Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบเนื้อหา2-2

ใบเนื้อหา2-2

Published by law n., 2018-07-31 04:06:09

Description: ใบเนื้อหา2-2

Search

Read the Text Version

1 ใบเนื้อหา 2-2 หนว ยที่ 2 ชื่อหนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จํานวน 8 ช.ม. รหัสวิชา 2110-2002 ช่อื วิชา การใชโปรแกรมสาํ เร็จรปู ในงานเขียนแบบ ระดับชน้ั ปวช.1 ชื่อเรื่อง ปมุ ฟงคชัน่ คยี ใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพิวเตอรช ว ยในการออกแบบเขยี น สอนคร้ังที่ 34แ. บปบมุ ฟงคชั่นคียใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพวิ เตอรชวยในการออกแบบเขียนแบบ ในการใชโ ปรแกรมเขียนแบบงานภาพ2 มิติ นอกจากจะใชค ําส่งั ตางๆในการเขยี นแบบงานแลว ปุมฟง คช ่นั คียบ นแปน พมิ พก ็มีสวนสาํ คญั ที่จะชวยใหผ ูเรมิ่ ตนของการเขียนแบบงาน ควบคุมการใชงานของคําส่ังเพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการเขยี นแบบงานไดด ยี ง่ิ ขน้ึ หัวขอ คน หา ภาพท่ี 2.21 หนาจอ Help ที่มา โปรแกรม AutoCAD 2016 ปมุ ฟงคชัน่ คยี  F1 เปนฟงคชน่ั คียใ ชส าํ หรับการเขา สรู ะบบความชว ยเหลือของโปรแกรม (Help)เมอื่ ผใู ชงานตองการรายละเอยี ด หรือคําอธิบายการใชงานของโปรแกรมรวมถึงคําสงั่ ตา งๆขอ มูลการใชงานของคําส่งั ภาพท่ี 2.22 หนาจอAutoCAD Text Window ที่มา โปรแกรม AutoCAD 2016 ปุม ฟงคชน่ั คีย F2 เปน ฟงคชนั่ คยี ท ใี่ ชสําหรับการเขา สหู นาจอ Text Windows ของโปรแกรมเพอื่ ดขู อ มูลในการใชค าํ สงั่ ที่ผา นมา เปนการแสดงรายละเอยี ดของคาํ ส่ังยอ นหลงั ใน Command Lineจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

2 ใบเน้อื หา 2-2 หนวยท่ี 2ช่อื หนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขียนแบบ จาํ นวน 8 ช.ม.รหสั วิชา 2110-2002 ช่อื วิชา การใชโปรแกรมสําเร็จรปู ในงานเขยี นแบบ ระดับช้นั ปวช.1ชอื่ เร่อื ง ปมุ ฟง คช ่นั คยี ใ นทํางานของโปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยในการออกแบบเขยี น สอนคร้ังที่ 3แบบสัญลกั ษณคาํ สงั่ ชื่อคําสงั่ ภาพท่ี 2.23 แสดงทาํ งานของคาํ สง่ั ชว ยกระโดดลงตําแหนงแบบอตั โนมัติ ทมี่ า เขียนโดยผูเ รยี บเรียง ปุมฟงคช่นั คยี  F3 เปนปมุ ฟงคชนั่ คียท่ใี ชส าํ หรับควบคมุ การปด – เปด การทํางานของคาํ สง่ัชว ยการกระโดดลงตาํ แหนง แบบอัตโนมตั ิ (Object Snap) ในการเขยี นแบบงาน 2 มติ ิปมุ ฟงคชนั่ คีย F4 เปน ปุมฟงคช ั่นคยี ทใ่ี ชสาํ หรบั ควบคมุ การปด – เปด การทาํ งานของคําส่งั ชวยการกระโดดลงจุดแบบอัตโนมัติ (Object Snap) ในการออกแบบงานวตั ถุ 3 มิติ ภาพที่ 2.24 ระนาบแนวแกนภาพ 3 มติ ไิ อโซเมตรกิ ท่มี า เขียนโดยผเู รยี บเรยี ง ปมุ ฟงคช นั่ คีย F5 เปน ปมุ ฟงคช ัน่ คยี ที่ใชใ นการควบคุมการปรับเปลี่ยนระนาบแนวแกนภาพ 3 มิติไอโซเมตริก เมื่อทาํ การกดปุม F5 โปรแกรมจะทําการเปลี่ยนระนาบไปตามลําดับคือ Isoplane Top,Isoplane Right และIsoplane Left เพื่อใหผใู ชงานเกดิ ความสะดวกในการเขียนเสนตามแนว 30 องศา ปุมฟงคช ั่นคยี  F6 เปนปุมฟงคช น่ั คยี  ท่ีใชใ นการปด –เปด การปรับเปลย่ี นระนาบของUCS Icon แบบDynamic บนผิวหนา ของวัตถุงาน 3 มิติจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

3 ใบเนอ้ื หา 2-2 หนวยท่ี 2 ชือ่ หนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขยี นแบบ จาํ นวน 8 ช.ม. รหัสวิชา 2110-2002 ชือ่ วชิ า การใชโปรแกรมสําเร็จรปู ในงานเขียนแบบ ระดับชั้น ปวช.1ชื่อเรอื่ ง ปมุ ฟง คชั่นคยี ใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพิวเตอรชว ยในการออกแบบเขยี น สอนครั้งที่ 3แบบGrid ภาพที่ 2.25 เสน ตารางบนหนา จอโปรแกรม ทีม่ า โปรแกรม AutoCAD 2012ปมุ ฟงคช ัน่ คีย F7 เปน ปมุ ฟงคชนั่ คยี  ที่ใชใ นการปด – เปด การแสดงเสนตาราง (Grid)บนหนา จอโปรแกรม ซ่ึงคา มาตรฐานของเสนตารางนน้ั จะมรี ะยะหางของเสนในแกน X=10 หนว ย และในแกน Y=10 หนวย และจะแสดงคา ของเสนหลกั ในทุก 5 ชอ งแผน ขอมูล ระยะหา งแกนX ระยะหางแกนY ระยะแสดง เสน แกนหลัก ภาพท่ี 2.26 หนาจอการปรบั คาระยะGrid ทมี่ า โปรแกรม AutoCAD 2012จดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

4 ใบเนื้อหา 2-2 หนว ยท่ี 2 ช่อื หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขยี นแบบ จาํ นวน 8 ช.ม. รหัสวิชา 2110-2002 ชื่อวิชา การใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรปู ในงานเขียนแบบ ระดบั ช้นั ปวช.1 ชอ่ื เร่ือง ปมุ ฟงคช ัน่ คียใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยในการออกแบบเขียน สอนครง้ั ท่ี 3 แบบ การปรบั แตง การแสดงเสนตาราง (Grid) ผใู ชงานสามารถปรบั คาระยะหางของจดุ กริดได โดยการเลือกคําส่ังจากกลมุ คาํ ส่ัง Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ DraftingSetting ทําการเลอื กแผนขอมูล Sanp and Grip และปรบั ระยะหางของเสน ในแนวแกน X (Grid Xspacing) ปรับระยะหา งของเสนในแนวแกน Y (Grid Y spacing) และปรับคาแสดงแกนหลัก (Major lineevery)ปด การทาํ งาน เปด การทํางานฟง คช่ัน F8 ฟงคชั่น F8 ภาพที่ 2.27 แสดงการทํางานฟงคชั่น F8 ท่มี า เขียนโดยผเู รยี บเรียง ปุม ฟงคช ่นั F8 เปน ปุมฟง คช ั่นคยี  ทใ่ี ชสําหรับการ ปด - เปด การบงั คับ Cross Hair ใหสามารถเคล่อื นที่ไดเฉพาะระนาบแนวแกน X,Y หรอื ขน้ึ ลงในแนวตง้ั ฉากปมุ ฟงคช น่ั คีย F9 เปนปุม ฟงคช ั่นคียท ี่ใชสาํ หรบั การ ปด - เปด การควบคุมระยะการเคล่อื นท่ีของเสน (Snap) ตามระยะทีก่ าํ หนด เชน ระยะแกน X=10 และแกน Y=10 จะทาํ ใหตาํ แหนง ของเสน Cross Hair เคลื่อนท่ไี ปตามระยะทกุ ๆ 10 หนวยในแนวแกน X และแนวแกน Yแผนขอมลูระยะหา งแกนXระยะหา งแกนYจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ ภาพที่ 2.28 หนา จอการปรบั คา ระยะ Snap วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี ที่มา โปรแกรม AutoCAD 2016 แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล

5 ใบเนื้อหา 2-2 หนวยที่ 2ชื่อหนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขยี นแบบ จํานวน 8 ช.ม.รหัสวชิ า 2110-2002 ช่อื วิชา การใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ในงานเขยี นแบบ ระดบั ช้นั ปวช.1 ชอ่ื เรื่อง ปมุ ฟงคช ัน่ คยี ใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพิวเตอรช ว ยในการออกแบบเขียน สอนคร้งั ที่ 3 แบบ การกําหนดระยะควบคมุ การเคลอ่ื นทขี่ องเสน (Snap) ผูใ ชง านจะตองเลอื กคําส่งั จากกลุม คําสั่งTools > Drafting Setting ทําการเลอื กแผนขอ มูล Snap and Grid และทําการกําหนดระยะหางของเสนในแนวแกน X (Snap X spacing) กาํ หนดระยะหา งของเสน ในแนวแกน Y (Snap Y spacing) ภาพที่ 2.28 แสดงแนวเสนเชิงมมุ Polar ทม่ี า โปรแกรม AutoCAD 2016 ปุมฟงคชั่น F10 เปนปมุ ฟงคชน่ั คียท่ีใชใ นการควบคุมการปด - เปด แนวเสนเชิงมุม (POLAR)ตามองศาท่กี าํ หนด ซ่ึงจะชวยใหผ ูใชงานสามารถทําการเขียนเสนตามแนวทิศทางทก่ี ําหนดไดส ะดวกย่ิงข้ึน แผนขอ มูล องศาทีก่ ําหนด ภาพที่ 2.29 หนาจอการกําหนดคาแนวเสนเชงิ มมุ Polar ที่มา โปรแกรม AutoCAD 2016การปรับแตงองศาของแนวเสนเชงิ มุม ผใู ชงานสามารถทําการปรับแตง ไดโดยการเลอื กคาํ ส่งัจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

6 ใบเน้อื หา 2-2 หนวยท่ี 2ชื่อหนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จาํ นวน 8 ช.ม.รหสั วิชา 2110-2002 ชื่อวิชา การใชโปรแกรมสําเรจ็ รปู ในงานเขียนแบบ ระดับชนั้ ปวช.1 ชอื่ เร่ือง ปุม ฟง คช น่ั คยี ใ นทาํ งานของโปรแกรมคอมพิวเตอรช วยในการออกแบบเขยี น สอนคร้ังท่ี 3จาแกบกบลมุ คาํ ส่ัง Tools > Drafting Setting โปรแกรมจะแสดงกรอบโตต อบ Drafting Setting ทาํ การเลือกแผน ขอ มลู Polar Tracking และเลือกองศาทตี่ องการกําหนดแนวเสน เชงิ มมุ ท่ี Increment angleObject Snap Tracking Object Snap ภาพที่ 2.30 แสดงการใชง าน Object Snap Tracking ที่มา เขยี นโดยผเู รียบเรยี งปุม ฟงคชนั่ คยี  F11 เปน ปุมฟงคช ่ันคียทใี่ ชควบคมุ การปด –เปด ใชง านของ Object SnapTracking ที่ใชเ ปน เคร่ืองมือในการหาตาํ แหนงของจุดตดั ในแนวนอนและแนวตั้งฉากจากจดุ ทีก่ าํ หนด โดยใชงานรว มกบั Object Snap ทีต่ องเปดใชงานอยูแสดงระยะตาํ แหนง ใหม แสดงมมุ ที่กระทําตอแกน X ภาพที่ 2.31 แสดงการใชงาน Dynamic Input ท่มี า โปรแกรม AutoCAD 2016 ปุมฟงคชั่น F12 เปนปุมฟงคชัน่ คียท ่ใี ชควบคมุ การปด –เปด การแสดงแนวเสนและการปอ นคาตัวเลขในขณะทํางาน (Dynamic Input) บนหนา จอโปรแกรมแทนการปอนคาในบรรทดั CommandLineจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

7 ใบเนอ้ื หา 2-2 หนว ยที่ 2 ช่ือหนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขียนแบบ จาํ นวน 8 ช.ม. รหัสวชิ า 2110-2002 ช่อื วิชา การใชโปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ในงานเขียนแบบ ระดบั ชน้ั ปวช1ช่ือเรื่อง การควบคุมการแสดงภาพในการเขยี นแบบงาน สอนครง้ั ที่ 35. การควบคุมการแสดงภาพในการเขียนแบบงาน 5.1 คาํ ส่ัง Zoom การเลือกมุมมองในการทาํ งานที่เหมาะสม จะชวยใหผเู ขียนแบบงานสามารถทาํ งานไดอยา งละเอียด รวมทั้งยงั ชวยถนอมสายตาของผูเขียนไดอ กี ดวย ซ่ึงคาํ ส่ัง Zoom เปน คาํ สงั่ ที่ใชใ นการเปลย่ี นการแสดงผลภาพใหม ีขนาดทเ่ี หมาะสมตอ การทํางาน ขนาดกระดาษA3 ภาพท่ี 2.32 แสดงการใชงานคาํ สงั่ Zoom -all ทีม่ า โปรแกรม AutoCAD 2016 5.1.1 คาํ สงั่ Zoom > all เปน คาํ สั่งทแี่ สดงผลภาพเทากบั หนาจอทเี่ ปดขนึ้ ในครัง้แรก ซง่ึ จะมขี นาดพื้นทีป่ ระมาณกระดาษ A3 (420,297)ขอบของวัตถุ ขอบของวัตถุ ภาพที่ 2.32 แสดงการใชงานคําสง่ั Zoom - Extend ทม่ี า โปรแกรม AutoCAD 2016 5.1.2 คาํ สั่ง Zoom > Extend เปน คําสั่งที่แสดงผลภาพท้ังหมดของวัตถุที่มีอยูเต็มจอภาพทีท่ าํ การเขียนไวจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

8 ใบเนอ้ื หา 2-2 หนวยที่ 2ชื่อหนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขียนแบบ จํานวน 8 ช.ม.รหัสวิชา 2110-2002 ชือ่ วชิ า การใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รูปในงานเขยี นแบบ ระดบั ชัน้ ปวช1ชือ่ เร่ือง การควบคมุ การแสดงภาพในการเขยี นแบบงาน สอนครัง้ ท่ี 3 กรอบเลอื กวตั ถุ การแสดงภาพวัตถุ ภาพท่ี 2.33 แสดงการใชงานคําสง่ั Zoom - Windows ท่ีมา โปรแกรม AutoCAD 20165.1.3 คาํ สัง่ Zoom > window เปนคําสงั่ ทีแ่ สดงผลภาพท่ีเกดิ ขน้ึ จากการทผี่ ูเ ขยี นแบบงาน ทาํ การสรา งกรอบสี่เหลย่ี มครอบคลุมพน้ื ทท่ี ่ีกําหนดใหแ สดงผลภาพแบบงาน 5.1.4 คาํ สงั่ Zoom > Previous เปน คําส่งั ทแี่ สดงผลภาพในลกั ษณะยอ นหลังกลบั ไปยงั ผลภาพท่ีผา นไป โดยมีการยอนกลับอยา งเปนขน้ั ตอน แสดงสญั รูปคําส่งั ภาพที่ 2.34 แสดงการใชง านคาํ สง่ั Pan Realtime ท่ีมา โปรแกรม AutoCAD 20125.2 คาํ สง่ั Pan Realtime เปน คําสง่ั ที่ใชส าํ หรบั เลอื่ นผลภาพบนจอภาพ มีลักษณะเหมอื นกบั การเล่อื นภาพดว ย ปุมScroolbar โดยทร่ี ูปแบบของ Cross Hair จะเปลี่ยนไปเปน รูปมือ สามารถเลอ่ื นผลภาพไดดว ยการคลิกเมาสปมุ ซายคางไว และเล่ือนภาพไปยังตําแหนง ทต่ี อ งการ และออกจากคําสง่ั ไดดวยการกดปุม Enter หรือคลิกเมาสปุมขวาเลือกคําสัง่ Exitจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

9 ใบเนื้อหา 2-2 หนวยท่ี 2ชอ่ื หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จํานวน 8 ช.ม.รหัสวิชา 2110-2002 ชื่อวิชา การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในงานเขียนแบบ ระดบั ช้ัน ปวช1ช่อื เรื่อง การควบคมุ การแสดงภาพในการเขยี นแบบงาน สอนครั้งท่ี 3 5.3 การใชเ มาสในการควบคมุ การแสดงภาพ การใชเ มาสในการควบคมุ การแสดงผลภาพ เปนการใชงานอปุ กรณช้ตี าํ แหนงแทนการใชคาํ ส่ัง Zoom และ Pan ในการแสดงผลภาพทเี่ กิดขึ้นในหนา จอ (กด)เคล่อื นยา ย Enter ภาพ (หมนุ ลูกกล้ิง) ยอ-ขยายภาพ เลือกวตั ถุ ภาพที่ 2.35 แสดงการใชงานเมาส ทม่ี า โปรแกรม AutoCAD 2012 การใชเมาสในการควบคุมการแสดงผลภาพมลี กั ษณะการใชงานดังนีค้ อื 5.3.1 กดปมุ เมาสด านซายคางไว เปน การเลื่อนภาพไป-มา และกดปุม Enter หรือ ปุมEscเม่อื ตอ งการสน้ิ สดุ การใชค ําสง่ั 5.3.2 กดปุมเมาสดานขวา เปน การทาํ งานแทนปมุ Enter หรือการเรยี กเมนูเพ่มิ เติม 5.3.3 การหมนุ ลูกกล้ิงไปดา นหนา ผลภาพจะแสดงใหญขนึ้ ทาํ ใหเ หน็ รายละเอียดของวัตถุมากขึ้น 5.3.4 หมนุ ลกู กล้ิงไปดา นหลัง ผลภาพจะแสดงเล็กลง ทาํ ใหเห็นภาพรวมของวัตถุไดกวางขน้ึ 5.3.5 กดปมุ ลูกกลงิ้ คา งไว รปู แบบของ Cross Hair จะเปลี่ยนไปเปนรปู มือใชสําหรับเลือ่ นผลภาพ ทาํ งานเชนเดยี วกับคําสัง่ Pan Realtimeจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

10 ใบเนือ้ หา 2-2 หนว ยที่ 2 ช่ือหนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขยี นแบบ จาํ นวน 8 ช.ม รหัสวิชา 2110-2002 ช่ือวิชา การใชโ ปรแกรมสําเรจ็ รูปในงานเขียนแบบ ระดับชั้น ปวช.1ชือ่ เร่อื ง คําสงั่ ชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object snap) สอนครั้งที่ 36. คําส่ังชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object snap) คาํ สงั่ ชว ยในการกระโดดลงตาํ แหนง เปนกลุมคําส่ังทีใ่ ชสาํ หรบั บงั คับใหCross Hair กระโดดไปยงัตําแหนงท่กี าํ หนด เชน ปลายเสน กลางเสน จดุ ตดั กัน ฯลฯ โดยการใชงานคําส่ังน้นั จะตองใชงานรว มกับคาํ สั่งตา งๆในสว นของโปรแกรม 6.1 การเรยี กใชค ําส่ังชว ยในการกระโดดลงตําแหนง เมนูคาํ ส่ัง Object Snap ภาพที่ 2.36 แสดงเมนูคาํ ส่งั Object Snap ที่มา โปรแกรม AutoCAD 2016 6.1.1 กดปมุ Shift ทแี่ ปน พิมพคาง และคลิกเมาสป ุมขวา โปรแกรมจะแสดงเมนูของคาํ สง่ัชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object Snap) บนพ้นื ท่ีหนา จอโปรแกรมบรรทดั คาํ สง่ั Command: LINE Specify first point: end of Specify next point or [Undo]: mid of Specify next point or [Undo]: tan to คาํ สง่ั ยอ Object Snap Specify next point or [Close/Undo]: ภาพท่ี 2.37 การพมิ พค ําส่ังยอของคําส่ังกระโดดลงตําแหนง ท่มี า เขยี นโดยผเู รียบเรียง 6.1.2 พมิ พค ําส่ังยอของคําสั่งกระโดดลงตาํ แหนง ตอทายคําสง่ั ท่ีกําลังทํางานอยูบนบรรทดัCommand Line เชน End, Mid, tan ฯลฯ เปนตนจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

11 ใบเนือ้ หา 2-2 หนวยท่ี 2ชือ่ หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จํานวน 8 ช.มรหัสวิชา 2110-2002 ชื่อวชิ า การใชโ ปรแกรมสําเร็จรปู ในงานเขียนแบบ ระดับชน้ั ปวช.1ช่อื เร่อื ง คาํ สัง่ ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object snap) สอนคร้ังท่ี 3 Toolbars ภาพท่ี 2.38 การเลือกเคร่ืองมอื Object Snap ทมี่ า เขียนโดยผเู รียบเรยี ง 6.1.3 เลือกจากกลุมคาํ ส่ัง Tools > Toolbars > autoCAD > Object snap 6.2 คําสงั่ ชวยในการกระโดดลงตําแหนง เปน คําสัง่ ที่ใชสําหรับกระโดดลงตาํ แหนงตา งของเสน ซึ่งจะตองใชค าํ สั่งขณะอยใู นขั้นตอนการทํางานของกลมุ คําสง่ั Draw และกลมุ คาํ สัง่ Modify ซ่ึงมีรายละเอียดของคําสัง่ ชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object snap) ดังน้ี ภาพท่ี 2.39 การกระโดดลงตําแหนง แบบ Endpoint ทม่ี า เขยี นโดยผเู รียบเรียง 6.2.1 Endpoint เปนคาํ ส่ังทชี่ ว ยกระโดดลงตาํ แหนงปลายเสน ดานใดดา นหน่งึ ของเสน ซึง่ ขึน้ อยูกบั ตาํ แหนง การเลอื กปลายของเสน โดยทโี่ ปรแกรมจะแสดงสัญลักษณร ูปสี่เหลีย่ มท่ีปลายเสน ท่ีใกลก ับตําแหนงการเลือกจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

12 ใบเน้อื หา 2-2 หนว ยท่ี 2ชอ่ื หนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขียนแบบ จํานวน 8 ช.มรหสั วชิ า 2110-2002 ชอื่ วิชา การใชโปรแกรมสาํ เร็จรูปในงานเขยี นแบบ ระดับช้ัน ปวช.1ช่ือเรอ่ื ง คาํ สง่ั ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object snap) สอนครัง้ ท่ี 3 ภาพที่ 2.40 การกระโดดลงตําแหนงแบบ Midpoint ท่ีมา เขยี นโดยผูเรียบเรยี ง6.2.2 Midpoint เปน คาํ สงั่ ที่ชวยใหก ระโดดลงตาํ แหนง ของก่ึงกลางเสนตรงหรอืเสนโคง โดยท่ีโปรแกรมจะคํานวณหาจดุ กง่ึ กลางของเสน ทถี่ ูกเลือก และจะแสดงสัญลักษณสามเหล่ียมตาํ แหนงกง่ึ กลางเสนทเี่ ลือกนน้ั ภาพท่ี 2.41 การกระโดดลงตําแหนง แบบ Intersection ทม่ี า เขียนโดยผเู รยี บเรียง6.2.3 Intersection เปนคาํ สง่ั ที่ชวยใหก ระโดดลงตาํ แหนง ของจุดตัดกนั ของเสนหรอื ตําแหนงที่ปลายเสน สองเสนมาชนกนั โดยท่โี ปรแกรมจะคํานวณหาจุดตัดกนั หรือจุดที่เชอ่ื มชนกัน และจะแสดงสัญลักษณกากบาท ทตี่ ําแหนง จุดตัดกันของเสน ที่เลือกนนั้จดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

13 ใบเนื้อหา 2-2 หนวยที่ 2ชอื่ หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขยี นแบบ จํานวน 8 ช.มรหสั วชิ า 2110-2002 ชอ่ื วชิ า การใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรูปในงานเขียนแบบ ระดับช้ัน ปวช.1ชื่อเรอื่ ง คําสงั่ ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object snap) สอนครัง้ ท่ี 31.เลือกเสน จดุ ทคี่ าดวา จะตดั กันหลัก 2.เลอื กเสน ท่ีตองการใหตัดกับเสน หลกั ภาพท่ี 2.42 การกระโดดลงตําแหนงแบบ Apparent Intersection ทีม่ า เขียนโดยผเู รียบเรยี ง 6.2.4 Apparent Intersection เปนคําส่งั ท่ีชว ยในการกระโดดลงตาํ แหนง ของจดุ ท่ีคาดวาจะตัดกันของเสนหรือตาํ แหนง ท่ปี ลายเสนสองเสนทค่ี าดวาจะมาชนกนั โดยท่โี ปรแกรมจะทาํ การคํานวณหาจดุ จะตดั กันหรอื จุดที่จะเช่ือมชนกัน โดยทขี่ ้นั ตอนที่1 ผใู ชง านจะตองคลิก๊ เมาสปุมซา ยเพื่อกําหนดเสน หลกั กอน และขั้นตอนท่ี 2เลือกเสน ทตี่ อ งการใหตดั กับเสนหลกั โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณกากบาท ที่ตาํ แหนง จุดตัดกนั ของเสน ท้ังสองเสน นน้ั 1.เลือกปลายเสน หลัก 2.เลอื่ นเมาสออกตามแนวเสน ภาพที่ 2.43 การกระโดดลงตําแหนง ในทศิ ทางเดมิ แบบ Extension ทม่ี า เขยี นโดยผูเ รยี บเรียง 6.2.5 Extension เปนคําส่ังทชี่ ว ยใหกระโดดลงตําแหนงในทิศทางเดิมของเสนตนแบบตามระยะทผี่ ูใชงานกําหนด ซ่ึงในการเลอื กคําสั่ง Extension น้นั ขัน้ ตอนท่ี 1 ผูใ ชง านจะตองเลื่อนเมาสม ายังตําแหนง ของปลายเสน ตนแบบเพ่อื ใหโ ปรแกรมแสดงสญั ลกั ษณก ากบาทที่ปลายเสน ขน้ั ตอนท่ี 2ใหเลือ่ นเมาสอ อกตามแนวท่ีโปรแกรมแสดงทิศทางท่เี กิดข้นึ โดยท่ีผใู ชงานสามารถคลกิ เมาสซ า ยเพ่ือกําหนดจดุ ใหม หรือพิมพร ะยะหางที่ตองการจากปลายเสนไดโดยตรงจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

14 ใบเนื้อหา 2-2 หนวยที่ 2ชอื่ หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จาํ นวน 8 ช.มรหสั วชิ า 2110-2002 ชอ่ื วิชา การใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู ในงานเขียนแบบ ระดบั ช้นั ปวช.1ช่อื เรือ่ ง คําสงั่ ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object snap) สอนครง้ั ท่ี 3 แตะขอบสวนโคง หรือวงกลม ภาพท่ี 2.44 การกระโดดลงตําแหนง จุดศูนยกลางของวงกลม ทมี่ า เขียนโดยผูเรยี บเรียง 6.2.6 Center เปน คาํ สั่งทชี่ วยกระโดดลงตาํ แหนงของจดุ ศูนยก ลางของวงกลม หรือจดุ ศูนยก ลางของสวนโคง ท่เี กิดขน้ึ โปรแกรมจะแสดงสัญลักษณวงกลมที่ตําแหนง จุดศนู ยก ลางของวงกลมหรอื สวนโคง เมื่อผูใ ชงานทําการเลอ่ื นเมา สไ ปยังเสนของวงกลมหรือสวนโคง แตะขอบสวนโคง หรอื วงกลม ภาพที่ 2.45 การกระโดดลงตําแหนง จุดศูนยจุดสมั ผัสของวงกลม ทีม่ า เขยี นโดยผเู รียบเรียง 6.2.7 Tangent เปน คาํ ส่ังทีช่ วยกระโดดลงตําแหนง ของจุดสัมผสั ของวงกลมหรือสว นโคง เพื่อใหเ สนทนี่ ํามาสัมผัสกับวงกลมหรอื สว นโคง มีความราบเรียบในการเชอ่ื มตอกนั โดยทีโ่ ปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณว งกลมสัมผัสเสน ตรง ทบี่ รเิ วณขอบของวงกลมหรือสว นโคง ท่ีผใู ชง านเลอื กจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

15 ใบเนอ้ื หา 2-2 หนว ยท่ี 2ชอ่ื หนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขยี นแบบ จาํ นวน 8 ช.มรหัสวิชา 2110-2002 ชื่อวชิ า การใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรูปในงานเขยี นแบบ ระดบั ชั้น ปวช.1ชอ่ื เร่ือง คาํ ส่งั ชวยในการกระโดดลงตาํ แหนง (Object snap) สอนครัง้ ที่ 3 เลือกเสน ทต่ี องการ ทํามมุ ฉาก ภาพท่ี 2.45 การกระโดดลงตาํ แหนง จดุ ศูนยจดุ ต้งั ฉากของเสน ตรง ทมี่ า เขียนโดยผเู รียบเรียง 6.2.8 Perpendicular เปน คาํ ส่ังทีช่ วยกระโดดลงตําแหนงของจุดต้งั ฉากของเสนที่ตอ งการเช่ือมตอ โดยการใชงานของคาํ สง่ั นั้นผูใชง านจะตอ งเลือกเสน ทีต่ องการทาํ มุมฉากกับเสน ท่ีลากอยูเมอื่ เล่อื นตําแหนงของเมาสไปแตะทีเ่ สนที่ตอ งการ โปรแกรมจะแสดงสัญลักษณมุมฉากข้นึจุดเร่ิมตนของเสน เสนท่กี าํ หนดแนว แนวเสน คขู นาน 1 2 ภาพที่ 2.46 การสรา งเสนใหข นานกบั เสนทก่ี ําหนด ท่มี า เขียนโดยผูเรยี บเรียง 6.2.9 Parallel เปนคาํ สง่ั ทใี่ ชใ นการชว ยแสดงแนวเสนขนานกับเสน ทก่ี ําหนด ในการใชง านนั้นเม่อื กาํ หนดจุดเร่มิ ตน ของเสน ใหมแ ลว ขั้นตอนที่1ใหน ําเมาสไ ปแตะเสน ทตี่ องการคูขนานโปรแกรมจะแสดงสญั ลกั ษณเสน คูขนาน ข้นั ตอนที่ 2 ขยับเมาสออกเสนเม่อื ตาํ แหนงของเสน ขนานกนั โปรแกรมจะแสดงแนวเสน ทต่ี องการจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

16 ใบเนอ้ื หา 2-2 หนวยท่ี 2ช่อื หนวย คอมพิวเตอรช วยในงานเขยี นแบบ จาํ นวน 8 ช.มรหสั วิชา 2110-2002 ช่ือวชิ า การใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รูปในงานเขียนแบบ ระดับช้นั ปวช.1ชื่อเรอ่ื ง คาํ ส่งั ชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object snap) สอนครั้งท่ี 3 ภาพท่ี 2.47 การกระโดดลงตําแหนง ของจุดท่เี กิดขนึ้ บนวงกลม ที่มา เขียนโดยผเู รียบเรียง 6.2.10 Quadrant เปนคําส่ังทชี่ ว ยในการกระโดดลงตําแหนงของจดุ ทเ่ี กิดขนึ้ บนเสนวงกลม ซ่ึงแบง ตาํ แหนง ออกเปน 4 จุด คือ 3 , 6 , 9 และ 12 นาฬิกา โดยที่เม่ือผูใชงานเลอื กเขา ใกลในตาํ แหนงใด โปรแกรมจะแสดงสญั ลกั ษณส่เี หล่ียมขา วหลามตัดเพ่ือแสดงตาํ แหนง ที่จะกระโดดเขา จดุ ที่ใกลทส่ี ดุ ใน 4 จดุ กาํ หนดภาพท่ี 2.48 การกระโดดลงตาํ แหนง ของจุดทกี่ าํ หนดพกิ ดั Point ทมี่ า เขียนโดยผูเรียบเรียง 6.2.11 Node เปน คําสง่ั ทช่ี วยในการกระโดดลงตําแหนง ของจดุ ที่กาํ หนดตาํ แหนงพกิ ัด ทีเ่ กิดจากการใชค าํ ส่ัง Point โดยทโี่ ปรแกรมจะแสดงสัญลักษณว งกลมท่มี ีเสน ทแยงตัด ณ จุดท่ีเปนตาํ แหนง ของ pointจดั ทําโดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วิทยาลยั เทคนิคชลบรุ ี

17 ใบเน้อื หา 2-2 หนว ยท่ี 2 ช่อื หนวย คอมพิวเตอรชวยในงานเขียนแบบ จาํ นวน 8 ช.ม รหัสวิชา 2110-2002 ช่อื วิชา การใชโ ปรแกรมสาํ เร็จรูปในงานเขียนแบบ ระดบั ชัน้ ปวช.1ช่อื เรอ่ื ง คําส่งั ชวยในการกระโดดลงตําแหนง (Object snap) สอนครัง้ ท่ี 3 ภาพที่ 2.49 การกระโดดลงตาํ แหนงของจุดที่ใกลที่สดุ ทม่ี า เขียนโดยผเู รยี บเรียง 6.2.12 Nearest เปนคําส่งั ที่ชว ยในการกระโดดลงตําแหนงท่ใี กลทีส่ ดุ ของเสนหรือวตั ถใุ ดๆ โดยการเลอื่ นตําแหนง Cross Hair ไปยงั ตาํ แหนงของเสนทีต่ องการ โปรแกรมจะแสดงสัญลกั ษณNearest ณ ท่ีตาํ แหนง ท่เี มาสวาง6.3 การต้ังคาอัตโนมตั คิ ําส่ังชว ยในการกระโดดลงตาํ แหนง ในการใชคําสั่งชวยกระโดดลงจดุ แบบอัตโนมตั ิน้ัน ผูใ ชงานสามารถต้ังคาการกระโดดลงจุดใหเปน แบบอัตโนมตั ิได โดยการเลือกคาํ สงั่ Tool > Drafting Settings > Object Snap โปรแกรมจะแสดงกรอบโตตอบ Drafting Setting จากน้ันทาํ การเลอื กแผนขอมลู Object Snap เพื่อกาํ หนดการทาํ งานของคําส่ังทต่ี องการ แผนขอมลู Object Snapเลือกการใชงานแบบอตั โนมตั ิ ภาพท่ี 2.50 หนา จอการกําหนดคาอัตโนมตั ิ Object Snap ทมี่ า เขียนโดยผูเรียบเรียง ผใู ชง านสามารถเลอื กคําส่ังชวยกระโดดลงจดุ ตา งๆ ไดดวยการคลิก Check box ในกรอบสีเ่ หล่ยี มหนาคําสัง่ ใหแสดงเครอื่ งหมาย จากน้ันใหกดปุม OK เพ่อื เสรจ็ สนิ้ การกําหนดคาอตั โนมตั ิจดั ทาํ โดย นายชลอ นิมเสนาะ แผนกชา่ งเขียนแบบเครืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคชลบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook