๔๖ เร่ืองเหนอื สามญั วิสยัเพื่อนรวมสังสารวัฏ และในฐานะที่โดยเฉลี่ยเปนผูมีคุณธรรมในระดับสูง พรอมทั้งใหมีทาทีแหงการไมวุนวายไมกาวกายแทรกแซงกนั โดยตา งกเ็ พยี รพยายาม ทํากิจของตนไปตามหนา ที่ ทาทีแหงการไมรบกวนและไมชวนกันใหเสียเชนนี้ ถาสังเกต ก็จะพบวาเปนสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในประเพณีความสัมพันธแบบชาวพุทธระหวางมนุษยกับเทวดา เพราะมีเรื่องราวเลากันมามากมายในคัมภีรตางๆ เฉพาะอยา งยิง่ อรรถกถาชาดกและอรรถกถาธรรมบท ตามประเพณนี ้ี เทวดาท่ีชว ยเหลือมนษุ ยกม็ ีอยูเหมอื นกัน แตลักษณะการชวยเหลือ และเหตุที่จะชวยเหลือตางออกไปจากแบบกอน คือ เทวดาท่ีชวยเหลือมาชวยเองดว ยคุณธรรมคือความดีของเทวดาเอง มิใชเพราะการเรียกรองออนวอนของมนุษย และเทวดาก็มิไดเรียกรองตองการหรือการออนวอนนน้ั ทางฝายมนุษยผ ูไดร ับความชวยเหลือกท็ ําความดไี ปตามปกติธรรมดาดว ยคณุ ธรรมและความสาํ นกึ เหตุผลของเขาเอง มไิ ดคํานึงวาจะมีใครมาชวยเหลือหรือไม และมิไดเรียกรองขอความชวยเหลือใดๆ สวนตัวกลางคือเหตุใหมีการชวยเหลอื เกิดขน้ึ กค็ ือความดีหรือการทําความดีของมนุษย มิใชการเรียกรองออนวอน
อิทธปิ าฏหิ ารยิ -เทวดา ๔๗หรอื อามิสสินวอนใดๆ เทวดาองคเดน ทีค่ อยชว ยเหลือมนุษยต ามประเพณีน้ีไดแกทาวสักกะที่เรียกกันวา พระอินทร คติการชวยเหลือของพระอินทรอยางนี้ นับวาเปนวิวัฒนาการชวงตอท่ีเชื่อมจากคติแหงเทวานุภาพของลัทธิศาสนาแบบเดิม เขาสูคติแหงกรรมของพระพุทธศาสนา๔๕ แมจะยังมิใชเปนตัวแทบริสุทธิ์ตามหลกั การของพระพทุ ธศาสนา แตก ็เปนคติที่ววิ ัฒนเ ขา สคู วามเปนพุทธ ถงึ ข้ันทยี่ อมรับเปนพทุ ธได สาระสําคัญของคติน้ีก็คือ มนุษยท่ีดียอมทําความดีไปตามเหตุผลสามัญของมนุษยเอง และทําอยางม่ันคงแนวแนเต็มสตปิ ญญาจนสดุ ความสามารถของตน ไมคาํ นึงถึง ไมรีรอ ไมเ รยี กรองความชว ยเหลอื จากเทวดาใดๆ เลย เทวดาทดี่ ียอ มใสใ จคอยดูแลชวยเหลือมนุษยท่ีดีดวยคุณธรรมของเทวดาเอง เมื่อมนุษยผูทําดีไดรับความเดอื ดรอ น หากเทวดายงั มคี วามดอี ยบู าง เทวดาก็จะทนดไู มไ หวตอ งลงมาชว ยเอง๔๖ พดู งา ยๆ วา มนษุ ยก ท็ าํ ดโี ดยไมคาํ นงึ ถึงการชวยเหลือของเทวดา เทวดากช็ วยโดยไมค าํ นึงถึงการออ นวอนของมนษุ ย ถา ใครยงั หว งยงั หวงั ยงั เยอื่ ใยในทางเทวานภุ าพอยู ก็อาจจะทอ งคติตอ ไปนีไ้ วป ลอบใจวา \"การเพียรพยายามทาํ ดี
๔๘ เรอื่ งเหนอื สามัญวสิ ยัเปนหนาที่ของมนุษย การชว ยเหลอื คนทาํ ดเี ปนหนาทข่ี องสวรรค เราทาํ หนาที่ของมนษุ ยใหดที ี่สดุ กแ็ ลวกนั \"๔๗ ถามนุษยไมเพียรทําดี มัวแตออนวอนเทวดา และถาเทวดาไมใสใ จชว ยคนทําดี มัวแตร อการออ นวอนหรือคอยชว ยคนท่อี อนวอน ก็คอื เปนผูท ําผิดตอหนาที่ เมอื่ มนุษยแ ละเทวดาตา งขาดคณุ ธรรม ปฏิบตั ิผิดหนา ที่ ก็จะประสบความหายนะไปดว ยกนั ตามกฎธรรมดาทีค่ วบคุมทง้ั มนษุ ยแ ละสวรรคอยอู ีกช้ันหน่งึ
อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ -เทวดา ๔๙สรุปวิธีปฏิบัตทิ ีถ่ ูกตอ ง ตอ เร่ืองเหนือสามญั วสิ ยัเขา ใจพัฒนาการแหงความสัมพันธ ๓ ขั้น ชุมชนหรือสังคมตามหลักการของพระพุทธศาสนาประกอบดวยผูค นมากมายซ่งึ กําลังกา วเดินอยู ณ ตําแหนง แหง ท่ีตา งๆ บนหนทางสายใหญส ายเดียวกนั ซึ่งนาํ ไปสูจดุ หมายปลายทางเดียวกัน และคนเหลานั้นกาวออกมาจากจุดเริ่มตนที่ตางๆกัน พูดอีกอยางหน่ึงวา สัตวทั้งหลายเจริญอยูในขั้นตอนตางๆแหง พัฒนาการในอริยธรรม เม่ือมองดูการเดินทางหรือพัฒนาการน้ันในแงที่เกี่ยวกับเรือ่ งเทวดา ก็จะเหน็ ลําดับขนั้ แหงพฒั นาการ เปน ๓ ขนั้ คอื ข้ันออนวอนหวังพ่ึงเทวดา ข้ึนอยูรวมกันดวยไมตรีกับเทวดาและข้ันไดรบั ความเคารพบชู าจากเทวดา ขน้ั ที่ ๑ จัดวา เปนข้นั กอ นพฒั นา ข้ันที่ ๒ คอื จดุ เรมิ่ ตน ของชมุ ชนแบบพทุ ธหรอื ชุมชนอารยะ
๕๐ เร่ืองเหนอื สามัญวสิ ัย ข้ันที่ ๓ เปนระดับพัฒนาการของผูเขาถึงจุดหมายของพระพุทธศาสนา ขอ ควรยาํ้ ก็คอื คนผูใดผหู น่ึงจะไดช อ่ื วาเปน ชาวพทุ ธกต็ อ เมื่อเขากา วพน จากขั้นออนวอนหวงั พึง่ เทพเจาเขา สูข้ันอยูรว มกันดว ยไมตรีซ่ึงเขาจะดําเนินชีวิตดวยความเพียรพยายามกระทําการตามเหตุผลเลิกมองเทวดาในฐานะผูมีอํานาจท่จี ะตองวิงวอนประจบเอาใจเปล่ียนมามองในฐานะเปนญาติมิตรดีงามที่ควรเคารพนับถือมีเมตตาตอกัน๔๘ ไมค วรมวั่ สุมคลุกคลีกนั ไมควรรบกวนกาวกายกนั และไมค วรสมคบกันทาํ สง่ิ เสยี หายไมชอบดว ยเหตุผล เมื่อมองพัฒนาการน้ันในแงท่ีเก่ียวกับอิทธิปาฏิหาริย(รวมถงึ อํานาจศกั ดิส์ ทิ ธเิ์ รนลับอนื่ ๆ) ก็จะมีลําดับ ๓ ขน้ั เหมอื นกนัคอื ขน้ั หวังพึ่ง ขัน้ เสรมิ กําลงั และขนั้ เปน อิสระสนิ้ เชิง ขน้ั ที่ ๑ เปนขน้ั รอคอยอํานาจภายนอกดลบนั ดาล ทําใหหมกมุนฝกใฝ ปลอยทิ้งเวลา ความเพยี รและการคดิ เหตุผลของตน จดั เปนขน้ั กอนพัฒนาหรือนอกชมุ ชนอารยะ ข้ันท่ี ๒ คือข้ันท่ีทําอิทธิปาฏิหาริยไดเองแลว และใชอทิ ธิปาฏิหารยิ น้ันเพ่อื เสรมิ กาํ ลังในการทาํ ความดีอยา งอนื่ เชน ใน
อิทธิปาฏิหารยิ -เทวดา ๕๑การชวยเหลือผูอื่นจากภัยอันตราย และเปนเครื่องประกอบของอนุสาสนปี าฏิหารยิ ถา เปน สิ่งมงคลศักดิ์สทิ ธ์อิ ยา งอืน่ ๔๙ ขั้นท่ี ๒นี้ก็อนุโลมไปถึงการมีสิ่งเหลานั้นในฐานะเปนเคร่ืองเสริมกําลังใจหรือเปนเพอื่ นใจใหเ กิดความอุนใจ ทําใหเพียรพยายามทําความดีงามไดแข็งแรงยิ่งข้นึ มคี วามม่ันใจในตนเองมากย่งิ ขึ้น หรือเปนเคร่ืองเตือนสติและเรงเราใหประพฤติส่ิงท่ีดีงาม ข้ันน้ีพอจะยอมรับไดวาเปนการเริ่มตนเขาสูระบบชีวิตแบบชาวพุทธ แตทานไมพยายามสนบั สนุน เพราะยงั อาจปะปนกบั ข้ันท่ี ๑ ไดง าย ควรรีบกาว ตอใหผานพนไปเสีย ควรระลึกอยูเสมอถึงคุณสมบัติของอุบาสกท่ดี ขี อ ที่ ๓ วา \"ไมถ อื มงคลต่นื ขาว มุงกรรม คดิ มงุ เอาผลจากการกระทาํ ไมมุงหามงคล\"๕๐ ข้ันท่ี ๓ คอื การมีชวี ิตจติ ใจเปนอิสระ ดาํ เนินชวี ติ ทโ่ี ปรงเบาแทโดยไมตองอาศัยอิทธิปาฏิหาริย หรือสิ่งอ่ืนภายนอกมาเสริมกาํ ลงั ใจของตนเลย เพราะมีจิตใจเขม แขง็ เพยี งพอ สามารถบังคับควบคุมจิตใจของตนไดเอง ปราศจากความหวาดหวน่ั กลวัภัย อยางนอยก็มีความม่ันใจในพระรัตนตรัยอยางบริบูรณเปนหลกั ประกัน ขัน้ ที่ ๓ นี้ จดั เปนขัน้ เขาถึงพระพุทธศาสนา
๕๒ เรอ่ื งเหนอื สามัญวิสยักา วเขา สขู น้ั ของการมีชีวิตอิสระ เพ่ือเปน ชาวพทุ ธทแ่ี ท ในการนาํ คนใหพัฒนาผานขนั้ ตา ง เหลา นี้ งานสําคัญก็คอืการส่ังสอนแนะนํา และผูที่ถือกันวาเปนหลักในการทําหนาท่ีน้ีก็คือพระภิกษุสงฆ การพัฒนาหรอื กา วหนา ในทาง จะไปไดชา หรือเร็ว มากหรือนอยยอมข้นึ ตอปจ จยั ทั้งฝายผแู นะนําสั่งสอนและคนท่รี ับคําสอน ผูสอนยอ มมีความสามารถมากนอยตางกัน คนทฟ่ี งก็เปนผูกาวเดินออกจากจุดเร่ิมตนตางๆ กัน มีความพรอมหรือความแกกลา แหง อินทรียไมเหมอื นกัน จรงิ อยู จดุ หมายของการสอนและการกาวเดินยอมอยู ณ ข้ันท่ีสาม ถาผูสอนมีความสามารถชาํ นาญในอนุสาสนี และคนรับคาํ สอนพรอมอยูแลว ก็อาจใชแ ตเ พยี งอนสุ าสนีอยางเดยี ว พากา วครง้ั เดียวจากขั้นที่ ๑เขาสูข นั้ ท่ี ๓ ทันที ย่ิงเชี่ยวชาญในอนุสาสนีมาก ก็ยิง่ สามารถชว ยใหค นรับคําสอนเปน ผูพ รอมขึน้ ดวยและกา วเรว็ ไดด ว ย แตพ ระทุกรปู มิใชจ ะเกงอนสุ าสนเี หมือนกันหมด การผอนปรนจงึ เกิดมีข้ึน ตามปกติ ในการนําคนกาวออกมาและเดินหนาไปสูขั้นตางๆ น้นั ผสู อนจะตอ งเขาไปหาใหถงึ ตวั เขา ณ จดุ ท่เี ขายืนอยูหรือไมก็ตองหาอะไรหยิบย่ืนโยนไปใหเพื่อเช่ือมตัวใหถึงกัน แลว
อิทธปิ าฏิหาริย- เทวดา ๕๓จึงดงึ เขาออกมาได เมอื่ ผสู อนไมม ีความสามารถ ปราศจากเครอ่ื งมือสื่อโยงชนดิ พเิ ศษ กต็ องเขาไปใหถ งึ ตวั เขา แลวพาเขาเดนิ ออกมาดว ยกนั กับตน โดยเรม่ิ จากจุดท่ีเขายืนอยนู ัน้ เอง คงจะเปนดวยเหตุเชน นี้ จงึ มีการผอ นปรนในรปู ตางๆ ซอยละเอยี ดออกไปอนั จัดรวมเขาในขนั้ ท่ีสองของการพัฒนา หลักการของการผอนปรนนี้ก็คือการใชสิ่งท่ีเขายึดถืออยูเดิมน่ันเองเปนจุดเริ่มตน วิธีเร่ิมอาจทําโดยแกะสิ่งที่เขายึดหรือเกาะติด อยนู ้นั ออกจากฐานเดมิ แลวหนั เหบา ยหนา มาสูทศิ ทางที่ถูกตอง พรอมท้ังใชส่ิงที่เขายึดเกาะอยนู ้นั เปน เคร่ืองจูงเขาออกมาจนพนจากที่นั้น วิธีการนี้เห็นไดจากพุทธบัญญัติเกี่ยวกับการเหยียบผืนผา เรื่องมีวาคราวหนึ่งเจาชายโพธิ (โพธิราชกุมาร)สรางวังแหงหนึ่งเสร็จใหม จึงนิมนตพระสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุขไปฉันที่วังนั้น เจาชายไดใหปูลาดผาขาวท่ัวหมดถึงบันใดข้นั ที่ ๑ เมือ่ พระพทุ ธเจา เสด็จถงึ วังก็ไมท รงเหยียบผา จนเจาชายโปรดใหมวนเก็บผืนผาแลวจึงเสด็จขึ้นวัง และไดทรงบัญญัติสิกขาบทไวหามภิกษุเหยียบผืนผา ตอมาหญิงผูหน่ึงซ่ึงแทงบุตรใหมๆ ไดนมิ นตพระมาบานของตน แลวปูผาผืนหนึ่งลง ขอรองให
๕๔ เรื่องเหนอื สามัญวสิ ยัพระภิกษุท้ังหลายเหยียบเพ่ือเปนมงคล ภิกษุเหลานั้นไมยอมเหยียบ หญิงน้ันเสียใจ และติเตียนโพนทะนาวาภิกษุท้ังหลายความทราบถึงพระพทุ ธองค จงึ ไดท รงวางอนุบญั ญตั ิ อนญุ าตใหภิกษุทั้งหลายเหยียบผืนผาไดในเม่ือชาวบานขอรอง เพ่ือเปนมงคลแกพวกเขา๕๑ พทุ ธบญั ญัตนิ น้ี าจะเปน สาเหตหุ รือขอ อางอยางหน่ึง ทีท่ าํใหพระสงฆไดโอนออนผอนตามความประสงคของชาวบานเกี่ยวกบั พธิ กี รรมและสิง่ ที่เรยี กวา วตั ถุมงคล๕๒ ตา งๆ ขยายกวา งออกไปเปด รับเคร่อื งรางของขลงั และสิง่ ศกั ด์สิ ทิ ธอ นื่ เขา มามากมาย จนบางสมยั รสู กึ กนั วาเกิดขอบเขตอนั สมควร๕๓ อยางไรกต็ าม ถาเขาใจหลักการที่กลาวมาขางตนดีแลว และปฏิบัติตามหลักการน้ันดวย ปฏิบัติใหตรงตามพุทธบัญญัติน้ีในแงท่ีวาทําตอเมื่อเขาขอรองดวย ความผดิ พลาดเสียหายและความเฟอเฝอเลยเกดิ ก็คงจะไมเ กดิ ขน้ึ สวนทางดานเทวดา ความผอนปรนในระดับพัฒนาการขนั้ ที่ ๒ กเ็ ปด โอกาสใหชาวพทุ ธผูอยูในสภาพแวดลอ มซงึ่ นบั ถอืบูชาเทวดามาแตเดิม แสดงความเอ้ือเฟอเก้ือกูลแกเทวดาไดตอ
อิทธปิ าฏิหาริย- เทวดา ๕๕ไป ถงึ จะทําพลีกรรมแกเ ทวดา ก็สนบั สนุน๕๔ เพียงแตมีขอ แมว าตองทําฐานสงเคราะหอนุเคราะหแสดงเมตตาจิตตอกัน มิใชจะออ นวอนหรอื ขอผลตอบแทน เมอื่ ไปอาศยั อยู ณ ถนิ่ ฐานใดกต็ ามทําการบํารุงถวายทานแกทานผูทรงศีลแลว ก็ตั้งจิตเผ่ือแผอุทิศสว นบญุ ไปใหแกเ ทวดาทงั้ หลายในทีน่ ้นั ดวย เทวดาทงั้ หลายไดรบั ความเออื้ เฟอ แลว กจ็ ะมไี มตรีจติ ตอบแทน \"เทวดาท้ังหลาย ไดรับการบชู า (ยกยอ งใหเกยี รติ) จากเขาแลว ยอ มบูชาเขา ไดร ับความนบั ถือจากเขาแลว ยอ มนับถอื เขา และยอ มเอน็ ดเู ขาเหมือนแมเอ็นดูลูก\"๕๕ อยางไรก็ดี ไมตรีจิตตอบแทนจากเทวดาที่วาน้ีเปนเรื่องของเทวดาเอง ผูอุทิศกุศลไมตองไปคิดหวังเอา หนาที่ของเรามีเพยี งตงั้ จิตเมตตาแผค วามดีใหเทา น้ัน สําหรับคนท่ีมีความเขาใจในหลักการน้ีเปนอยางดีแลวเม่ือเขานึกถึงเทวดา ก็จะนึกถึงดวยจิตใจที่ดีงาม มีแตความปรารถนาดี เม่ือทําความดีหรือทําส่ิงใดที่ดีงามเปนบุญเปนกุศลจะแผบุญกุศลน้ันไปใหแกเทวดาดว ย ก็ไมม ขี อ เสียหายอะไร มีแตจะสงเสริมคุณภาพจิตของตนเอง และแผความดีงามรมเย็นใหกวางออกไปในโลก เมอื่ ยงั กาวไมพ นจากพัฒนาการขนั้ ท่ี ๒ สขู ้นั
๕๖ เร่ืองเหนือสามญั วิสยัที่ ๓ อยูตราบใด หากยังรักษาความสมั พันธใหอ ยูภ ายในหลกั การแหงความอยูรว มกนั ดวยดนี ไี้ ด ไมถ ลํากลบั ไปสูการประจบเอาใจหรือเรยี กรองออนวอน การกระทาํ ตา งๆ กจ็ ะรกั ษาตัวมนั เองใหอยูภายในขอบเขตที่จะไมเกิดผลเสียหายท้ังแกชีวิตแกสังคม อีกท้ังจะไดผลดีทางจติ ใจเปน กําไรอกี ดว ยวธิ ปี ฏบิ ัติทถ่ี ูกตอ งตอ สิ่งเหนอื สามญั วสิ ยั เทา ท่ีบรรยายมาอยางยืดยาวในเรือ่ งน้ี ก็เพียงเพือ่ ใหเ หน็วิธีปฏิบัติที่ถูกตองสมควรตอสิ่งเหนือวิสามัญวิสัย โดยไมขัดกับหลกั การของพระพทุ ธศาสนา ซงึ่ มุง ใหเกดิ ประโยชนท ้งั แกชีวิตของบคุ คลและแกสังคม ขอสรุปอกี ครัง้ หนึ่งวา วิธีปฏิบตั ติ อ เทวดาและอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ต ลอดจนมงคลฤทธต์ิ า งๆ เปน เรอ่ื งไมย งุ ยากอยา งใดถา เราประพฤติถกู ตองตามธรรมอยแู ลว กด็ าํ เนินชวี ติ ไปตามปกติ เมือ่ เราอยใู นสงั คมนี้ ก็ยอ มไดย ินไดฟ งเกี่ยวกบั เทวดาบางส่ิงศักดส์ิ ิทธ์ิ อทิ ธิฤทธ์บิ า ง บางครงั้ เราก็ระแวงวา สิ่งเหลานน้ั มีจริงหรือวาไมมีจริง ถามีจะทําอยางไรเปนตน พึงม่ันใจตนและเลิกกังวล ฟุงซานอยางนัน้ เสยี แลว ดาํ เนินวิธปี ฏิบัตทิ ไ่ี มผิดทกุ กรณี
อทิ ธปิ าฏิหาริย- เทวดา ๕๗ซ่ึงเปนวธิ ปี ฏิบตั สิ ําเรจ็ ไดทใ่ี นใจน้ีเอง คอื สาํ หรบั เทวดาเราพงึ มีทาทีแหงเมตตา ทําใจใหออนโยนตอสรรพสัตว ตั้งจิตปรารถนาดีหวังใหสัตวทั้งหลายรวมทั้งเทวดาดวยท่ีเปนเพื่อนรวมโลกทั้งปวงตางอยเู ปนสขุ เคารพความดขี องกันและกัน และในสงั คมน้ี เราคงตองพบกับคนทง้ั สองประเภทคอื ผูท่ีฝก ใฝหมกมนุ หวังพ่ึงเทวดา และผทู ีไ่ มเ ชื่อถือมจี ิตกระดา งขึ้งเคยี ดเหยยี ดหยามทงั้ ตอ เทวดาและผูนับถอื เทวดา ตา งววิ าทขัดแยง กนัเรามโี อกาส กพ็ ึงชกั จูงคนทั้งสองพวกนั้นใหม าอยู ณ จดุ กลางท่ีพอดี คือความมีจิตเมตตาออนโยนตอเทวดาและตอกันและกันพรอมน้ันในดานกิจหนาท่ีของตน เราพึงกระทําดวยความเพียรพยายามเต็มความสามารถไปตามเหตุผล ถา ยงั หว งการชว ยเหลือของเทพเจา ก็พึงวางจิตวา ถา ความดขี องเราเพยี งพอและเทพเจาท่ดี ีงามมีนาํ้ ใจสจุ รติ มีอยู ก็ปลอ ยใหเปน เรือ่ งของเทพเจา เหลาน้ันทานจะพิจารณาตัดสินใจเอง สวนตัวเราน้ันจะตั้งจิตม่ัน เพียรพยายามทํากิจของตนไปจนสุดกําลังสติปญญาความสามารถและจะฝกฝนตนใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้นไปท้ังในทางปญญาและคุณธรรมจนขามพนเขาสพู ฒั นาการข้นั ทสี่ าม ซง่ึ เปน อสิ ระและสม
๕๘ เร่ืองเหนอื สามัญวิสัยควรเปน ท่เี คารพบูชาของเทวดาได (มิใชหมายความวา จะใหต ง้ั ใจประพฤติดีเพ่ือใหเทวดาเคารพบูชา หรือใหกระดางกระเดื่องตอเทวดาซึง่ จะกลายเปน มานะอหงั การไป แตห มายความวา เราทําความดีของเราไปตามเหตุผลของเรา เปนเร่ืองของเทวดาเขาเคารพเอง เพราะเทวดานน้ั มคี วามดีที่จะเคารพความดขี องคนดี) สวนเรือ่ งอทิ ธิปาฏิหาริยแ ละสง่ิ มงคลศักดส์ิ ิทธิท์ ั้งหลาย ก็พึงปฏบิ ัตอิ ยา งเดยี วกัน เปลี่ยนแตเ พียงทาทแี หงเมตตามาเปนทาทแี หง ความมีพลงั จิต สรา งฤทธแ์ิ ละมงคลใหเ กดิ มีเปน ของตนเองฤทธ์ิท่ีควรสรางไดตั้งแตเบื้องตนก็คือความเพียรพยายามบากบั่นเขมแข็ง พรอมทั้งความหนักแนนในเหตุผลซ่ึงเปนแรงบันดาลความสําเร็จแหงกิจหนา ที่ มงคลก็คอื คณุ ธรรมและความสามารถตางๆ ที่ไดปลูกฝงสรางขึ้นอันเสริมสงและคุมนําไปสูความสุขความเจรญิ และความเกษมสวสั ด๕ี ๖ ทางดานพระภกิ ษุผสู มั พนั ธก บั ประชาชนในฐานะผูนาํ ทางจติ ใจ เมอ่ื จะตอ งเกี่ยวของกับสงิ่ เหลาน้ีพึงเตรียมใจระมัดระวังถือเหมือนดังเขาผจญภัยโดยไมประมาท สําหรับผูเกงกาจทางอนุสาสนี ก็ไมสกู ระไร อาจอาศยั ความเชยี่ วชาญในเชงิ สอน นาํ
อทิ ธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๕๙ชาวบานกาวสูพัฒนาการข้ันสูงๆ ไดโดยรวดเร็ว แตก็มีขอควรระวงั อยบู าง เพราะบางทา นสามารถใชอ นุสาสนีทําใหค นเลกิ เชื่อถอื สงิ่ ทีเ่ ขาเคยยึดถอื อยูเดมิ ได แตหยดุ แคน ั้นหรอื ไมอ าจช้แี นะใหเขาเกิดปญญามองเหน็ ทางถูกตองทีจ่ ะเดินตอ ไป ทําใหชาวบานมีอาการอยา งท่วี า ศรัทธาก็หมด ปญ ญากไ็ มม ี ตกอยใู นภาวะเควงควา ง เปนอันตรายทั้งแกช วี ิตของเขาเองและแกส งั คม สวนทา นทไี่ มถ นัดในเชงิ สอนเชนนน้ั และจะเขา ไปใชส ิ่งที่เขายึดอยูเปนจุดเร่ิมตน มีขอที่จะตองตระหนักมั่นไวในใจหลายอยาง๕๗ สําหรับอิทธิปาฏิหาริย เปนอันตัดไปได เพราะมีพุทธบัญญัตหิ ามไวแลววาไมใหพ ระสงฆแ สดงแกช าวบา น คงเหลืออยูแตมงคลหรือส่ิงที่จะใหเกิดมงคล เบื้องแรกที่สุดจะตองกําหนดแนวแนเปนเคร่ืองปองกันตวั ไวก อนวา จะตอ งไมใชส ิง่ เหลานเี้ ปนเครื่องมอื เลีย้ งชีวติ แสวงหาลาภ ซงึ่ เปนมจิ ฉาชพี และเปนความบกพรองเสียหายในดานศีล ตอจากนั้น มีขอ เตอื นสํานึกในทางปฏิบตั โิ ดยตรงคอื ตองระลึกไวเสมอวา ขอท่ี ๑ การทเี่ ขาไปเก่ยี วขอ งกับสง่ิ เหลา นน้ั กเ็ พอ่ืชวยประชาชนใหเ ปนอสิ ระจากสง่ิ เหลา นนั้ เชน เกี่ยวขอ งกบั ฤทธ์ิ
๖๐ เร่ืองเหนือสามัญวสิ ัยเพื่อชวยใหเ ขาเปนอสิ ระจากฤทธิ์ และเพ่อื ความเปนอิสระตามขอท่ีหนึ่งนี้ ขอ ท่ี ๒ จงึ ตามมาวา เม่ือเรมิ่ จดุ ตั้งตน ณ ท่ีใด จะตอ งพาเขาเดินหนาจากจุดน้ันเร่ือยไป จนกวาจะถึงจุดหมายคือความเปนอิสระ จะถอยหลังไปจากจดุ นน้ั อีกไมได และตามนัยของขอ ท่ีสองนี้ จะปรากฏผลในทางปฏิบัติวา ความฝกใฝหมกมุนในส่ิงเหลานี้จะตองลดลง หรืออยางนอยไมเพ่ิมมากขึ้น หรือกําหนดออกไปอีกเปนทาทีของการปฏิบัติไดวาจะไมสงเสริมความฝกใฝหมกหมุนในส่ิงเหลานี้ใหแพรหลายขยายตัว จะมีแตการควบคุมใหอยูในขอบเขตและการทําใหลดนอยลง คือเปล่ียนขั้นพฒั นาการเขาสขู ้ันท่ี ๒ ใหห มด นอกจากน้ี ควรพยายามเนนใหปฏิบัติตามพุทธานุญาตท่ีวาทําตอเมื่อเขาขอ ซ่ึงจะเปนการกระชบั ขอบเขตใหร ัดตัวเขามาอีก ขอ ที่ ๓ ซึ่งไมอ าจลมื ไดคอื ตองใหอนุสาสนชี นิดนําออกเสนอในเมอื่ ไดโ อกาส เพือ่ ทั้งเรงรัดและกาํ ชบั ใหเปนไปตามจุดมงุ หมาย ทางดานประชาชนที่กาํ ลังพฒั นาขา มจากข้นั ท่ี ๑ สขู น้ั ที่๒ การผอนปรนหรือโอนออนผอนตามจะมีไดอยางมากท่ีสุด ก็เพียงเทาท่อี ยใู นขอบเขตซงึ่
อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๖๓ส่ิงท่ีใชรวมในพุทธศาสนากับในศาสนาเดิมยังมีมาก และส่ิงนั้นบางทีกเ็ ปนส่ิงเดียวกันแทๆ เชน มงคลและพลี เปน ตน ตา งแตทา ทีแหง ความเขา ใจสาํ หรับชน้ี ํา และจํากดั ขอบเขตของการปฏบิ ัติ ถาเกิดเหตุเพียงแควาเผลอลืมทาทีของการวางจิตใจน้ีเสียเทาน้ันพฤติกรรมของผูปฏิบัติก็อาจพลิกกลับเปนตรงขามไดทันที คือหลนจากสมาชิกภาพในชุมชนพุทธ ถอยกลับไปอยูนอกชุมชนอารยะ (นา กลวั วาจะไดเปน กันมาเสยี อยางน้ีหลายครัง้ แลว) ดงันน้ั คาํ วา \"เดนิ หนา \" จงึ เปน ขอเตือนสํานึกสําคญั ที่จะตองมาดว ยกนั เสมอกบั ความสาํ นกึ ในทา ทีท่เี ปน ขอบเขตของการปฏิบัต๕ิ ๙ เม่ือใดเดนิ ทางกาวหนาถึงขั้นท่ี ๓ เมื่อน้ันจงึ จะปลอดภัยแท เพราะไดเขาอยูในชุมชนอารยะเปนโสดาบันขึ้นไป ไมมีการถอยหลังหรอื ลงั เลใดๆ อีก มีแตจ ะเดนิ หนา อยางเดียว เพราะเขาถงึ ความหมายของพระรตั นตรัย ม่ันใจในความเปน ไปตามเหตผุ ลจนมีศรัทธาที่ไมหว่ันไหว ไมตอ งอางองิ ปจจยั ภายนอก ไมวา สิง่ศักดิ์สิทธิ์หรือเทวฤทธ์ิใดๆ และไมมีกิเลสรุนแรงพอท่ีจะใหทําความช่ัวรายหรือใหเกิดปญหาใหญๆ เปนปมในใจท่ีจะตองระบาย กับทั้งรูจักความสุขอันประณีตซ่ึงเกิดจากความสุขสงบ
๖๔ เรอื่ งเหนือสามญั วสิ ยัผองใสภายในแลว จึงมีความเขมแข็งมั่นคงในจริยธรรมอยางแทจรงิ ภาวะท่ีมีคณุ ธรรมมคี วามสุข และเปนอสิ ระ ซ่ึงอทิ ธิพลภายนอกไมอาจมาครอบงําชักจูงไดเพียงเทาน้ี เปนความประเสริฐเพียงพอท่ีเทพเจาเหลาเทวดาจะบูชานบไหว๖๐ และพอที่จะใหชีวิตของผนู ั้นเปน อดุ มมงคลคอื มงคลอนั สูงสุดอยูแ ลว ในตวั มนษุ ยเ ปน ยอดแหงสตั วท ฝ่ี ก ได เรียกอยา งสมยั ใหมว า มีศกั ยภาพสูง สามารถฝก ไดท งั้ ทางกาย ทางจิต และทางปญ ญาใหว เิ ศษ ทาํ อะไรๆ ไดป ระณตี วจิ ติ รพสิ ดารแสนอศั จรรย อยา งแทบไมนาเปนไปได๖๑ การมัวเพลนิ หวงั ผลจากฤทธานุภาพและเทวา-นภุ าพดลบนั ดาล ก็คือการตกอยูในความประมาท ละเลยปลอ ยใหศักยภาพของตนสูญไปเสียเปลา และจะไมรูจักเติบโตในอริยมรรคา สวนผูใดไมประมาทไมรีรอ เรงฝก ฝนตนไมห ยดุ ยง้ั ผูนั้นแหละจะไดทั้งอิทธิฤทธิ์และเทวฤทธ์ิ และจะบรรลุสิ่งเลิศลํ้าท่ีท้ังฤทธานุภาพและเทวานภุ าพไมอาจอํานวยใหได
อิทธิปาฏหิ าริย-เทวดา ๖๕ บันทกึ พิเศษทายบท สาํ หรับผสู นใจเชงิ วิชาการ บนั ทึกท่ี ๑ : อทิ ธปิ าฏิหาริยใ นคัมภรี การแสดงอิทธิปาฏิหาริยของพระพุทธเจาเทาที่พบในพระไตรปฎ กคอื ● ทรมานหวั หนา ชฎลิ ชอ่ื อรุ เุ วลกสั สป (ทรมาน มาจาก ทมนะแปลวา ฝก คอื ทําใหห มดทฏิ ฐิมานะ หันมายอมรับถือปฏบิ ตั ิส่งิ ที่ถูกตอง ไมใชท ําใหเ จ็บปวด) - วินย.๔/๓๗-๕๑/๔๕-๖๐; ● ทรมานพกพรหม - ม.มู.๑๒/๕๕๑-๕/๕๙๐-๗; ส.ํ ส.๑๕/๕๖๖/๒๐๘; ● ทรมานพรหมอีกองคหนง่ึ - ส.ํ ส.๑๕/๕๗๓/๒๑๑;
๖๖ เรอ่ื งเหนือสามัญวสิ ยั ● แกความเห็นของสุนักขัตต และแกคําทาของอเจลกชื่อปาฏกิ บุตร - ท.ี ปา.๑๑/๔-๑๒/๖-๒๙; ● ทรมานโจรองคุลิมาล - ม.ม.๑๓/๕๒๔/๔๗๙; ● ทําใหพระภิกษุพวกหนึ่งประหวั่นใจแลวมาเฝาเพ่ือพระองคจ ะตรัสสอน - ส.ํ ข.๑๗/๑๖๗/๑๑๗; ● ทําใหจําเพาะบางคนเห็นมหาบุรุษลักษณะในท่ีเรนลับ- ท.ี สี.๙/๑๗๐/๑๓๖; ๑๗๕/๑๓๙; ม.ม.๑๓/๕๘๗/๕๓๑; ๖๐๘/๕๕๓ = ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๗๖/๔๔๓; ● แผเมตตาใหชางรายนาฬาคีรีมีอาการเช่ือง (ไมใชอทิ ธิปาฏหิ ารยิ โดยตรง) - วินย.๗/๓๗๘/๑๘๙; ● ผจญอาฬวกยกั ษ (ไมใชแสดงฤทธโิ์ ดยตรง) - ส.ํ ส.๑๕/๘๓๘/๓๑๔; ขุ.ส.ุ ๒๕/๓๑๐/๓๕๙; ● เร่อื งท่ีมาในอรรถกถาเชน ยมกปาฏิหารยิ แกคาํ ทาของพวกเดยี รตถีย - ที.อ.๑/๗๗; ธ.อ.๖/๖๒; ชา.อ.๖/๒๓๑; (ทั้งนีอ้ ิงบาลีใน - ข.ุ ปฏ.ิ ๓๑/๐/๔; ๒๘๔/๑๘๒ และ วนิ ย.๗/๓๑/๑๔); ● ทรงนาํ พระภิกษุใหม ๕๐๐ รูป เทย่ี วชมธรรมชาตใิ นปาหิมพานตแกความคดิ ถงึ ครู ักคูครอง - ชา.อ.๘/๓๓๕; เปน ตน
อิทธิปาฏหิ าริย-เทวดา ๖๗การแสดงอิทธปิ าฏหิ ารยิ ของพระสาวกทพี่ บในบาลี คอื ● พระปณโฑลภารัทวาช แกคําทา เหาะข้ึนไปเอาบาตรบนยอดไผ (ตน บญั ญตั ไิ มใ หภ กิ ษแุ สดงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ แ กช าวบา น)- วินย.๗/๓๑/๑๔; ● พระมหาโมคคัลลานป ราบมาร - ม.ม.ู ๑๒/๕๕๙/๖๐๑; ● พระปลินทวัจฉะนําบุตรของอุปฐากกลับคืนจากโจร -วนิ ย.๑/๑๗๓/๑๒๕; ● พระปลินทวัจฉะอธิษฐานวังพระเจาพิมพิสารเปนทองเพอื่ ชว ยแกช าวบา นจากขอ หาโจรกรรม - วนิ ย.๒/๑๓๙/๑๑๙-๑๒๑; ● พระทัพพมัลลบุตรใชนว้ิ เปน ประทปี สอ งทางนาํ พระภกิ ษุทงั้ หลายไปยงั เสนาสนะตา งๆ - วนิ ย.๑/๕๔๑/๓๖๙; ๖/๕๙๓/๓๐๖; ● พระสาคตะใชฤทธิใ์ หช าวบา นเห็น ทาํ ใหตอ งแสดงฤทธิ์ใหชาวบา นดตู อพระพกั ตรเพื่อใหช าวบาน ใจ สงบพรอ มทีจ่ ะฟงธรรม - วนิ ย.๕/๑/๓; ● พระสาคตะปราบนาคของชฎิล (ตนบัญญัติหามภิกษุดม่ื สุรา) - วนิ ย.๒/๕๗๕/๓๘๓; ● พระเทวทัตทําใหเจาชายอชาตศัตรูเลื่อมใส - วินย.
๖๘ เร่อื งเหนือสามญั วสิ ยั๗/๓๔๙/๑๖๔; ● พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานกลับใจหมูภิกษุศิษยพระเทวทัตดวยอนุสาสนีปาฏิหาริยที่ควบดวยอิทธิปาฏหิ าริยและอาเทศนาปาฏหิ ารยิ - วินย. ๗/๓๙๔/๑๙๘; ● พระมหกะบนั ดาลใหม ีลมเยน็ แดดออ น และฝน ชวยพระเถระที่กําลงั เดนิ ยามรอนจัด จิตตคฤหบดีเห็นจงึ ขอใหทาํ ฤทธิ์ใหด ู และทา นไดบ ันดาลใหเกิดไฟ - ส.ํ สฬ.๑๘/๕๕๖/๓๕๗; ● พระมหาโมคคัลลานบันดาลใหเวชยันตปราสาทสั่นสะเทอื นเพ่ือเตอื นสํานึกใหพ ระอนิ ทรไ มมวั เมาประมาท - ม.ม.ู ๑๒/๔๓๗ /๔๖๘; ● พระมหาโมคคัลลานบันดาลใหมิคารมาตุปราสาทสั่นสะเทือนเพ่ือเตอื นสาํ นกึ ของพวกภกิ ษผุ ูจัดจา นฟุง เฟอ - ส.ํ ม.๑๙/๑๑๕๕/๓๔๖; ● พระอภิภูสาวกของพระสิขีพุทธเจาแสดงธรรมโดยไมใหคนเห็นตัว ใหเ สียงไดยนิ ไปไดพ นั โลกธาตุ - ส.ํ ส.๑๕/๖๑๖/๒๒๙;อง.ฺ ติก.๒๐/๕๒๐/๒๙๑; ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๖๘๖/๕๙๖; สวนเร่ืองทเ่ี ลาในอรรถกถามมี ากมาย เชน
อิทธิปาฏหิ ารยิ -เทวดา ๖๙ ● พระจลุ ลบนั ถกบนั ดาลใหเ หน็ ตวั ทา นเปน พนั องค - อง.ฺ อ.๑/๒๒๘,๒๓๕; ธ.อ.๒/๗๔; วิสุทธฺ .ิ ๒/๒๑๙ (องิ บาลี ข.ุ ปฏิ. ๓๑/๖๘๕/๕๙๒); ● พระมหาโมคคัลลานท รมานนนั โทปนนั ทนาคราช -ชา.อ.๗/๓๕๖; วิสทุ ฺธ.ิ ๒/๒๓๓; ● พระปณุ ณะชว ยพอ คา ชาวเรอื จากการทาํ รา ยของอมนษุ ย- ม.อ.๓/๗๓๑-๔ (เพิม่ ความจากปณุ โณวาทสูตร, ม.อ.ุ ๑๔/๗๖๔/๔๘๕ และมีเรอ่ื งพระพทุ ธเจาเสดจ็ สุนาปรันตชนบท เปนทีม่ าของพระพุทธบาท ๒ แหง); ● สามเณรสงั กจิ จะชวยภิกษุ ๓๐ รูปโดยอาสาใหโจรจับตวั ไปบชู ายัญแทน และกลบั ใจโจรไดห มด - ธ.อ.๔/๑๑๑; ● สมุ นสามเณรปราบพญานาค - ธ.อ.๘/๘๙; ● พระสนุ ทรสมทุ รเหาะหนหี ญงิ นางโลม - ธ.อ.๘/๑๕๒;ฯลฯเร่ืองฤทธข์ิ องคนอนื่ มมี าในบาลีบา งบางแหง เชน ● พรหมสัมมาทิฏฐิทรมานพรหมมิจฉาทิฏฐิ - สํ.ส.๑๕/๕๘๖/๒๑๕;
๗๐ เรื่องเหนอื สามญั วิสยั ● ฤาษีชื่อโรหิตัสสะมีฤทธ์ิเหินเวหาดวยคามเร็วดังวายา งเทา เดยี วกข็ า มมหาสมทุ รไปแลว เหาะไปตลอด ๑๐๐ ปไ มห ยดุเลย กไ็ มถ งึ ทสี่ ดุ โลก ตายเสยี กอ น - ส.ํ ส.๑๕/๒๙๗/๘๘; อง.ฺ จตกุ กฺ .๒๑/๔๕/๖๑; ● พระอินทรแปลงเปนชางหูกมาถวายบิณฑบาตแกพระมหากสั สป - ขุ.อ.๒๕/๘๐/๑๕๕; สวนในอรรถกถามเี รือ่ งมากมาย โดยมากเปน การกระทําของเทวดา ยกั ษ วทิ ยาธร ฤาษี ดาบสตา งๆ ผมู บี ทบาทมากทานหนึง่ คือพระอินทร ซึ่งมกั แปลงกายบา ง ไมแ ปลงกายบาง ลงมาชวยคนดีบา ง ทดสอบความดีของคนดีบา ง ดังเชนแปลงเปนหนูมากัดเชือกรัดครรภปลอมของนางจิญจมาณวิกา - ธ.อ.๖/๔๕;ชา.อ.๖/๑๓๐; อติ .ิ อ.๑๑๓ และพบไดทั่วๆ ไปในอรรถกถาชาดก ; นอกจากน้ันมีกลาวถึงเปนกลาง มิใชเปนเหตุการณเฉพาะครั้งเฉพาะคราว เชน ● เปนเหตุหน่งึ ของแผน ดินไหว - ท.ี ม.๑๐/๙๘/๑๒๖; ● แสดงความสาํ คญั ของมโนกรรม - ม.ม.๑๓/๗๐/๖๓; ● เหตุใหอ ธษิ ฐานตน ไมเปนดินก็ได เปน นํ้ากไ็ ด เปนตน -
อิทธปิ าฏหิ ารยิ - เทวดา ๗๑องฺ.ฉกฺก.๒๒/๓๑๔/๓๘๐ ; ● กลาวถึงคนที่เปนโลกาธิปไตยเรงปฏิบัติธรรม เพราะกลวั วา สมณพรหมณแ ละเทวดาผมู ฤี ทธจ์ิ ะลว งรจู ติ ของตน - อง.ฺ ตกิ .๒๐/๔๗๙/๑๘๘
๗๒ เร่อื งเหนอื สามญั วสิ ยั บันทกึ ที่ ๒ : การชวยและการแกลงของพระอนิ ทร การชวยเหลือของพระอินทรนั้น ดูเหมือนจะมิใชเกิดจากเพียงคุณธรรมเทานั้น แตแทบจะถือเปนหนาที่ทีเดียวเพราะมีขอกําหนดกํากับอยูดวย คือ การท่ีอาสนรอนเปนสัญญาณเตือนเรื่องอาสนรอนน้ีก็นาจะเปนหลักฐานอยางหน่ึงที่แสดงถึงชวงตอของความเปลี่ยนแปลงจากการถูกบีบคั้นดวยแรงตบะหรือการบําเพ็ญพรตแบบเกา หันมาเนนในแงท่ีคุณธรรมความดีของคนเปน แรงเรงเรา แทน และพระอินทรในระยะชว งตอน้ี กย็ ังเก่ยี วขอ งกับพลังบีบบังคับที่เกิดจากตบะแบบเกาอยูดวย ในสถานการณบีบบังคับแบบเกานั้น การปฏิบัติของพระอินทรก็มักจะเปนไปในรูปของการแขงขัน ชิงชัยชิงอาํ นาจกับมนุษยแบบโลกๆ ที่ติดมากับระบบเกา เชน พยายามหาทางทาํ ลายตบะของมนุษยเปน ตนซึ่งเห็นไดชัดวาไมใชวิธีการแหงคุณธรรมตามคติของพระพุทธ
อทิ ธิปาฏหิ ารยิ -เทวดา ๗๓ศาสนา (เชน โลมสกัสสปชาดก, ชา.อ.๕/๓๘๐; อลัมพสุ าชาดก,ชา.อ.๗/๓๙๖; นฬินกิ าชาดก, ชา.อ.๘/๑) สวนเรื่องที่เขาสูคติของพระพทุ ธศาสนามากบางนอ ยบา งมมี ากมายหลายเรือ่ งเชนใน ● มหาสุวราชชาดก, ชา.อ.๕/๓๕๑; ● กณั หชาดก, ชา.อ.๕/๔๒๙; ● อกติ ตชิ าดก, ชา.อ.๖/๑๙๗; ● สรุ ุจชิ าดก, ชา.อ.๖/๓๐๕; ● สีวิราชชาดก, ชา.อ.๗/๓๗; ● สมั พุลาชาดก, ชา.อ.๗/๓๐๒; ● กสุ ชาดก, ชา.อ.๘/๑๓๓; ● เตมยิ ชาดก, ชา.อ.๙/๒; ● เวสนั ดรชาดก, ชา.อ.๑๐/๔๕๙; ● เรื่องพระจกั ขุบาล, ธ.อ.๑/๑๖; ● เร่ืองสามเณร, ธ.อ.๘/๑๒๙ ฯลฯ อนง่ึ พึงสังเกตดว ยวา ตามเรอ่ื งในชาดกเหลานี้ เมอื่ พระอินทรจะชวยน้ัน มิใชจะชวยงายๆ โดยมากมักจะมีบททดลองกอน เพ่ือทดสอบวามนุษยท่ีทําดีนั้น มีความแนวแนมั่นคงใน
๗๔ เรือ่ งเหนือสามัญวิสัยความดีน้ันแทจ รงิ หรอื ไม อีกเร่ืองหนึ่งที่ถอื วาแสดงคตพิ ุทธศาสนาอยา งสาํ คัญ จดั เขาในทศชาติ คอื มหาชนกชาดก ตามเรื่องวา เมอ่ืเรือแตกกลางทะเล คนทั้งหลายหวาดกลัว รองไหวอนไหเ ทวดาตางๆ พระโพธิสตั วผ เู ดยี ว ไมรอ งไห ไมคร่าํ ครวญ ไมว อนไหวเทวดา คิดการตา งๆ ตามเหตผุ ล และเพียรพยายามสดุ กําลงั ในท่ีสุดมณิเมขลาเทพธิดารักษาสมุทรมาชวยเองตามหนาที่ของเทวดา (ชา.อ.๙/ ๕๙) อนึ่ง นอกจากตรวจดูเองแลว พระอินทรยังมีทาวโลกบาลเปนผูชวย คอยสงบรวิ ารมาตรวจดคู วามประพฤติของชาวโลกไปรายงานใหท ราบดว ย (อง.ฺ ติก.๒๐/๔๗๖/๑๘๐; อง.ฺ อ.๒/๑๕๖).
อทิ ธปิ าฏหิ าริย-เทวดา ๗๕ บันทกึ ท่ี ๓ : สจั กริ ิยา ทางออกทีด่ สี าํ หรับผยู ังหวงั อาํ นาจดลบนั ดาล สาํ หรับชาวพทุ ธในระยะพฒั นาขน้ั ตน ผูย ังหว ง หรือยงั มีเยื่อใยที่ตัดไมคอยขาดในเรื่องแรงดลบันดาลหรืออํานาจอัศจรรยตางๆ ประเพณีพุทธแตเดิมมายังมีวิธีปฏิบัติที่เปนทางออกใหอีกอยา งหนึ่ง คอื \"สัจกิริยา\" แปลวา การกระทําสัจจะ หมายถึงการอางพลังสัจจะหรือการอางเอาความจริงเปนพลังบันดาล คือยกเอาคุณธรรมท่ีตนไดประพฤติปฏิบัติบําเพ็ญมาหรือมีอยูตามความจริง หรอื แมแตส ภาพของตนเองทเ่ี ปน อยูจ ริงในเวลานน้ั ข้นึมาอางเปนพลังอํานาจสําหรับขจัดปดเปาภยันตรายท่ีไดประสบในเมือ่ หมดทางแกไ ขอยา งอ่ืน วิธกี ารนไ้ี มก ระทบระเทือนเสยี หายตอความเพียรพยายาม และไมเปนการขอรองวิงวอนตออํานาจดลบนั ดาลจากภายนอกอยางใดๆ ตรงขา ม กลบั เปนการเสริมย้ําความม่ันใจในคุณธรรมและความเพียรพยายามของตน และทําใหมีกําลังใจเขมแข็งยิ่งขึ้น อีกท้ังไมตองยุงเก่ียวกับวัตถุหรือพิธีท่ี
๗๖ เรอื่ งเหนอื สามัญวสิ ัยจะเปน ชอ งทางใหขยายกลายรูปฟน เผอื ออกไปได สัจกิริยาพบบอยในคัมภีรพุทธศาสนารุนอรรถกถาเฉพาะอยางยิ่งชาดก นับเปนวิธีปฏิบัติที่ใกลจะถึงความเปนพุทธอยางแทจ รงิ ดังหลักฐาน (หลายเรอ่ื งมีลักษณะนาจะเหลือเชือ่ แตคงเปน ธรรมดาของวรรณคด)ี ; ● พิสจู นความเปนลูก - ชา.อ./๑/๒๐๖; ● ทาํ ใหต น ออ กลวง เพอ่ื ชว ยฝงู ลงิ ใหด มื่ นาํ้ ไดโ ดยปลอดภยั- ชา.อ.๑/๒๕๙, ม.อ.๓/๑๖๙; ● ลูกนกขอใหต นพนภัยไฟปา - ชา.อ.๑/๓๑๙; ● ชวยใหช นะสกา - ชา.อ.๒/๘๗; ● ใหเด็กหายจากพษิ งู - ชา.อ.๕/๔๖๐; ● ใหเรอื พนภยั จากทะเลราย - ชา.อ.๖/๗๓; ● ใหป ระดานกพน จากทีก่ กั ขัง - ชา.อ.๖/๓๓๖; ● บรจิ าคพระเนตรแลว กลับมพี ระเนตรขน้ึ ใหม - ชา.อ.๗/๔๘ (อางใน มลิ ินทฺ . ๑๗๐); ● ใหผูไ ปสละชวี ติ แทนบดิ าปลอดภัย (มีแงอ งิ เทวดาบาง)- ชา.อ.๗/๒๑๒;
อิทธปิ าฏหิ าริย-เทวดา ๗๗ ● อา งความซอื่ สัตยตอสามี ทําใหสามีหายจากโรคเรื้อน -ชา.อ.๗/๓๑๑; ● พระมเหสขี อใหมโี อรส - ชา.อ. ๙/๒; ● ใหพ นจากการจองจาํ เพราะถกู ใสความ - ชา.อ.๙/๕๔; ● ใหลกู หายจากพิษลกู ศร - ชา.อ. ๙/๑๕๒; ● ใหสวามีท่ีกาํ ลังจะถกู บชู ายัญพนภยั - ชา.อ.๑๐/๑๓๓; ● นางโสเภณใี หแ มคงคาไหลกลบั - มลิ ินฺท.๑๗๓; ● พระเจา อโศกของกงิ่ มหาโพธโิ ดยไมต อ งตดั - วนิ ย.อ.๑/๙๕; ● ใหพนจากการถูกลงโทษใหชางเหยียบในกรณีถูกใสความวาเปนโจร - ที.อ.๒/๔๑๒; (แต ชา.อ.๑/๓๐๑ วาเปนอานภุ าพแหง เมตตา) ; ● ลูกอางใจจริงของแมใหพนภัยควายปาไล - ม.อ.๑/๒๗๖; ส.ํ อ.๒/๑๘๖; สงคฺ ณี อ. ๑๘๔; ● องคลุ ิมาลประสงคความสวัสดีแกหญงิ ครรภแก - ม.อ.๓/๓๑๓ (อางบาลี ม.ม.๑๓/ ๕๓๑/๔๘๕) ; ● ราชามหากัปปนะขามแมนํ้าดวยมา - สํ.อ.๒/๒๙๙;องฺ.อ.๑/๓๔๘;
๘๐ เรือ่ งเหนือสามัญวิสยัอยานับถือใหสูงกวาความสามารถของมนุษยท่ีตนมีอยูก็แลวกันเทวดาจะสูงเทาใดก็ได แตท่ีสูงสุดนั้นคือมนุษย คือทานผูเปนศาสดาของเทวะและมนุษยทั้งหลาย หรอื ถาไมคลองใจที่จะนึกถึงภาพเทพเจาที่ตนเคยเคารพเทิดทูนมากราบไหวมนุษย ก็อาจจะมองมนุษยผูสูงสุดใหมอีกแนวหน่ึงวา เปนผูไดพัฒนาตนจนถึงภาวะสูงสุดพนไปแลวทั้งจากความเปนเทพเจาและความเปนมนุษย โดยขอใหพิจารณาพุทธพจนดังตอไปน้ี (ขอความมีลักษณะเลนถอยคํา จึงแปลรักษาสํานวนเพื่อผูศึกษามีโอกาสพิจารณา) ครั้งหน่ึง เมื่อพระพุทธเจากาํ ลงั เสดจ็ พทุ ธดําเนินทางไกลพราหมณผูหนึ่งไดเดินทางไกลทางเดียวกับพระองค มองเห็นรูปจักรทีร่ อยพระบาทแลว มคี วามอัศจรรยใ จ ครั้นพระองคเสด็จลงไปประทบั น่ังพกั ทีโ่ คนไมต น หนึ่งขา งทาง พราหมณเ ดินตามรอยพระบาทมา มองเห็นพุทธลักษณาการท่ีประทับน่ังสงบลึกซึ้งนาเลื่อมใสย่ิงนกั จึงเขาไปเฝา แลวทลู ถามวา \"ทานผูเ จริญคงจักเปนเทพเจา \" พระพทุ ธเจา ตรสั ตอบวา \"แนะ พราหมณ เทพเจา เรากจ็ ักไมเ ปน \" ทูลถามตอ ไปวา \"ทานผเู จรญิ คงจกั เปนคนธรรพ\" ตรัส
อทิ ธิปาฏหิ ารยิ -เทวดา ๘๑ตอบวา \"คนธรรพเ รากจ็ ักไมเปน\" \"ทา นผูเ จริญคงจักเปน ยักษ\" \"ยักษเรากจ็ ักไมเ ปน\" \"ทา นผเู จริญคงจกั เปนมนษุ ย\" \"มนษุ ยเราก็จกั ไมเ ปน \" ทลู ถามวา \"เม่อื ถามวาทา นผเู จริญคงจกั เปนเทพ ทา นก็กลาววา เทพเราก็จักไมเปน เมื่อถามวาทานผูเจริญคงจักเปนคนธรรพ… เปนยกั ษ…เปน มนุษย ทานกก็ ลา ววา จกั ไมเ ปน เมอื่เชนนั้นทานผูเจริญจะเปนใครกันเลา\" ตรัสตอบวา \"นี่แนะพราหมณ อาสวะเหลาใดที่เมื่อยังละไมไดจะเปนเหตุใหเราเปนเทพเจา…เปนคนธรรพ...เปนยักษ...เปนมนุษย อาสวะเหลาน้ันเราละไดแ ลว ถอนรากเสียแลว หมดส้ิน ไมม ีทางเกดิ ข้ึนไดอ ีกตอ ไปเปรยี บเหมือนดอกอุบล ดอกปทุม ดอกบณุ ฑรกิ เกดิ ในนํา้ เจรญิในนํ้า แตตั้งอยูพ นนํ้า ไมถูกนํา้ ฉาบติด ฉันใด เราก็ฉันนัน้ เหมอื นกนั เกิดในโลก เตบิ โตขน้ึ ในโลก แตเปน อยเู หนอื โลก ไมตดิ กล้วัดวยโลก ฉันน้นั ; นีแ่ นะพราหมณ จงถือเราวา เปน ‘พุทธ’ เถดิ \"(อง.ฺ จตุกกฺ .๒๑/๓๖/๔๘)
๘๒ เรือ่ งเหนือสามัญวิสัย เชงิ อรรถ๑ น โสเธนฺติ มจจฺ ํ อวิติณณฺ กงฺขํ (ขุ.สุ.๒๕/๓๑๕/๓๗๔)๒ หลักขอ นี้ รวมอยูในเกณฑว นิ ิจฉัยความหมายและคณุ คา ของ พทุ ธธรรม ซงึ่ เปน อีกบทหนึง่ ตา งหากในหนงั สอื พุทธธรรมฉบบั สมบูรณ๓ ที.ปา.๑๑/๒-๓/๓-๔; พึงเทียบกับพุทธพจนท่ีแสดงสิ่งที่ทรง พยากรณแ ละไมท รงพยากรณ ใน ม.ม.๑๓/๑๕๐-๑๕๒/๑๔๗- ๑๕๓ ดวย๔ ขุ.สุ.๒๕/๓๑๕/๓๗๔ (คําวา การบําเพ็ญพรตหมายจะเปน เทวดานนั้ แปลตาม สุตฺต.อ.๒/๖๖ รปู ศพั ทเปน อมรา ถาแปล ตามรปู ศัพท กไ็ ดค วามเพียงวา เทวดาท้งั หลาย กด็ ี)๕ คาํ ช้ีแจงเกย่ี วกับอิทธปิ าฏิหารยิ ในฐานะเปน อภญิ ญา พรอม ท้ังหลักฐานอางอิงท้ังหลาย ไดแสดงไวแลวอยางมากมายใน ตอนกอน ๆ๖ ที.สี.๙/๓๓๙-๓๔๒/๒๗๓-๖; ที.ปา.๑๑/๒๒๘/๒๓๒; อง.ฺ ติก. ๒๐/๕๐๐/๒๑๗; ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๗๑๘-๗๒๑/๖๑๖-๘
อทิ ธิปาฏหิ าริย-เทวดา ๘๓๗ ดู เกวัฏฏสูตร, ที.ส.ี ๙/๓๓๘-๓๕๐/๒๗๓-๒๘๓๘ ดู องฺ.ติก.๒๐/๕๐๐/๒๑๗-๒๒๐๙ ท.ี ปา.๑๑/๙๐/๑๒๒; อธิบายใน ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๖๙๐/๕๙๙๑๐ ดู วัตถปุ ระสงคข องการปฏบิ ัติเชนนใี้ น องฺ.ปฺจก.๒๒/๑๔๔/ ๑๘๙; ฤทธ์ปิ ระเภทนเี้ ปนพวกเมตตาเจโตวิมุตติ ซง่ึ ถึงขนั้ เปน สุภวิโมกข เกิดจากเจริญโพชฌงคประกอบดวยเมตตาก็ได (ส.ม.๑๙/๕๙๗/๑๖๔); เปน ผลของการเจรญิ สตปิ ฏ ฐาน ๔ กไ็ ด (ส.ม.๑๙/๑๒๕๓-๑๒๖๒/๓๗๖-๙); เปน ผลของการเจรญิ สมาธิ ก็ได (ส.ม.๑๙/๑๓๓๒-๖/๔๐๑-๓); บางแหง เรียกผูป ฏบิ ตั ไิ ด เชนนว้ี า อริยชนผูเจรญิ อินทรยี แ ลว (ม.อุ.๑๔/๘๖๓/๕๔๖)๑๑ วนิ ย.๗/๓๓/๑๖; อรรถกถาอธบิ ายวา ทรงหา มแตวกิ พุ พนฤทธ์ิ (ฤทธิ์ผันแผก คือเปลี่ยนจากรูปรางปกติ เชน แปลงตวั เปน ตางๆ เนรมิตใหเ ห็นสง่ิ ตาง ๆ พูดแตไมใหเ หน็ ตัว ใหเห็นตวั ทอ นเดียว เปนตน ) ไมห า มอธิษฐานฤทธ์ิ (เชน อธษิ ฐานตวั เปนหลายคน เดนิ น้ํา ดาํ ดิน เปนตน ) ดู วินย.อ.๓/๓๓๗ แตค ํา อธิบายนีด้ ไู มนา นยิ ม๑๒ ขุ.ปฏ.ิ ๓๑/๗๑๘-๗๒๒/๖๑๖-๖๒๐
๘๔ เรอ่ื งเหนอื สามญั วิสัย๑๓ อง.ฺ ตกิ .๒๐/๕๘๔/๓๗๕; อง.ฺ ทสก.๒๔/๒๑๗/๓๕๓๑๔ อิทธิมทะ (เปนพวกเดียวกับเมาความรู เมาศีล เมาฌาน เปนตน) ดู อภ.ิ ว.ิ ๓๕/๘๔๙/๔๖๘)๑๕ วสิ ุทธิ.๑/๑๑๒,๑๒๒๑๖ แตอยาลืมวา การตั้งใจใชความประพฤติศีลและวัตรเปน เครื่องชักจูงผูกหมูชนไวกบั ตน เพ่ือผลในทางชอื่ เสยี ง ความ ยกยอ งสรรเสริญ หรือลาภ กเ็ ปน สง่ิ ทพี่ ระพทุ ธเจาทรงติเตยี น มากเชน เดยี วกนั๑๗ ของขลงั สิ่งศักดิ์สิทธิ์ อํานาจลึกลบั นั้น รวมถึงสิ่งที่ทานเรยี กวา ตริ ัจฉานวิชาบางอยา งดวย (ตริ จั ฉานวิชา คือ วชิ าทข่ี วางตอ ทางสวรรคนิพพาน หรอื วชิ าภายนอกทไี่ มเขากบั จุดหมายของ พระศาสนา โดยมากเปนวิชาจําพวกการทํานายทายทกั และ การรักษาโรคตาง ๆ ซ่ึงจะจัดเปนความบกพรองเสียหายใน ดานศีล หากภิกษุนํามาใชเปนเครื่องมือหาเล้ียงชีพหรือหา ลาภสักการะ ติรัจฉานวิชา เปนคนละอยางกันกับ อทิ ธิปาฏิหาริย, ติรจั ฉานวชิ า มาใน ที.สี.๙/๑๙-๒๕/๑๑-๑๕ และกลาวซํ้าไวอีกหลายสูตรในพระไตรปฎกเลม ๙ นัน้ , มี
อิทธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๘๕ สิกขาบทหามเรียนหามสอนใน วินย.๓/๓๒๒/๑๗๗; ๗/๑๘๔/๗๑ อธบิ ายใน ท.ี อ.๑/ ๑๒๑; นทิ .ฺ อ.๒/๑๑๗ เปน ตน)๑๘ อยาลมื วา หลักพึ่งตนเอง เปนตวั ของตัวเอง นี้ ทานใหส มดลุ ย ดวยหลกั การเคารพ หรือคารวธรรม ท่ีกลา วแลว ในตอนกอน และพึงสังเกตวา ผูเ ปนอิสระแลว อยางแทจ ริง กลบั เปนผเู ชอื่ ฟงคําส่ัง มีวินัยอยางย่ิง (การเช่ือฟงกับความเช่ือท่ีเรียกวา ศรัทธามีแงตางกัน การเช่ือฟงหรือปฏิบัติตามคําสั่งอยางมี วินัยนั้นเกิดจากศรัทธาอยางหนึ่ง เกิดจากปญญาอยางหน่ึง พระอรหันตปฏิบตั ิตามคําสัง่ รักษาระเบยี บวนิ ยั ดวยปญญา).๑๙ อิทธปิ าฏหิ าริยใ นคมั ภรี ดู บนั ทึกพิเศษทา ยบท๒๐ อามิสฤทธิ์ (ความสําเร็จหรือความรุงเรืองทางวัตถุ, วัตถุรุง เรือง หรอื วตั ถเุ ปนแรงบนั ดาล) และ ธรรมฤทธ์ิ (ความสาํ เร็จ หรือความรุงเรืองแหงธรรม, ธรรมรุงเรือง หรือธรรมเปนแรง บันดาล) มาใน องฺ.ทุก.๒๐/๔๐๓/๑๑๗; อน่ึง ความมีรูป โฉมงามผิวพรรณผุดผอง ความมีอายุยืน ความมีสุขภาพดี ความมเี สนหผ ูคนชอบชมอยูใ กล ก็เรยี กวาเปนฤทธิ์เชนกัน (ดู ท.ี ม.๑๐/๑๗๑/ ๒๐๔; ม.อ.ุ ๑๔/๔๙๖/๓๓๐)
๘๖ เรื่องเหนอื สามญั วสิ ยั๒๑ ที.สี.๙/๓๔๓/๒๗๗ และ ส.ส.๑๕/๒๙๗/๘๘; อง.ฺ จตุกฺก.๒๑/ ๔๕/๖๑ (เคยอา งแลวทัง้ สองเรื่อง)๒๒ วนิ ย.๗/๓๕๐/๑๖๔ (เคยอา งแลว); อยา งไรกด็ ี ถา ความคดิ รายรุนแรงขึ้น ฤทธิ์ก็เสื่อมได เพราะฤทธิ์ตองอาศัยฌาน สมาบัติเปนฐาน และผูจะเขาฌานสมาบัติได ตองทาํ จิตให บรสิ ทุ ธ์ผิ อ งใส ปราศจากนวิ รณ.๒๓ คาํ วา เทวดา หรอื เทพ ใชค ลมุ ถึงพรหมทั้งหลายดว ย โดยแบง เปน เทวดาชนั้ กามาวจร (ผูยงั เก่ยี วขอ งกบั กาม บางทีเรียกวา ฉกามาพจรสวรรค หรือสวรรคช น้ั ทยี่ ังเกี่ยวของกบั กาม ๖ ชัน้ คอื จาตุมหาราชกิ า ดาวดึงส ยามา ดุสติ นมิ มานรดี และ ปรนมิ มิตวสวตั ด)ี ตอจากน้ันมีเทพช้นั รปู าวจร (รูปพรหม) ๑๖ ชัน้ และสงู สุดมีเทพชนั้ อรูปาวจร (อรูปพรหม) (ดู สงคฺ ห.๒๙ เปนตน )๒๔ ดู อง.ฺ นวก.๒๓/๒๒๕/๔๐๙๒๕ ข.ุ อติ ิ.๒๕/๒๖๑-๒/๒๘๙-๒๙๐.๒๖ องฺ.อฏก.๒๓/๑๑๙/๒๒๙๒๗ ดู เคา อง.ฺ อ.๓/๓๔๕
อิทธิปาฏหิ ารยิ -เทวดา ๘๗๒๘ อบายภมู ิ มี ๔ คือ นรก ดิรัจฉาน เปรต และอสรุ กาย (ขุ.อติ .ิ ๒๕/๒๗๓/๓๐๑ เปน ตน ).๒๙ ใน อง.ฺ อฏ ก.๒๓/๑๖๑/๓๑๔ มพี ทุ ธพจนว า ตอ เมอ่ื พระพทุ ธเจา ทรงมีอธิเทวญาณทสั สนะครบ ๘ ปรวิ ัฏฏ (รอบทั้ง ๘ ดานคอื ๑. จาํ โอภาสได ๒. เหน็ รูปท้งั หลาย ๓. สนทนากันไดก บั เทวดาเหลา น้ัน ๔. รูวาเทวดาเหลานั้นมาจากเทพนกิ ายไหน ๕. รูวาเทวดาเหลาน้ันจุติจากที่น้ีไปเกิดท่ีน้ันดวยวิบากของ กรรมใด ๖. รูวา เทวดาเหลานน้ั มอี าหารอยา งไร เสวยสุข ทุกข อยางไร ๆ ๗. รูว า เทวดาเหลา นั้นมีอายุยืนยาวเทา ใด ๘. รวู า พระองคเคยอยูรวมกับเทวดาเหลาน้ันหรือไม) จึงจะทรง ปฏิญาณไดวาทรงบรรลุแลวซ่ึงอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ, อธิเทวญาณทัสสนะน้ีนาจะแปลวา ญาณทัสสนะของพระผู เหนือกวาเทพ หรือญาณทัสสนะที่ทําใหทรงเปนผูเหนือกวา เทพ (เทยี บคาํ แปลกับ ข.ุ จ.ู ๓๐/๖๕๔/๓๑๒; นิท.ฺ อ.๒/๓๒๘ สุตฺต.อ.๒/๕๓๐) เพราะทําใหทรงรูจักเทวดาดียิ่งกวาที่พวก เทวดารูจกั ตนเอง (เชน พระพรหมไมร ูอายุของตน จึงเขา ใจตน เองผิดวาไมเกดิ ไมตาย) อธเิ ทวญาณทัสสนะนี้ เปน สว นหนึ่ง
๘๘ เรอ่ื งเหนือสามญั วสิ ยั ของทิพยจักษุ (ดู ม.อ. ๓/๓๐๕) จงึ เปนคุณสมบตั ิจําเปนอยาง หนง่ึ สาํ หรบั ความเปนสัมมาสัมพทุ ธะ เชน เดียวกบั ตถาคตพล ญาณขออ่ืน ๆ แตไมจาํ เปนสําหรับการบรรลุอรหัตตผลหรอื นิพพาน (แตเดิมมาตั้งแตกอนพุทธกาล ความนับถือเทวดา เปนของสามัญและฝงรากลึก ดังน้ัน การจะแสดงความ ประเสริฐของมนุษยไดก็ตองใหเห็นวามนุษยสามารถจะทาํ ตน ใหเ หนือกวาเทวดาไดอยางไร).๓๐ ส.ส.๑๕/๕๘๖/๒๑๕๓๑ ม.ม.ู ๑๒/๔๓๗/๔๖๘๓๒ ส.ํ ส.๑๕/๘๖๔/๓๒๒๓๓ โลกมนุษยไมสะอาดมีกล่ินเปนที่รังเกียจแกเทวดา (ดู ที.ม. ๑๐/ ๓๐๖/๓๖๒; ขทุ ฺทก.อ.๑๒๙; สตุ ตฺ .อ.๒/๘๖)๓๔ ข.ุ ชา.๒๗/๕๐๕/๑๒๘; ชา.อ.๔/๒๒๗-๒๓๔๓๕ ธ.อ.๕/๑๐; ชา.อ.๑/๓๓๙๓๖ ดู เร่ืองพระโกณฑธาน, องฺ.อ.๑/๒๘๔; ธ.อ.๕/๔๗๓๗ เชน ขุททก.อ.๒๖๑; สตุ ฺต.อ.๑/๒๔๖; ธ.อ.๒/๑๒๘๓๘ เชน ปพภารวาสตี ิสสเถรวัตถุ, ธ.อ.๘/๑๒๓
อทิ ธิปาฏิหารยิ -เทวดา ๘๙๓๙ ไดกลาวขางตนแลววาจะพูดไปตามเรอ่ื งราวในคมั ภรี ไมแปล ความหมายทางนามธรรม๔๐ เขตอาํ นาจของมาร เรยี กวา มารไธย (มารเธยยฺ ); ดู ม.อ.๑/ ๔๕; สตุ ฺต.อ.๑/๕๔๔๑ ดู ชา.อ.๑/๑๑๓; พุทธ.อ.๕๒๑๔๒ ดู ม.มู.๑๒/๕๕๖/๕๙๗๔๓ องฺ.จตกุ ฺก.๒๑/๑๕/๒๒๔๔ ดู ข.ุ อติ .ิ ๒๕/๒๖๐/๒๘๘; ข.ุ เถร.๒๖/๓๗๙/๓๕๙; ข.ุ เถรี.๒๖/ ๔๗๑/๔๘๙๔๕ การชวยและการแกลงของพระอินทร ดู บนั ทกึ พเิ ศษทายบท๔๖ เทียบกบั สภาพปจ จบุ ัน นาสังเกตวา มนุษยใ นบดั นีด้ เู หมือน จะหนกั ในการออนวอนมาก ถาเพยี รพยายามกอนจึงออนวอน กพ็ อทาํ เนา แตท ม่ี มี าก กลับเปน วา ตนไมไดพากเพียรอะไร ก็ ไปบวงสรวงออนวอนเทวดา สวนเทวดาเลากร็ อการออ นวอน กอนจงึ มา และใครออนวอนก็มาชว ยคนน้ัน ไมต อ งคํานงึ วา เขาทําดหี รือไม ทจี่ ะทดลองทดสอบความดกี อนเปนอันไมตอ ง พดู ถึง ถาเปนอยา งน้ี ลองมาทายกนั วาเทวดาที่ลงมาจะเปน
๙๐ เรือ่ งเหนอื สามัญวิสยั เทวดาแบบไหน นา เกรงไหมวา เทวดาใฝล าภ และเทวดาสวม รอยจะมากันมาก หรอื ไมก็เทวดาใจออ น ที่มัวมาขลุกขลยุ กบั มนษุ ยจ นพาเสียไปดว ยกนั๔๗ ถา จะใหถกู แท ควรวา \"การเพยี รพยายามทําดี เปน คณุ ธรรม ของมนษุ ย การชว ยเหลือคนทําดีเปนคณุ ธรรมของสวรรค\" แต ใชคาํ วาหนา ที่ เพราะฟงงา ยและกําชบั การปฏบิ ัติมากกวา๔๘ มขี อ สงั เกตวา ชาวไทยพทุ ธสมยั เกา ที่เชือ่ ผีสางเทวดา เมอ่ื จะ ทําการใดที่อาจกระทบกระเทือนเทวดา เขาพูดวาใหบอก กลาวเทวดาหรือบอกกลาวพระภูมิเจาที่ ขอนี้อาจเปนหลัก ฐานอยางหนึ่งที่แสดงถึงการปรับตัวเขาสูแนวทางของพระ พุทธศาสนา เปลี่ยนจากการเซนสรวงสังเวยอยางพราหมณ แตการบวงสรวงบนบาน กลับมาเฟองฟูใหมในสมัยปจจุบัน ทั้งนี้นาจะเปนเพราะวาในเมื่อคนไมเขาใจทาทีแบบพุทธตอ เทวดา ก็จงึ มแี ตค น ๒ พวกเถียงกนั อยคู อื พวกวา เทวดามี กบั พวกวา เทวดาไมมี จะเถียงกันอยา งไรกต็ าม พวกทเี่ ชอ่ื วามีก็ ยังมีอยู และที่มากก็คือพวกท่ีระแวงไวกอนวามี พวกที่วามี และระแวงวามี ก็ไมร ูว ธิ ปี ฏิบัตอิ ยางอนื่ นอกจากการบวงสรวง
อทิ ธปิ าฏิหารยิ -เทวดา ๙๑ ออนวอน ดังน้ัน ท้ังท่ีมีการดุวาใหเลิกบวงสรวงออนวอน เทวดา แตการบวงสรวงออนวอนบนบานนั้น ก็กลับยิ่งแพร หลายงอกงามย่ิงข้ึน ขอสังเกตนี้จะเปนจริงหรือไมขอใหผูมี โอกาสชวยกนั คนควา มาบอกกันตอ ไป.๔๙ คําวาส่งิ ศกั ด์ิสิทธิ์ นา จะเปน คาํ ที่คลมุ เครือและกวา งเกินไป ใน บรรดาส่ิงของจําพวกน้ี สวนทพี่ อจะอา งพทุ ธานญุ าตไดคงจะ มีแตมงคลอยางเดยี ว ดงั น้ัน ในวงการพุทธนา จะจํากดั ไมใ ช คําวาสง่ิ ศักดิ์สิทธ์ิ ใชแตค ําวามงคล เพื่อขีดวงใหแ คบเขา และ งา ยแกก ารตะลอ มเขา สธู รรม (แตม งคลเอง เดยี๋ วน้ี กใ็ ชก นั พรา ).๕๐ องฺ.ปจฺ ก.๒๒/๑๗๕/๒๓๐๕๑ วินย.๗/๑๒๐-๔/๔๖-๕๐; ม.ม.๑๓/๔๘๖/๔๔๐; อรรถกถา (วนิ ย.อ.๓/๓๔๕; ม.อ.๓/๒๙๙; ธ.อ.๖/๓) ขยายความวา เจา ชายโพธิไมทรงมีโอรสหรือธิดา ไดทรงใหปลู าดผาคร้ังนั้นโดย ต้ังความปรารถนาวาถาจะทรงไดโอรสก็ขอใหพระพุทธองค ทรงเหยียบผานั้น พระพุทธเจาทรงทราบวาเจาชายจะไมมี โอรสธิดาจึงไมทรงเหยียบ และไดทรงบัญญัติสิกขาบทหาม ภิกษุทั้งหลายเหยียบผืนผา เพราะทรงประสงคจะอนเุ คราะห
๙๒ เรือ่ งเหนอื สามัญวิสัย ภิกษุสงฆในภายหลัง เพราะในพุทธกาลมีภิกษุที่รูจิตผูอ่ืนอยู มาก ภกิ ษุเหลา น้นั ยอ มเหยยี บหรือไมเ หยียบไดต รงตามความ คิดของชาวบานเจาของผาน้ัน แตนานไปภิกษุหลังพุทธกาล ทําไปโดยไมรูไมเขาใจ ชาวบานก็จะติเตียนเอาวาพระสมัยนี้ ไมเกงเหมือนอยางสมัยกอน จึงทรงบัญญัติสิกขาบทไวเปน การชว ยคุมครองภกิ ษุรนุ หลังท้ังหลาย และอธบิ ายตอไปวา ใน กรณีท่หี ญงิ แทง ไปแลว หรอื มีครรภแก เขาขอเพ่ือเปนมงคลจงึ เหยียบได ถาพิจารณาตามแนวของอรรถกถา อาจมองเห็น ความตอไปวา กรณีของเจาชายโพธเิ ปนการบนบานขอลกู จึง ทรงบัญญตั ไิ มใหเหยยี บ สวนกรณขี องหญิงแทงบุตร เปนการ ขอเพื่อเปนสริ ิมงคลเทา นัน้ จงึ ทรงอนญุ าตใหเ หยยี บ อยางไรก็ ดี ถาไมดอู รรถกถา พิจารณาอยา งพน้ื ๆ ตามเรือ่ งในบาลี จะ สันนิษฐานความไดใหมที่ดูจะสมเหตุผลอยูมากวา ท่ีไมทรง เหยยี บผาท่วี งั ของเจาชายโพธิ กเ็ พราะทรงรักษามรรยาท พระ องคเสด็จมาถงึ ยังไมไ ดล า งพระบาท จงึ ไมท รงเหยียบ เพราะ ไมประสงคจะใหผาเปอนสกปรก (มีอนุบัญญัติตอไปดวยวา ถาภกิ ษลุ างเทา แลว อนญุ าตใหเ หยียบได) สวนกรณีของหญงิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132