Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรมในกรอบอริยสัจ4

หลักธรรมในกรอบอริยสัจ4

Published by mooneungsiya, 2020-06-10 03:16:15

Description: หลักธรรมในกรอบอริยสัจ4

Search

Read the Text Version

สถาบันพฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.) พระพทุ ธศาสนา ม.๔-๖ หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑. พระรัตนตรยั พระรัตนตรยั หมายถึง แกว้ หรือสงิ่ มคี า่ อันประเสรฐิ ๓ ประการ อนั ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บุคคลท่ตี รัสรูแ้ ล้ว ผรู้ อู้ รยิ สัจ ๔ หลกั ธรรมคาสอนของ สาวกของพระพุทธเจา้ พระพุทธเจ้า

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อริยสจั ๔ อรยิ สจั คอื หลักความจรงิ อัน ประเสริฐ ๔ ทพ่ี ระพุทธเจา้ ทรงค้นพบ มี ๔ ประการ ดงั น้ี

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑) ทกุ ข์ (ธรรมท่คี วรรู้) ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ธรรมที่ เกี่ยวข้องกับ “ทุกข”์ ได้แก่

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (๑) ขันธ์ ๕ หมายถงึ สภาวธรรม ๕ อยา่ ง ซง่ึ เป็นหลกั ธรรมทแ่ี สดงถงึ องค์ประกอบของชีวติ มนษุ ยส์ ามารถสรุปไดต้ ามแผนภาพความคิด ดงั น้ี ขันธ์ ๕ รูปขันธ์ นามขันธ์ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ สงิ่ ทีป่ ระกอบ ความรู้สกึ ความจาได้ ส่งิ ปรงุ แต่ง การรับรู้ เป็นรา่ งกาย ท่ีเกิดขนึ้ ตอ่ สิง่ หมายรู้ จติ ใจ เชน่ ความรู้สึกผ่าน ของมนุษย์ ความโลภ ประสามสัมผสั ทาง ทร่ี บั รู้ ความโกรธ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา (๒) โลกธรรม ๘ โลกธรรม หมายถึง สง่ิ ทคี่ รอบงามนุษย์ แบ่งออกเป็น ๒ ฝา่ ย ดงั น้ี โลกธรรม ๘ ส่วนที่น่าปรารถนาและพงึ พอใจ สว่ นที่ไมน่ า่ ปรารถนาไมน่ า่ พงึ พอใจ (อิฏฐารมณ)์ (อนฏิ ฐารมณ)์ ลาภ เสอ่ื มลาภ ยศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สขุ ทุกข์

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา (๓) จติ เจตสกิ จติ คอื ธรรมชาตทิ ี่รู้อารมณ์ ธรรมชาตทิ ี่ทาหน้าที่ เหน็ ไดย้ นิ รูก้ ล่นิ รู้รส รู้สึก ตอ่ การสมั ผัสทางกายและรสู้ กึ นกึ คดิ ทางใจ ซึ่งคอื วญิ ญาณ ในหลกั ธรรมขันธ์ ๕ เจตสกิ หมายถงึ อาการหรือคุณสมบตั ติ า่ ง ๆ ท่ีประกอบกับจิต คือ ความรู้สกึ ต่าง ๆ เช่น ชอบ ไม่ชอบ เกลียด โกรธ ดใี จ เสียใจ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) สมทุ ยั คือ เหตุทที่ าให้เกดิ ทุกข์ ซ่ึงเกิดจากตณั หา ๓ ประการ คือ (๑) กามตัณหา ความอยากในกามคณุ (๒) ภวตัณหา ความอยากมี อยากเปน็ (๓) วภิ วตัณหา ความอยากไมม่ ี อยากไมเ่ ปน็ (ความไม่อยากมี ไม่อยากเป็น)

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๑. หลกั กรรม กรรม หมายถึง การกระทาของมนุษย์ การกระทาท่ีประกอบด้วยเจตนาหรือ จงใจ ทงั้ ทางกาย วาจา และใจ

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๒. วิตก ๓ วติ ก หมายถึง การคิดใคร่ครวญ ดารติ ริตรอง เป็นภาวะที่เกิดขึน้ กับจติ มี ๒ ดา้ น คอื กศุ ลวติ ก ๓ เนกขัมมวิตก คือ การคิดใครค่ รวญท่ีปลอดจากกาม ไม่ยึดติด อพยาบาทวติ ก คือ การคดิ ใครค่ รวญด้วยเมตตา ไมม่ ุ่งร้าย วิตก ๓ อวหิ งิ สาวิตก คอื การคิดใครค่ รวญท่ีปลอดจากการเบยี ดเบียน กามวิตก คอื การใคร่ครวญท่ยี ดึ ตดิ กับความล่มุ หลงทางเน้อื หนัง พยาบาทวิตก คือ การคิดใครค่ รวญดว้ ยความพยาบาทมุ่งรา้ ย วหิ งิ สาวิตก คอื การคิดใครค่ รวญในทางเบียดเบียนและทาร้าย อกุศลวิตก ๓

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๓. มิจฉาวณชิ ชา ๕ มิจฉาวณิชชา หมายถึง การค้าที่ผิดศีลธรรม มนุษย์ไม่ควรค้าขายส่ิงเหล่าน้ี มี ๕ ประเภท คือ มจิ ฉาวณชิ ชา ๕ ๑) สตั ถวณิชชา หมายถึง การค้าอาวุธ ได้แก่ ปืน เคมี ระเบิด ๒) สตั ตวณชิ ชา หมายถงึ การคา้ มนุษย์ การคา้ ประเวณี ๓) มงั สวณิชชา หมายถงึ การค้าสัตว์สาหรับฆา่ เป็นอาหาร ๔) มชั ชวณชิ ชา หมายถงึ การคา้ ของมึนเมาและสารเสพตดิ ๕) วสิ วณชิ ชา หมายถงึ การค้ายาพิษ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๔. นิวรณ์ ๕ นิวรณ์ คอื ส่ิงท่ีขวางก้นั จิตไมใ่ หก้ ้าวหน้าในคณุ ธรรม มี ๕ ประการ คอื ๑) กามฉนั ทะ คือ ความยินดี พอใจในกามคุณ ๒) พยาปาทะหรือพยาบาท คือ ความโกรธ ความพยาบาท ความไม่พอใจ คดิ ปองร้าย อาฆาตมาดร้าย ๓) ถีนมทิ ธะ คอื ความหดหู่เซือ่ งซมึ ๔) อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ คือ ความฟงุ้ ซ่านและราคาญใจ ๕) วจิ ิกิจฉา คอื ความลังเลสงสยั ไมแ่ น่ใจวา่ สิ่งใดผดิ สงิ่ ใดถูก

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๕. อุปาทาน ๔ อุปาทาน หมายถึง การที่จิตเข้าไปสาคัญมั่นหมาย ปักใจ คิดเน้นย้าซ้า ๆ วนเวยี น เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ความเครยี ดจนเปน็ ทุกข์ มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑) กามปุ าทาน คอื การยดึ ม่ันในกาม คือ รปู เสียง กลิ่น รส และสมั ผสั ๒) ทฏิ ฐปุ าทาน คอื ยึดตามความเชอื่ ความเห็นของตนโดยไมม่ องความเป็นจริง ๓) สีลัพพตุปาทาน คือ การยึดมั่นในศีล (ข้อบังคับ) และพรต (ข้อปฏิบัติ) ซ่ึงมัก แต่งเติมด้วยกเิ ลสตณั หา ทาให้เกดิ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งงมงาย คดิ ว่าขลงั ๔) อัตตวาทุปาทาน คือ การยึดมั่นในวาทะ (คาพูด) ว่าเป็นของตน คิดว่าเรามี ตวั ตนเท่ยี งแทเ้ ป็นเจา้ ของสิ่งตา่ ง ๆ และเปน็ เจา้ ของตนเอง

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๓) นโิ รธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ นิโรธ คอื ความดบั ทกุ ข์ ภาวะทีต่ ณั หาดับส้นิ ไป ความหลดุ พน้ หมายถึง ภาวะของพระนิพพาน หลกั ธรรมที่สามารถดับทุกขใ์ หถ้ ึงพระนิพพาน ได้แก่

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑. ภาวนา ๔ ภาวนา หมายถึง การเจรญิ การทาให้เป็นใหม้ ขี ึน้ การฝึกฝนอบรม หรอื การพฒั นา มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑) กายภาวนา หมายถงึ การพัฒนากาย การฝกึ อบรมกาย ใหร้ ู้จกั ตดิ ตอ่ เกีย่ วขอ้ งกบั ส่งิ ทัง้ หลายภายนอก ๒) สลี ภาวนา หมายถงึ การพัฒนาความประพฤตใิ ห้ตง้ั อยู่ในระเบียบวนิ ัย ไมเ่ บยี ดเบียน หรอื ก่อความเดอื ดรอ้ นเสยี หายแก่ผอู้ ่ืน ๓) จติ ตภาวนา หมายถงึ การฝกึ อบรมจติ ใจ ให้เขม้ แขง็ มั่นคง เจริญงอกงาม ด้วยคณุ ธรรมทงั้ หลาย ๔) ปญั ญาภาวนา หมายถงึ การพฒั นาปัญญา ให้รู้และเข้าใจในสง่ิ ทง้ั หลาย ตามทเี่ ป็นจรงิ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒. วมิ ตุ ติ ๕ วมิ ุตติ หรอื เรียกอกี อยา่ งว่า นโิ รธ ๕ คือ ความดบั กิเลส ความหลดุ พน้ ความเปน็ อิสระ ภาวะไรก้ ิเลส และไมม่ ที ุกขเ์ กดิ ขึ้น มี ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) ตทงั ควิมตุ ติ คอื ดับกิเลสดว้ ยธรรมท่เี ป็นคปู่ รับหรอื ธรรมทต่ี รงขา้ มกัน ๒) วิกขัมภนวิมตุ ติ คอื การดับกเิ ลส ดว้ ยการข่มกิเลสจากการเข้าฌานหรือการ ทาสมาธิ ๓) สมจุ เฉทวมิ ุตติ คือ การดบั กิเลสเสร็จสนิ้ เด็ดขาด ด้วยอานาจของอริยมรรค กิเลสไม่เกดิ ข้นึ อกี ตอ่ ไป ๔) ปฏปิ ัสสัทธวิ ิมุตติ คอื ความหลุดพน้ เปน็ อิสระ เพราะกเิ ลสเป็นอนั สงบแล้ว ๕) นิสสรณวิมุตติ คือ การดารงอยใู่ นภาวะที่กเิ ลสดับสิน้ แล้วตลอดไป

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓. นิพพาน นิพพาน หมายถึง สภาพท่ีดับกิเลสแล้ว ภาวะที่เป็นสุขสูงสุดของชีวิต เพราะไร้กิเลส ไรท้ กุ ข์ เป็นอิสรภาพสมบูรณ์ ผทู้ ่ีไปสจู่ ุดหมายสูงสุดของชีวิตได้ คือ พระอรหันต์ แปลว่า ผหู้ า่ งไกลกเิ ลส

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๔) มรรค (ธรรมทีค่ วรเจรญิ ) มรรค คือ ข้อปฏบิ ัติ หรือหนทางทีน่ าไปสูก่ ารดบั ทกุ ข์ หลักธรรมท่มี ี สว่ นเกี่ยวข้องและเป็นหลักธรรมทค่ี วรเจริญ ได้แก่

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา มรรค ๘ (๒) สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ (๔) สัมมากมั มันตะ กระทาชอบ (๑) สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ชอบ (๖) สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ (๓) สมั มาวาจา เจรจาชอบ (๘) สัมมาสมาธิ จติ ตงั้ มนั่ ชอบ (๕) สมั มาอาชีวะ เลี้ยงชพี ชอบ (๗) สัมมาสติ ความระลึกชอบ

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๑. พระสทั ธรรม ๓ พระสัทธรรม คือ ธรรมอนั ดี ธรรมทีแ่ ท้ ธรรมท่ีเป็นหลกั หรอื แกน่ ของ พระพุทธศาสนา มี ๓ ประการ ได้แก่ พระสทั ธรรม ๓ ๑) ปริยัตตสิ ทั ธรรม ๒) ปฏิปตั ติสทั ธรรม ๓) ปฏิเวธสทั ธรรม

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒. วุฒิธรรม ๔ วุฒธิ รรม คือ ธรรมเป็นเครือ่ งเจริญ คณุ ธรรมทกี่ ่อใหเ้ กิดความเจรญิ งอกงาม เปน็ ธรรมที่ผ้ปู ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิแลว้ มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ในชีวิต มี ๔ ประการ ๔) ธัมมานธุ มั มปฏปิ ัตติ ๑) สัปปุรสิ สังเสวะ คบหากับคนดที ่มี ี ๒) สทั ธมั มัสสวนะ การใสใ่ จ การปฏิบตั ิทส่ี อดคล้องพอดี ความรู้ ความสามารถ และประพฤติดี ในการศกึ ษาหาความรู้เกยี่ วกบั ตามขอบเขต ความหมาย และวัตถปุ ระสงคท์ ่ีสัมพนั ธ์ วฒุ ิธรรม ๔ หลักธรรม กับธรรมขอ้ อ่นื ๆ ๓) โยนโิ สมนสิการ หาเหตผุ ลโดยถกู วธิ ี

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๓. พละ ๕ พละ คอื ธรรมอนั เปน็ กาลงั หรอื พลังท่ที าใหเ้ กิดความม่นั คง มี ๕ ประการ ๕) ปญั ญา คือ ความรทู้ ว่ั ชดั ๑) สทั ธา คือ ความเชอ่ื ๒) วริ ยิ ะ คอื ความเพยี ร พละ ๕ ๔) สมาธิ คอื ความตงั้ มั่นแหง่ จิต ๓) สติ คอื ความระลกึ ได้

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๔. อบุ าสกธรรม ๕ อบุ าสกธรรม คือ ธรรมของอุบาสกทด่ี ี หมายถงึ คุณสมบตั ิของอุบาสกและ อบุ าสกิ าที่ดมี ี ๕ ประการ ๑) มศี รัทธา คือ เชอื่ ในหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา ๒) มีศีล คอื รักษาศลี อยา่ งเคร่งครัด ๓) ไม่ถอื มงคลตน่ื ขา่ ว เชือ่ กรรม ไม่เชอ่ื มงคล ๔) ไมแ่ สวงหาทักขไิ ณยภายนอกหลักคาสอน ๕) ขวนขวายในการอุปถมั ภ์บารงุ พระพุทธศาสนา

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๕. ปาปณกิ ธรรม ๓ ปาปณกิ ธรรม คือ คุณสมบตั ิของพ่อคา้ หรือแม่ค้า หมายถงึ การเปน็ พอ่ ค้า หรอื แมค่ ้าท่ีดี มี ๓ ประการ ได้แก่ ๑) จกั ขุมา คอื ตาดี หมายถึง ร้จู ักสินคา้ ดขู องเป็น สามารถคานวณราคา กะทนุ เกง็ กาไรไดแ้ ม่นยา ๒) วธิ ูโร คอื จดั เจนธรุ กจิ หมายถึง รูแ้ หลง่ ซื้อขาย รู้ความเคลื่อนไหว ความต้องการของตลาด มีความสามารถในการจัดซือ้ จดั จาหนา่ ย ร้ใู จและรจู้ ักเอาใจลูกคา้ ๓) นิสสยสมั ปนั โน คอื พร้อมดว้ ยแหลง่ ทุนเปน็ ทีอ่ าศยั หมายถงึ เป็นที่เชอื่ ถอื ไว้วางใจในหมู่แหลง่ ทุนใหญ่ ๆ หาเงนิ มาลงทุน หรอื ดาเนนิ กจิ การโดยงา่ ย

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๖. ทิฏฐธมั มิกตั ถสังวัตตนิกธรรม ๔ ทิฏฐธมั มิกัตถสังวตั ตนิกธรรม คอื ธรรมทีเ่ ป็นไปเพอ่ื ประโยชนใ์ นปัจจบุ นั หรอื หลกั ธรรมอนั อานวยประโยชนส์ ขุ ขัน้ ตน้ มี ๔ ประการ ๑) อฏุ ฐานสมั ปทา ถึงพรอ้ มด้วยความหมนั่ หมายถึง ขยันหมน่ั เพยี รในการปฏิบตั ิ หน้าทีก่ ารงาน การประกอบอาชพี สุจริต มคี วามชานาญ รูจ้ กั ใชป้ ญั ญาคดิ พจิ ารณาหาวิธีการใน การดาเนินการท้ังหลายใหไ้ ดผ้ ลดี เชน่ หมน่ั ขวนขวายหาความรู้อยเู่ สมอ ๒) อารกั ขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรกั ษา หมายถึง รู้จักคุ้มครองเกบ็ รกั ษาโภค- ทรัพย์ และผลงานของตนทไี่ ดท้ าไว้ดว้ ยความขยนั หมั่นเพียร ๓) กลั ยาณมติ ตตา คบคนดีเปน็ มิตร หมายถึง คบหาสมาคมกับคนดที ม่ี ีความรู้ ความสามารถ และประพฤตดิ ี ๔) สมชวี ติ า มีความเปน็ อยู่เหมาะสม หมายถึง รู้จกั เล้ยี งชีพตามสมควรแกอ่ ตั ภาพ

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๗. โภคอาทิยะ ๕ โภคอาทยิ ะ คือ ประโยชน์ที่ควรถอื เอาจากโภคทรัพย์ หรอื เหตุผลที่ควรยดึ ถอื ใน การทจ่ี ะมี หรือครอบครองโภคทรพั ย์ ไดแ้ ก่ ขา้ วของ เงินทอง เครอื่ งใช้ตา่ ง ๆ ทห่ี ามาดว้ ย ความขยนั สุจรติ ชอบธรรม ซึ่งควรนามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ดังน้ี ๑) เลีย้ งตวั มารดาบิดา บุตรภรรยา และคนในปกครองท้งั หลายใหเ้ ป็นสขุ ๒) บารงุ มิตรสหาย และผูร้ ว่ มกจิ การงานให้เป็นสขุ ๓) ใชป้ ้องกนั ภยนั ตราย หมายถงึ เกบ็ ไวใ้ ช้ยามจาเปน็ เชน่ เจ็บป่วย

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๔) ทาพลี ๕ คอื สละทรพั ย์เพื่อสงเคราะห์ ๕ อย่าง ได้แก่ - ญาตพิ ลี คือ สงเคราะห์ญาติ - อติถพิ ลี คือ ตอ้ นรบั แขก คนทไ่ี ปมาหาสูก่ นั - ปุพพเปตพลี คือ ทาบุญอทุ ิศให้ผลู้ ว่ งลบั - ราชพลี คือ บารุงราชการ เช่น การเสยี ภาษอี ากร - เทวตาพลี คือ ถวายเทวดา หมายถึง ทาบญุ อทุ ิศให้สิง่ ทเ่ี คารพบูชาตามลัทธิ ความเช่อื และประเพณีของสังคม ๕) อุปถัมภบ์ ารงุ สมณพราหมณผ์ ้ปู ระพฤตดิ ี ปฏบิ ตั ิชอบ คือ พระสงฆ์

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๘. อริยวฑั ฒิ ๕ อรยิ วฑั ฒิ (อะ-ริ-ยะ-วัด-ท)ิ คอื ความเจรญิ อย่างประเสริฐ เปน็ หลักความเจรญิ ของ อารยชน มี ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) ศรัทธา หมายถึง ความเชอื่ ความมัน่ ใจในส่ิงที่ควรเชอื่ สิ่งที่ควรม่ันใจ เชือ่ อยา่ ง มีเหตุผล เช่ือในหลักแห่งความจริงความดีงามอันมีเหตุผล ซึ่งเป็นส่ิงสาคัญท่ีทาให้เกิดความ เจรญิ

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) ศลี หมายถงึ การประพฤตดิ ที ง้ั ทางกาย วาจา และใจ ๓) สุตะ หมายถึง การศกึ ษาเล่าเรียน ต้องมคี วามตัง้ ใจฟังและหมัน่ ค้นคว้าหา ความรู้ ๔) จาคะ หมายถงึ การเผื่อแผเ่ สยี สละ เออ้ื เฟื้อ มนี ้าใจ ๕) ปญั ญา หมายถึง ความรอบรู้ รู้คดิ รพู้ ิจารณา เข้าใจเหตุผล รู้จกั โลก และ ชวี ติ ตามความเปน็ จรงิ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๙. วิปสั สนาญาณ ๙ วิปสั สนาญาณ (ว-ิ ปัด-สะ-นา-ยาน) คอื ญาณในวิปัสสนา หรือทีจ่ ัดเปน็ วปิ ัสสนา คอื เป็นความรทู้ ท่ี าใหเ้ กิดความเหน็ แจง้ เขา้ ใจสภาวะของสง่ิ ท้ังหลายตามเปน็ จริง มี ๙ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) อทุ ยัพพยานุปัสสนาญาณ (ญาณอนั ตามเห็นความเกดิ และความดบั ) คือ พจิ ารณาความเกิดขนึ้ และความดับไปแหง่ เบญจขันธ์ ๒) ภงั คานุปัสสนาญาณ (ญาณอันตามเหน็ ความสลาย) คือ เมอื่ เหน็ ความ เกิดดับเชน่ นั้นแลว้ คานึงเดน่ ชัดในสว่ นความดบั อนั เปน็ จดุ จบสน้ิ กเ็ หน็ วา่ สังขารทงั้ ปวงลว้ น จะต้องสลายไปทัง้ หมด

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓) ภยตูปฏั ฐานญาณ (ญาณอันมองเหน็ สงั ขารปรากฏเป็นของนา่ กลวั ) คอื มองเห็นวา่ สงั ขารทงั้ หลายลว้ นแตจ่ ะตอ้ งสลายไปไม่ปลอดภยั ทั้งสิ้น ๔) อาทีนวานปุ สั สนาญาณ (ญาณอนั คานึงเหน็ โทษ) คอื เม่ือพจิ ารณาเหน็ สงั ขาร ทัง้ ปวง ซง่ึ ลว้ นต้องแตกสลายไป เปน็ ของนา่ กลวั ไมป่ ลอดภัยทงั้ สน้ิ แลว้ ย่อมคานึงเห็นสงั ขาร ทัง้ ปวงน้ันวา่ เปน็ โทษ เปน็ สง่ิ ทม่ี ีความบกพรอ่ ง จะต้องระคนอยู่ดว้ ยทกุ ข์ ๕) นพิ พทิ านปุ ัสสนาญาณ (ญาณอนั คานึงเหน็ ด้วยความหนา่ ย) คอื เม่ือ พจิ ารณาเหน็ สังขารวา่ เปน็ โทษเช่นนน้ั แล้ว ย่อมเกดิ ความหนา่ ย ไมเ่ พลิดเพลนิ ตดิ ใจ ๖) มญุ จติ ุกมั ยตาญาณ (ญาณอันคานงึ ดว้ ยใครจ่ ะพ้นไปเสยี ) คือ เมอ่ื เบ่อื หน่าย สงั ขารท้ังหลายแลว้ ย่อมปรารถนาท่จี ะพ้นไปจากสงั ขารเหลา่ นน้ั

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๗) ปฏสิ ังขานปุ สั สนาญาณ (ญาณอันคานงึ พจิ ารณาหาทาง) คือ เม่อื ตอ้ งการจะ พ้นไปเสยี จึงหันกลับไปยกเอาสงั ขารทัง้ หลายขึน้ มาพิจารณากาหนดดว้ ยไตรลกั ษณเ์ พอ่ื มองหาอุบายทีจ่ ะปลดเปลอื้ งออกไป ๘) สงั ขารเุ ปกขาญาณ (ญาณอันเปน็ ไปโดยความเปน็ กลางตอ่ สังขาร) คอื เมอ่ื พิจารณาสังขารตอ่ ไป ย่อมเกดิ ความรเู้ หน็ สภาวะของสงั ขารตามความเป็นจริงว่า มีความเปน็ อยู่ และเป็นไปของมนั อยา่ งนน้ั เป็นธรรมดา ๙) สจั จานุโลมิกญาณ หรอื อนโุ ลมญาณ (ญาณอันเป็นไปโดยอนโุ ลมแกก่ าร หย่ังรู้อรยิ สจั ) คือ เมอื่ วางใจเปน็ กลางตอ่ สงั ขารทั้งหลาย ไม่พะวง และญาณมงุ่ ตรงไปสู่ นิพพานแลว้ ญาณท่จี ะนาไปสู่การตรสั รู้ อรยิ สจั ย่อมเกดิ ขนึ้ ในลาดบั ถัดไป เป็นขั้นสุดทา้ ย ของวิปสั สนาญาณ

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา มงคล ๓๘ มงคล คือ สิ่งที่ทาให้โชคดี ธรรมอนั นามาซ่งึ ความสุขความเจรญิ มี ๓๘ ประการ แต่ในหนว่ ยการเรียนร้นู ี้ กาหนดใหศ้ ึกษาเพยี ง ๑๑ เรอ่ื ง ได้แก่ ปตุ ฺตสงฺคโห : สงเคราะห์บุตร การสงเคราะห์บุตรหรือเลี้ยงดูบุตร เป็นบทบาทหน้าที่ของผู้ท่ีเป็นบิดามารดา เมื่อถึงวัยอันควรแก่การมีครอบครัว และเม่ือมีบุตรแล้วก็ต้องทาหน้าที่สงเคราะห์เลี้ยงดูบุตร ด้วยความรักอย่างถูกวิธี รวมท้ังสั่งสอน แนะนา ชี้แนวทางท่ีถูกที่ควร ประพฤติตนเป็น แบบอยา่ งทด่ี ีแก่บุตร เพื่อทจ่ี ะใหบ้ ุตรเจรญิ เติบโตเป็นคนดีตอ่ ไป

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ประเภทของบตุ ร มี ๓ ประเภท ได้แก่ อภิชาตบตุ ร บุตรท่ีมีความดี คณุ ธรรม และความสามารถ เหนอื กว่าบิดามารดา บุตร อนชุ าตบุตร บตุ รทมี่ ี ความดี คุณธรรม และความสามารถ อวชาตบตุ ร บตุ รท่มี คี วามดี เสมอเทียบเทา่ บิดามารดา คณุ ธรรม และความสามารถ ตา่ กวา่ บิดามารดา

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา บิดามารดาถอื วา่ เปน็ ผู้รับผดิ ชอบและมีบทบาทในการสงเคราะห์บุตร นอกจากความรัก ความห่วงใยทีม่ ใี ห้แก่บุตรแลว้ บดิ ามารดาตอ้ งให้การอนเุ คราะห์ ๑. หา้ มลกู ทาความช่วั ๒. ปลกู ฝงั สนับสนนุ ใหท้ าความดี ๓. ใหก้ ารศกึ ษาหาความรู้ ๔. ใหค้ าแนะนาในการหาคู่ครองที่ดีเมือ่ ถึงวัยอนั ควร ๕. มอบทรพั ยใ์ หใ้ นโอกาสอันควร

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทารสงคฺ โห : สงเคราะหภ์ รรยา สามีภรรยา คือ ชายหญงิ ท่ีตดั สนิ ใจใช้ชวี ิตคอู่ ย่รู ่วมกัน สามี คือ ผทู้ เ่ี ป็นคู่ครองของหญิงมลี ักษณะ ๗ ประการ ได้แก่ ๑. วธภสั ดา สามเี หมือนเพชฌฆาต ๒. โจรภสั ดา สามเี หมือนโจร ๓. อัยยภสั ดา สามีเหมือนนาย ๔. ปิตาภัสดา สามีเหมือนพ่อ ๕. ภาตาภสั ดา สามเี หมือนพ่ชี าย ๖. สขาภัสดา สามเี หมือนเพ่อื น ๗. ทาสาภสั ดา สามเี หมือนคนใช้

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ภรรยา คอื ผทู้ ีเ่ ป็นคคู่ รองของชาย มีลกั ษณะ ๗ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. วธกาภริยา ภรรยาเหมือนเพชฌฆาต ๒. โจรีภรยิ า ภรรยาเหมอื นโจร ๓. อยั ยาภริยา ภรรยาเหมือนนาย ๔. มาตาภรยิ า ภรรยาเหมือนแม่ ๕. ภคนิ ีภริยา ภรรยาเหมือนนอ้ งสาว ๖. สขภี ริยา ภรรยาเหมือนเพอื่ น ๗. ทาสีภริยา ภรรยาเหมือนคนใช้

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา หนา้ ท่ีของสามีท่ีดี ควรปฏบิ ัติต่อภรรยา ๕ ประการ คือ ๓. ไม่ประพฤตินอกใจภรรยา ๒. ไม่ดหู มิ่นดูแคลนภรรยา หนา้ ที่ของสามที ่ดี ี ๔. มอบความเป็นใหญใ่ หภ้ รรยา ๑. ยกยอ่ งนับถือวา่ เป็นภรรยา ๕. มอบของขวญั ใหภ้ รรยา

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ผเู้ ปน็ ภรรยาท่ีดี กย็ อ่ มจักตอ้ งสงเคราะห์สามี ดว้ ยการปฏิบตั หิ น้าที่ ๕ ประการ ดังน้ี คือ ๓. ไม่ประพฤตนิ อกใจสามี ๒. สงเคราะหญ์ าติสามีดี หน้าท่ีของภรรยาทดี่ ี ๔. รักษาทรัพย์ทสี่ ามหี ามาไวไ้ ด้ ๑. จัดการงานดี ๕. ขยนั ไมเ่ กยี จครา้ น ในกจิ การทง้ั ปวง

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา สนฺตุฏฺฐี : สนั โดษ สนั โดษ หมายถึง ความพอใจ ความยนิ ดตี ามมีตาม สนั โดษ มี ๓ ประเภท ได้แก่ ยถาลาภสันโดษ ยนิ ดตี ามทีไ่ ด้ สนั โดษ ยถาสารปู สนั โดษ ยนิ ดตี ามสมควร ยถาพลสนั โดษ ยนิ ดีตามกาลงั

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผฏุ ฺฐสสฺ โลกธมฺเมหิ จติ ตฺ ยสสฺ น กมฺปติ : โลกธรรมถกู ต้อง จิตไม่หว่นั ไหว โลกธรรม หมายถึง สง่ิ ที่ครอบงามนุษย์ แบ่งออกเปน็ ๒ ฝ่าย คอื ฝา่ ยแรก เปน็ สว่ นทนี่ า่ ปรารถนาและพึงพอใจ (อิฏฐารมณ)์ อีกฝา่ ยหนึ่งเป็นส่วนท่ไี ม่นา่ ปรารถนาและ ไมน่ า่ พึงพอใจ (อนิฏฐารมณ)์ ไดแ้ ก่ ลาภ เสอ่ื มลาภ ยศ เส่ือมยศ สรรเสริญ นนิ ทา สขุ และทุกข์

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา อโสก : จิตไม่เศรา้ โศก จิตไม่เศร้าโศก หมายถงึ สภาพจิตทไี่ ม่เหีย่ วแห้ง มคี วามเบกิ บาน ไม่เศรา้ สรอ้ ย ไม่ซมึ เซาจนไมอ่ ยากรบั รอู้ ารมณ์อ่ืนใด วิธที ่จี ะทาใหจ้ ติ ไมเ่ ศร้าโศก มีดังน้ี ๑. พิจารณาสิ่งทั้งหลายตามกฎไตรลักษณ์ ๒. หม่นั ทาสมาธิอยูเ่ สมอ ผู้ทมี่ ีจิตไม่เศร้าโศก จะทาใหไ้ ด้รับผลดี ดังน้ี ๑. มีความสงบสุข ๒. มบี ุคลกิ ภาพทีด่ ี หน้าตาแจม่ ใส ผวิ พรรณผดุ ผอ่ ง ๓. มคี วามเจรญิ ก้าวหน้า

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา วริ ช : จติ ไมม่ ัวหมอง จิตไมม่ ัวหมอง หมายถงึ สภาพจิตปราศจากสงิ่ ทที่ าให้เกิดความมวั หมอง คอื กิเลส ได้แก่ ๑) ราคะ ๒) โทสะ ๓) โมหะ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา วธิ กี ารทาใหจ้ ิตไมม่ วั หมอง สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ดงั น้ี ๑) ควบคุมตนเอง มคี วามอดทน อดกล้ัน ไม่ใหจ้ ติ ตกอยู่ใตอ้ านาจของราคะ โทสะ และโมหะ ๒) มสี ติไตร่ตรองสิง่ ตา่ ง ๆ หาเหตผุ ลและหนทางในการแกป้ ัญหา ๓) ไม่ประมาทในการทาความดี ตั้งจติ ทาสมาธิเสมอ ๆ ๔) คบหากลั ยาณมติ รเพื่อปรกึ ษาขอคาแนะนา

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เขม : จิตเกษม จิตเกษม หมายถงึ สภาพจติ ท่หี มดกเิ ลสแลว้ เป็นอสิ ระเสรี ไม่อดึ อัดบีบคั้นจากภยั ใด ๆ ไดอ้ กี จงึ เป็นความสขุ อย่างแทจ้ รงิ พน้ จากการเวียนวา่ ยตายเกิด ผทู้ ีจ่ ะมีจติ เกษมได้ คือ ผทู้ ี่มีใจจรดนิง่ อย่ใู นนพิ พานตลอดเวลา ซึ่งได้แก่ พระอรหนั ตน์ ัน่ เอง

หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ตโป : ความเพียรเผากิเลส คาว่า ตโป หมายถงึ ตปะหรอื ตบะ แปลว่า เผาหรือทาให้รอ้ น ความเพียรเผากเิ ลส คอื การบาเพญ็ ตบะ หมายถึง การเพียรเผากเิ ลสทม่ี อี ย่ใู นตนให้ ลดนอ้ ยเบาบาง หรอื หมดสน้ิ ไป หรอื การทาความเพยี รพยายามเพือ่ เผาผลาญ เพอื่ ทาลาย เพือ่ กาจัดกิเลสเครอ่ื งเศรา้ หมองใจใหห้ มดสิน้ ไป ไมใ่ ห้เกดิ ข้นึ อกี ไมใ่ หม้ อี ยใู่ นร่างกายและจิตใจ

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา พรฺ หมจฺ ริย : ประพฤตพิ รหมจรรย์ พรหมจรรย์ หมายถงึ การครองชีวิตท่ปี ราศจากเมถุน ไมม่ คี คู่ รอง ไม่มี เพศสมั พันธ์ การประพฤติธรรมอนั ประเสริฐ ลักษณะธรรมที่ถอื ว่าเปน็ การประพฤติพรหมจรรย์ มี ๑๐ ประการได้แก่ ๑) ทาน คอื การให้ ๒) เวยยาวจั จะ คือ การชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ ในกจิ การงานท่ีชอบ ๓) เบญจศลี คือ การรกั ษาศลี ๕ ๔) อปั ปมัญญา คือ มเี มตตา กรุณา มุทิตา อุบกขา ๕) เมถนุ วิรัติ คอื งดเวน้ จากการเสพกาม

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๖) สทารสนั โดษ คือ พอใจในคู่ครองของตน ไม่นอกใจคู่ครองของตน ๗) วริ ยิ ะ คอื ความเพยี รพยายาม ๘) อุโบสถ คอื การรักษาศลี ๘ ๙) อรยิ มรรค คอื บาเพ็ญมรรคมีองค์ ๘ ๑๐) ศาสนาหรือสกิ ขา คอื ศึกษาปฏิบัตธิ รรมในศาสนา

หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา อรยิ สจจฺ าน ทสสฺ น : เห็นอรยิ สจั อรยิ สัจ หมายถึง ความจริงอันประเสริฐ ซง่ึ เปน็ ความจรงิ ที่พระพุทธเจา้ ทรงค้นพบ ในขณะทจี่ ิตเปน็ สมาธิ จิตมคี วามบรสิ ุทธ์ิ ทาใหเ้ กดิ ปัญญารูแ้ จ้งเห็นจรงิ ของสงิ่ ทง้ั หลาย แล้วนามาเผยแผ่แกค่ นทวั่ ไป มี ๔ ประการ ดงั นี้ ๑) ทุกข์ ๒) สมุทัย ๓) นโิ รธ ๔) มรรค

หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา นพิ พฺ านสจฺฉิกริ ยิ า : บรรลุนพิ พาน บรรลนุ พิ พาน หมายถึง สภาวะท่ีปราศจากโลภ โกรธ หลง จิตใจสงบ ไม่ยดึ ม่ัน ถือมน่ั กับส่ิงใดอกี ต่อไป เป็นความสุขขัน้ สูงสดุ ในพระพทุ ธศาสนา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook