Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Published by mooneungsiya, 2020-06-22 22:22:20

Description: ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

Search

Read the Text Version

ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา

หลกั การของพระพทุ ธศาสนา ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค

พระพุทธศาสนามขี ้อปฏบิ ัตทิ ่เี ป็ นทางสายกลาง คตพเกวลเ้งั รยจดารยี้จะามระงาติ ลยจรทเชหมกาึ ิชีพามช่ัน็ ชอชอชบออบอบบบ

การพฒั นาศรัทธาและปัญญาทางพระพทุ ธศาสนา • นกั เรียนมีวิธีการอยา่ งไรในการพฒั นาศรัทธาและปัญญา ใหเ้ กิดข้ึน?

ศรัทธาทีจ่ ะนาไปสู่การพฒั นา • เชื่อมน่ั ในความดีงามของมนุษย์ • เชื่อมน่ั ในกฎของการกระทาและผลของการกระทา • เชื่อมน่ั วา่ มนุษยจ์ ะตอ้ งรับผดิ ชอบต่อการกระทาและผล ของการกระทาน้นั

การพฒั นาปัญญา • อปายโกศล (ปัญญารู้จกั ความเสื่อม) • อายโกศล (ปัญญารู้จกั ความเจริญ) • อุปายโกศล (ปัญญารู้จกั วธิ ีละเหตุแห่งความเส่ือมและ สร้างเหตุแห่งความเจริญ)

นักเรียนเข้าใจความหมายของหลกั ประชาธิปไตยว่าอย่างไร? • ประชาธิปไตย คือระบอบการปกครองท่ีถือวา่ บุคคลทุก กลุ่ม ทุกเพศ ทุกฐานะ ทุกอาชีพ มีเสรีภาพ มีสิทธิ หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ต่อบา้ นเมืองอยา่ ง เท่าเทียมกนั • ตน้ กาเนิดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย เกิดข้ึน ท่ีนครรัฐเอเธนส์ ประเทศกรีซ

เปรียบเทียบพระพทุ ธศาสนากบั ประชาธิปไตย • อาจารยส์ ุชีพ ปุญญานุภาพ (13 เม.ย.2460 - 4 พ.ค.2543) ไดเ้ คยกล่าวไวว้ า่ “พระพทุ ธศาสนาเป็นตวั อยา่ งลทั ธิ ประชาธิปไตยท่ีเก่าแก่ที่สุดของโลก มีหลกั การและวธิ ีการอนั ทนั สมยั มาจนทุกวนั น้ี”

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 1. พระพทุ ธศาสนามีพระธรรมวนิ ยั เป็นธรรมนูญ

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 2. พระพทุ ธศาสนามีการกาหนดรูปแบบของศาสนาไวอ้ ยา่ งเรียบรอ้ ย

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 3. พระพทุ ธศาสนามีความเสมอภาคภายใตพ้ ระธรรมวินยั บุคคลทุกวรรณะ สามารถบวชใน พระพทุ ธศาสนาได้

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา 4. พระภิกษุในพระพทุ ธศาสนามีสิทธิ เสรีภาพภายใตพ้ ระธรรมวนิ ยั

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 5. มีการแบ่งอานาจในการบริหารปกครองหมู่คณะ

ลกั ษณะของประชาธิปไตยในพระพทุ ธศาสนา 6. มีการใชห้ ลกั เสียงขา้ งมากเป็นเกณฑใ์ นการตดั สินที่เรียกวา่ วธิ ี “เยภุยยสิกา”

การทาสังฆกรรมกบั หลกั ประชาธิปไตย การทาสงั ฆกรรมประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 5 ประการ 1. จานวนสงฆใ์ นการเขา้ ที่ประชุม มีการกาหนดไวด้ งั น้ี สงฆ์จตุรวรรค ภิกษุ 4 รูป ทาสงั ฆกรรมไดเ้ กือบ ทุกชนิด ยกเวน้ การอุปสมบท การสวดอพั ภาน สงฆ์ปัญจวรรค ภิกษุ 5 รูป ทาสงั ฆกรรมท่ีสงฆ์ จตุรวรรคทาไดท้ ้งั หมด เพิ่มการปาวารณา และการ อุปสมบทในชนบทชายแดน

การทาสังฆกรรมกบั หลกั ประชาธิปไตย สงฆ์ทสวรรค ภิกษุ 10 รูป สามารถทาสงั ฆกรรมท่ี สงฆป์ ัญจวรรคทาไดท้ ้งั หมด เพิ่มการอุปสมบทใน มชั ฌิมบท สงฆ์วสี ตวิ รรค ภิกษุ 20 รูปสามารถทาสงั ฆกรรมได้ ท้งั หมดรวมท้งั สวดอพั ภาน เพิกถอนอาบตั ิหนกั ได้ ดว้ ย

การทาสังฆกรรมกบั หลกั ประชาธิปไตย อติเรกวีสติวรรค ภิกษุกวา่ 20 รูป สามารถทา สงั ฆกรรมไดท้ ุกชนิด โดยทว่ั ไปประเพณีไทยจะ นิมนตพ์ ระสงฆใ์ หเ้ กินจานวนอยา่ งต่าของการทา สงั ฆกรรมน้นั ๆ เสมอ 2. สถานท่ีประชุมของสงฆเ์ พ่ือทาสงั ฆกรรม เรียกวา่ “สีมา” มีสองประเภท คือ พทั ธสีมา และอพทั ธสีมา

การทาสังฆกรรมกบั หลกั ประชาธิปไตย 3. การประกาศเรื่องในที่ประชุม และการประกาศขอความ เห็นชอบจากสงฆ์ 4. สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของสงฆใ์ นที่ประชุม 5. การลงมติที่ประชุม

สาธุ…


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook