Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลโครงงานคอมพิวเตอร์ การเค

รายงานผลโครงงานคอมพิวเตอร์ การเค

Published by sopihtnapa, 2020-11-15 11:45:21

Description: รายงานผลโครงงานคอมพิวเตอร์ การเค

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพิวเตอร การเคลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) โดย ๑.นายธนชัย กานพรหมมา ๒.นางสาววริศรา เวชกิจ ๓.นางสาวกนกพร ปอมออน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี ๔ – ๖ โรงเรียนกลั ยาณวัตร สังกดั สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕ รายงานฉบบั น้เี ปนสวนประกอบของโครงงานคอมพวิ เตอรป ระเภทซอฟตแวร งานมหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยีของนกั เรยี น คร้ังที่ ๖๘ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ระดับ � เขต �/ ชาติ วันท่ี ๖ – ๘ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

โครงงานคอมพวิ เตอร การเคลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) โดย ๑.นายธนชยั กานพรหมมา ๒.นางสาววรศิ รา เวชกิจ ๓.นางสาวกนกพร ปอมออน ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ – ๖ โรงเรียนกลั ยาณวัตร สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๕ ครูทปี่ รึกษา นางนารรี ตั น พรหมสาขา ณ สกลนคร นายอาํ นาจ พรหมใจรกั ษ กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชพี ฯ สาขา คอมพวิ เตอร โรงเรียนกัลยาณวตั ร สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕

(ก) โครงงาน เรื่อง การเคลอ่ื นท่ีแบบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) ประเภทของโครงงาน โปรแกรมเพ่ือสงเสริมทกั ษะการเรียนรู ครทู ่ปี รึกษา นางนารีรตั น พรมสาขา ณ สกลนคร และ นายอํานาจ พรหมใจรกั ษ ผูจ ัดทาํ โครงงาน ๑.นายธนชัย กานพรหมมา ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๕/๑๕ ๒.นางสาววรศิ รา เวชกิจ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๕/๑๕ ๓.นางสาวกนกพร ปอ มออน ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๕/๑๕ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ บทคัดยอ การพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอรน ี้ มีวตั ถุประสงค ๑.เพือ่ ออกแบบและสรา งโปรแกรมเพื่อ สงเสริมทกั ษะการเรยี นรู เรือ่ ง การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจริง (Projectile motion in AR) สําหรบั ใชบนระบบปฏบิ ัติการ Android ๒. เพื่อออกแบบและสราง หนงั สอื จากโปรแกรม.Adobe..Photoshop..CC 2018 เพ่อื ใชกับโปรแกรมเพอ่ื สง เสรมิ ทักษะการ เรยี นรู เรอ่ื ง การเคลื่อนท่แี บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) ๓. เพ่ือทดลองใชโปรแกรมเพอื่ สง เสรมิ ทักษะการเรียนรู เร่อื ง การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทลใ น รูปแบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR) กลมุ เปาหมายท่ีใชในการทดลอง โปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรูในครั้งน้ี ไดแก นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ ๔/๑๕ โรงเรยี น กัลยาณวตั ร ปการศึกษา ๒๕๖๑ จาํ นวน ๓๐ คน ผลการทดลอง เมื่อพจิ ารณาเปนรายขอ พบวา สวนใหญอยใู นระดับดแี ละดมี าก หัวขอ ท่มี ีคา เฉลีย่ นอ ยสดุ คอื เนื้อหามคี วามเขาใจงา ย มีคา เฉลย่ี เทา กับ ๔.๔๓ ซึง่ อยใู นระดบั ดี หัวขอ ที่มีคาเฉล่ีย สงู สดุ คอื ความเสมอื นจรงิ ของภาพเคลอ่ื นไหว มีคาเฉลีย่ เทากับ ๔.๘๕ ซ่ึงอยูใ นระดบั ดมี าก และ ความพงึ พอใจโดยรวมตอโปรแกรมเพือ่ สง เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เร่ือง การเคลอื่ นทแ่ี บบโปรเจคไทล ในรูปแบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR) อยใู นระดบั ดมี าก โดยมีคา เฉลยี่ เทากับ ๔.๖๒ คําสาํ คัญ : เทคโนโลยีเสมือนจริง,การเคลอ่ื นทแ่ี บบโปรเจคไทล, โปรแกรมเพอื่ สง เสริมทกั ษะการ เรียนรู

(ข) กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานนส้ี าํ เรจ็ ลลุ ว งดวยความชวยเหลือจากการใหค ําปรกึ ษา และ คําแนะนําเปนอยา งดี จากคณะครูทัง้ กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและกลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี ฯ สาขา คอมพวิ เตอร ผบู ริหารโรงเรียนกัลยาณวตั ร ท่ีสงเสรมิ และสนบั สนนุ ในการจดั ทําโครงงานในคร้ังนี้ คุณครูอาํ นาจ พรหมใจรกั ษ และคุณครนู ารรี ตั น พรมสาขา ณ สกลนคร ครทู ปี่ รึกษาโครงงาน ที่ ใหค าํ ปรึกษาแนะนําในการพฒั นาโครงงานคอมพวิ เตอรจ นสาํ เร็จลุลว งไปไดด วยดี ผลที่เกดิ จากงานโครงงานน้ี คณะผจู ดั ทําขอมอบเปนกตญั ตุ าแดค ุณบดิ ร มารดา คณุ ครู อาจารยแ ละผมู พี ระคุณทุกทานมาใน..ณ..ที่นี้ ทายสุดนคี้ ณะผูจัดทําหวงั เปน อยางยิ่งวา โครงงานนี้จะเปนประโยชนต อ การศึกษาและผูท่ี สนใจตอไป คณะผูจัดทาํ

ค สารบญั บทคัดยอ หนา กติ ติกรรมประกาศ ก ข สารบญั ค สารบญั ภาพ จ สารบญั ตาราง ฉ บทที่ ๑ บทนาํ ๑ ๑ ทม่ี าและความสาํ คญั ๑ วัตถปุ ระสงค ๒ ๓ ขอบเขตของโครงงาน ๔ แผนการดําเนินงาน ๕ ผลที่คาดวาจะไดรับ ๕ บทท่ี ๒ เอกสารที่เกี่ยวของ ๕ สาระและมาตรฐานการเรยี นรูว ชิ าวทิ ยาศาสตร ๕ การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล ๖ เทคโนโลยีความจริงเสริม ๘ โปรแกรม Unity3D ๑๐ โปรแกรม Autodesk Maya ๑๐ บทท่ี ๓ อปุ กรณและวิธกี ารดาํ เนนิ งาน วัสดุ อปุ กรณ เครอ่ื งมอื หรอื โปรแกรมทีใ่ ชใ นการสรางโปรแกรมเพอื่ สงเสรมิ ทักษะ ๑๐ การเรียนรู ขัน้ ตอนการดําเนินงาน

สารบญั (ตอ) ง บทที่ ๔ ผลการดาํ เนินงาน หนา ผลการออกแบบและสรางโปรแกรมเพือ่ สงเสริมทักษะการเรยี นรู ๑๓ ผลการประเมินความพงึ พอใจตอ โครงงานคอมพวิ เตอร ๑๓ ๑๕ บทท่ี ๕ สรปุ การดําเนินงานและอภปิ รายผลการดาํ เนนิ งาน ๑๗ สรุปผลการดําเนนิ งาน ๑๗ ขอ เสนอแนะ ๑๗ ๑๘ บรรณานุกรม ภาคผนวก คูม ือการใชงาน ขอเสนอโครงงาน

สารบญั ภาพ จ ภาพท๑่ี รูปภาพตวั อยางโปรแกรม Unity 2018 หนา ภาพท๒่ี ภาพการทาํ หนา หลกั ของโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ๖ ภาพท่ี ๓ ภาพการทําหนาอื่นๆของโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ๗ ภาพท่ี ๔ รูปภาพแสดงหนาโปรแกรม Autodesk Maya 2015 ๗ ภาพที่ ๕ ภาพการทํางานของโปรแกรม Autodesk Maya 2015 ๘ ภาพที่ ๖ ภาพการทํา 3D Animation ดวยโปรแกรม Autodesk Maya 201 ๘ ภาพท่ี ๗ shortcut โปรแกรมเพื่อสง เสริมทักษะการเรียนรู ๙ ภาพท่ี ๘ โมเดลปนใหญ ๑๓ ภาพที่ ๙ โมเดลธนู ๑๓ ภาพท่ี ๑๐ หนาหลักโปรแกรมเพ่ือสง เสรมิ ทักษะการเรียนรู ๑๓ ภาพท่ี ๑๑ เนอ้ื หาโปรเจคไทลในหนงั สือ ๑๔ ภาพที่ ๑๒ กาลิเลโอ ๑๔ ภาพท่ี ๑๓ ปนใหญ ๑๕ ๑๕

สารบัญตาราง ฉ ตารางที่ ๑ แผนการดําเนนิ งานของโครงงาน หนา ตารางที่ ๒ แสดงผลคาเฉลย่ี เลขคณติ การประเมินความพงึ พอใจโปรแกรมเพื่อสง เสริมทักษะ ๓ ๑๖ การเรยี นรู เรอ่ื ง การเคลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ

๑ บทท่ี ๑ บทนํา ๑.๑ ทม่ี าและความสาํ คญั การศกึ ษาสงผลใหเ กดิ ความรซู ่งึ ความรูน้ันสามารถนาํ มาใชพฒั นาคนใหม ีความสามารถ ท่ีจะ ใชป ระกอบอาชพี และเอาตวั รอดได รวมท้งั ชว ยขัดเกลาคนใหมีจติ สํานึกและคุณธรรม เปน ผเู จริญทาง ปญญาและจติ ใจซึ่งคนเหลานีน้ อกจากจะสามารถพฒั นาตนเองแลว ยังสามารถพัฒนาสังคมและ ประเทศชาติใหเ จรญิ รงุ เรืองและกา วหนาทัดเทียมอารยประเทศ ในปจจุบันโลกของการศกึ ษาไดม ีการ เปลีย่ นแปลงไปอยางมาก โดยเฉพาะเคร่ืองมอื ทางดานสอื่ ดิจิตอลและการสือ่ สารมีความสาํ คญั มากขน้ึ ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีการส่ือสารทาํ ใหผ เู รยี นสามารถคนหาความรูไดด ว ยตนเอง จากแหลง เรียนรูขอ มลู ตา งๆ ไดส ะดวกมากขึน้ แตสอ่ื ดิจิตอลในยุคปจ จบุ ันก็กอ ใหเ กิดปญหาเกย่ี วกับ การศกึ ษาตามมาหลายประการ เชน ปญ หาเดก็ ติดเกม ปญ หาเด็กติดโซเชยี ล ซง่ึ ปญหาดังกลา วมผี ลทาํ ใหเด็กไทยในปจจุบันไมสนใจในการเรยี น มสี มาธิจดจอ กับสื่อโซเชยี ลมากกวา การเรยี นและปญหาการ เรียนไมร เู รอื่ ง และปญ หาอกี ประการหน่งึ ท่ีทําใหเดก็ เรียนไมรูเรื่องก็คือ การเรียนทฤษฎแี ตไมมีการลง มือปฏิบัตจิ ริง..เชน ..การเรียนเรอ่ื งการเคลื่อนท่ีในวชิ าฟส ิกส จากปญ หาดงั กลา ว ผูจดั ทําจงึ คิดวาหากนําเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ (Augmented Reality : AR) มาประยุกตใชกับการศึกษาหอ งเรียนวิชาฟส ิกส ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔ เนื้อหาในสาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนท่ี เขาใจลกั ษณะการเคลอื่ นที่แบบตางๆของวัตถใุ นธรรมชาติมกี ระบวนการ สบื เสาะหาความรแู ละจิตวทิ ยาศาสตร สอ่ื สารส่ิงทเ่ี รียนรูและนําความรไู ปใชป ระโยชน ซง่ึ ถา มเี ทคโนโลยี มาเปน สว นทที่ ําใหผ ูเรยี นเขา ใจในเนือ้ หามากข้นึ ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค ๑.๒.๑.เพ่ือออกแบบและสรางโปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เร่ือง การเคล่อื นทแ่ี บบ โปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมือนจริง(Projectile.motion.in.AR) สาํ หรบั ใชบนระบบ ปฏบิ ตั กิ าร Android ๑.๒.๒.เพอ่ื ออกแบบและสรางหนงั สือจากโปรแกรม.Adobe..Photoshop..CC 2018 เพอ่ื ใช กับโปรแกรมเพื่อสง เสริมทักษะการเรียนรู เรอ่ื ง การเคล่ือนทีแ่ บบโปรเจคไทลใ นรปู แบบเทคโนโลยี เสมอื นจรงิ (Projectile motion in AR)

๒ ๑.๒.๓. เพือ่ ทดลองใชโ ปรแกรมเพื่อสงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคลื่อนทีแ่ บบโปรเจค ไทลใ นรปู แบบเทคโนโลยเี สมือนจริง (Projectile motion in AR) กับกลมุ เปาหมาย จํานวน ๓๐ คน ๑.๓ ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเพ่อื สง เสริมทกั ษะการเรยี นรู เร่ือง การเคล่ือนทแี่ บบโปร เจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) โดยใช โปรแกรม Autodesk MAYA 2015เพือ่ สรา งโมเดลและภาพเคลอื่ นไหวแบบ ๓ มติ ิโปรแกรม Unity 2018 เพอื่ ใชในการสรา ง ส่อื มลั ตมิ เี ดียปฏิสมั พันธแ ละทาํ ใหเ ปน ไฟล Apk. ใช Vuforia เพอ่ื สรา งมารกเกอร โปรแกรม Android Studio เพอ่ื ใชในการสรางโปรแกรมสําหรับใชในระบบปฏิบัติการ Android และใช Adobe Photoshop CC 2018 เพ่ือออกแบบหนังสือ ตกแตงภาพนง่ิ และภาพเคลื่อนไหวแบบ ๒ มิติ กลมุ เปาหมายทีใ่ ชในการทดลองโปรแกรมเพือ่ สงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เร่ือง การเคล่ือนท่ี แบบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมือนจรงิ (Projectile motion in AR) ท่ีเกิดจากการพฒั นา โครงงานในครั้งนี้ ไดแก นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๔/๑๕ โรงเรยี นกลั ยาณวตั ร ปการศึกษา ๒๕๖๑ จาํ นวน ๓๐ คน

๓ ๑.๔ แผนการดาํ เนินงาน ตารางท่ี ๑ แผนการดําเนินงานของโครงงาน ขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน ระยะเวลาการดาํ เนนิ งาน กนั ยายน ๒๕๖๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ๑ ๒ ๓ ๔๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑.เลือกหวั ขอ โครงงานเพอื่ นําเสนออาจารยท ่ี ปรกึ ษา ๒.ศกึ ษาคนควา รวบรวมขอ มลู เก่ียวกับการสรา ง แอปพลิเคช่ันในรูปแบบ ๓ มติ ิ และศึกษา เกี่ยวกบั เทคโนโลยเี สมือนจริง ๓.ศึกษาโปรแกรมท่ีใชในการสรางแอพพลเิ คช่นั ๔.จดั ทาํ เคาโครงโครงงานคอมพิวเตอรเสนอ อาจารยท่ปี รกึ ษา ๕.ออกแบบแอพพลิเคชัน่ โมเดล มารก เกอร คมู อื การใช ฯลฯ ๖.สรา งแอพพลเิ คชนั่ สง เสริมการเรียนรู เรือ่ ง การเคลื่อนท่แี บบโปรเจคไทล ๗.ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใชงานของ แอพพลเิ คช่ันในรปู แบบ ๓ มิติ เรอื่ ง การเคลอ่ื นทแี่ บบโปรเจคไทล ๘.ออกแบบและสรางหนงั สือที่ใชกับโปรแกรม เพื่อสงเสริมทกั ษะการเรียนรู เรื่อง การเคลอื่ นท่ี แบบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื น จริง ๙.เผยแพรผ ลงาน ๑๐.ประเมนิ ความพึงพอใจ ๑๑.ทาํ เอกสารสรุปรายงานโครงงาน

๔ ๑.๕ ผลที่คาดวาจะไดรบั ๑.๕.๑ โปรแกรมเพ่อื สงเสรมิ ทักษะการเรียนรู เรอ่ื ง การเคล่ือนท่แี บบโปรเจคไทลใ นรปู แบบ เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) บนระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๑.๕.๒ ผทู ดลองใชไ ดรบั ความรูความเขา ใจเก่ยี วกับการเคลื่อนทีแ่ บบโปรเจคไทลม ากขน้ึ

๕ บทที่ ๒ เอกสารที่เก่ียวของ การจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร การเคล่อื นที่แบบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื น จรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) โดยใชโ ปรแกรม Unity2018 โปรแกรม Autodesk Maya2015 และAdobe Photoshop CC 2018 ผจู ดั ทําไดศึกษาจากเอกสาร ทเ่ี กี่ยวขอ งตามรายละเอยี ด ดังตอ ไปนี้ ๑.สาระและมาตรฐานการเรียนรวู ิชาวทิ ยาศาสตร ๒.การเคล่ือนทีแ่ บบโปรเจคไทล ๓.เทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ๔.Unity3D ๕.Autodesk Maya ๑.สาระและมาตรฐานการเรยี นรวู ิชาวทิ ยาศาสตร สาระที่ ๔ แรงและการเคลอื่ นที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเ หลก็ ไฟฟา แรงโนม ถวง และแรง นิวเคลียร มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู ส่อื สารสิง่ ทเี่ รยี นรูและนาํ ความรไู ปใชประโยชนอ ยา ง ถกู ตองและมคี ุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนทแี่ บบตางๆ ของวตั ถใุ นธรรมชาติมี กระบวนการ สบื เสาะหาความรแู ละจิตวิทยาศาสตร สอื่ สารสิ่งทเี่ รยี นรูแ ละนาํ ความรไู ปใชประโยชน ๒.การเคล่อื นท่แี บบโปรเจคไทล การเคลอ่ื นทแ่ี บบโปรเจคไทล เปน การเคลือ่ นท่ีวถิ ีโคงแบบกราฟพาราโบลา โดยสามารถ พิจารณาแนวการเคลื่อนทไ่ี ด ๒ แนว คือ แนวดิ่ง และแนวระดับ โดยการเคลอ่ื นที่ในแนวดง่ิ จะเปน การ เคล่ือนท่แี บบมคี วามเรงคงท่ี อนั เน่ืองมาจากความโนมถวงของโลก และการเคล่อื นทีใ่ นแนวระดบั จะ เปนการเคลื่อนที่แบบคงตัว หรอื ความเรง เปน ศูนย ๓.เทคโนโลยีเสมอื นจรงิ เทคโนโลยเี สมือนจรงิ หรือเทคโนโลยีความจรงิ เสริม (อังกฤษ: AR : Augmented Reality Technology )แบง ออกเปน Augmented แปลวาเพิ่มหรอื เติม สวน Reality แปลวาความจรงิ เมื่อ เอาสองคาํ มารวมกันแลวความหมายก็คอ นขางตรงตวั นน่ั กค็ ือ เทคโนโลยกี ารผสมผสานโลกเสมือน

๖ (Virtual World) เพ่มิ เขา ไปในโลกจริง (Physical World) เพื่อทําใหเ กดิ การกลมกลนื กนั มากท่ีสุดจน แยก ไมอ อก โลกเสมือนทีส่ รา งขนึ้ มาผสานเขา ดวยกนั ผานซอฟตแ วรแ ละอุปกรณเช่ือมตอตาง ๆ ให ผนวกซอนทับกับภาพในโลกจริงที่ปรากฏบนกลอง เทคโนโลยี AR แบงเปน ๒ ประเภท ไดแ ก แบบท่ี ใชภาพสญั ลักษณแ ละแบบที่ใชระบบพิกดั ในการวิเคราะหข อมูลเพ่ือสรา งขอมูลบนโลกเสมอื นจรงิ ซง่ึ ในทางเทคนคิ แลว ภาพสญั ลักษณท ่ใี ช จะนยิ มเรียกวา “Marker” หรืออาจจะเรียกวา AR Code ก็ได โดยใชกลองเว็บแคมในการรบั ภาพ เมอื่ ซอฟตแวรท ีเ่ ราใชงานอยูประมวลผลรูปภาพเจอสญั ลักษณท ี่ กาํ หนดไวก็จะแสดงขอมลู ภาพสามมิตทิ ี่ถูกระบุไวในโปรแกรมใหเ ห็น เราสามารถที่จะหมนุ ดูภาพที่ ปรากฏไดทกุ ทิศทางหรอื เรียกวาหมนุ ได ๓๖๐ องศา ๔.Unity 2018 Unity 2018 คอื Game Engine ท่ีชว ยสรางเกม ๓ มิติ และปจจบุ ันกส็ ามารถสรางเกมส ๒ มิติไดดวย ซ่ึงสามารถทาํ งานได บน ๒ แพลตฟอรม คอื Windows และ OSX และสามารถ Export งานเพ่ือนําไปใชง านไดหลาย แพลตฟอรม เชน –Windows –OSX –Androids –iOS (iPhone) – WEB ภาพท๑่ี รูปภาพตวั อยา งโปรแกรม Unity 2018

๗ ภาพที่๒ ภาพการทาํ หนา หลักของแอปพลิเคชนั่ ภาพท๓่ี ภาพการทาํ หนาอ่ืนๆของแอปพลเิ คชนั่

๘ ๕. Autodesk Maya 2015 เปน โปรแกรมทําแอนิเมชนั่ โดยรองรับมาตรฐานตางๆ ดานงานกราฟก ๓ มิติทุกประเภท เชน 3D Visual Effects, Computer Graphics และเครอ่ื งมือในการ สรา งการต นู Animation โดยที่คุณ จะสรางผลงานทวี ี, พัฒนาเกม และงานออกแบบตา งๆ ภาพท่๔ี รูปภาพแสดงหนาโปรแกรมMaya ภาพท่ี๕ ภาพการทํางานของโปรแกรม Maya 2015

๙ ภาพที๖่ ภาพการทาํ 3D Animation ดวยโปรแกรม Maya 2015

๑๐ บทที่ ๓ อุปกรณแ ละวธิ กี ารดาํ เนนิ งาน โครงงานคอมพวิ เตอร เรือ่ ง การเคลื่อนทแ่ี บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมือนจรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) คณะผูจัดทาํ โครงงานมวี ิธกี าร ดําเนนิ งานโครงงาน ตามขนั้ ตอน ดงั ตอ ไปน้ี ๓.๑ วัสดุ อปุ กรณ เครอื่ งมือหรอื โปรแกรมท่ีใชในการสรางแอพพลิเคชั่น ๑) เครอื่ งคอมพิวเตอรโ นต บคุ พรอมเชอ่ื มตอระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็ - ระบบปฏบิ ัตกิ าร: Windows 10 PRO 64 bit. - หนวยประมวลผล : Intel Core i5-8300H (2.30 - 4.00 GHz) - ความเรว็ : 4.0 GHz - RAM 8 GB ๒) โทรศัพทม ือถือระบบปฏิบตั กิ าร Android ๓) Unity2018 สําหรับใชในการวางตําแหนง และจัดทําเทคโนโลยีเสมือนจรงิ และทํา ใหเปนไฟล Apk. ๔) Autodesk Maya 2015 สาํ หรับใชในการปน โมเดลและจัดทําภาพเคลื่อนไหว ๕) Android Studio เพือ่ ใชในการสรางแอปพลเิ คชั่นลงใน Android ๖) Vuforia เพ่ือสราง Marker ๗) Marker เพือ่ ใชใ นการประมวลผลแอปพลเิ คช่ัน ๓.๒ ขน้ั ตอนการดําเนินงาน แบงเปน ๓ ขน้ั ตอน คือ ข้นั ตอนที่ ๑ สรางโปรแกรมเพอ สง เสริมทักษะการเรยี นรู เรือ่ ง การเคลือ่ นทแ่ี บบโปร เจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ มีรายละเอียดการสรา ง ดังตอไปน้ี

๑๑ ๑) คิดหัวขอ โครงงานเพอ่ื นาํ เสนออาจารยทีป่ รึกษา ๒) ศึกษาคนควารวบรวมขอมูลเกย่ี วกบั การสรา งโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทกั ษะการ เรียนรูในรูปแบบ ๓ มติ ิ และศกึ ษาเกย่ี วกับเทคโนโลยีเสมือนจริง ๓) ศึกษาโปรแกรมท่ใี ชในการสรา งโปรแกรมเพ่ือสงเสริมทักษะการเรยี นรู ๔) จัดทําเคา โครงโครงงานคอมพวิ เตอรเสนออาจารยท ีป่ รกึ ษา ๕) ออกแบบโปรแกรมเพ่ือสงเสริมทักษะการเรียนรู โมเดล มารก เกอร คูมือการใช ๖)..สรา งโปรแกรมเพื่อสงเสริมทกั ษะการเรยี นรู เรื่อง การเคลอื่ นที่แบบโปรเจคไทลใ น รูปแบบเทคโนโลยเี สมือนจริง เปน ไฟล Apk. เพอ่ื ใชบนระบบปฏิบตั ิการ Android ๗) สรา งมารกเกอรเ พื่อใชประมวลผลเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ ๘) ตรวจสอบการทํางานของโปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู เร่อื ง การเคล่อื นท่ี แบบโปรเจคไทลใ นรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจริง และแกไ ขขอ ผิดพลาด ๙) นาํ โปรแกรมเพื่อสงเสริมทักษะการเรยี นรู เร่อื ง การเคล่ือนทีแ่ บบโปรเจคไทลใ น รปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจริง ไปสอบถามขอเสนอแนะจากอาจารยทีป่ รกึ ษา ๑๐) ปรับปรุงแกไ ขขอบกพรองตามทีผ่ เู ชีย่ วชาญเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ๑๑) ทดลองใชโปรแกรมเพ่ือสง เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู เรอ่ื ง การเคลอ่ื นทแ่ี บบโปรเจค ไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ และรวบรวมขอมลู ความพึงพอใจของกลุมตวั อยา งหลังทดลองใช แอปพลเิ คช่นั ขั้นตอนที่ ๒ การสรางหนังสอื AR เพื่อใชควบคูไปกับแอปพลิเคช่ัน ๑) หาขอมูลเกย่ี วกบั เรอื่ งการเคล่ือนทแ่ี บบโปรเจคไทล ๒) ออกแบบรปู แบบและโครงรางของหนงั สอื ดวยโปรแกรม Adobe Photoshop CC 2018 ๓) ตรวจสอบเน้ือหาภายในหนงั สือ เพ่อื ใหไดหนังสือท่ถี ูกตอ งครบถวน ๔) ใหอาจารยทป่ี รกึ ษาตรวจสอบและใหคาํ แนะนาํ อกี ครง้ั ๕) นําไปใชในการประมวลผล 3D Animation ที่อยภู ายในแอปพลเิ คช่ัน

๑๒ ขัน้ ตอนที่ ๓ การทดลองใชโ ปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทักษะการเรียนรู เร่ือง การเคลือ่ นท่ี แบบโปรเจคไทล..มีขนั้ ตอนการทดลองดังตอ ไปนี้ ๑) นาํ โปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทักษะการเรียนรู เร่ือง การเคลื่อนท่แี บบโปรเจคไทล ไป ทดลองใชกับกลมุ เปาหมาย..ซึ่งไดแ ก..นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท .่ี .๔/๑๕..จาํ นวน..๓๐..คน ๒)..กอ นการทดลองมกี ารแนะนําวิธีการใชโปรแกรมเพอื่ สง เสริมทกั ษะการเรียนรู เรือ่ ง..การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมือนจริง ๓).ใหกลมุ เปาหมายทําการประเมนิ ความพึงพอใจในการเรียนรดู ว ยโปรแกรมเพ่ือ สงเสริมทักษะการเรยี นรู เร่อื ง การเคล่อื นทีแ่ บบโปรเจคไทลใ นรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ โดยใช แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราสวนประเมนิ คา (Rating scale) โดยมกี ารใหคะแนนเปน ๕ ระดบั ซึง่ มเี กณฑประเมินดังน้ี ๕ หมายถึง มีความคดิ เหน็ วา ขอ ความน้ันมคี วามพงึ พอใจในระดับดมี าก ๔ หมายถึง มีความคิดเหน็ วาขอ ความน้นั มคี วามพึงพอใจในระดบั ดี ๓ หมายถงึ มีความคิดเห็นวาขอ ความนน้ั มคี วามพงึ พอใจในระดับปานกลาง ๒ หมายถึง มีความคิดเหน็ วาขอ ความนั้นมีความพงึ พอใจในระดบั นอ ย ๑ หมายถงึ มีความคิดเหน็ วาขอ ความนั้นมคี วามพงึ พอใจในระดับนอ ยท่สี ุด ไดกําหนดเกณฑการแปลความหมาย ดงั นี้ ๔.๕๐ – ๕.๐๐ หมายถึง มีความพงึ พอใจในระดบั ดมี าก ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับดี ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั นอย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถงึ มีความพงึ พอใจในระดับนอยทีส่ ุด ๔) นําผลการประเมินความพึงพอใจกลมุ เปาหมายมาวเิ คราะหข อมลู หาคา เฉลย่ี เลข คณติ เพื่อหาคาระดับความพึงพอใจในการใชโ ปรแกรมเพอ่ื สงเสริมทักษะการเรยี นรู เร่ือง การ เคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมือนจริง ๕) ทําเอกสารสรุปรายงานโครงงานและเผยแพรผ ลงาน

๑๓ บทที่ ๔ ผลการดาํ เนินงาน การพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอรในคร้ังน้ี เพ่อื ออกแบบและสรางโปรแกรมเพอื่ สง เสริมทักษะ การเรยี นรู เรอ่ื ง การเคล่อื นที่แบบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมือนจริง (Projectile motion in AR)..สําหรับใชบนระบบปฏิบัตกิ าร..Android , เพือ่ ออกแบบและสรา งหนงั สอื จากโปรแกรม.Adobe ..Photoshop..CC 2018 เพ่ือใชก ับโปรแกรมเพ่อื สง เสริมทกั ษะการเรยี นรู เรือ่ ง การเคล่ือนที่แบบโปร เจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) และ เพือ่ ทดลองใชโ ปรแกรมเพื่อ สงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคลอื่ นทแี่ บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมือนจริง (Projectile motion in AR) มีผลการดําเนินงานโครงงานดังน้ี ๔.๑..ผลการออกแบบและสรา งแอพพลิเคชัน่ ผลการออกแบบและสรางโปรแกรมเพื่อสง เสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคล่อื นท่แี บบ โปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมือนจรงิ (Projectile motion in AR) ที่เกิดจากการออกแบบและ การสรางโปรแกรมสง เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู ในครั้งน้ี ๑) โปรแกรมเพอ่ื สงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคลือ่ นท่ีแบบโปรเจคไทลใน รปู แบบเทคโนโลยเี สมือนจริง ภาพท๗่ี shortcut โปรแกรมเพอ่ื สงเสริมทกั ษะการเรียนรู ๒) ตวั อยางโมเดล ๓ มิติ ภาพท๘่ี โมเดลปน ใหญ

๑๔ ภาพท่ี ๙ โมเดลธนู ๓) หนาหลกั ของโปรแกรมเพื่อสง เสริมทักษะการเรียนรู เรอื่ ง การเคล่อื นทแี่ บบโปร เจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง ภาพท่ี ๑๐ หนา หลักโปรแกรมเพือ่ สง เสรมิ ทักษะการเรยี นรู ๔) สวนของเนื้อหาของโปรเจคไทล ก. ข.

๑๕ ค. ง. ภาพท๑่ี ๑ เน้ือหาโปรเจคไทลในหนงั สอื ๕) สว นของผลการประมวลผลภาพเทคโนโลยเี สมือนจริง ภาพที่๑๒ กาลเิ ลโอ ภาพท่ี ๑๓ ปน ใหญ

๑๖ ๔.๒ ผลการประเมินความพงึ พอใจตอ โครงงานคอมพวิ เตอร การสรา งโปรแกรมเพอื่ สง เสรมิ ทักษะการเรียนรู เรอ่ื ง การเคลือ่ นท่ีแบบโปรเจคไทลใน รปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ผูจัดทําโครงงานไดอ อกแบบการประเมินความพึงพอใจกับการใชง าน ของกลุมเปาหมาย โดยมคี รูที่ปรกึ ษาโครงงานเปน ผตู รวจสอบหาประสิทธิภาพของแบบประเมนิ ตารางท่ี ๒ แสดงผลคาเฉล่ยี เลขคณติ การประเมินความพงึ พอใจ โปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทกั ษะการ เรียนรู เรื่อง การเคลือ่ นทแ่ี บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ รายการการประเมนิ คาเฉล่ีย ความพึงพอใจ ๑.ระบบปฏบิ ตั กิ ารของโปรแกรมเพ่ือสง เสริมทกั ษะการเรียนรู ๔.๖๕ ดีมาก ๒.โปรแกรมเพอ่ื สงเสริมทกั ษะการเรียนรู มคี วามทนั สมยั และ ๔.๖๗ ดีมาก นาสนใจ ๔.๗๔ ดมี าก ๓.ประสิทธิภาพของโปรแกรมเพ่อื สง เสริมทกั ษะการเรียนรู ๔.๔๓ ดี ๔.เน้ือหามคี วามเขา ใจงาย ๔.๕๐ ๕.ขนั้ ตอนการใชงานโปรแกรมเพ่ือสง เสริมทักษะการเรยี นรู ดมี าก ๔.๘๕ เขาใจงา ย ๔.๖๓ ดีมาก ๖.ความเสมอื นจริงของภาพเคลอื่ นไหว ๔.๔๕ ดมี าก ๗.ความสวยงามของภาพ ๓ มติ ิ ๔.๖๒ ๘.ส่ือในการประมวลผล(Marker)มีความนา สนใจ ดี ดมี าก รวม จากตารางที่ ๒ พบวา กลมุ ตัวอยา งท่ีทดลองใชโปรแกรมเพ่อื สงเสรมิ ทักษะการเรยี นรู เรอื่ ง การเคลือ่ นทแ่ี บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ จํานวน ๓๐ คน มคี วามพงึ พอใจใน การใชสอ่ื ในกิจกรรมการเรยี นรู ซ่ึงเมอ่ื พจิ ารณาเปน รายขอ พบวา สวนใหญอ ยใู นระดบั ดแี ละดีมาก หัวขอ ทมี่ คี าเฉล่ียนอยสุด คือ เนือ้ หามีความเขาใจงา ย ๔.๔๓ อยใู นระดบั ดี หัวขอ ท่ีมคี าเฉลี่ยสูงสุด คอื ความเสมอื นจริงของภาพเคล่ือนไหว ๔.๘๕ อยูใ นระดับดมี าก และความพึงพอใจโดยรวมตอ โปรแกรม เพ่อื สงเสริมทกั ษะการเรียนรู เรอ่ื ง การเคลื่อนทแี่ บบโปรเจคไทลใ นรูปแบบเทคโนโลยีเสมือนจริง อยู ในระดับดมี าก โดยมี คาเฉล่ียเทากบั ๔.๖๒

๑๗ บทที่ ๕ สรปุ การดาํ เนนิ งานและอภปิ รายผลการดําเนนิ งาน การสรา งโปรแกรมเพ่ือสงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคลอื่ นทแ่ี บบโปรเจคไทล สามารถ สรปุ ผลการดาํ เนินงานและอภปิ รายผลการดําเนินงาน ไดดงั น้ี สรุปผลการดาํ เนินงาน การสรา งโปรแกรมเพือ่ สงเสรมิ ทักษะการเรยี นรู เรือ่ ง การเคลอ่ื นท่ีแบบโปรเจคไทล สรางโดย ใชโ ปรแกรม..Autodesk..MAYA..2015 ในการสรา ง 3D Model และ 3D Animation เพื่อใชในการ สราง AR ในโปรแกรมUnity 2018 และ Vuforia ที่ใชในการสรางMarker เพอ่ื ใชใ นการประมวลผล AR แลวทาํ การ Build ไฟลไ ปยังโปรแกรม Android Studio เพอสรางโปรแกรมเพอื่ สง เสริมทกั ษะการ เรียนรใู นรูปแบบไฟล. .Apk.. .เพื่อใหส ามารถใชงานบนโทรศัพทม ือถอื หรอื อปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกสใน ระบบ ปฏบิ ัติการแอนดรอยดได ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการใชโปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เรอ่ื ง การ เคลอื่ นท่ีแบบโปรเจคไทลกับกลมุ เปา หมาย จํานวน ๓๐ คน พบวา มีความพึงพอใจในการใชสือ่ ใน กิจกรรมการเรียนรู ซึง่ เม่ือพจิ ารณาเปน รายขอ พบวา สวนใหญอ ยใู นระดบั ดแี ละดีมาก หัวขอ ท่ีมีคา เฉล่ยี นอยสุด คือ เนื้อหามีความเขาใจงาย ๔.๔๓ อยูในระดบั ดี หวั ขอ ที่มีคาเฉลย่ี สงู สุด คือ ความ เสมือนจรงิ ของภาพเคลือ่ นไหว ๔.๘๕ อยูใ นระดบั ดมี าก และความพึงพอใจโดยรวมตอ โปรแกรมเพอื่ สงเสริมทักษะการเรยี นรู เร่ือง การเคลอื่ นท่แี บบโปรเจคไทล อยูในระดบั ดีมาก โดยมีคาเฉล่ียเทา กบั ๔.๖๒ สรปุ ไดว าโครงงานคอมพวิ เตอรก ารสรางโปรแกรมเพอื่ สง เสรมิ ทักษะการเรยี นรู เรอื่ ง การ เคลอ่ื นทแี่ บบโปรเจคไทล มีประโยชนสามารถพฒั นาความรู และทักษะทางดา นการเรียนรูวชิ าฟส ิกส พรอมทงั้ ทําใหผูใชเขาใจเร่อื งการเคลอื่ นทแ่ี บบโปรเจคไทลมากย่ิงข้นึ ขอ เสนอแนะ ๑) ในการพัฒนาโปรแกรมเพอ่ื สง เสริมทักษะการเรียนรู เรอื่ ง การเคล่อื นทีแ่ บบโปรเจคไทล ในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) มโี มเดลเกยี่ วกบั การเคล่ือนที่แบบ โพรเจกไทลเ พม่ิ มากขนึ้ และเสมอื นจริงมากยงิ่ ข้ึน

๑๘ ๒) การสรางโปรแกรมเพ่อื สง เสริมทกั ษะการเรยี นรู เร่ือง การเคลื่อนทแ่ี บบโปรเจคไทลใ น รปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR) มีเนื้อหาในแอปพลเิ คช่นั ที่สามารถเขา ใจ ไดง ายและกระชบั มากยิ่งข้ึน

๑๙ บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร.(๒๕๕๔). หนงั สอื เรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ สรายวิชาฟส ิกสเ พ่มิ เตมิ เลม ท่ี ๑.[ออนไลน] . สืบคนเม่อื ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑,/จาก /http://scimath.org/ebook/sci/sci- sec4/16/eBook/ ไทยรฐั ออนไลน. (๒๕๖๐). รจู ักเทคโนโลยี AR ‘ความจรงิ เสรมิ ’ โลกเสมือนมาเจอชีวติ จริง.[ออนไลน] สืบคนเมือ่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๑,/ จากhttp://www.thairath.co.th/content/828113. ผองพรรณ กาญจนกฤต,Short Note PHYSICS สรุปฟส กิ ส ม.ปลาย อานกอนสอ (๒๕๖๐). กรงุ เทพฯ : สาํ นักพมิ พ Dream & Passion พนู ศกั ด์ิ ธนพันธพานิช Maya Ready&Work กรุงเทพฯ : เอสพซี บี คุ ส, ๒๕๔๕. รงุ อรณุ สมบตั ิรกั ษ.(๒๕๖๑). การเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล . [ออนไลน] . สบื คน เมอื่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑,/จาก /http://www.atom.rmutphysics.com/physics/oldfront/circular- motion/projectile/pro2.htm หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.(๒๕๕๑).[ออนไลน] . สืบคน เมือ่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑,/จาก/https://www.kaiwaisai.com/ v2/files/download / sara%2051.doc Baswoy Kuza. (๒๕๕๗). What is Unity (Unity3D Thailand) .[ออนไลน] . สบื คน เมอ่ื ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑,/จาก/https://unity3dthailand.blogspot.com/2014/12/what- is-unity-unity3d-thailand.html.

๒๐ ภาคผนวก

๒๑ คูม ือการใชงาน โครงงานคอมพิวเตอร เร่ือง การเคลอื่ นทีแ่ บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) โดย ๑.นายธนชัย กานพรหมมา ๒.นางสาววริศรา เวชกจิ ๓.นางสาวกนกพร ปอมออ น ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๔ – ๖ โรงเรียนกลั ยาณวัตร สงั กดั สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๕

๒๒ การเขา ใชโครงงานคอมพวิ เตอร เรื่อง การเคล่ือนทแี่ บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยี เสมือนจริง(Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) ๑.ติดตั้งโปรแกรม Projectile AR 2018.apk ลงบนโทรศพั ทม ือถอื Android ๒.เปด แอพพลเิ คชนั่ Projectile AR 2018 ๓.กดปมุ เพอื่ แสกนAR ๔.นําสมารทโฟนระบบปฏบิ ตั กิ าร Android มาสอง ในหนังสือระยะหา งพอประมาณ จะสามารถเหน็ ภาพสามมติ ไิ ด ดังตัวอยาง ๕.กดปุม เพื่อกลบั สหู นา หลัก ๖.กดปมุ เพื่อทาํ แบบทดสอบ ๗.กดปมุ เพ่ือทําแบบประเมินผลงาน ๘.กดปมุ เพื่อออกจากโปรแกรม

๒๓ รหัสโครงงาน............................ แบบฟอรม ขอ เสนอโครงงาน ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๑ ชอื่ โครงงาน(ภาษาไทย) การเคล่ือนท่แี บบโปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมือนจริง ชอ่ื โครงงาน(ภาษาองั กฤษ) Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology ประเภทโครงงาน โปรแกรมเพ่ือสง เสริมทักษะการเรียนรู ผูจดั ทําโครงงาน ๑.นายธนชยั กานพรหมมา ๒.นางสาววริศรา เวชกจิ ๓.นางสาวกนกพร ปอ มออน ครูทป่ี รกึ ษาโครงงาน ๑.คณุ ครู อาํ นาจ พรหมใจรักษ ๒.คุณครู นารรี ตั น พรหมสาขา ณ สกลนคร ระยะเวลาการดาํ เนินงาน มิถุนายน – สงิ หาคม ๒๕๖๑ หลกั การและเหตผุ ล การศกึ ษาสงผลใหเ กิดความรู ซง่ึ ความรนู ้ันสามารถนํามาใชพฒั นาคนใหมคี วามสามารถทจ่ี ะใช ประกอบอาชีพและเอาตัวรอดไดรวมทง้ั ชวยขัดเกลาคนใหมีจติ สํานกึ และคณุ ธรรม เปน ผูเจรญิ ทางปญญา และจิตใจ ซ่ึงคนเหลานน้ี อกจากจะสามารถพัฒนาตนเองแลวยังสามารถพฒั นาสงั คมและประเทศชาตใิ ห เจรญิ รุง เรอื งและกา วหนาทัดเทยี มอารยประเทศในปจ จบุ นั โลกของการศึกษาไดม กี ารเปล่ียนแปลงไปอยาง มาก โดยเฉพาะเครอ่ื งมือทางดา นส่อื ดจิ ิตอลและการสื่อสารมีความสําคญั มากข้นึ

๒๔ ความเจรญิ กา วหนา ทางเทคโนโลยกี ารสือ่ สารทําใหผ ูเรยี นสามารถคนหาความรไู ดด วยตนเอง จากแหลง เรยี นรขู อมูลตางๆ ไดส ะดวกมากขึ้น แตส ่ือดิจติ อลในยุคปจจุบนั กก็ อใหเกิดปญหาเก่ียวกบั การศึกษาตามมาหลายประการ เชน ปญหาเดก็ ติดเกม ปญหาเด็กติดโซเชียล ซ่ึงปญ หาดงั กลาวมีผลทําให เด็กไทยในปจ จุบนั ไมสนใจในการเรยี น มสี มาธจิ ดจอ กับส่อื โซเชียลมากกวาการเรยี นและปญหาการเรยี น ไมรเู รื่อง และปญ หาอกี ประการหนง่ึ ทที่ ําใหเด็กเรียนไมร เู ร่ืองก็คือ การเรยี นทฤษฎีแตไ มม ีการลงมอื ปฏิบตั ิ จริง เชน การเรยี นเร่อื งการเคล่ือนท่ีในวชิ าฟสิกส จากปญหาดังกลาว ผจู ัดทําจึงคดิ วา หากนาํ เทคโนโลยีความจรงิ เสริม (Augmented Reality : AR) มาประยกุ ตใชก บั การศกึ ษาหองเรยี นวิชาฟส กิ ส ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๔ เนอ้ื หาในสาระที่ ๔ แรง และการเคลื่อนที่ เขา ใจลกั ษณะการเคลื่อนทแี่ บบตา งๆ ของวัตถุในธรรมชาติมกี ระบวนการ สบื เสาะหา ความรแู ละจิตวทิ ยาศาสตร สือ่ สารสงิ่ ทีเ่ รยี นรูและนําความรไู ปใชประโยชน ซึ่งถา มเี ทคโนโลยีมาเปนสว น ท่ีทาํ ใหผูเรียนเขาใจในเนื้อหามากขึ้น วตั ถปุ ระสงค ๑.เพอ่ื ออกแบบและสรางโปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทักษะการเรยี นรู เรื่อง การเคลื่อนที่แบบโปรเจค ไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) สําหรับใชบนระบบปฏบิ ัติการ Android ๒.เพอื่ ออกแบบและสรางหนงั สือจากโปรแกรม Adobe PhotoshopCC ท่ใี ชกับโปรแกรมเพื่อ สง เสริมทกั ษะการเรยี นรู เรื่อง การเคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) ๓.เพ่อื ทดลองใชโ ปรแกรมเพือ่ สงเสริมทักษะการเรยี นรู เรือ่ ง การเคลอื่ นทแ่ี บบโปรเจคไทลใ น รปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง (Projectile motion in AR) วิธีการดาํ เนนิ งาน ๑) คิดหวั ขอ โครงงานเพอื่ นําเสนออาจารยท่ีปรกึ ษา ๒) ศกึ ษาคนควารวบรวมขอ มูลเกีย่ วกับการสรา งโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู ใน รปู แบบ ๓ มติ ิ และศึกษาเกีย่ วกบั เทคโนโลยคี วามจรงิ เสริม ๓) ศกึ ษาโปรแกรมท่ใี ชในการสรางแอพพลิเคช่นั

๒๕ ๔) จัดทาํ เคาโครงโครงงานคอมพวิ เตอรเ สนออาจารยท ่ปี รึกษา ๕) ออกแบบโปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู โมเดล มารกเกอร คมู อื การใช ฯลฯ ๖) สรา งโปรแกรมเพื่อสง เสรมิ ทักษะการเรียนรู เรอื่ ง การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล เปนไฟล Apk. เพอ่ื ใชบนระบบปฏิบตั ิการ Android ๗) สรา งมารก เกอรเ พ่ือใชประมวลผลแอพพลิเคช่นั ๘) ตรวจสอบการทํางานของโปรแกรมเพื่อสงเสริมทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจก ไทล และแกไขขอ ผิดพลาด ๙) นาํ โปรแกรมเพอ่ื สงเสริมทักษะการเรียนรู เรื่อง การเคลอื่ นท่ีแบบโพรเจกไทล ไปสอบถาม ขอ เสนอแนะจากอาจารยท ี่ปรกึ ษา ๑๐) ปรบั ปรุงแกไ ขขอ บกพรองตามที่ผูเชยี่ วชาญเสนอแนะเพิม่ เติม ๑๑) ทดลองใชโ ปรแกรมเพือ่ สง เสรมิ ทักษะการเรยี นรู เรื่อง การเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล และ รวบรวมขอ มลู ความพงึ พอใจของกลุมตวั อยางหลังทดลองใชแอพพลเิ คชน่ั ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพฒั นาโปรแกรมเพื่อสงเสริมทกั ษะการเรยี นรู เรอื่ ง การเคลื่อนทีแ่ บบโปรเจค ไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมอื นจริง (Projectile motion in AR) โดยใช โปรแกรม Autodesk MAYA 2015เพ่อื สรางโมเดลและภาพเคล่อื นไหวแบบ ๓ มติ ิโปรแกรม Unity 2018 เพอ่ื ใชใ นการสรา งสือ่ มัลติมเี ดียปฏสิ ัมพันธและทาํ ใหเปน ไฟล Apk. ใช Vuforia เพื่อสรางมารกเกอร โปรแกรม Android Studio เพ่อื ใชใ นการสรางโปรแกรมสําหรับใชในระบบปฏบิ ัติการ Android และใช Adobe Photoshop CC 2018 เพ่อื ออกแบบหนงั สือ ตกแตงภาพนงิ่ และภาพเคล่อื นไหวแบบ ๒ มิติ กลมุ เปาหมายท่ใี ชในการทดลองโปรแกรมเพอื่ สงเสรมิ ทักษะการเรียนรู เรือ่ ง การเคล่ือนท่แี บบ โปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ (Projectile motion in AR) ท่ีเกดิ จากการพัฒนาโครงงานใน คร้ังน้ี ไดแก นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ ๔/๑๕ โรงเรยี นกัลยาณวัตร ปการศึกษา ๒๕๖๑ จํานวน ๓๐ คน

๒๖ แผนการดําเนนิ งาน ตารางที่ ๑ แผนการดาํ เนนิ งานของโครงงาน ข้นั ตอนการดําเนินงาน ระยะเวลาการดําเนนิ งาน กันยายน ๒๕๖๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ๑ ๒ ๓ ๔๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑.เลอื กหวั ขอโครงงานเพ่ือนาํ เสนออาจารยท ี่ ปรกึ ษา ๒.ศึกษาคน ควา รวบรวมขอมลู เกย่ี วกับการสรา ง โปรแกรมเพอ่ื สงเสรมิ ทักษะการเรียนรู ในรปู แบบ ๓ มติ ิ และศึกษาเก่ียวกบั เทคโนโลยเี สมอื นจริง ๓.ศึกษาโปรแกรมท่ีใชในการสรางโปรแกรมเพื่อ สงเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู ๔.จัดทาํ เคาโครงโครงงานคอมพิวเตอรเ สนอ อาจารยทป่ี รกึ ษา ๕.ออกแบบโปรแกรมเพื่อสงเสรมิ ทักษะการเรยี นรู โมเดล มารกเกอร คูมือการใช ฯลฯ ๖.สรา งแอพพลเิ คชั่นสงเสริมการเรียนรู เร่ือง การเคลอื่ นทแ่ี บบโปรเจคไทล ๗.ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใชงานของ โปรแกรมเพ่ือสงเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู เรอื่ ง การเคลอ่ื นทีแ่ บบโปรเจคไทล ๘.ออกแบบและสรางหนงั สือที่ใชก ับโปรแกรมเพ่ือ สงเสริมทกั ษะการเรียนรู เรอื่ ง การเคลอ่ื นที่แบบ โปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยีเสมอื นจริง ๙.เผยแพรผ ลงาน ๑๐.ประเมนิ ความพึงพอใจ ๑๑.ทาํ เอกสารสรุปรายงานโครงงาน

๒๗ ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ ๑)โปรแกรมเพ่ือสง เสรมิ ทักษะการเรียนรู เร่อื ง การเคลอื่ นท่แี บบโปรเจคไทลใ นรูปแบบเทคโนโลยี เสมอื นจริง (Projectile motion in AR) สามารถใชบนระบบปฏิบตั กิ าร Androidได ๒) ผทู ดลองใชไ ดร บั ความรคู วามเขาใจเก่ยี วกับการเคล่ือนท่ีแบบโปรเจคไทลม ากขนึ้ เอกสารอา งองิ กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๕๔). หนงั สือเรยี นอเิ ลก็ ทรอนกิ สรายวชิ าฟสกิ สเพ่ิมเตมิ เลมท่ี ๑.[ออนไลน] . สบื คนเม่ือ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑,/จาก /http://scimath.org/ebook/sci/sci- sec4/16/eBook/ ไทยรัฐออนไลน. (๒๕๖๐). รจู กั เทคโนโลยี AR ‘ความจริงเสริม’ โลกเสมือนมาเจอชวี ิตจรงิ .[ออนไลน] สืบคนเมือ่ ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑,/ จากhttp://www.thairath.co.th/content/828113. ผองพรรณ กาญจนกฤต,Short Note PHYSICS สรุปฟส กิ ส ม.ปลาย อา นกอ นสอ (๒๕๖๐). กรงุ เทพฯ : สํานกั พมิ พ Dream & Passion พูนศกั ดิ์ ธนพันธพานชิ Maya Ready&Work กรงุ เทพฯ : เอสพีซีบุคส, ๒๕๔๕. รุงอรณุ สมบตั ิรกั ษ.(๒๕๖๑). การเคล่อื นทแ่ี บบโพรเจกไทล . [ออนไลน] . สืบคน เมือ่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑,/จาก /http://www.atom.rmutphysics.com/physics/oldfront/circular- motion/projectile/pro2.htm หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑.(๒๕๕๑).[ออนไลน] . สืบคนเม่อื ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑,/จาก/https://www.kaiwaisai.com/ v2/files/download / sara%2051.doc Baswoy Kuza. (๒๕๕๗). What is Unity (Unity3D Thailand) .[ออนไลน] . สบื คน เมื่อ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑,/จาก/https://unity3dthailand.blogspot.com/2014/12/what- is-unity-unity3d-thailand.html.

๒๘ ผลการพจิ ารณา อนุมัติ ควรปรับปรงุ ลงชอื่ .............................................. ครูทป่ี รกึ ษาโครงงาน

๒๙ แบบสํารวจความพึงพอใจ โครงงานคอมพิวเตอร การเคล่อื นท่ีแบบโปรเจคไทลในรปู แบบเทคโนโลยเี สมือนจรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) แบบสอบถามนีม้ ีวตั ถุประสงคเ พือ่ สาํ รวจความพึงพอใจของโครงงานคอมพวิ เตอร การเคลือ่ นทแ่ี บบ โปรเจคไทลในรูปแบบเทคโนโลยีเสมือนจรงิ (Projectile motion in AR : Augmented Reality Technology) คาํ ชแ้ี จง : เขยี นเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ งระดับความพึงพอใจตามความเปนจริง ( ๕= มากที่สุด ๔= มาก ๓= ปานกลาง ๒= นอย ๑= นอ ยท่สี ุด ) หวั ขอการประเมิน ระดับความพงึ พอใจ ๕ ๔ ๓ ๒๑ ๑.ระบบปฏบิ ัตกิ ารของแอพพลิเคชนั่ ๒.แอพพลิเคชั่นมีความทนั สมยั และนาสนใจ ๓.ประสิทธิภาพของแอพพลิเคชนั่ ๔.เนื้อหามคี วามเขา ใจงา ย ๕.ขน้ั ตอนการใชง านแอพพลิเคชนั่ เขาใจงาย ๖.ความเสมือนจริงของภาพเคล่อื นไหว ๗.ความสวยงามของภาพ ๓ มิติ ๘.รปู แบบของหนังสือมคี วามนาสนใจ ๙.ความเหมาะสมของหนงั สือ ขอเสนอแนะ............................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook