกั จะ เป็นการวา่ ร้าย ใสค่ วาม ข่ทู าร้าย หรือใช้ถ้อยคาหยาบคาย การคกุ คามทางเพศผา่ นส่ือ ออนไลน์ การแอบอ้างตวั ตนของผ้อู ื่น การแบลก็ เมล์ การหลอกลวง การสร้างกลมุ่ ในโซเชียล เพื่อโจมตีโดยเฉพาะ

4.การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย (Cybersecurity Management) การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือข่าย เป็นความสามารถในการสารวจ ตรวจสอบ การป้ องกนั และ การรักษาความปลอดภยั ของข้อมลู ในระบบเครือข่าย ป้ องกนั ข้อมลู ด้วยการสร้างระบบความปลอดภยั ที่เข้มแข็ง และป้ องกนั การโจรกรรมข้อมลู หรือการถกู โจมตีออนไลน์ได้ มีทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์การรักษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกป้ องอปุ กรณ์ดจิ ิทลั ข้อมลู ท่ีจดั เกบ็ และ ข้อมลู สว่ นตวั ไม่ให้เสยี หาย สญู หาย หรือถูกโจรกรรมจากผ้ไู ม่หวงั ดีในโลกไซเบอร์

5.การจดั การความเป็นสว่ นตวั (Privacy Management) การจดั การความเป็นส่วนตวั เป็นความสามารถในการจดั การกบั ความเป็นสว่ นตวั ของ ตนเองและของผ้อู ่ืน การใช้ข้อมลู ออนไลน์ร่วมกนั การแบง่ ปันผา่ นส่ือดจิ ทิ ลั ซ่ึงรวมถงึ การ บริหารจดั การ รู้จกั ป้ องกนั ข้อมลู สว่ นบคุ คลของตนเอง เช่น การแชร์ข้อมลู ต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือ ดจิ ิทลั การขโมยข้อมลู อตั ลกั ษณ์ เป็นต้น โดยต้องมีความสามารถในการฝึกฝนใช้เครื่องมือ หรือวธิ ีการในการป้ องกนั ข้อมลู ตนเองได้เป็ นอย่างดี รวมไปถงึ ปกปิดการสบื ค้นข้อมลู ต่างๆ ใน เวบ็ ไซต์ เพ่ือรกั ษาความเป็นสว่ นตวั ความเป็นสว่ นตวั ในโลกออนไลน์ คือสทิ ธิการปกป้ องข้อมลู ความสว่ นตวั ในโลกออนไลน์ของผ้ใู ช้งานท่ีบคุ คลหรือการบริหารจดั การข้อมลู สว่ นตวั รวมถึง การใช้ดลุ ยพนิ ิจปกป้ อง ข้อมลู สว่ นบคุ คลและข้อมลู ท่ีเป็นความลบั ของผ้อู ื่น 6.การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตดั สนิ ของบคุ คลวา่ ควรเชื่อ ไมค่ วรเช่ือ ควรทา หรือไม่ควรทาบนความคดิ เชงิ เหตแุ ละผล มีความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะระหวา่ งข้อมลู ท่ีถกู ต้องและข้อมลู ท่ีผดิ ข้อมลู ที่มีเนือ้ หาเป็นประโยชน์และข้อมลู ที่เข้า ข่ายอนั ตราย ข้อมลู ติดตอ่ ทางออนไลน์ที่นา่ ตงั้ ข้อสงสยั และน่าเช่ือถือได้ เม่ือใช้อนิ เทอร์เน็ต ทราบวา่ เนือ้ หาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทนั ส่อื และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะห์และประเมิน ข้อมลู จากแหลง่ ข้อมลู ที่หลากหลายได้ เข้าใจรูปแบบการหลอกลวงตา่ ง ๆ ในส่ือดจิ ิทลั เชน่ ข่าว ปลอม เวบ็ ไซต์ปลอม ภาพตดั ตอ่ ข้อมลู อนั ท่ีเทจ็ เป็นต้น

7.ร่องรอยทางดิจทิ ลั (Digital Footprints) ร่องรอยทางดจิ ิทลั เป็นความสามารถในการเข้าใจธรรมชาติของการใช้ชีวติ ในโลกดิจทิ ลั วา่ จะหลงเหลอื ร่องรอยข้อมลู ทงิ ้ ไว้เสมอ ร่องรอยทางดจิ ทิ ลั อาจจะสง่ ผลกระทบในชีวติ จริง ที่ เกดิ จากร่องรอยทางดจิ ทิ ลั เข้าใจผลลพั ธ์ท่ีอาจเกดิ ขึน้ เพ่ือนามาใช้ในการจดั การกบั ชีวติ บทโลก ดจิ ิทลั ด้วยความรบั ผดิ ชอบ ข้อมลู ร่องรอยทางดิจทิ ลั เชน่ การลงทะเบยี น อีเมล การโพสต์ ข้อความหรือรูปภาพ ไฟล์งานตา่ ง ๆ เมื่อถูกสง่ เข้าโลกอนิ เทอร์เน็ตแล้ว จะทงิ ้ ร่องรอยข้อมลู สว่ นตวั ของผ้ใู ช้งานไว้ ให้ผ้อู ่นื สามารถติดตามได้ และจะเป็นข้อมลู ที่ระบตุ วั บคุ คลได้อย่าง ง่ายดาย

8.ความเหน็ อกเหน็ ใจและสร้างสมั พนั ธภาพทด่ี ีกบั ผ้อู น่ื ทางดิจทิ ลั (Digital Empathy) ความเห็นอกเหน็ ใจและสร้างสมั พนั ธภาพท่ีดีกบั ผ้อู ื่นทางดิจทิ ลั เป็นความสามารถใน การเข้าใจผ้อู ืน่ การตอบสนองความต้องการของผ้อู น่ื การแสดง ความเห็นใจและการแสดง นา้ ใจต่อผ้อู ่นื บนโลกดิจิทลั ได้อย่างเหมาะสม มีปฏสิ มั พนั ธ์อนั ดีตอ่ คนรอบข้าง ไม่วา่ พ่อแม่ ครู เพ่ือนทงั้ ในโลกออนไลน์และในชีวติ จริง ไม่ดว่ นตดั สนิ ผ้อู ืน่ จากข้อมลู ออนไลน์แตเ่ พียงอยา่ ง เดียว และจะเป็นกระบอกเสยี งให้ผ้ทู ี่ต้องการความช่วยเหลือในโลกออนไลน์

จะเหน็ วา่ ความฉลาดดจิ ทิ ลั ในระดบั พลเมืองดจิ ิทลั เป็นทกั ษะที่สาคญั สาหรับนกั เรียน และบคุ คลทว่ั ไปในการสื่อสารในโลกออนไลน์เป็นอยา่ งยิ่ง ทงั้ เอกลกั ษณ์พลเมืองดิจิทลั การ บริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั การจดั การการกลน่ั แกล้งบนไซเบอร์ การจดั การความ ปลอดภยั บนระบบเครือข่าย การจดั การความเป็นสว่ นตวั การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ ร่องรอย ทางดจิ ิทลั ความเห็นอกเหน็ ใจและสร้างสมั พนั ธภาพที่ดีกบั ผ้อู นื่ ทางดิจิทลั หากบคุ คลมีทกั ษะ และความสามารถทงั้ 8 ประการจะทาให้บุคคลนนั้ มคี วามสามารถในการใช้อนิ เทอร์เนต็ ในการ บริหารจดั การ ควบคมุ กากบั ตน รู้ผดิ รู้ถกู และรู้เท่าทนั เป็นบรรทดั ฐานในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทลั อย่างเหมาะสม เรียนรู้ท่ีจะใช้เทคโนโลยีอยา่ งชาญฉลาด และปลอดภยั

แหลง่ ท่ีมา สถาบนั สื่อเด็กและเยาวชน. (2561). การจดั ทา Fact Sheet‘ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ’ (Digital Intelligence : DQ) และการศึกษาการรงั แกกนั บนโลกไซเบอร์ของ วยั รุ่น. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั สื่อเดก็ และ เยาวชน Yuhyun Park. (2016). 8 digital skills we must teach our children. Retrieved March 8, 2017, https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-we-must-teach our-children นาย นฐั พงษ์ ถาปิ นตา เลขที่ 2 ชนั้ ม.6/7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook