Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore THA_VIET final spreads

THA_VIET final spreads

Published by nutchanonpaint, 2020-10-30 19:09:25

Description: THA_VIET final spreads

Search

Read the Text Version

สารบญั 1 The Motherland 6 “จากแผ่นดนิ แม่ส่แู ผ่นดนิ ไทย” 26 40 2 Thai-Viet Agriculturist 54 “เกษตรไทยสไตล์คนเวยี ด” 62 3 Spirit of Us “จิตวิญญาณแหง่ ชุมชน” 4 Food and Culture เอกลกั ษณ์ในอาหาร 5 The Story of Language \"ภาษารากเหงา้ วัฒนธรรม\"

คำ� นำ� กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ เป็นหน่วยงานรัฐที่จัดต้ังข้ึนตาม พระราชบญั ญตั ิ กองทนุ พฒั นาสอื่ ปลอดภยั และสรา้ งสรรค์ พ.ศ2558 มวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ในการจัดสรรเงินทุนเพ่ือใช้ในการผลิตการพัฒนาและเผยแพร่ส่ือท่ีมีคุณภาพ ท้ังนี้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และพฤติกรรมที่ดีของเด็กและเยาวชนส่งเสริมความสัมพันธ์ อันดีในครอบครอบครัวและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการผลิตสื่อ ปลอดภัยและสร้างสรรค์ โครงการสื่อสร้างสรรค์เพ่ือวัฒนธรรมคนไทยเช้ือสายเวียดนาม อ.เมือง จ.นครพนม ไดจ้ ดั ทำ� และเผยแพรส่ อื่ สารคดจี ำ� นวน 5 ตอน ในมติ ทิ างประวตั ศิ าสตร์ การต้ังถิ่นฐาน ประเพณีวัฒนธรรม วิถีชีวิตและการด�ำรงอยู่ของคนไทยเชื้อสาย เวียดนามทัง้ 7 ชมุ ชน ผ่านชอ่ งทางสอ่ื Social Media ท้งั Facebook และ Youtube ในช่ือว่า ซนิ จา่ ว-สวสั ดเี วยี ดนามนครพนม และเพื่อเปน็ การขยายผลจากส่ือสารคดี ทางโครงการฯจึงไดจ้ ัดทำ� E-book นี้ข้นึ ทางโครงการหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ E-book ฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชนด์ า้ นการศกึ ษา ค้นคว้าและเป็นเครื่องมือส�ำหรับการสืบค้นข้อมูลของคนไทยเช้ือสายเวียดนามใน จังหวัดนครพนมให้แก่บุคคลท่ีมคี วามสนใจในประเดน็ ดังกล่าวไดเ้ ป็นอยา่ งดี รุ่งฤดี พพิ ัฒนกจิ หัวหน้าโครงการ

อนสุ รณส์ ถานประธานโฮจมิ นิ ห์ บ้านนาจอก จ.นครนพม 6

1 The Motherland “จากแผน่ ดินแม่ สู่แผ่นดนิ ไทย” ปัจจุบันคนไทยเชื้อสายเวียดนามมีการกระจายตัวตั้งถิ่นฐานอาศัย อยู่ใน อ.เมือง จ.นครพนมนับรวมเป็นชุมชนใหญ่ได้ 7 ชุมชน อนั ไดแ้ ก่ ชมุ ชนบา้ นนาราชควาย ชมุ ชนบา้ นโพนบก ชมุ ชนหนองแสง ชุมชนวัดป่า (ชุมชนวัดศรีเทพ) ชุมชนบ้านดอนโมง และชุมชน บ้านนาจอก บา้ นตน้ ผ้งึ โดยพวกเขามีการอพยพเข้ามาสู่ภาคอีสานของไทยอยู่หลาย ระรอก ส่วนเหตุปัจจัยในการอพยพนั้นก็ได้แก่ การเกิดภัยแล้ง ภัยอดอยาก ภัยการเมือง ภัยศาสนา และภัยสงคราม เป็นต้น นักวิชาการของไทยในช่วงสงครามเย็นแบ่งการอพยพเพ่ือเรียก กลุ่มคนเวียดนามย้ายถ่ินดังกล่าว ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ “กลุ่มญวนเก่า” และ “กลุ่มญวนใหม่” 7

ปี ค.ศ.1860 ประเทศเวียดนามเกิด เสน้ ทางการอพยพของชาวเวียดนามมายงั ประเทศไทย ปญั หาสำ� คัญอยา่ งหนงึ่ อนั เนื่องมาจากการ จุดยุทธศาสตร์สามแยกดงหลก ลงนามในสนธสิ ญั ญาระหวา่ งราชวงศเ์ หงยี น กับฝร่ังเศส ที่อนุญาตให้ฝร่ังเศสสามารถ เผยแพรศ่ าสนาครสิ ต์ไดท้ ว่ั ทกุ พนื้ ท่ี เปน็ เหตผุ ล ใหช้ นชน้ั นำ� เกา่ ของเวยี ดนามไมพ่ อใจ มกี าร ลกุ ขน้ึ มาโจมตชี าวครสิ ตอ์ ยา่ งหนกั ชาวครสิ ต์ ส่วนหน่ึงจึงเดินเท้าหนีจากภาคกลางของ เวยี ดนามอยา่ งในจงั หวดั เหงอ่ านและจงั หวดั ฮาต่ิงห์ในปัจจุบัน เข้าสู่พ้ืนท่ีของจังหวัด นครพนม ปี ค.ศ. 1920 เม่ือฝรั่งเศสเข้ายึด เวียดนามเป็นอาณานิคม คนเวยี ดนามที่ไม่ พอใจนโยบายการปกครองของฝร่ังเศสก็ได้ พากันหนีอพยพเข้าไปอยู่ในพื้นท่ีของ ประเทศลาวเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็มีบางสว่ นท่ี ไดอ้ พยพขา้ มแมน่ ำ้� โขงเขา้ มาอย่ใู นตามแนว ตะเข็บภาคอีสานของประเทศไทย เช่นใน จังหวัดอุบลราชธานี หนองคาย สกลนคร อดุ รธานี และนครพนม ปี ค.ศ. 1945 เกดิ ภยั อดอยากจากการ เปลยี่ นพนื้ ทเ่ี พาะปลกู ของชาวบา้ นใหไ้ ปเปน็ พ้ืนที่เพาะปลูกพืชยุทธปัจจัยให้แก่ทหารใน กองทัพอาณานิคมทัง้ ของฝรง่ั เศสและญี่ปนุ่ ทำ� ใหม้ ผี คู้ นลม้ ตายจากภยั ความอดอยากใน ครง้ั นนั้ มากถงึ 2 ลา้ นคน ผคู้ นทยี่ งั มชี วี ติ รอด 8

The Motherland ถนนสาย 15 สรา้ งเพ่อื เช่ือมต่อทางหลวงสายโฮจิมนิ ห์ อ.เฮืองเค จ.ฮาต่งิ ห์ จึงกระเสือกกระสนเดินเท้าเข้าสู่ภาคอีสาน คร้ังท่ี 2 ฝรั่งเศสจึงน�ำกองทัพมารุกราน ของไทย เวียดนาม จนน�ำไปสู่ความสูญเสียครั้งย่ิง ใหญท่ ่สี ดุ คร้ังหนึง่ ในหนา้ ประวัตศิ าสตร์ของ จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ า่ มวลมนษุ ยชาติที่รู้จกั กนั ในช่ือว่า “สงคราม กลุ่มผู้อพยพที่เรียกว่า “กลุ่มญวนเก่า” อนิ โดจีน” มสี าเหตใุ นการอพยพเขา้ สภู่ าคอสี านของไทย โดยเฉพาะในจังหวัดนครพนมท้ังจากเรื่อง สงครามทก่ี นิ เวลานานถงึ 8 ปี มผี คู้ น ของภัยทางการเมือง ภัยจากการศาสนา บาดเจ็บล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงมี และภยั จากยุคลา่ อาณานิคม ผู้อพยพหนีภัยสงครามเข้าสู่ประเทศไทย ตามแนวตะเขบ็ แมน่ ำ�้ โขง ตอ่ มาภายหลงั จงึ ปี ค.ศ. 1946 ฝรง่ั เศสตอ้ งการกลบั มา เรยี กกลมุ่ ผอู้ พยพทเี่ ขา้ สภู่ าคอสี านของไทย มอี ำ� นาจในภมู ภิ าคอนิ โดจนี อกี ครงั้ หลงั จาก นับจากเหตกุ ารณน์ ั้นวา่ “กลุ่มญวนใหม”่ สญู เสยี อำ� นาจไปใหแ้ กญ่ ป่ี นุ่ ในชว่ งสงครามโลก 9

“ผมเปน็ คนไทยเชอ้ื สายเวยี ดนามรนุ่ ท่ี3 บรรพบรุ ษุ ปยู่ า่ ตายาย ไดอ้ พยพ มาจากเวยี ดนามทางตอนเหนอื อำ� เภออเี๋ อยี น จงั หวดั นามดงิ่ ประเทศเวยี ดนาม อพยพมาดว้ ยภยั อดอยาก พนื้ ทเี่ พาะปลกู ขา้ วถกู เปลย่ี นใหป้ ลกู ตน้ ปอซึ่งเป็น พืชยุทธปัจจัยส�ำหรับกองทัพเพ่ือน�ำไปทอเป็นกระสอบส�ำหรับใส่ถ่านหิน บรรพบรุ ษุ ไดเ้ ลา่ วา่ อพยพจาก จ.นามดง่ิ เขา้ มาอยทู่ ป่ี ระเทศลาว ทเ่ี มอื งทา่ แขก ในปี ค.ศ. 1940 อยทู่ นี่ นั่ ไดป้ ระมาณ 3-4 ปี จากนนั้ กอ็ พยพมาทเี่ มอื งไทยในวนั ท่ี 21 มนี าคม1946 ในเหตกุ ารณว์ นั ทา่ แขกแตก คอื การกลบั มายดึ ลาวอกี ครงั้ หนง่ึ ของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1946 ท�ำให้ครอบครัวของปู่ย่าตายายต้องอพยพ อาจารยส์ ุรยิ า ค�ำหว่าน สาขาวิชาภาษาเวียดนาม มหาวิทยาลยั นครพนม 10

The Motherland ขา้ มแมน่ ำ�้ โขงมายงั ฝง่ั ไทย อพยพมาทร่ี มิ ฝง่ั โขงอาศยั ทน่ี นั่ สกั ประมาณ1 อาทติ ย์ เดินเท้าลงไปทางใต้กับกลุ่มคนเวียดนามที่อพยพมาด้วยกันจนถึงพ้ืนท่ีอ�ำเภอ เรณนู คร พบวา่ มกี ลมุ่ คนเวยี ดนามตง้ั ชมุ ชนเวยี ดนามอพยพ กลมุ่ คนทอ่ี ยตู่ รงนนั้ เรียกว่า “บ้านญวนเมืองเว” แล้วก็อพยพเข้ามาอยู่ท่ีอ�ำเภอเมืองนครพนม ประมาณปี ค.ศ.1969 ยคุ อาณานคิ มแรกเรม่ิ เดมิ ทฝี รงั่ เศสก็ไมค่ อ่ ยจะใหค้ วามสนใจกบั พนื้ ทขี่ อง แคว้นท่ีเรียกว่าลาวมากนักเพราะว่าฝรั่งเศสอาจจะมองว่าพื้นท่ีตรงน้ีไม่มี ทรพั ยากรมากมาย เชน่ เดยี วกบั พ้นื ที่ชายฝงั่ ทะเล แตจ่ ะอะไรกต็ ามเม่อื มีการ ค้นพบแร่ เช่น ดีบุก จ�ำนวนมากทเ่ี มอื งทา่ แขก มนั ทำ� ใหร้ ฐั บาลอาณานคิ มเรม่ิ สนใจทจี่ ะอพยพคนจากรมิ ชายฝง่ั ทะเลในเวียดนามเข้ามาอยู่ในลาวมากย่ิงข้ึน นอกนจากนน้ั ยงั มกี ารกอ่ เกดิ ขน้ึ ของเหมอื งแร่ บองแหนง๋ และ โพนตวิ๋ ทที่ า่ แขก คนเวียดนามถูกอพยพเข้ามาท�ำหน้าที่เป็นข้าราชการของฝรั่งเศสท�ำให้พื้นที่ ชายแดนในฝง่ั ลาวเปน็ พน้ื ทสี่ ะสมของคนเวยี ดนามมากยงิ่ ขนึ้ งานวชิ าการหลายชน้ิ ชี้ใหเ้ หน็ วา่ ในยคุ นนั้ ในพน้ื ทเี่ มอื งลาวมอี ตั ราสว่ นของคนเวยี ดนามมากกวา่ คนลาว ด้วยซ้ำ� ดังน้ันคนทเ่ี ขา้ มากอ่ นเป็นปจั จัยทท่ี �ำให้คนที่หนภี ัยความอดอยากและ หนีภยั แลง้ เข้ามาในพ้ืนทขี่ องเมอื งลาวมากยิ่งขนึ้ ช่วงระยะเวลาการอพยพน้นั ทำ� ให้จดั อยู่ใน กลมุ่ ญวนใหม่” อาจารยส์ รุ ยิ า คำ� หว่าน สาขาวิชาภาษาเวยี ดนาม มหาวทิ ยาลัยนครพนม 11

บิ่ง ฟามวัน ชายวัย 86 ปี ถือเปน็ ลอยมาขา้ มฟาก รอบตวั มแี ตศ่ พลอย แมน่ ำ้� กลมุ่ ญวนใหมท่ อ่ี พยพมาสจู่ งั หวดั นครพนม โขงเป็นสีแดงไปหมดมีแต่เลือด พ่อแม่ จากเหตกุ ารณท์ เี่ รยี กวา่ วนั ทา่ แขกแตก ในปี พน่ี อ้ งกไ็ ปคนละทศิ ละทางไมร่ วู้ า่ ใครเปน็ ยงั ไง ค.ศ.1946 เขาเล่าถึงประสบการณ์จาก ตอนน้ันมีผู้ใหญ่พาไปพักที่บ้านนาจอก สงครามในตอนนนั้ วา่ “เดนิ ทางอพยพมากบั ได้พักอาศัย 2-3 คืน ก็ออกมาตามหา ครอบครวั มาจาก จ.กวา่ งบง่ิ มาในปี ค.ศ.1945 ครอบครวั หาหลายวนั เจอพอ่ แมอ่ ยคู่ า่ ยพกั เกดิ ภยั อดอยากและภยั นำ้� ทว่ มควบคกู่ นั แมแ้ ต่ บริเวณโรงเรียนเทศบาล 3 ในปัจจุบัน รากไม้ก็ไม่มีกิน น้องชายต้องเสียชีวิตเป็น แม่โดนสะเก็ดลูกปืนเข้าท่ีหัวยังมารักษาตัว ไขต้ ายระหว่างเดินทาง รองเทา้ ไม่มีใส่ตอ้ ง ที่โรงพยาบาลนครพนมไม่นานเท่าไหร่แม่ ใช้เสื้อพันเท้าแทนรองเท้า เมื่อถึงลาว กต็ าย” มีคนให้ข้าวเหนียวกับมะขามสุกให้กินเป็น อาหาร คนทมี่ าดว้ ยกนั กนิ อมิ่ เกนิ ไปทอ้ งไมร่ บั มีความเป็นไปไดว้ า่ “กลุ่มญวนเกา่ ” อมิ่ ตายกม็ ี ตอนนนั้ จำ� ไดว้ า่ อายุ13 ปี เดนิ ทาง เม่ือพวกเขาอพยพเข้าสู่พื้นที่ของจังหวัด มาตงั้ หลกั ทท่ี า่ แขก สปป.ลาวมคี นเวยี ดนาม นครพนมแล้ว ก็ไปตั้งชุมชนอยู่ร่วมกัน อยู่กันเยอะจ�ำได้ว่าท่าแขกแตกในวันท่ี 21 ที่บ้านค�ำเกิ้มเป็นแห่งแรก ก่อนจะกระจัด มนี าคม 1946 วันนนั้ แม่ไปขายของที่ตลาด กระจายแยกย้ายกันไปหลังเกิดโรคระบาด ติดกบั แมน่ ำ้� โขง ส่วนลุงก็ช่วยงานทหารอยู่ ข้นึ ทีบ่ า้ นคำ� เกิ้ม บางส่วนเลอื กที่จะเดินเทา้ ริมแม่น�้ำโขง ลุงเห็นเครื่องบินยิงปืนสาด ขนึ้ ไปตามแนวสันเขาท่ชี อื่ ว่าภเู ขาทอง แลว้ กระสุนลงตลาดคิดว่าแม่ต้องตายแล้วแน่ๆ ก็ค่อยๆ สร้างบ้านแปงเมืองจนสามารถตั้ง คนบนฝั่งกระโดดลงแม่น�้ำโขง ใครมีเรือก็ เปน็ หมบู่ า้ นทม่ี ชี อ่ื เรยี กกนั ในภาษาเวยี ดนาม พายไมม่ กี ว็ า่ ยนำ้� หนี เครอ่ื งบนิ ยงั ยงิ ไมห่ ยดุ ว่า “บ้านใหม”่ หรอื ชอ่ื อย่างเปน็ ทางการว่า คนตายลอยเต็มแม่น�้ำโขงลุงก็เกาะขอนไม้ “บ้านนาจอก” 12

The Motherland บ่งิ ฟามวนั 13

“ผมเกดิ ทบี่ า้ นนาจอก บรรพบรุ ษุ รนุ่ ปู่ ขนึ้ มาอกี 5 หลัง เอาเตาสามขา หมอ้ ขา้ ว เป็นผู้อพยพเดินทางมาต้ังรกรากที่บ้าน ทำ� ทีวา่ มีคนหุงหาอาหารกนิ พอทางการมา นาจอก ปู่ผมเป็นรุ่นแรกเป็น 1 ใน 7 ตรวจถามว่าคนบ้านนี้ไปไหน บอกว่าไป ครอบครัวกล่มุ แรกทมี่ าต้งั หมู่บา้ นก่อนที่จะ ท�ำนาอยู่บริเวณบ้านหนองบัว บ้านดงโชค มาตั้งหมู่บ้านน้ันเดิมอยู่ที่บ้านค�ำเกิ้ม อดีตตรงนั้นยังไม่มีหมู่บ้านยังเป็นป่า เกดิ โรคระบาด (อหวิ าต)์ เลยแยกยา้ ยกนั หนี ทางการมาตรวจแลว้ ตงั้ ชอ่ื เปน็ “บา้ นนาจอก” ส่วนคนที่นับถือศาสนาคริสต์ย้ายไปอยู่บ้าน พ่อผมบอกว่าสมัยก่อนหมาจิ้งจอกเยอะ หนองแสง 7 ครอบครวั พากนั มาอยทู่ น่ี าจอก นอกจากนัน้ ยังมีหมปู ่า มเี สือ ดว้ ยความท่ี ตอนน้ันกฎหมายการตั้งหมู่บ้านต้องมี หมาจ้ิงจอกเยอะเลยยึดเอาเป็นชื่อ แต่คน 12 หลงั คาเรือน เลยช่วยกนั สรา้ งกระต๊อบ เวียดนามจะเรยี กว่าบ้านใหม่ การขยายตวั ชมุ ชน 14

The Motherland ภาพเก่าภูเขาทอง สอาด วงศป์ ระเสรฐิ คนบ้านนาจอกส่วนมากจะอพยพ กรมทหารราบท่ี 3 (คา่ ยพระยอดเมอื งขวาง) มาจากภาคกลางของเวียดนาม จ.เหง่อาน มรี ถถงั จอดดว้ ยตอนนน้ั มเี รอ่ื งการเคลอ่ื นไหว จ.ฮาติง่ ห์ รองลงมา จ.กว่างบิ่ง ในปี 1946 ของคนกู้ชาติและโรงเรียนบ้านนาจอก มีญวนใหม่อพยพมาเพิ่ม ตอนน้ันฝรั่งเศส (แรงประชาชน) มกี ารแอบเรยี นภาษาเวยี ดนาม กลับมามีอ�ำนาจอีกครั้ง บ้านผมตอนน้ัน และมเี สยี งออกมาวา่ บา้ นนาจอกเปน็ โรงงาน มคี นมาขออยถู่ งึ 10 ครอบครวั คนสมยั กอ่ น ผลิตอาวุธช่วย ลาว เขมร กู้เอกราชเพราะ สอนใหล้ กู หลานรกั ชาตเิ กดิ เมอื งไทยตอ้ งรกั ถ้าท้ัง 2 ประเทศสูไ้ ม่ได้เวยี ดนามกล็ �ำบาก เมืองไทยเแต่เราเป็นคนเวียดนามก็ต้อง ทหารกองร้อยมาเพื่อปราบคนเวียดนาม กู้ชาติ ในยุคกู้ชาติโฮจิมินห์ก็มาที่น่ีแต่ไม่มี วันหนึ่งผมถูกเรียกให้ไปพบถูกกล่าวหาว่า ใครรู้จักรู้เม่ือกู้เสร็จแล้ถึงรู้ว่าท่านเคยมา ผมเป็นคอมมวิ นสิ ต์ รถถงั ท่เี อามาไว้นีก้ ็คอื ที่บ้านนาจอก พ่อสอนผมว่าคนเราต้องมี เอาไว้ไถบ้านนาจอกให้เรียบ กองก�ำลังนี้ เสรภี าพตอ้ งมเี อกลกั ษณข์ องตวั เอง ประเทศ อยู่ได้ 2-3 ปไี มม่ อี ะไรเกดิ ขน้ึ กย็ กเลิกไป” เวยี ดนามไมม่ แี ผนท่ีในโลก เปน็ เพยี งอำ� เภอ หนง่ึ ของฝรง่ั เศส สอาด วงศป์ ระเสรฐิ อายุ 87 ปี ชาวบา้ นนาจอก บ้านนาจอกเคยมีกองก�ำลังทหารมา ประจ�ำการเฝ้าดู กองพันทหารราบที่ 3 15

พธิ สี ่งชาวเวียดนามกลบั สภู่ มู ลิ ำ� เนาเดมิ หอนาฬิกาปัจจุบัน 16

หลังสงครามอินโดจีนยุติลง รัฐบาล The Motherland ไทยและรัฐบาลเวียดนามลงนามส่งคืน ผู้อพยพชาวเวียดนามกลับคืนสู่แผ่นดิน พิธีส่งชาวเวียดนามกลับส่ภู ูมลิ ำ� เนาเดิมในปี 2506 มาตภุ มู ิ วนั ท่ี 4 มกราคม ค.ศ.1960 คอื วนั ท่ี เรอื ซงึ่ เตม็ ไปดว้ ยชาวเวยี ดนามอพยพ เดนิ เรอื สรา้ งไวเ้ ปน็ อนสุ รณแ์ กช่ าวนครพนม สรา้ งเมอ่ื ออกจากท่าเรือคลองเตยไปที่ท่าเรือไฮฟอง พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ด้านบนหอนาฬกิ า เป็นเท่ียวแรก เม่ือเรือล�ำดังกล่าวถึงท่าเรือ จารึกไว้ดงั นี้ “ชาวเวยี ดนามอนสุ รณ์ คราว ไฮฟองทา่ นประธานาธบิ ดโี ฮจมิ นิ หก์ อ็ อกมา ยา้ ยกลับปิตภุ ูมิ Viet Kieu Luu Niem Dip ตอ้ นรบั ดว้ ยตวั เอง การสง่ กลบั ชาวเวยี ดนาม Hoi Hong 2503” ดา้ นในหอนาฬกิ าเขยี นวา่ ครั้งนั้นเรียกกันว่า “เหวียดเกี่ยวโห่ยเฮือง” “ชาวเวยี ดนามอนสุ รณ์ Viet Kieu luu niem” แต่อย่างไรก็ตามกระบวนการส่งกลับชาว เวียดนามอพยพก็ต้องยุติลงในวันที่ 28 อาจารย์สุรยิ า ค�ำหวา่ น กรกฎาคม ค.ศ. 1964 เพราะเกดิ สงครามขน้ึ สาขาวชิ าภาษาเวียดนาม ทปี่ ระเทศเวยี ดนามอกี ครง้ั โดยมจี ำ� นวนการ มหาวิทยาลัยนครพนม สง่ กลับคนเวียดนามอพยพทง้ั สน้ิ 75 เที่ยว นบั จำ� นวนคนได้ 46,256 คน และนครพนม 17 ถือเป็นจังหวัดท่ีมีคนอพยพกลับมากที่สุด 15,815 คน “ส่ิงท่ีระลึกที่เรียกว่าเหวียดเก่ียว อนุสรณ์ เพ่ือระลึกถึงการด�ำรงอยู่ของคน เวยี ดนามทเี่ กดิ ขน้ึ ในหลายพน้ื ทข่ี องจงั หวดั นครพนมก็คือหอนาฬิกานครพนมเป็น สัญลักษณ์การอพยพกลับคืนสู่แผ่นดินเกิด ชาวเวียดนามต้องการสร้างอนุสรณ์สถาน แก่การเดินทางกลับอยู่ในพ้ืนที่หอกระจาย ข่าวเก่า เป็นนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์

นอกจากชาวเวยี ดนามจะสรา้ งหอนาฬกิ าเพอื่ เปน็ อนสุ รณส์ ถานกอ่ น กลบั แลว้ ยงั สรา้ งซมุ้ ประตวู ดั โพธศิ์ รซี งึ่ ตง้ั อยรู่ มิ แมน่ ำ�้ โขง และซมุ้ ประตวู ดั ภูเขาทอง ทางเข้าบ้านนาจอกเพ่ือเป็นอนุสรณ์เพื่อบันทึกความทรงจ�ำใน เหตกุ ารณน์ นั้ อีกด้วย คนเวียดนามผู้รักชาติที่กลับคืนสู่แผ่นดินมาตุภูมิ ในเหตุการณ์ท่ี เรยี กวา่ “เหวยี ดเกย่ี วโหย่ เฮอื ง” ในระหวา่ ง ปี ค.ศ. 1960-1964 มหี ลายคน หลายครอบครวั จำ� นวนมาก ทมี่ ภี รรยาเปน็ คนไทยหรอื มลี กู ๆ เกดิ ทเ่ี มอื งไทย ปัจจุบันพวกเขายังได้พบปะรวมตัวกันเพ่ือพูดคุย ท�ำกิจกรรมกลุ่มต่างๆ ในนามสมาคมเหวียดเกยี่ วฮาติ่งห์อยู่เสมอ มุมสงู เมอื งฮาติ่งห์ 18

The Motherland สมาคมเหวยี ดเกยี่ วฮาตง่ิ ห์ คอื สมาคม จะจัดงานร่ืนเริงให้มีร�ำวงและงานมงคล ท่ีดูแลคนเวียดนามที่เกิดอยู่ในประเทศไทย งานแตง่ งาน สมาคมจะจดั ใหม้ รี ำ� วงเพอื่ รำ� ลกึ ถงึ อาศยั อยใู่ น จ.ฮาตงิ่ ห์ ทงั้ 8 อำ� เภอ ปจั จบุ นั น้ี ตอนทพ่ี วกเราอาศัยอยู่ในประเทศไทย มที ง้ั หมด50 ครอบครวั ผมเกดิ ในประเทศไทย และกลบั เวยี ดนาม กลบั มากเ็ จอสงครามกบั ในปี 1960 ตามสัญญาระหว่าง อเมริกาเริ่มปี 1964 ชว่ งสงครามลูกหลาน 2 ประเทศใหค้ นเวยี ดนามทอี่ ยใู่ นประเทศไทย กลบั มาจากเมอื งไทยกส็ มคั รเปน็ ทหารรว่ มรบ ได้กลับมาสู่มาตุภูมิ กลุ่มคนเหวียดเกี่ยวมี ต่อต้านกับอเมริกา ร่วมรบเพื่อปลดปล่อย การอยดู่ กี นิ ดขี นึ้ สว่ นมากเปน็ คนทมี่ คี วามรู้ ประเทศ สมาคมจัดต้ังข้ึนมาเพ่ือยกระดับ หลายด้านเพื่อพัฒนาประเทศและสร้าง ความสมั พนั ธอ์ นั ดงี ามของประเทศเวยี ดนาม ครอบครวั ตวั เอง ผมไดก้ ลบั มาเปน็ เจา้ หนา้ ที่ และประเทศไทย ในวนั สำ� คญั ของ 2 ประเทศ ทหารเป็นข้าราชการของประเทศเวียดนาม คอื วนั พอ่ 5 ธนั วา วนั เฉลมิ พระชนพรรษา สมาคมเหวียดเกี่ยวฮาติ่งห์ได้ท�ำหน้าท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ตอ้ นรบั นกั ทอ่ งเทยี่ วคนไทยทม่ี าเยยี่ มฮาตง่ิ ห์ เราจัดตั้งให้เป็นวันชาติไทย ทางสมาคม ได้ท�ำดีท่ีสุดแล้วในฐานะคนเวียดนาม คนหนง่ึ เหวยี น วนั ถน่ิ นายกสมาคมเวยี ดนาม-ไทย ของจงั หวดั ฮาตงิ่ ห์ ประเทศเวยี ดนาม เหวยี ดเกย่ี ว จ.ฮาตง่ิ ห์ 19

ทบ่ี ้านเต่ินเก่ยี ว อ.เฮืองเค จ.ฮาตง่ิ ห์ ทกุ ขย์ ากลำ� บาก มาไมก่ เี่ ดอื นกเ็ กดิ สงคราม คือหมู่บ้านเหวียตเก่ียวอพยพกลับคืนสู่ กบั อเมรกิ า ทกุ ๆ เดอื นทางการจะเอาขา้ วสาร มาตุภูมิท่ีมีภรรยาเป็นคนไทย เร่ิมแรกท่ีน่ี มาให้ “สะใภ้ลุงโฮจะได้ข้าวสาร 15 กิโล อยู่รวมกัน 6 ครอบครัว พอลูกหลานมี ตอ่ เดอื น” คนเวยี ดนามจะได้13 กโิ ล สว่ นเดก็ ครอบครัวชุมชนจึงขยายตัวใหญ่ข้ึนเรื่อยๆ กจ็ ะลดหลน่ั ตามอายุ อ.เฮอื งเค อยบู่ นภเู ขา ส่วนภรรยาคนไทยที่ตามสามีกลับมานั้นจะ และมกี ารทำ� ถนนเพอื่ สง่ อาวธุ อาหารไปรบที่ ถกู เรยี กแทนตวั เองวา่ เปน็ “สะใภข้ องลงุ โฮ” ภาคใต้ แถวนี้อเมรกิ ามนั มาท้ิงระเบิดทง้ั วัน จะไดร้ บั การดแู ลจากนโยบายของประธานาธบิ ดี ทั้งคืนกลัวมากไม่เคยเห็นต้องเข้าไปหลบ โฮจิมนิ ห์เปน็ อย่างดี ในปา่ จนกวา่ สงครามจะจบ พอสงครามสงบ ชวี ติ กด็ ีขึ้น” “ชอ่ื สง ขยนั ทำ� อายุ 90 ปี ชาวยโสธร มาอย่เู วยี ดนาม 60 กว่าปีแลว้ มาเวียดนาม ยายสง ขยนั ทำ� กับสามแี ละลูกสาวอีก 4 คน ตอนแรกพดู เหวียดเก่ียวฮาตงิ่ ห์ ภาษาเวียดนามไม่ได้เลยต้องหัดเรียน ทางการส่งคนมาสอน ช่วงแรกมาอยู่นี่ เหวียดเกย่ี วฮาตง่ิ ห์ 20

The Motherland ฮว่าง ถิ ลาน “ เมอื่ สมยั อยทู่ เี่ มอื งไทยบา้ นเกดิ ของ มาอยู่ไปไหม แม่บอกว่าไปจะได้มีคนพูด แมค่ อื บา้ นเหลา่ หงุ่ อ.คำ� เขอ่ื นแกว้ จ.ยโสธร ไทยดว้ ย มาได้ 2 เดอื นกเ็ กดิ สงคราม มาอยู่ ตอนนั้นป้าอายุ 14 ปีก�ำลังจะขึ้น ม.1 ทน่ี ก่ี เ็ รมิ่ มคี วามรสู้ กึ รกั ชาติ ลงุ โฮบอกใหเ้ รา พ่อได้ยินข่าวในวิทยุโฮจิมินห์ประกาศให้ ทกุ คนตอ้ งชว่ ยกนั ตอี เมรกิ าออกจากภาคใต้ คนเวยี ดนามกลบั มาพัฒนาชาติ พ่อบอกว่า ให้ได้ ป้าต้องไปเป็นอาสาสมัครช่วยขุดท�ำ อยากกลับบ้านเกิดเมืองนอน แม่ตัดสินใจ ถนนไปไซ่ง่อน ผู้ชายต้องถือปืนคอยยิง ไม่ได้ก็เลยมากับพ่อ ข้ึนเรือกลับที่ท่าเรือ เครอ่ื งบนิ ของอเมริกา อเมรกิ ามันทง้ิ ระเบิด คลองเตยน่งั อยูบ่ นเรอื 7 วัน 7 คืน มองไป เพอ่ื ไม่ใหเ้ ราทำ� ถนนไปไซงอ่ นสำ� เรจ็ เพอ่ื สง่ ทางไหนก็มีแต่ทะเล เรือจอดท่ีไฮฟอง อาวธุ อาหารไปชว่ ยไซงอ่ น” คนของทางการถามว่าอยากไปท่ีไหน ตอนนั้นบ้านเกิดของพ่อไม่มีญาติอยู่แล้ว ฮว่าง ถิ ลาน จึงแจง้ ว่าจะมาฮาต่ิงห์ ทางการบอกวา่ ตอ้ ง ลกู สาวยายสง ขยนั ทำ� ขึ้นไปอยู่บนภูเขาที่เฮืองเคท่ีน่ันมีคนไทย เหวียดเกยี่ วฮาติ่งห์ 21

30 เมษายน ค.ศ.1975 ไฟสงครามมอดดบั ลง เวยี ดนามสามารถรวมประเทศและประกาศ เอกราชได้ ชาวเหวียดเกี่ยวจากเมืองไทยก็ยังคงด�ำรงชีวิตเป็นส่วนหน่ึงของสังคมเวียดนาม ขณะท่ีในประเทศไทยเอง กลมุ่ คนเวยี ดนามโดยเฉพาะกลมุ่ ญวนใหม่ทเ่ี ขา้ มาในภายหลงั ก็ได้ รับการยอมรับทางสถานะมากขึน้ จากนโยบายของรฐั ไทย จนในทุกวันนพ้ี วกเขาท้ังหมด ก็คือ คนไทยเชอื้ สายเวยี ดนาม ทดี่ ำ� รงอยคู่ กู่ นั ไปกบั คนพนื้ ถน่ิ ในภาคอสี านของไทยอยา่ งกลมเกลยี ว ทั้งยังเป็นส่วนส�ำคัญในการพัฒนาเมือง พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมให้เกิดความผาสุก บนผืนดนิ ไทย ในจงั หวัดนครพนม 22

The Motherland จตั รุ สั ประธานโฮจิมนิ ห์ เมืองวงิ ห์ จ.เหงอ่ าน 23

24

25

26

2 Thai -Viet Agriculturist “เกษตรไทย สไตลค์ นเวียด” “เกษตรกรรม” เป็นหน่ึงในอาชีพดั้งเดิมของคนไทยเชื้อสาย เวยี ดนามทอี่ ยคู่ วบคูม่ ากบั ชุมชนบา้ นนาจอก บ้านต้นผ้ึง และ บ้านดอนโมง โดยท้ัง 3 ชมุ ชนน้ีมีพ้นื ทเ่ี ชื่อมต่อกัน จงึ ทำ� ให้ กลายเป็นแหล่งผลิตผักที่ใหญ่ที่สุดในเขตอ�ำเภอเมือง ของ จงั หวดั นครพนม 27

อดตี ทผ่ี า่ นมา กลา่ วกนั วา่ มจี ำ� นวนคน ในการทำ� สวนสไตลเ์ วยี ดนามนนั้ จะมี ปลกู ผกั มากกวา่ 100 หลงั คาเรอื น การปลกู ผกั ลกั ษณะเปน็ สวนผสมผสาน มคี วามหลากหลาย เปน็ งานทตี่ อ้ งชว่ ยกนั ทำ� กนั ทงั้ ครอบครวั ในชว่ ง ทง้ั การปลกู ไมย้ นื ตน้ ทเี่ ปน็ พชื ระยะยาว เชน่ เวลาเยน็ จะเหน็ พอ่ ขดุ ดนิ แมถ่ อนผกั สว่ นลกู ๆ ต้นหมาก ต้นมะพร้าว ต้นพลูและต้นชา ก็ช่วยกันถอนหญ้าดึงสายยางรดน้�ำผักและ รวมถึงการปลูกพืชผักระยะส้ัน อย่างเช่น ล้างผักใส่เข่ง ภาพแบบน้ีจะเป็นภาพที่เห็น ผกั กาดหอม กวางตงุ้ ผกั บงุ้ ตน้ หอม ผกั ชี จนชนิ ตาเมอื่ เขา้ มาภายในหมบู่ า้ นของคนไทย ผกั ปอ ผกั ปลงั ผักอีโต ใบกระเพรา ฯลฯ เชื้อสายเวียดนาม แต่ปัจจุบันจะไม่ค่อยมี ท่ีดินของชาวสวนท่ีน่ีจึงถูกใช้อย่างคุ้มค่า ภาพเหลา่ นัน้ ใหเ้ หน็ แล้ว เพราะคนทำ� อาชีพ ไม่ปล่อยให้ว่างเว้น หมดผักชนิดหนึ่งก็จะ ปลูกผักน้อยลงมากทุกวันนี้ก็เหลือเพียง ปลกู ผกั ชนิดใหมท่ นั ที ไมถ่ งึ 10 หลงั คาเรอื น อยา่ งไรกต็ ามแปลงผกั บ้านนาจอกนี้ ก็ยังคงเป็นแหล่งท่องเที่ยว ลักษณะแปลงผักท่ีคนไทยเชื้อสาย แหล่งเรียนรู้ด้านการปลูกผักปลอดสารท่ีมี เวยี ดนามทำ� จะมคี วามกวา้ งประมาณ1 เมตร คุณภาพของจังหวดั นครพนม สว่ นความยาวกแ็ ปรเปลย่ี นไปตามขนาดของ หนา้ ดนิ ระหวา่ งแปลงผกั จะขนั้ ดว้ ยรอ่ งทาง 28

Thai-Viet Agriculturist ผกั สแล็ก หรือ ผกั สลดั (ผกั กาดหอม) เดนิ 1 ฟุต เพือ่ ใช้เปน็ ทางเดนิ ส�ำหรับการ สามารถน�ำไปกินกับอาหารเวียดนามได้ รดนำ้� ถอนหญา้ ซง่ึ สามารถทำ� ไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ หลากหลายชนิด เช่น ย�ำสลัดเวียดนาม ขณะเดยี วกนั แปลงผกั ทม่ี ลี กั ษณะเรยี วยาวก็ แนมเหนอื ง เมยี่ งปลาเผา ปอเปย๊ี ะเวยี ดนาม ชว่ ยใหป้ ลกู ผกั ไดห้ ลายชนดิ มากขนึ้ ขน้ั ตอน คนไทยเชอ้ื สายเวยี ดนามมชี อ่ื เสยี งเรอื่ งการ การปลกู ผกั เรมิ่ จากการขดุ พรวนดนิ ถอนหญา้ ปลูกผักกาดหอมได้สวยงามมีล�ำต้นอวบ ใส่ปุ๋ยคอก หว่านเมล็ดพันธุ์ผักในแปลง ทสี่ ำ� คญั คอื การไม่ใชส้ ารเคมีใดๆ ในการปลกู อนบุ าล เมอื่ ผกั โตกจ็ ะถอนกลา้ ผกั ไปปลกู ใน จงึ เปน็ ทต่ี อ้ งการของผบู้ รโิ ภค นอกจากนย้ี งั แปลงใหม่ เวน้ ชอ่ งไฟในแปลงผกั ให้ผกั ได้ มีการปลูกผักเฉพาะถิ่นของคนไทยเช้ือสาย มพี ืน้ ทแ่ี ทงชอ่ แตกแขนง เวียดนามได้แก่ ผักปลัง ผักปอ ผักอีโต ในอดตี ผกั กลมุ่ นจ้ี ะปลกู ไวก้ นิ กนั เองในกลมุ่ “ผักสแล็ก” และ “ผกั สลัด” เป็นชอ่ื คนไทยเชื้อสายเวียดนามแต่ปัจจุบันน้ีนิยม ท่ีคนไทยเชื้อสายเวียดนามนิยมเรียกแทน กินกนั อยา่ งแพรห่ ลายเช่นเดยี วกบั ผักสลดั ผักกาดหอม เป็นผักท่ีนิยมปลูกมากท่ีสุด 29

“ตั้งแต่โตมาจ�ำความได้พ่อแม่ก็มี ป้ามี อาชพี ปลกู ผกั ทำ� สวน หนา้ ทขี่ องปา้ มตี อนเดก็ กค็ อื รดนำ�้ ผกั ถอนหญา้ พอโตมาอายุได้ เมลด็ พนั ธผุ์ กั 10 ขวบ กต็ อ้ งไปขายผกั ในตลาด เรมิ่ ตน้ ฤดู ปลูกผักคือช่วงกันยายน จะปลูกกวางตุ้ง ปลูกผักไม่ให้เมล็ดพันธุ์โดนฝนไม่งั้นจะฝ่อ ผักกาดหอม พอใกล้ถึงปีใหม่ก็จะปลูก ปลูกแล้วข้นึ ไม่ดี เมือ่ ต้นพันธุแ์ กจ่ ัดลองบด้ี ู ผกั กะหลำ่� ดอก พอกะหลำ�่ ดอกหมดกจ็ ะปลกู ถ้าเม็ดแก่เต็มที่ก็จะตัดมาตากแดดจนแห้ง ผกั สลดั (ผกั กาดหอม) เพราะมคี วามตอ้ งการ เก็บไว้ใช้ เหลือใช้ก็จะแบ่งขายเป็นรายได้ ในหลายตลาดรา้ นเชน่ รา้ นกว๋ ยเตยี๋ ว ปลาเผา อีกทาง พอหมดฤดทู ำ� สวนผกั หลงั สงกรานต์ แนมเหนอื ง ต้องมีผักสลดั กินด้วย ผักโขม ทสี่ วนผกั กจ็ ะปลกู ขา้ วโพดขา้ วเหนยี ว บางบา้ น กป็ ลกู เคา้ เอาไปทำ� ผกั โขมอบชสี กบั ลวกกนิ กป็ ลกู งา ถว่ั ดำ� แทนผกั สวน จะไมป่ ลอ่ ยใหว้ า่ ง ส่วนเมล็ดพันธุ์ท่ีผักเราจะปลูกต้ังแต่เริ่มต้น จะปลูกตลอดป”ี ฤดูปลูกผักคือช่วงกันยายน-ตุลาคม ท่ีต้อง เพาะพนั ธผ์ุ กั เอง เพราะสายพนั ธข์ุ องผกั ไทย บุญมี กองพลศรีสิริ (ปา้ ม)ี และผักเวียดนามต่างกัน ผักกาดคนไทยมี อายุ 64 ปี ชาวสวนบา้ นนาจอก ผักกาดสร้อยแต่ของเวียดนามเรียกผักกาด เขยี ว ผักต้ังโอ๋ทั่วไปใบจะใบใหญ่เป็นพันธุ์ จากจนี แตพ่ นั ธุข์ องเวียดนาม ผักตั้งโอจ๋ ะมี ใบเลก็ ส่วนเมล็ดพนั ธผุ์ กั จะเพาะช่วงต้นฤดู ผักกาดหอม 30

Thai-Viet Agriculturist แกงผกั ปลง้ - ใบปอ ผกั ปลงั มชี อื่ เรยี กในภาษาเวยี ดนาม คือ “หม่องเตย” ผักปอ เรียก “เยาใด” ความพิเศษของผักชนิดนี้จะนิยมปลูกช่วง เข้าฤดูร้อน คนเวียดนามนิยมซ้ือเพราะผัก ท้ังสองชนิดเพราะมีฤทธ์ิเป็นยาเย็น ปู่ ย่า ผักปล้ง ตา ยายสอนต่อๆ กันมาว่ากินแล้วท้องจะ เย็นไม่เป็นรอ้ นใน นยิ มน�ำมาแกงร่วมกันใส่ กุ้งแห้งเพิ่มเป็นส่วนประกอบ แกงจะมี ลักษณะเป็นเมือกกลืนได้คล่องคอนิยมกิน กับมะเขือดองลูกเล็กๆ กินคู่กันถึงจะครบ เคร่อื งตามแบบฉบบั เมนูเวยี ดนาม ผกั ปอ 31

“เม่ือก่อนพ่อแม่ท�ำสวนผัก หน้าท่ี ไปขายในตลาด ล�ำบาก หนา้ หนาวกต็ อ้ งไป ของลุงก็คือดึงน้�ำจากบ่อใส่บัวรดน�้ำหาบไป บางคนก็ไม่ไดไ้ ปขายเองมีแม่ค้าในหมู่บ้าน รดผักแล้วก็ไปโรงเรียน กลับมาก็รดน้�ำผัก ไปขายใหเ้ ราเอาไปสง่ ทบ่ี า้ นพอเคา้ ขายหมด ท�ำอยู่แบบน้ีทุกวัน หมดฤดูท�ำสวนผักก็ไป ก็จะจ่ายเงินให้เป็นรายสัปดาห์ สมัยนี้มี ทำ� นาเกย่ี วขา้ วในนา เสรจ็ แลว้ กม็ าทำ� สวนผกั รถยนต์กันหมดแล้วลุงไปส่งป้าท่ีตลาดตอน หลังบ้านท�ำเป็นวงจรแบบนี้มานาน ตอนน้ี ตี 3 สง่ ปา้ เสรจ็ ลงุ กก็ ลบั มาขดุ ดนิ ตอ่ รอเวลา ทำ� นาไม่ไหวแลว้ ทำ� ไดแ้ ตส่ วนผกั อยา่ งเดยี ว ไปรับ 8-9 โมงกข็ ายเสร็จ ชว่ งเยน็ ๆ กอ็ อกมา ท�ำกันกับป้า 2 คน ท�ำมาด้วยกันตั้งแต่ ถอนหญา้ ถอนผกั รดนำ้� ผกั ล้างผักเตรยี มไว้ แต่งงานอยู่กินกันมา ลุงเคยเลิกท�ำสวนผัก ไปขายตอนเช้า ตลาดเช้ามืดจะมีคนบ้าน ไปทำ� อาชพี ชา่ งทง้ั ทตี่ า่ งจงั หวดั และตา่ งประเทศ นาจอกมานงั่ ขายผกั ตดิ ๆ กนั สว่ นมากเค้า ไปแลว้ กย็ งั กลบั มาทำ� สวนอกี มันไมร่ ้จู ะทำ� มารับไปขายต่ออกี ที แลว้ กร็ ้านอาหารท่ีใช้ อะไร เรามีที่ดินอยู่แล้วและเคยท�ำมาก่อน ผักเยอะๆ ก็มาซ้อื เดย๋ี วน้คี นรนุ่ กอ่ นกแ็ กข่ น้ึ มนั เปน็ อาชีพทม่ี คี วามสุขนะ ไดด้ ผู กั มนั โต เรอ่ื ยๆ เลกิ ทำ� กนั หลายบา้ น ผักที่ลงุ เสง็ ปลูก และเราก็ได้กินผักปลอดสาร คนซอื้ ก็ไดก้ นิ กค็ อื ผกั สลัด ผักปอ ผักปลงั ใบกะเพราและ ผักปลอดสารมีความสุขกับการท�ำสวนผัก ผกั อโี ตไดร้ บั ความนยิ มมากเพราะสามารถนำ� ถา้ ใหเ้ ปรยี บเทยี บราคาผกั สมยั นกี้ บั เมอื่ กอ่ น ไปกนิ กบั เมนอู าหารเวยี ดนามได้หลากหลาย รายได้ดีกว่ามาก เม่ือก่อนผักสลัดกิโลละ เมนู เช่น ปอเปี๊ยะทอด แนมเหนือง 3 บาท ขายเขง่ นงึ ไดไ้ มก่ บี่ าท บางครงั้ ถกู จน กว๋ ยเตย๋ี ว” ขายไม่ได้ คนท�ำเยอะราคาเลยถูก ปจั จบุ นั นายสิงห์ เวียนศรี (ลุงเสง็ ) นกี้ โิ ลนงึ ขน้ั ตำ�่ 35 บาท สงู สดุ กโิ ลละ 70 บาท อายุ 65 ปี ชาวสวนบ้านตน้ ผึง้ ก็มี เดือนนึงขายได้หลักหมื่น ชว่ งเทศกาล ไมพ่ อขาย ทบ่ี า้ นจะปลกู เองขายเอง เมอื่ กอ่ น ไมม่ รี ถยนตต์ อ้ งใสร่ ถเขน็ ผกั พว่ งมอเตอร์ไซด์ 32

Thai-Viet Agriculturist 33

แจแ่ ซ็ง ชาเขียวเวยี ดนาม ต้นชาอสั สมั ใบชาตากแหง้ 34

Thai-Viet Agriculturist ชาบา้ นนาจอก เรยี กวา่ “แจแ่ ซง็ ” คอื แมค่ า้ ขายใบชาสดเมอื ง วงิ ห์ จ.เหงอ่ าน ชาอัสสัมเป็นชนิดเดียวกันกับชาพื้นเมือง ชาปา่ หรือเม่ียง ทป่ี ลกู บนภเู ขาสูงทางภาค แม่คา้ ขายใบชาสด จ.ฮาติง่ ห์ เหนอื ของประเทศไทย วฒั นธรรมการดม่ื ชา ของคนเวียดนามน้ัน จะนิยมด่ืมกันเป็น ในปากและชมุ่ คอ ดมื่ แลว้ จะรสู้ กึ ตน่ื ตวั คลา้ ย ประจำ� ทกุ วนั ยามใดทมี่ แี ขกมาทบี่ า้ น นำ�้ ชา กับการดื่มกาแฟ จะถกู จดั เตรยี มไวต้ อ้ นรบั เชน่ เดยี วกนั กบั ใน งานศพ งานบญุ งานประเพณพี ธิ กี รรมตา่ งๆ ในส่วนของการขยายพันธุ์ต้นชาน้ัน น�้ำชาก็จะถูกจัดเตียมไว้ส�ำหรับการต้อนรับ สามารถปลูกได้ด้วยเมล็ด หากมีการบ�ำรุง แขกเหรื่อ จึงเป็นเหตุให้ทุกบ้านทุกหลังคา ดูแลรักษาท่ีดี ต้นชาก็จะมีอายุยืนยาวได้ เรอื น ตอ้ งมกี ารปลกู ตน้ ชาไวเ้ พอ่ื จดุ ประสงค์ มากกว่า 10 ปี ตน้ ชาไม่ชอบแดดจดั จะขึน้ ข้างต้น ความนิยมในดื่มชาของชาวบ้าน ได้ดีในที่ที่มีต้นไม้ใหญ่ปกคลุม มีแดดแค่ นาจอกยังสอดคล้องไปกับความนิยมในการ เพียงร�ำไร ดินท่ีบ้านนาจอกเป็นดินดีปลูก ด่ืมชาของคนเวียดนามในจังหวัดเหง่อาน อะไรก็ขึ้น ชาวบ้านนาจอกจะเรียกดินท่ีมี และจังหวัดฮาติ่งห์ของประเทศเวียดนาม ลักษณะนี้ว่า “ดินหวาน” ซงึ่ เปน็ แผน่ ดนิ มาตภุ มู ทิ บ่ี รรพบรุ ษุ ไดอ้ พยพ จากมานัน่ เอง ตน้ ชาเขยี วชอุ่มทป่ี ลูกในบ้านนาจอก เปน็ การขยายพนั ธจ์ุ ากตน้ ดง้ั เดมิ ท่ีไดม้ าจาก เมอื งเหงอ่ านและเมอื งฮาตง่ิ ห์ในภาคกลางของ ประเทศเวยี ดนาม ในตลาดสดของ 2 เมอื งน้ี จะต้องมีร้านรวงชาอัสสัมตั้งขายอยทู่ กุ ซอก ทุกมุม ตามบ้านพักอาศัยทุกหลังก็จะนิยม ตม้ ดม่ื แทนนำ้� เปลา่ เลยวา่ ก็ได้ คนเวยี ดนาม นิยมจะนิยมกินชาเข้มๆ จิบเข้าไปจะรู้สึก ฝาดได้กล่ินหอมและซักพักจะรู้สึกหวาน 35

“เม่ือสมัยก่อนบ้านนาจอกมีอยู่ 150 กรกนก วงศป์ ระชาสุข หลังคาเรือน บ้านทุกหลังจะปลูกชาอัสสัม กันหมด ตอนนนั้ มีแตช่ าวเวยี ดนามและคน ไมช่ อบแดดจดั ตน้ จะเหลอื งใบไมส่ วย ตน้ ชา จีนที่นิยมดื่ม แต่ปริมาณคนปลูกก็น้อยลง ท่ีปลูกรอบบ้านเห็นสวยๆ แบบน้ีเรารดน้�ำ เรอื่ ยๆ จนเมอื่ มกี ารสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ มนั ทกุ วนั ถา้ อากาศรอ้ นจดั เชา้ กร็ ดเยน็ กร็ ด ประวตั ศิ าสตรบ์ า้ นลงุ โฮจมิ นิ ห์ มนี กั ทอ่ งเทย่ี ว บ้านหลงั นี้มีทดี่ ิน 5 ไร่ ต้นชาปลูกหนาแน่น เขา้ มาในหมบู่ า้ นจำ� นวนมาก จงึ คดิ หาของฝาก ท่ีสุด กินเน้ือท่ีเกินคร่ึง ถือเป็นแปลงชาที่ ทเ่ี ปน็ จดุ เดน่ ของบา้ นนาจอกขน้ึ ไดร้ บั ความ ใหญ่ที่สุดในหมู่บ้านและบ้านนาจอกยังเป็น นยิ มเปน็ อยา่ งมาก จงึ ชวนคนในหมบู่ า้ นใหป้ ลกู แหล่งปลูกชาเขียวอัสสัมที่ใหญ่ที่สุดใน กนั เยอะขน้ึ ปจั จบุ นั ขายดมี ากแทบจะไมพ่ อขาย จังหวดั นครพนม” ชาบา้ นนาจอกคอื ชาอสั สมั มชี อ่ื เรยี กในภาษา กรกนก วงศป์ ระชาสขุ เวียดนามคือ “แจ่แซ็ง” ทุกส่วนของชา อายุ 51 ปี คนปลกู ชาบ้านนาจอก ดื่มได้หมดไม่ว่าจะเป็น กิ่ง ใบแก่ ใบอ่อน ดอกชา สามารถต้มท�ำเป็นชาได้ท้ังหมด นอกจากการดมื่ แบบสดแลว้ ยงั มกี ารตากแหง้ บรรจุลงถุงสามารถเก็บไว้ได้นาน และยังมี ดอกชาตากแหง้ ทอี่ อกดอกเพยี งปลี ะหนงึ่ ครง้ั นำ� มาตากแหง้ ก็ไดร้ บั ความนยิ ม กอ่ นหนา้ นี้ คนปลูกน้อยลง ชาวบ้านเลิกท�ำสวนเยอะ เพราะอายทุ มี่ ากขน้ึ ประกอบกบั บางบา้ นโดน ปลวกทำ� ลายกดั กนิ ตน้ ชาและปญั หาโลกรอ้ น ก็เป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้ต้นชาตาย ต้นชา 36

Thai-Viet Agriculturist บา้ นลุงโฮจิมนิ ห์ 37

ตอนที่ 5 38

Thai-Viet Agriculturist แม้วันนี้จะไม่มีใครรู้ได้ว่าอาชีพทาง การเกษตร อย่างเช่นการปลูกชา การท�ำ สวนผักหรือการเพาะปลูกในรูปแบบอื่น จะคอ่ ยๆ เลือนหายไปในไมช่ ้า หรอื วา่ จะมี คนรุ่นต่อไปน�ำอาชีพทางการเกษตรน้ีไป ผสมผสานเชอื่ มโยงใหเ้ ขา้ กบั บรบิ ทใหมท่ าง สังคม แต่อย่างน้อยที่สุด คนไทยเช้ือสาย เวียดนามท่ียังคงท�ำเกษตรกรรมในทุกวันนี้ กล็ ว้ นมคี วามภาคภมู ใิ จทไ่ี ดเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ใน การสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญา และความ มุ ่ ง มั่ น บ า ก บั่ น ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เพื่อสรา้ งชีวติ สร้างครอบครวั สรา้ งชมุ ชน และสงั คมใหม้ ีความผาสุข รวมถงึ ยังไดเ้ ป็น ส่วนหน่ึงของการสร้างความมั่นคงทาง อาหารที่ปลอดภัยใหแ้ ก่ผู้บริโภค มมุ สูงบา้ นลงุ โฮจมิ นิ 39



3 Spirit of Us จติ วิญญาณ แห่งชุมชน ศาลเจา้ เปน็ สถานทศี่ กั ดสิ์ ทิ ธส์ิ ำ� หรบั การประกอบพธิ กี รรมทาง ความเชื่อของคนไทยเชือ้ สายเวยี ดนาม โดยมี “เถ่ย” เปน็ คน ทำ� หนา้ ทสี่ อื่ สารระหวา่ งเทพเจา้ หรอื บรรพบรุ ษุ ผลู้ ว่ งลบั หรอื ลกู หลานท่ียังมชี วี ิตอยู่ ขณะทรี่ ะบบ “หลา่ ง” ก็คอื ระบบการดูแล ทุกข์สุขที่ยึดโยงกับศาลเจ้าประจ�ำชุมชน ประเพณีท่ีสืบทอด ต่อกันมาน้ีก็คือจิตวิญญาณแห่งชุมชนคนไทยเชื้อสาย เวยี ดนาม

“เถ่ย” แปลตรงตัวในภาษาเวยี ดนาม คอื คร-ู อาจารย์ แตเ่ ม่ือมารับหนา้ ที่ ในประกอบพิธีกรรมจะเรียกว่า “เถ่ยกุ๋ง” อาจารยผ์ ปู้ ระกอบพธิ กี รรมตาม ประเพณขี องคนไทยเชอ้ื สายเวียดนาม แต่นิยมเรียกสั้นๆ กันว่า “เถ่ย” โดยจะมีหนา้ ทีเ่ ปน็ ผปู้ ระกอบพิธีกรรมใน 2 ส่วนหลกั หรอื แล้วแตล่ ะชุมชน อาจแตกตา่ งกันไป 1. ประกอบพธิ กี รรมในศาลเจา้ ของชุมชน จะเป็นหวั หนา้ ผดู้ �ำเนิน งานในพธิ กี รรมซง่ึ แต่ละงานจะมีบทสวดทีแ่ ตกตา่ งกัน “เถย่ ” จะเป็นผทู้ อ่ ง บทไหว้และส่ังให้ผู้ช่วยปฏิบัติตาม เช่น ไหว้เจ้ากี่คร้ัง รินเหล้าให้กับเจ้า องคต์ า่ งๆ การไหวเ้ จา้ คอื การแสดงออกถงึ ความเคารพบชู าเพอ่ื ใหเ้ ทพเจา้ ทส่ี ถติ ย์ในศาลเจา้ ชมุ ชนใหป้ กปกั ษร์ กั ษาคนในชมุ ชนใหอ้ ยดู่ มี สี ขุ ไมเ่ จบ็ ไข้ ท�ำมาหากินเจริญร่งุ เรื่อง อยเู่ ยน็ เป็นสุข 2. ประกอบพธิ กี รรมงานภายในชมุ ชน เชน่ ในงานศพ จะเปน็ คนดู ฤกษย์ ามตามปฏทิ นิ ทางจนั ทรคตขิ องเวยี ดนาม เพอ่ื ทำ� พธิ บี รรจศุ พลงหบี ในสว่ นขน้ั ตอนกระบวนการทง้ั หมดและเมอื่ ฝงั ไปแลว้ กจ็ ะมพี ธิ กี รรมทำ� บญุ 3 วนั 50 วนั 100 วนั และครบรอบวนั ตายประจำ� ปี รวมถงึ พธิ สี ง่ กงเตก๊ ดว้ ย การทำ� บญุ 3 วนั ถือเป็นงานส�ำคญั ทสี่ ุด เพราะคอื การเปิดมา่ นตาบอกให้ เขารู้วา่ ตายแล้ว งานครบ 100 วนั คอื การทำ� พธิ ีแจ้งกับบรรพบรุ ุษว่าได้มี ลกู หลานคนในตระกลู เสยี ชวี ติ ขอใหม้ ารบั ดวงวญิ ญาณคนตายไปอยรู่ ว่ มกบั บรรพบุรษุ ในภพภมู ทิ ่เี หมาะสมดว้ ย อาจารยอ์ ุทัย เจรญิ ธนกุล อายุ 85 ปี “เถ่ยกงุ๋ ” ประจ�ำชุมชนโพนบก 42

Spirit of Us พธิ เี ข้าทรง งานสะเดาะเคราะหช์ มุ ชนโพนบก 43

“ปูข่ องอาจารยเ์ คยเปน็ “เถย่ ” ประจ�ำ อาจารยอ์ ุทัย ชมุ ชนโพนบกมากอ่ น เราเหน็ และคนุ้ เคยมา ต้งั แตเ่ ด็ก พอโตขน้ึ ไดไ้ ปเรียนหนังสือท่อี ่นื ใช้ในปี 1889-1907 เหรียญเงินนี้เรียกว่า ไดร้ บั ขา้ ราชการครจู งึ ไม่ไดร้ บั ชว่ งตอ่ เพราะ “ซินแกว” เป็นการโยนเหรียญเพื่อส่ือสาร การเป็นเถ่ยในอดีตนั้นถือเป็นงานเสียสละ แสดงการรับรู้โต้ตอบของวิญญาณผู้เสียชีวิต ไม่มีค่าตอบแทนจะได้ของไหว้เป็นสินน้�ำใจ กับลูกหลาน เหรียญนึงคว�่ำเหรียญนึงหงาย เชน่ ไก่ หมู ผลไม้ อาหาร คนในครอบครัว แปลว่าดวงวิญญาณรับรู้และอนุญาตตาม จงึ สง่ เสรมิ ใหเ้ รยี นเพอ่ื เขา้ รบั ราชการ จนเมอื่ คำ� ขอ สว่ นตำ� ราท่ีใชใ้ นปจั จบุ นั น้ีไดร้ บั มาจาก เกษียณอายุราชการมีเวลาว่าง จึงสนใจ “เถย่ ” คนเกา่ กอ่ นหนา้ นน้ั เปน็ ภาษาเวยี ดนาม อยากมาสบื สานทำ� งานใหช้ มุ ชน เพราะขณะนน้ั โบราณอกั ษรจอื่ ยอและถา่ ยทอดใหเ้ ปน็ ภาษา ชุมชนโพนบกก็ก�ำลังขาดช่วงผู้สืบสานต่อ ที่ใช้จริงในปัจจุบัน ตอนนี้มีคนมาขอต�ำรา จึงไปเรียนกับอาจารย์ต่างหมู่บ้านในชุมชน เรียนอยู่ 3 คนผมให้ต�ำราไปศึกษาเม่อื สงสยั วดั ปา่ ทา่ นให้ เอาตำ� รามาทอ่ ง ชว่ งวยั เดก็ นน้ั ก็โทรสอบถามและติดตามไปดูการท�ำพิธีได้ เห็นปู่ได้ท�ำหน้าท่ีน้ีจึงไม่ยากนักที่จะเรียนรู้ เพราะอาจารย์ก็แก่ข้ึนทุกวันถ้าเก็บเอาไว้ อาจารย์อุทัยยังได้รับมอบชุด เหรียญและ คนเดยี วไมส่ อนอาจจะทำ� ใหม้ ันสญู หายไป ” จานโบราณจากปู่ที่มีอายุ 130 ปี สร้างใน สมัยกษัตริย์แถ่งถายแห่งราชวงศ์เหงียน อาจารยอ์ ุทัย เจริญธนกุล อายุ 85 ปี “เถย่ ก๋งุ ” ประจ�ำชมุ ชนโพนบก เหรียญจานโบราณของอาจารย์อทุ ยั 44

Spirit of Us การเปน็ “เถ่ยกงุ๋ ” หรอื ซินแสประจ�ำชมุ ชนได้ นอกจากความสามารถด้าน การอา่ นเขยี น ภาษาเวยี ดนามอยา่ งแตกฉาน ยงั ตอ้ งพรอ้ มไปดว้ ยวยั วฒุ แิ ละคณุ วฒุ ิ การหาผสู้ นใจมาสบื ทอดตำ� แหนง่ เถย่ ประจำ� ชมุ ชนจงึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ยนกั บางชมุ ชน เมื่อ “เถ่ย” คนก่อนเสียชีวิตลง ขาดผู้สืบทอดการประกอบพิธีกรรมในศาลเจ้า จงึ ตอ้ งใชเ้ สยี งบรรยายจากเครอ่ื งเลน่ เทปกม็ ี เชน่ ชมุ ชนนาราชควายกลาง เปน็ ชมุ ชน คนไทยเช้ือสายเวียดนามเก่าที่เข้ามาอาศัยในประเทศไทย 100 กว่าปี ปัจจุบัน ทั้งผู้คนถูกกลืนเข้ากับคนพื้นถ่ิน นิยมพูดภาษาอีสานกันเป็นส่วนมาก คนรุ่นใหม่ ไม่สามารถพูดเวียดนามได้เลย ปัจจุบันมีเพียงผู้สูงอายุไม่ก่ีคนที่ยังพอพูดภาษา เวียดนามได้ การไหว้ศาลเจ้าชุมชนก็ยังคงด�ำเนินพิธีกรรมการไหว้เจ้าอยู่เพียงแต่ ไม่มี “เถ่ย” ในการเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม ชาวบ้านจึงแก้ปัญหาด้วยการน�ำเทป ทเี่ คยบนั ทกึ เสยี งอาจารยผ์ ทู้ ำ� พธิ ีในหมบู่ า้ นคนเกา่ มาเปดิ และปฏบิ ตั ขิ น้ั ตอนพธิ กี รรม ฟงั เสยี งทบ่ี รรยายในเครอ่ื งเลน่ เทป ในขณะทช่ี มุ ชนบา้ นนาจอก กลบั มผี ทู้ กี่ ำ� ลงั เรยี นรู้ เพอื่ ทำ� หนา้ ท่ี “เถย่ กงุ๋ ” ปจั จบุ นั เขากำ� ลงั เรยี นรขู้ น้ั ตอนและพธิ กี ารตา่ งๆ จากครอู ทุ ยั เคร่อื งขยายเสียงบทสวด ภายในศาลเจา้ พ่อแท่งฮว่าง ชุมชนนาราชควายกลาง 45

“ชาวบ้านนาจอกเป็นคนไทยเช้ือสาย เม่ือก่อนผมก็เคยเรียนกับ เถ่ย ในหมู่บ้าน เวยี ดนาม ตอนนใ้ี นชมุ ชนขาดคนทำ� พธิ กี รรม นแ่ี หละ แตเ่ รยี นไมท่ นั ไรเคา้ เสยี ชวี ติ ไปกอ่ น ขาด เถย่ มา 2 ปีแลว้ เพราะเพ่งิ เสียชีวิตไป เลยพักไป อาจารย์อุทัยบอกว่าผมน่าจะท�ำ ไมม่ คี นสบื สานตอ่ ผมเลยอยากเขา้ มาศกึ ษา พิธีกรรมได้ให้ต�ำรามาฝึกอ่านไม่เข้าใจ อยากชว่ ยเหลอื สงั คมดว้ ยตอนนถี้ า้ ในชมุ ชน ใหโ้ ทรถาม พอเขา้ ใจแลว้ กอ็ อกงานขอตดิ ตาม มงี านศพตอ้ งไปเรยี นเชญิ เถย่ มาจากหมบู่ า้ นอนื่ ไปดูงานจริงกับอาจารย์ คอยหยิบจับของ เชน่ เชญิ อาจารยอ์ ทุ ยั จากชมุ ชนโพนบกมา ผมตามไปดบู า้ งแลว้ 4-5 งาน ลา่ สดุ งานบญุ ทำ� พธิ ี เชญิ เถย่ มาจากชมุ ชนหลางปา่ คนไทย ครบวันตายของญาติครบ 50 วัน ท่านจะ เช้ือสายเวียดนามไม่สามารถขาด เถย่ ผูท้ �ำ ไม่ท�ำ บอกให้ผมลองท�ำ ถ้าให้ประมาณ พิธีได้เพราะคนไทยเชื้อสายเวียดนามมี ความสามารถก็ประมาณ 70% ขอฝึกอีก พธิ กี รรมมปี ระเพณเี ฉพาะในแบบของตวั เอง สกั ระยะใหม้ ่นั ใจเพราะมีแผนจะไปศึกษาตอ่ มขี น้ั ตอนตามแบบโบราณที่สืบทอดกนั มา ท่ีเวียดนามว่าแตกต่างหรือเหมือนกัน อย่างไร วันนี้ไม่มี เถ่ย ในชุมชนผมรู้สึก ละอายใจที่เวลาไปเชิญอาจารย์ต่างหมู่บ้าน การเรียนเป็น เถ่ย นน้ั กค็ ือการเรียน มาประกอบพธิ ีให้ บา้ นนาจอกมคี นอา่ นออก อา่ นบทสวดแตล่ ะงานพธิ กี รรมจะไมเ่ หมอื นกนั เขียนได้หลายคนแต่ไม่มีคนมาสานต่อ เหมือนบทสวดของเพราะสงฆ์ ต้องพูด ประเสรฐิ อจั ฉรยิ ะวรวนิ ิจ (องคแ์ รม) 46

Spirit of Us เถย่ กงุ๋ ประกอบพิธฝี งั ศพ ขบวนเคล่ือนศพคนไทยเชื้อสายเวยี ดนาม ออกเสียงให้ถูกต้องและเข้าใจความหมาย เวียดนามไม่ได้ มันไม่ใช่แค่การท่องจ�ำ ตอ้ งเขียนภาษาเวยี ดนามใหไ้ ด้ เราจะเขียน อย่างเดียวถึงท�ำได้ ต้องเข้าใจให้แตกฉาน ชื่อคนตายลงในป้ายวิญญาณในงานศพ เถ่ย ก็เป็นเหมือนส่ือกลางในการส่ือสารให้ เพราะคนเวียดนามต้องใช้ภาษาเวียดนาม กบั คนรนุ่ ใหม่ไดเ้ ขา้ ใจเรอื่ งพธิ กี รรม คนไทย บรรพบรุ ษุ เราเปน็ คนเวยี ดนาม รวมถงึ ของไหว้ เชื้อสายเวียดนามน้ันมีความเชื่อเก่ียวกับ กต็ อ้ งตามแบบโบราณตอ้ งมใี หค้ รบ ตรวจเชค็ บรรพบุรุษเป็นอย่างมาก หากท�ำดีกตัญญู ไม่ใหข้ าด ตอนปฏบิ ัติต้องมสี มาธิ เราก�ำลัง ดูแลท่านท้ังตอนที่มีชีวิตอยู่และตอนเสีย พูดกับวิญญาณ ถ้าเราท�ำดีเราก็สบายใจ ชีวิตไปแล้วดูแลอย่างดี ลูกหลานจะท�ำมา ถ้าเราท�ำไม่ดีก็อาจเป็นภัยกับตัวเองเพราะ หากนิ ขนึ้ อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ลกู หลานกจ็ ะกตญั ญู ผมเชือ่ ในเรื่องวิญญาณ กตเวทีกับเราเหมือนเท่เี ราทำ� ” ในอนาคตถ้าแต่ละชุมชนไม่มี เถ่ย องคแ์ รม ประเสรฐิ อจั ฉริยะวรวินจิ ผมคิดว่าคนจะหันไปเข้าวัดปลงศพแบบ ชาวไทยเชอ้ื สายเวียดนาม วยั 73 ปี ศาสนาพุทธ ประเพณีพิธีกรรมต่างๆ ก็จะ จากชมุ ชนบา้ นนาจอก หายไป ดูไดจ้ ากคนรนุ่ ใหม่ พดู เขยี น ภาษา 47

48

Spirit of Us “เทพเจ้า เจงิ่ ฮึง ด่าว” “ศาลเจ้าพ่อด่ายเวือง” ศูนย์รวมจิตวิญญาณของชุมชนบ้านาจอก สรา้ งข้นึ ในปี พ.ศ. 2441 “ด่ายเวอื ง” หมายถงึ พระมหากษัตรย์ผูย้ ิง่ ใหญข่ อง เวียดนาม เทพเจ้าท่ีสถิตภายในศาลคือเทพเจ้า “เจ่ิง ฮึง ด่าว” ท่านเป็น นายพลนักรบท่ีสามารถรบชนะจีน (มองโกล) หลายครั้ง คนจึงเคารพบูชา ประดุจดังเทพเจ้า ในหลายชุมชนหลายจังหวัดท่ีมีคนไทยเชื้อสายเวียดนาม อยกู่ น็ ยิ มบชู า “เทพเจา้ เจงิ่ ฮงึ ดา่ ว” ในประเทศเวยี ดนามกน็ ยิ มนบั ถอื เชน่ กนั โดยเฉพาะผู้คนท่ีอาศัยในเขตจังหวัดนามด่ิง ภายในศาลเจ้ายังมีรูปท่าน โฮจมิ นิ หว์ างบนหงิ้ คกู่ นั ดจุ เทพเจา้ อกี องคห์ นง่ึ หากเปรยี บเทยี บคงกลา่ วไดว้ า่ “เทพเจา้ เจงิ่ ฮงึ ดา่ ว สรา้ งชาตเิ วยี ดนาม ทา่ นโฮจมิ นิ หก์ ชู้ าตใิ หค้ นเวยี ดนาม” กย็ ่อมได้” “เต็ด” หรือตรุษญวน คือวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินทางจันทรคติของ ชาวเวยี ดนาม เปน็ เทศกาลแหง่ มงคลชวี ติ ทคี่ นไทยเชอ้ื สายเวยี ดนามทกุ ชมุ ชน ใหค้ วามสำ� คญั จะมกี ารมารวมตวั กนั เพอื่ ทำ� พธิ สี กั การะตอ่ เทพเจา้ “เจง่ิ ฮงึ ดา่ ว” ณ ศาลเจ้าประจำ� ชมุ ชน 49

“บ้านนาจอกมีกรรมการ 2 ชุด สงา่ นาเจริญวุฒกิ ุล ประธานหล่างนาจอก ชุดแรกคือกรรมการทางการของท่านก�ำนัน (กำ� นนั จนั ทร์ไทย พฒั นประสทิ ธ)ิ และอกี ชดุ จะไหว้บรรพบุรุษที่บ้าน เมื่อไหว้เสร็จ คือกรรมการศาลเจ้าที่คนในหมู่บ้านเลือก หลังจากนั้นจะมารวมตัวกันมาที่ศาลเจ้าใน ขนึ้ มา ผมเปน็ ประธานคณะกรรมการหมบู่ า้ น 1 ปี จะมีงานไหว้ 2 งาน คือ ไหว้วันเต๊ด ชุดนี้ คือกรรมการศาลเจ้ามีหน้าท่ีดูแล และไหว้เข้าพรรษา ทุกงานจะมีระยะเวลา ทุกข์สุขของประชาชนในหมู่บ้านในชุมชน 2 วันเรียกว่าวันเข้ากับวันออก วันเข้าคือ กอ่ นจะถงึ กรรมการของทางการ ระบบนเ้ี อง เชญิ มาทศี่ าลเจา้ รว่ มพธิ ี อกี วนั คอื พธิ สี ง่ เจา้ ทเ่ี รียกกันว่าระบบ หลา่ ง กลับส่สู รวงสวรรค์ แต่ก่อนเรียกว่าตรุษจีนแต่เด๋ียวน้ี วันไหวเ้ ทศกาลเตด๊ คือแรม 15 ค�่ำ เค้าเปล่ียนเป็นตรุษเวียดนาม หรือ เต๊ด เดือน 12 และ ขน้ึ 1คำ่� เดือน 1 ตามปฏทิ ิน ภาษาเวียดนามก็เรียกว่า อันเต๊ด ทุกๆ ปี จันทราคติของเวียดนาม ก็คือวันสิ้นปีและ ทุกครอบครัวคนไทยเช้ือสายเวียดนาม วันข้ึนปีใหม่ ทุกครอบครัวจะมีชุดไหว้มา บูชา 1 ถาด คือมีไก่ต้มตัวผู้ ข้าวเหนียว ศาลเจา้ พอ่ ด่ายเวือง หมากพลู หากครอบครวั นน้ั ตดิ ไวท้ กุ ขห์ รอื มีญาติเพิ่งเสียชีวิตไปยังไม่พ้น 100 วัน 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook