Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore stem

stem

Published by paveenkorn, 2017-05-04 02:57:19

Description: stem

Search

Read the Text Version

STEM Education กบั การพฒั นาทกั ษะในศตวรรษที่ 21STEM Education and 21st Century Skills Development พรทพิ ย์ ศิรภิ ัทราชัย [email protected] มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบทคดั ยอ่ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลการวิจัยเก่ียวกับสมอง และการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับทักษะท่ีจ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้กระบวนทัศน์ทางการศึกษาเปล่ียนแปลงไป การจัดการศึกษาทุกระดับเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทกั ษะการคิดข้ันสูง เช่น การคดิ สรา้ งสรรค์ การคิดแกป้ ญั หา การคดิ แบบวิจารณญาณ ฯลฯ รวมทั้งการพฒั นาทักษะการสอื่ สาร การใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เครอ่ื งมอื แสวงหาความรู้ และการมที กั ษะทางสงั คม แนวโนม้ การจดั การศกึ ษาจงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งบรู ณาการทั้งด้านศาสตรต์ า่ งๆ และบูรณาการการเรยี นในหอ้ งเรยี นและชีวติ จริง ทำ� ใหก้ ารเรียนน้ันมีความหมายต่อผเู้ รยี น ซงึ่ ผ้เู รียนจะเหน็ ประโยชน์ คณุ คา่ ของการเรียน และสามารถน�ำไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจ�ำวนั ได้ ซึง่ เปน็ การเตรยี มผู้เรียนในการเรยี นตอ่ ไปในชนั้ สงู ขนึ้ เกดิ การเพม่ิ โอกาสการทำ� งานในอนาคต การเพมิ่ มลู คา่ และการสรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั ประเทศดา้ นเศรษฐกจิได้Abstract The development of science, technology, and research on brain, and the proposition concerning theskills necessary for the 21st century influenced in educational paradigm change. Educationat all levelsemphasized on their’ higher order thinking skills, such as creative thinking, problem solving, and criticalthinking, etc., as well as developing students’ communication skills using technology as a tool for inquiryand acquisition of social skills. Integration of all subjects and learning, both in classroom and real life, isthe primary trend in education to make learning meaningful to students. As a result, students would realizethe value of their studies and could apply their knowledge to their everyday life and their continuing study,which would enlarge more job opportunity in the future, add more value, and build more national economy.บทน�ำ โลกของการศกึ ษาไดม้ กี ารเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งมากในศตวรรษที่ 21 เครอ่ื งมอื เพอื่ แสวงหาความรมู้ คี วามสำ� คญั มากกวา่เนื้อหาความรู้ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารท�ำให้ผู้เรียนสามารถค้นหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแหล่งต่างๆมากมายและตลอดเวลาทต่ี อ้ งการ ทำ� ใหห้ อ้ งเรยี นมคี วามแปลกตาไปจากทเี่ ปน็ อยู่ ภาพของการทนี่ กั เรยี นหรอื นสิ ติ นกั ศกึ ษาจะมีคอมพวิ เตอร์พกพา (Notebook) แท็บเล็ต (Tablet) ไอแพด (iPad) หรือสมารท์ โฟน (Smart Phone) เปน็ อุปกรณก์ ารเรียนจึงเป็นเร่ืองปกติ ดังนั้นหน้าท่ีของครู อาจารย์ในการสอนจึงเปลี่ยนแปลงไปจากการยืนหน้าช้ัน มาเป็นการกระตุ้นและอ�ำนวยความสะดวกในการเรยี น ทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาศกั ยภาพของตนเองใหม้ ากทส่ี ดุ ดว้ ยกระบวนทศั นท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงไปจงึ ทำ� ใหเ้ กดิ แนวความคดิ ตอ่ การจดั การศกึ ษานนั้ เปลย่ี นแปลงไปดว้ ย บทความนเ้ี ขยี นขน้ึ โดยมงุ่ น�ำเสนอสาระสำ� คญั 4 ประเดน็คือ ความหมายของ STEM Education ความจำ� เป็นและผลการใช้ STEM Education ในต่างประเทศ องคป์ ระกอบของความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 และแนวทางการพฒั นาทักษะในศตวรรษที่ 21 ของไทยดว้ ย STEM Education 49ปีท่ี 33 ฉบับท่ี 2 เมษายน-มิถุนายน 25567.������� .indd 49 6/24/13 4:55 PM

ความหมาย แนวคดิ และลกั ษณะของ STEM Education ทำ� งานทางเทคโนโลยี ทเ่ี รยี กว่า Engineering Design หรอื STEM Education คือการสอนแบบบูรณาการข้าม Design Process ซ่ึงคล้ายกับกระบวนการสืบเสาะ ดังนั้นกลุ่มสาระวิชา (Interdisciplinary Integration) ระหว่าง เทคโนโลยจี งึ มไิ ดห้ มายถงึ คอมพวิ เตอรห์ รอื ICT ตามทคี่ นสว่ นศาสตรส์ าขาตา่ งๆ ไดแ้ ก่ วทิ ยาศาสตร์ (Science: S) เทคโนโลยี ใหญ่เขา้ ใจ (Technology: T) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer: E) และ • วิศวกรรมศาสตร์ (E) เป็นวิชาท่ีว่าด้วยการคิดคณติ ศาสตร์ (Mathematics: M) โดยนำ� จดุ เดน่ ของธรรมชาติ สรา้ งสรรค์ พฒั นานวตั กรรมตา่ งๆ ใหก้ บั นสิ ติ นกั ศกึ ษาโดยใช้ตลอดจนวธิ กี ารสอนของแตล่ ะสาขาวชิ ามาผสมผสานกนั อยา่ ง ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร ์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซึ่งคนลงตัว เพื่อให้ผู้เรียนนําความรู้ทุกแขนงมาใช้ในการแก้ปัญหา ส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าเป็นวิชาท่ีสามารถเรียนได้ แต่จากการการคน้ ควา้ และการพฒั นาสงิ่ ตา่ งๆ ในสถานการณโ์ ลกปจั จบุ นั ศึกษาวจิ ัยพบวา่ แม้แตเ่ ดก็ อนุบาลกส็ ามารถเรียนได้ดเี ช่นกันซ่ึงอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนหลายสาขาร่วมมือกัน • คณติ ศาสตร์ (M) เปน็ วชิ าทมี่ ไิ ดห้ มายถงึ การนบัเพราะในการทาํ งานจรงิ หรอื ในชวี ติ ประจ�ำวนั นน้ั ตอ้ งใชค้ วาม จ�ำนวนเท่านนั้ แตเ่ กีย่ วกบั องค์ประกอบอ่นื ทสี่ ำ� คญั ประการรหู้ ลายดา้ นในการทํางานทง้ั สนิ้ ไมไ่ ดแ้ ยกใชค้ วามรเู้ ปน็ สว่ นๆ แรกคือกระบวนการคิดคณิตศาสตร์ (Mathematicalนอกจากน้ี STEM Education ยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนา Thinking) ซงึ่ ไดแ้ กก่ ารเปรยี บเทยี บ การจำ� แนก/จดั กลมุ่ การทักษะสําคัญในโลกโลกาภิวัตน์หรือทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับ จัดแบบรปู และการบอกรปู รา่ งและคณุ สมบตั ิ ประการท่สี องศตวรรษที่ 21 อีกดว้ ย (Dejarnette, 2012; Wayne. 2012; ภาษาคณิตศาสตร์ เด็กจะสามารถถ่ายทอดความคิดหรือ Breiner, Harkness, Johnson, & Koehler, 2012). ความเข้าใจความคิดรวบยอด (Concept) ทางคณติ ศาสตร์ได้ ท้ังน้ี STEM Education เป็นการจัดการศึกษาท่ีมี โดยใชภ้ าษาคณติ ศาสตรใ์ นการสอื่ สาร เชน่ มากกวา่ นอ้ ยกวา่แนวคิด และลักษณะดังนี้ (Dejarnette, 2012; Wayne. เล็กกวา่ ใหญ่กว่า ฯลฯ ประการตอ่ มาคือการส่งเสริมการคิด2012; Breiner, et al., 2012; ธวัช ชิตตระการ, 2555; คณิตศาสตร์ข้ันสูง (Higher-Level Math Thinking) จากรักษพล ธนานุวงศ์, 2556; อภสิ ิทธิ์ ธงไชย และคณะ, 2555) กจิ กรรมการเลน่ ของเดก็ หรอื การท�ำกจิ กรรมในชวี ติ ประจำ� วนั 1. เ ป ็ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร ข ้ า ม ก ลุ ่ ม ส า ร ะ วิ ช า 2. เปน็ การบรู ณาการทส่ี ามารถจดั สอนไดใ้ นทกุ ระดบั(Interdisciplinary Integration) น่ันคือเป็นการบูรณาการ ช้ัน ตั้งแต่ช้ันอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนปลายโดยพบว่าในระหว่างศาสตร์สาขาต่างๆ ไดแ้ ก่ วิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ าไดก้ ำ� หนดเปน็ นโยบายทางการศกึ ษาให้(T) วิศวกรรมศาสตร์ (E) และ คณิตศาสตร์ (M) ท้งั นีไ้ ดน้ �ำจุด แต่ละรัฐนำ� STEM Education มาใช้ ผลจากการศึกษาพบว่าเดน่ ของธรรมชาตติ ลอดจนวธิ กี ารสอนของแตล่ ะสาขาวชิ ามา ครูผู้สอนใช้วิธีการสอนแบบ Project-based Learning,ผสมผสานกันอยา่ งลงตัว กล่าวคอื Problem-based Learning, Design-based Learning ทำ� ให้ • วิทยาศาสตร์ (S) เน้นเกี่ยวกับความเข้าใจใน นักเรียนสามารถสร้างสรรค์ พัฒนาชิ้นงานได้ดี และถ้าครูผู้ธรรมชาต ิ โดยนักการศึกษามกั ชแี้ นะใหอ้ าจารย์ ครผู สู้ อนใช้ สอนสามารถใช้ STEM Education ในการสอนไดเ้ ร็วเทา่ ใดก็วิธีการสอนวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการสืบเสาะ (Inquiry- จะยง่ิ เพมิ่ ความสามารถและศกั ยภาพผเู้ รยี นไดม้ ากขน้ึ เทา่ นนั้based Science Teaching) กจิ กรรมการสอนแบบแกป้ ญั หา ซึ่งในขณะนี้ในบางรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกามีการน�ำ (Scientific Problem-based Activities) ซ่ึงเปน็ กิจกรรมที่ STEM Education ไปสอนตั้งแต่ระดับวัยก่อนเรียนเหมาะกับผู้เรียนระดับประถมศึกษา แต่ไม่เหมาะกับผู้เรียน (Preschool) ด้วยระดับมัธยมศึกษา หรอื มหาวิทยาลัย เพราะท�ำให้ผเู้ รียนเบอ่ื นอกจาก STEM Education จะเป็นการบูรณาการหน่ายและไม่สนใจ แต่การสอนวิทยาศาสตร์ใน STEM ศาสตรท์ งั้ 4 สาขาดงั ทก่ี ลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ยงั เปน็ การบรู ณาการEducation จะท�ำให้นักเรยี นสนใจ มคี วามกระตือรือร้น รู้สกึ ดา้ นบรบิ ท (Context Integration) ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจำ�ทา้ ทายและเกดิ ความมนั่ ใจในการเรยี น สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นสนใจที่ วันอีกด้วย ซึ่งจะท�ำให้การสอนน้ันมีความหมายต่อผู้เรียนจะเรียนในสาขาวิทยาศาสตร์ในระดับช้ันท่ีสูงขึ้นและประสบ ท�ำให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการเรียนนั้นๆ และสามารถน�ำไปความสำ� เร็จในการเรียน ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�ำวันได้ ซ่ึงจะเพิ่มโอกาสการท�ำงาน • เทคโนโลยี (T) เปน็ วิชาทเ่ี กย่ี วกบั กระบวนการ การเพม่ิ มลู คา่ และสามารถสรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั ประเทศแก้ปัญหา ปรับปรุง พัฒนาสิ่งต่างๆ หรือกระบวนการต่างๆ ด้านเศรษฐกิจได้เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของคนเรา โดยผา่ นกระบวนการ50 วารสารนกั บริหาร Executive Journal7.������� .indd 50 6/24/13 4:55 PM

3. เปน็ การสอนทท่ี �ำใหผ้ เู้ รยี นเกดิ พฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ปัญหา (Bellanca & Brandt, 2010; Dejarnette, 2012) อย่างครบถ้วน และสอดคล้องกับแนวการพัฒนาคนให้มี นอกจากนั้น นักเรียน นักศึกษาท่ีสนใจเรียนทางด้านคณุ ภาพในศตวรรษท่ี 21 เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ลดจ�ำนวนลง ประชากรวัยท�ำงาน • ด้านปญั ญา ผู้เรียนเข้าใจในเนอ้ื หาวชิ า ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมเองกม็ จี าํ นวน • ด้านทักษะการคิด ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิด นอ้ ยลงเชน่ กนั ในการน้ี ผลการศกึ ษาระบวุ า่ ประชากรระดบัโดยเฉพาะการคิดขั้นสูง เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิด คณุ ภาพทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกดา้ นวทิ ยาศาสตร์สร้างสรรค์ ฯลฯ และกำ� ลงั ทำ� งานนน้ั สว่ นใหญเ่ ปน็ คนตา่ งชาตมิ ากกวา่ เปน็ ชาว • ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ผเู้ รยี นมที กั ษะการทำ� งานกลมุ่ อเมริกันเอง นั่นหมายถึงการขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์ ส่งทกั ษะการส่ือสารท่ีมปี ระสิทธิภาพ การเป็นผนู้ �ำตลอดจนการ ผลให้เกิดปัญหาด้านเศรษฐกิจตามมา ดังน้ัน นโยบายการน้อมรับคำ� วพิ ากษว์ จิ ารณ์ของผู้อนื่ ศึกษาแบบ STEM Education จึงเป็นแนวทางที่จะช่วยแก้ จากแนวคิดข้างต้นนักการศึกษาก็ยังได้มีบูรณาการ ปัญหาดังกล่าวได้ โดยคาดหวังว่า จะช่วยยกระดับผลการศาสตรอ์ น่ื ประกอบเพอ่ื ใหก้ ารจดั การศกึ ษา STEM Education ทดสอบตา่ งๆ เชน่ PISA ใหส้ งู ขน้ึ สง่ ผลใหป้ ระชากรมคี ณุ ภาพน้ันครอบคลุมและพัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริงแบบรอบด้าน และส่งผลให้สามารถแก้ปัญหาของชาติในด้านอื่นๆ ได้เช่น การจัดการศกึ ษา STEAM Education ทมี่ ีการบรู ณาการ (Rachel, 2008) ศลิ ปะ (A) ทำ� ใหท้ ำ� ใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสถา่ ยทอดหรอื ประยกุ ตใ์ ช้ ซ่ึงในการน�ำนโยบายลงสู่การปฏิบัตินั้นพบว่ารัฐบาลแนวคิดส�ำคัญ (Concept) ด้วยความคิดสร้างสรรค์และมี ไดท้ ุม่ เทงบประมาณดา้ น STEM Education เปน็ จำ� นวนมากจนิ ตนาการยง่ิ ขนึ้ ผเู้ รยี นยงั สามารถสอ่ื สารความคดิ ของตนเอง มโี รงเรยี นตา่ งๆ ในเกือบ 40 รฐั ทใี่ ช้ STEM Education มาในรปู แบบของดนตรแี ละการเคลอื่ นไหว การสอ่ื สารดว้ ยภาษา เป็นระยะเวลาหนง่ึ แล้ว (National Research Council ofทา่ ทางหรอื การวาดภาพ หรอื การสรา้ งโมเดลจ�ำลอง ทำ� ใหช้ น้ิ the National Academes, 2011) นอกจากนี้ยังมีการงานนนั้ ๆ มอี งคป์ ระกอบดา้ นความสนุ ทรยี ์ และความสวยงาม ประกาศใช้แผนการศกึ ษา Education to Innovate เพ่อื เร่งเพิ่มข้ึน เกิดเป็นช้ินงานท่ีมีความสมบูรณ์ท้ังการใช้งานและ กระตุ้นให้ STEM Education เป็นรูปธรรมและประสบผลความสวยงาม (ยศวีร์ สายฟ้า, 2555) การจัดการศึกษา สำ� เร็จ มีการใช้กลยทุ ธต์ ่างๆ เชน่ การประกาศแผนการสร้างSTE2AM Education ทเี่ นน้ เพิ่มเติมให้ผเู้ รยี นตระหนกั เกย่ี ว กลุ่มครูต้นแบบในการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์คุณธรรม จริยธรรม (Ethics: E2) ที่เป็นองค์ประกอบส่วน เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ โดยเรียกวา่ STEM Masterสำ� คัญประการหนึง่ ท่ีจะท�ำให้เป็นคนดี Teaching Corps ซ่ึงนักการศึกษาเหล่านี้จะเป็นผู้น�ำในการความจ�ำเป็นและผลการใช้ STEM Education ใน ศึกษาด้าน STEM Education จะเป็นผู้ท่ีริเริ่มจุดประกายต่างประเทศ ความคิดให้นักเรียน และช่วยให้กลุ่มสังคมของพวกเขาเจริญ อาจกลา่ วไดว้ า่ STEM Education มจี ดุ เรม่ิ ตน้ มาจาก เตบิ โตมากข้ึน (กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, สถานประเทศสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ พบวา่ ขดี ความสามารถของประเทศ เอกอคั รราชทูตไทย ประจ�ำกรงุ วอชิงตัน ดี.ซี., 2555)ไม่ได้เป็นอนั ดบั หน่งึ ในหลายๆ ด้านดงั ท่ีเคยเป็นมา ในขณะที่ นอกจากประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ในประเทศอื่นๆหลายๆ ประเทศทว่ั โลกมีความก้าวหนา้ ไปมาก โดยพบว่า ผล ตา่ งกต็ น่ื ตวั และใหค้ วามสนใจ STEM Education เชน่ กนั เชน่การทดสอบ โครงการประเมนิ ผลนกั เรยี นนานาชาติ (Program ในประเทศจนี อนิ เดยี ฯลฯ โดยในปี 2558 ประเทศจนี จะผลติfor International Student Assessment หรือ PISA) และ บัณฑิตท่ีส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีเกี่ยวกับทดสอบด้านคณิตวิทยาศาสตร์ระดับสากล (Trends in วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หรอื STEM Degree ประมาณInternational Mathematics and Science Study หรอื 3.5 ล้านคน ซึ่งไม่รวมในระดับปริญญาโท และปริญญาเอกTIMSS) ของสหรัฐอเมริกาน้ันต�่ำกว่าหลายประเทศ คะแนน โดยจ�ำนวนบัณฑิตท่ีจีนจะผลิตนั้นมีจ�ำนวนเกินคร่ึงของที่ทุกวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ลดลง ซ่ึงแสดงให้เห็นถึง ประเทศรวมกันผลิต ซึง่ แสดงถึงความสำ� คัญของสถานการณ์ความถดถอยของการจดั การศกึ ษาในปี ค.ศ. 2006 เมอ่ื เทียบ STEM Education ในอนาคต สว่ นในประเทศไทย ขณะนภ้ี าคกับปี ค.ศ. 2003 รวมทั้งรายงานของ Phi Delta Kappan ที่ ส่วนท่ีเก่ียวข้อง เช่น สถาบันการสอนวิทยาศาสตร์และประเมินว่านักเรียนอเมริกันท�ำคะแนนได้ต�่ำที่สุดในโจทย์แก้ เทคโนโลยี (สสวท.) กไ็ ดใ้ หค้ วามสำ� คญั และศกึ ษาแนวทางเพอ่ื จะไดใ้ ช้ STEM Education ในการเรยี นการสอนตอ่ ไป (เอเอส ทีวี ผู้จัดการออนไลน์, 2556) 51ปที ี่ 33 ฉบับท่ี 2 เมษายน-มถิ นุ ายน 25567.������� .indd 51 6/24/13 4:55 PM

องค์ประกอบของความรแู้ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 • การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา (Critical ทักษะท่ีจ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีจุดเริ่มต้นมาจาก Thinking and Problem Solving) หมายความรวมถึงการการประชุมร่วมกันของนักวิชาการหลากหลายสาขาใน คิดอย่างมีเหตุผล การคิดเชิงระบบ การคิดตัดสินใจและการสหรัฐอเมริกามาประชุมร่วมกัน โดยรัฐบาลต้องการพัฒนา คิดแก้ปัญหาคณุ ภาพประชากรประเทศเพอื่ ยกระดบั ขดี ความสามารถของ • การสอื่ สารและการรว่ มมอื (Communicationประเทศกับนานาชาติและต้องการให้ประชากรนั้นมีคุณภาพ and Collaboration) ซึ่งเน้นการส่ือสารโดยใช้ส่ือรูปแบบและศักยภาพในสังคม สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในโลกท่ีมีการ ต่างๆ ที่มีประสิทธิภาพ ชัดเจน และการท�ำงานร่วมกับผู้อื่นเปล่ียนแปลงต่างๆ อย่างรวดเร็ว ท้ังนี้องค์ประกอบในด้าน อยา่ งมีประสิทธิภาพตา่ งๆ ทคี่ วรเกดิ ขนึ้ ในผเู้ รยี นจากการจดั การศกึ ษาในศตวรรษ 3. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ที่ 21 (21st Century Student Outcomes) ไดแ้ ก่ ความรู้ (Information, Media and Technology Skills) ซึ่งในทกั ษะ ความเชี่ยวชาญ (The Partnership for 21st Century ศตวรรษที่ 21 นี้ นบั ไดว้ า่ มคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีSkills, 2009) ดังตอ่ ไปน้ี มาก ดังนัน้ ผูเ้ รียนจงึ ควรมีทกั ษะดงั ต่อไปน้ี คอื • การรู้เท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy)ภาพท่ี 1 A Framework for 21st Century Skills • การรเู้ ท่าทันสื่อ (Media Literacy)ทมี่ า: The Partnership for 21st Century Skills (2009) • การรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT 1. ความรู้ในวิชาหลักและเน้ือหาประเด็นที่ส�ำคัญ (Information, Communications & Technology)สำ� หรับศตวรรษท่ี 21 (Core Subjects and 21st Century Literacy)Themes) ไดแ้ ก่ ภาษาองั กฤษ การอา่ น ศลิ ปะในการใชภ้ าษา 4. ทักษะชีวิตและการทํางาน (Life and Careerภาษาต่างประเทศ คณติ ศาสตร ์ เศรษฐศาสตร ์ วิทยาศาสตร ์ Skills) ในการด�ำรงชวี ติ และในการท�ำงานนน้ั ไมเ่ พยี งตอ้ งการศิลปะ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และการ คนท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในเนอ้ื หาความรู้ หรือทกั ษะการปกครอง ซึ่งควรครอบคลุมเน้ือหาในสาขาใหม่ๆ ท่ีมีความ คิดเท่านั้น หากแต่ยังต้องการผู้ที่สามารถท�ำงานในบริบทท่ีมีสำ� คัญต่อการทำ� งานและชมุ ชน แตส่ ถาบันการศกึ ษาไม่ไดใ้ ห้ ความซับซ้อนมากขึน้ อกี ดว้ ย ทักษะท่ีจำ� เป็น ไดแ้ ก่ความส�ำคัญ ได้แก่ จิตส�ำนึกต่อโลก ความรู้พ้ืนฐานด้านการ • ความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัวเงิน เศรษฐกจิ ธรุ กิจ และการเป็นผู้ประกอบการ ความรพู้ ืน้ (Flexibility and Adaptability)ฐานดา้ นพลเมอื ง และความตระหนกั ในสขุ ภาพและสวสั ดภิ าพ • ความคิดริเร่ิมและการชี้นําตนเอง (Initiative 2. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and and Self Direction)Innovation Skills) ไดแ้ ก่ • ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม • ความคดิ สรา้ งสรรค์และนวัตกรรม (Creativity (Social and Cross-cultural Skills)and Innovation) ซง่ึ ครอบคลมุ ไปถงึ การคดิ แบบสรา้ งสรรค์ • การเพมิ่ ผลผลติ และความรรู้ บั ผดิ (Productivityการท�ำงานอย่าสร้างสรรค์ร่วมกับผู้อื่น และการน�ำความคิด and Accountability)นั้นไปใช้อย่างสรา้ งสรรค์ • ค ว า ม เ ป ็ น ผู ้ นํ า แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ (Leadership and Responsibility)52 วารสารนกั บริหาร Executive Journal7.������� .indd 52 6/24/13 4:55 PM

แนวทางพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ของไทยด้วย ประสงคต์ ามหลกั การทก่ี ลา่ วไวใ้ นขา้ งตน้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพSTEM Education การทำ� ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง การศึกษาถงึ ข้อดี ผลการศกึ ษา แนวคดิ ในการจดั การศกึ ษาของไทยในปจั จบุ นั เปลย่ี น วจิ ัย องคป์ ระกอบหรอื ปัจจัยต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง รวมท้ังการเตแปลงหลายๆ ดา้ น ทงั้ เชงิ คณุ ภาพและปรมิ าณ กลา่ วคอื มกี าร รียมพร้อมกับการใช้ STEM Education ในประเด็นต่อไปนี้เน้นคุณภาพ ความสามารถของผู้สอน ลดปริมาณ ความซ้�ำ จึงเป็นส่ิงท่ีทุกฝ่ายควรพิจารณา (Rachel, 2008; Bybee,ซ้อนของเนื้อหา มีการน�ำผลการศึกษาทางวิทยาศาสต์ด้าน 2009; The Wheelock College Aspire Institute, 2010; สมองและจิตวิทยา การเรียนรู้ของมนุษย์ มาปรับเปล่ียนวิธี Bybee, 2011; Rapporteur, 2011; Carr, Bennetti, &การจัดการศึกษาทุกระดับท้ังในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน Strobe, 2011; ยศวรี ์ สายฟ้า, 2555)และอุดมศึกษา มีการศึกษาวิจัยและน�ำผลการวิจัยมาปรับ 1. หลกั สตู ร/บทเรยี น STEM Education โดยทก่ี ารเปล่ียนการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมากข้ึน มีการจัดการ สอนของ STEM Education เปน็ การสอนแบบบรู ณาการ และประชุมเชิงวิชาการจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือกระตุ้นให้ เ ป ็ น น โ ย บ า ย ห ลั ก ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ป ร ะ เ ท ศนักการศึกษาได้เห็นความส�ำคัญและน�ำไปใช้เพ่ือขับเคล่ือน สหรัฐอเมริกาดังกล่าวแล้วข้างต้น หลักสูตร มาตรฐาน และนโยบายทางการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะท่ี ตัวช้ีวัดของท้ัง 4 วิชา กล่าวคือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีจ�ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ในส่วนของผู้ปฏิบัติการ เช่น ครู วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ จึงเป็นกุญแจส�ำคัญท่ีจะอาจารย์ ก็มีการปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนการสอน ให้ ทำ� ให้การจดั การศึกษาด้วย STEM Education ในระดับการความสำ� คญั และใหผ้ เู้ รยี นมบี ทบาทมากขนึ้ มใี ชว้ ธิ กี ารจดั การ ศึกษาขน้ั พ้นื ฐานประสบความส�ำเร็จ ส่งผลใหน้ กั เรยี นมคี วามเรยี นการสอนรปู แบบตา่ งๆ มาใชเ้ พอื่ พฒั นาทกั ษะทจี่ ำ� เปน็ ใน รพู้ นื้ ฐานเพอื่ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในะดบั อดุ มศกึ ษาได้ ทง้ั น้ี แตล่ ะรฐัศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทักษะการคิด เช่น การ ไดม้ ีหลกั สตู ร เนื้อหา บทเรยี นตา่ งๆ ของ STEM Educationจดั การสอนแบบบรู ณาการ การสอนโดยใชใ้ ครงงาน การสอน เพื่อให้ครูผู้สอนทุกระดับสามารถค้นหาและเข้าถึงในสื่อและโดยใชว้ จิ ยั เปน็ ฐาน ฯลฯ จากการปรบั เปลยี่ นกระบวนทศั นใ์ น แหลง่ เรยี นรไู้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี สง่ ผลใหค้ รสู ามารถนำ� หลกั สตู ร สอื่การจัดการศึกษาของไทยดังตัวอย่างท่ีกล่าวข้างต้นนี้ย่อม บทเรยี นนนั้ ไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งสะดวก โดยมกี ารศกึ ษา วจิ ยั และนำ�แสดงให้เห็นถึงความพร้อมของไทยในการน�ำ STEM ผลท่ีได้การศึกษาวิจัยนั้นมาเป็นแนวคิดในการแก้ไขปรับปรุงEducation มาสู่กระบวนการจดั การศกึ ษา ต่อไป ส�ำหรับประเทศไทยเมื่อพิจารณาด้านความพร้อมของ การน�ำแนวคิดต่างๆ มาปรับเปล่ียนแนวทางในการ หลักสตู รทั้ง 4 กล่มุ วิชา ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันจัดการศึกษาเดิมนั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่นักการศึกษา ผู้ท่ี พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 จะเหน็ ไดว้ ่า ประเทศไทยมีเพียงเก่ียวข้อง ครู อาจารย์ และผู้บริหารจะต้องวิเคราะห์และ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) และคณติ ศาสตร์ (M)ท�ำความเข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อที่จะนำ� ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เท่านัน้ แต่ไมพ่ บวา่ มหี ลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรป์ รากฏอย่างการนำ� STEM Education มาใชใ้ นประเทศไทยกเ็ ชน่ เดยี วกนั ชัดเจนในระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน จะมีก็เปน็ เพยี งลักษณะเพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจคลาดเคลอ่ื น ซง่ึ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การสอดแทรกอยู่ในวิชาเทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์เท่านั้นผลกระทบในการจัดการศกึ ษาในอนาคต หรือสง่ ผลใหก้ ารใช้ ดงั นน้ั การสรา้ งความชดั เจน ตอ่ เนอ่ื งและสอดคลอ้ งของแตล่ ะSTEM Education ไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย โดยมกั มผี เู้ ขา้ ใจวา่ การ หลักสูตรวิชาจึงมีความส�ำคัญ เพราะจะเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนด้วย STEM Education เป็นการสอนเฉพาะวิชา สอนนำ� ไปจดั การเรียนการสอนได ้ นอกจากความพร้อมดา้ นวทิ ยาศาสตร์ กบั คณติ ศาสตรเ์ ทา่ นน้ั เนอื่ งดว้ ยการจดั การเรยี น หลักสูตรท้ัง 4 วิชาแล้ว ความพร้อมด้านส่ือ บทเรียน รู้ในหลักสูตรท่ัวไปจะเน้นท่ีสองวิชานี้เป็นหลัก นอกจากนั้น กระบวนการวดั และประเมนิ ผลทช่ี ดั เจน กม็ คี วามสำ� คญั ทำ� ให้ยังมีผู้เข้าใจว่า STEM Education หมายถึงการคิดค้นหรือ ประเทศไทยสามารถใช้ STEM Education ได้ พัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใหม่เพื่อส่งเสริมการ 2. การพัฒนาครูประจ�ำการ (Professionalเรยี นรใู้ นแตล่ ะสาขาวชิ า หรอื บางคนกเ็ ขา้ ใจวา่ เปน็ การสอนที่ Development) ผู้ที่มีบทบาทและเป็นปัจจัยหนึ่งให้ STEMเนน้ ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรเ์ ปน็ แกน และนำ� Education ประสบความสำ� เร็จ คอื อาจารยผ์ สู้ อน ดงั จะเห็นความรดู้ า้ นเทคโนโลยแี ละวศิ วกรรมมาเพม่ิ เตมิ ใหส้ มบรู ณข์ นึ้ ได้จากประสบการณ์ความส�ำเร็จของโรงเรียนต่างๆ ใน(อภสิ ทิ ธ์ ธงไชย และคณะ, 2555) ดงั นนั้ เพอื่ ใหก้ ารนำ� STEM สหรัฐอเมริกาที่มีการเตรียมการของหน่วยงานในการอบรมEducation มาใช้ในประเทศไทยให้บรรลุเป้าหมาย และจุด เพ่ือให้ความรู้ครูในการเตรียมการสอน ในส่วนของ 53ปที ่ี 33 ฉบบั ที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 25567.������� .indd 53 6/24/13 4:55 PM

ประเทศไทยนั้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ และความม่ันใจในการปฏิบตั ิสอนเทคโนโลยี ซง่ึ รบั ผิดชอบเก่ียวกบั หลกั สตู ร การเรียนการสอน 4. การเตรียมพร้อมของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี น้ันก็ได้มีการ ศึกษา เป็นปัจจัยหลักของความส�ำเร็จของการเปล่ียนแปลงเตรียมการศึกษาและวางแผนการใน STEM Education แล้ว ตา่ งๆ ในสถานศึกษา STEM Education ต้องการผู้บริหารมือมีการอบรม เพ่ือให้ความรู้แก่บุคลากรในสถาบัน การจัด อาชพี กลา่ วคอื สามารถบรหิ ารจดั การอยา่ งมยี ทุ ธศาสตร์ เปน็ประชมุ หรอื การร่วมประชมุ วิชาการนานาชาติ การเชญิ ผ้ทู รง นกั วชิ าการ มงุ่ พฒั นากระบวนการเรยี นการสอนเปน็ หลกั เปดิคุณวุฒิมาให้ความรู้ การศึกษาและวางแผนการวิจัย เพ่ือให้ โอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดและบริหาร STEM Education นน้ั เป็นรปู ธรรม ทั้งนี้ แผนการพฒั นาครู สามารถสร้างสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างครอบครัว ชุมชนและประจ�ำการที่ดี ชัดเจน จะมีส่วนช่วยให้ผู้บริหารสถานศึกษา สถานศึกษา ให้ความส�ำคัญการเปลี่ยนแปลงเพื่อการพัฒนา และครูผู้สอน เข้าใจและสามารถน�ำไปสอนได้อย่างมี เป็นผู้น�ำที่ไม่หยุดน่ิง พร้อมที่จะพัฒนาวิชาชีพของตนเองให้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้แล้ว อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในระดับ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเสมอ และพร้อมที่จะประสานและอุดมศึกษาก็ควรมีบทบาทในการพัฒนาครูประจ�ำการด้วย ทำ� งานร่วมกนั กบั ทกุ ฝ่าย สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนได้แก่ การใชร้ ะบบพเี่ ลีย้ ง (Mentoring System) เพอ่ื ชว่ ยให้ ตลอดจนเปิดโอกาสใหบ้ คุ คลภายนอกจากภาคสว่ นตา่ งๆ เขา้ครูผู้สอนในชุมชนของตนมีความรู้ และความเข้าใจท่ีถูกต้อง มามบี ทบาท กระต้นุ ให้ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ปลอดภัย เป็นมิตร 5. การศึกษาวิจัยเพ่ือสนับสนุน พัฒนา STEMแนะนำ� ให้ครูสร้างกระบวนการเรียนรู้ท่เี กดิ ขนึ้ โดยผู้เรียนเป็น Education ปจั จบุ นั นกั การศกึ ษาไดศ้ กึ ษา วจิ ยั และใหข้ อ้ คดิผู้ลงมือกระท�ำ ให้ความช่วยเหลือครูในเร่ืองของการวางแผน เห็นหลากหลายเก่ยี วกบั STEM Education ในตา่ งประเทศจัดการหลักสูตร ตลอดจนให้ก�ำลังใจเพ่ือให้ครูมีความม่ันใจ เชน่ การเร่มิ สอน STEM Education ในระดับปฐมวยั เพือ่และมีเจตคติทีด่ ีต่อ STEM Education ตอบสนองตอ่ การพัฒนาทางสติปัญญาโดยพาะอยา่ งยงิ่ ท�ำให้ 3. การเตรียมพร้อมในการผลิตบัณฑิตเพ่ือเป็นผู้สอน เด็กเล็กๆ พัฒนาทักษะทางปัญญาด้านวิศวกรรมศาสตร์ได ้ STEM Education การศกึ ษาศาสตร์ ระบบการเตรียมนสิ ิต การใชส้ ื่อเทคโนโลยี เช่น iPad และ Tablet เพอ่ื พัฒนาการนกั ศกึ ษาครเู พอื่ สอนใน STEM Education มคี วามสำ� คญั มาก สอน STEM Education ซง่ึ พบวา่ เดก็ ในระดบั ปฐมวยั สามารถเชน่ เดยี วกบั การสอนในวชิ าอน่ื ๆ โดยจากการวจิ ยั พบวา่ ปจั จยั พฒั นาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี (Aronin & Floyd, 2013) ทง้ั นี้ รายงานหนึ่งท่ีท�ำให้เกิดความล้มเหลวในการสอนวิทยาศาสตร์ระดับ ช้ใี หเ้ ห็นว่า ความสำ� เรจ็ ของ STEM Education นอกจากจะประถมศึกษา คือ ครูฝึกหัดมักขาดความมั่นใจในการสอน เกิดจาก ความสอดคล้องต่อเน่ืองของหลักสตู ร คุณภาพของเพราะครูฝึกสอนเหล่านั้นขาดประสบการณ์หรือความรู้ทาง ครูผสู้ อน การมีระบบวัด ประเมินผลทช่ี ัดเจน และเวลาที่ใช้ด้านวิทยาศาสตร์ ท�ำให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ทาง ในการสอนแล้ว ปจั จัยท่จี ะผลกั ดนั อีกประการหนง่ึ คือ การวิทยาศาสตร์น้อย เน้นแต่ความรู้ด้านกฏหรือทฤษฎีทาง ศึกษาวิจัยโดยรัฐ และผู้ก�ำหนดนโยบายทางการศึกษา ควรวิทยาศาสตร์ ดงั นนั้ การเตรยี มหลกั สูตร และเนือ้ หาการสอน สนับสนุนการท�ำงานวิจัยเพิ่มข้ึน (National ResearchSTEM Education ส�ำหรับนิสิต นักศึกษา ตลอดจนวิธีการ Council of the National Academes, 2011) ซง่ี ในส่วนสอนท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของทั้ง 4 วิชา เช่น เน้นการ ของประเทศไทยน้ัน การสนับสนุนให้ SEM Educationส�ำรวจตรวจสอบและปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์รวมทั้งความรู้ ประสบความส�ำเรจ็ ควรมาจากหลายภาคสว่ นทง้ั ภาครฐั และความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั การจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 เอกชน การรว่ มมอื ระหวา่ งชมุ ชน และสถาบนั อดุ มศกึ ษา เพอื่จะช่วยให้ครูฝกึ สอนเหลา่ น้ันมีความมน่ั ใจมากขึ้น นอกจากนี้ การวิจัย พัฒนาหลักสูตร STEM Education ในบริบทของสถาบันอุดมศึกษาท่ีผลิตครูควรสร้างระบบการผลิตครูท่ี ไทย การพฒั นาครผู สู้ อน การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ฯลฯ ชัดเจนเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อผู้มาเรียนและระบบการศึกษาเช่น ควรวางแผนการผลิตครูเพื่อให้ได้ครูในสาขาที่สังคมตอ้ งการ เปน็ การปอ้ งกนั การผลติ ครทู เ่ี กนิ อตั รา การพจิ ารณาอัตราก�ำลังของอาจารย์ผู้สอนต่อจ�ำนวนนักศึกษาเพ่ือให้การสอนมีคุณภาพ การสร้างรปู แบบการนิเทศก์ การเปน็ ผชู้ แ้ี นะและพเี่ ลีย้ ง (Coaching and Mentoring) ใหก้ บั ครูฝกึ สอน54 วารสารนักบรหิ าร Executive Journal7.������� .indd 54 6/24/13 4:55 PM

บทสรปุ เปน็ รปู แบบการจดั การศกึ ษาทต่ี อบสนองตอ่ การเตรยี มคนไทย สังคมโลกในขณะนี้มีการพัฒนาเปล่ียนแปลงอย่าง รนุ่ ใหมใ่ นศตวรรษที่ 21 เพราะธรรมชาติของทงั้ 4 วชิ าน้ี ทสี่ ่งรวดเร็วโดยเฉพาะเทคโนโลยีการสื่อสารซ่ึงมีส่วนช่วยให้เกิด เสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถท่ีจะดำ� รงชีวิตได้ดีการเปลย่ี นถา่ ยทอดขอ้ มลู ใหมๆ่ หมนุ เวยี นอยตู่ ลอดเวลาอยา่ ง และมคี ุณภาพในโลกของศตวรรษที่ 21 ทมี่ ีการเปล่ยี นแปลงไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ กอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฏการณท์ เ่ี รยี กวา่ การไหลบา่ ของ อย่างรวดเร็ว มีความเป็นโลกาภิวัตน์ท่ีต้ังอยู่บนฐานความรู้ข่าวสารข้อมูล วิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มี และเตม็ ไปดว้ ยความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี อกี ทง้ั ยงั เปน็ วชิ าส่วนช่วยให้เศรษฐกิจและสังคมเจริญก้าวหน้า เกิดการค้าท่ี ทมี่ คี วามสำ� คญั กบั การเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางแขง่ ขนั กนั ทวั่ โลก ดงั นน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่ การเตรยี มผเู้ รยี นในวนั เศรษฐกจิ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และความมงั่ คงั่ ของประเทศน้ใี ห้มที กั ษะทีจ่ ำ� เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 นัน้ มีจดุ มุ่งหมายเพื่อ ได้ นอกจากน้ี STEM Education ยังเป็นการจัดการศกึ ษาที่ให้เยาวชนเหล่านั้นสามารถด�ำรงชีวิตในสังคมโลกที่มีการ สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนนําความรู้ทุกแขนงทั้งด้านความรู้เปล่ียนแปลงได้ สามารถและพร้อมท่ีจะเผชิญหน้ากับสภาพ ทักษะการคิด และทักษะอื่นๆ มาใช้ในการแก้ปัญหา การสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยีในอนาคต การต่ืนตัวและ คน้ ควา้ สร้าง และพัฒนาคิดค้นสิง่ ตา่ งๆ ในโลกปจั จบุ ัน การเตรียมพร้อมต่อการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น การสร้าง เนน้ ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ การมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รยี นกบั ขอ้ มลู มหาอ�ำนาจทางการศึกษาเพื่อให้ได้ประชากรที่มีคุณภาพ จึง เครอ่ื งมอื ทางเทคโนโลยี การสรา้ งความยดื หยนุ่ ในเนอ้ื หาวชิ า เป็นกลยุทธ์ของการพัฒนาชาติแนวทางหนึ่ง ส�ำหรับ ความท้าทาย ความสรา้ งสรรค ์ ความแปลกใหม ่ และการแก้ประเทศไทยการจัดการศึกษาแบบบูรณาการท่ีเน้นให้ความ ปัญหาอย่างมีความหมายของบทเรียนใน STEM Educationส�ำคัญกบั วิชาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ จึงเหมาะที่จะทำ� ให้เยาวชนไทยรุ่นใหม่เกิดการเรียนรู้และอยู่คณิตศาสตร์อย่างเท่าเทียมกัน หรือ STEM Education จึง ในโลกแหง่ อนาคตได้อยา่ งแท้จริงบรรณานุกรมกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, สถานเอกอคั ร- รักษพล ธนานุวงศ์. (2556). รายงานสรุปการประชุมเชิง ราชทูตไทย ประจ�ำกรุงวอชิงตัน ด.ี ซี. (2556). โอบามา ปฏิบัติการ STEM Education. สืบค้นเม่ือ 1 มนี าคม ประกาศแผนการใหม่ในการสร้างกลุ่ม ตน้ แบบ 2556, จาก http://www.slideshare.net/ การสอน STEM (STEM Master Teaching Corps). focusphysics/stem-workshop-summary สบื ค้นเม่ือ 2 มีนาคม 2556, จาก http://www.ostc. อภิสิทธ ิ์ ธงไชย และคณะ. (2555). สรปุ การบรรยายพิเศษ thaiembdc.org/test2012/stnews_Sept12_5 เร่อื ง Science, Technology, Engineering, andธวัช ชิตตระการ. (2555). การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ Mathematics Education: Preparing students วทิ ยาศาสตร ์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมผ่านโปรแกรม for the 21st Century. สืบค้นเมอื่ 1 มีนาคม 2556, STEM. สืบค้นเม่อื 1 มีนาคม 2556, จาก www. จาก http://designtechnology.ipst.ac.th/ deansci.com/th/downloads/stem.pdf uploads/STEMeducation.pdfยศวรี ์ สายฟา้ . (2555). การเสริมสร้าง วทิ ย์ เทคโนโลยี เอเอสทีวี ผู้จัดการออนไลน.์ (2556). โละสอนแบบท่องจ�ำ ศิลปะ และคณติ ศาสตร์ ด้วย STEAM Model . ผุด “สะเตม็ ศกึ ษา” เรยี นวทิ ย์-เทคโนฯปฏบิ ตั เิ นน้ ๆ. สบื คน้ เม่อื 1 มนี าคม 2556, จาก http://www. สืบคน้ เมอ่ื 1 มนี าคม 2556, จาก http://www. educathai.com/workshop_download_handout_ manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?News download.php?id=60&page=4 ID=9560000005681 55ปที ่ี 33 ฉบบั ท่ี 2 เมษายน-มิถนุ ายน 25567.������� .indd 55 6/24/13 4:55 PM

Aronin, S., & Floyd, K. K. (2013). Using an iPad National Research Council of the National Academes. in inclusive preschool classroom to (2011). Successful K-12 STEM education: introduce STEM concepts. Teaching identifying effective approaches in science, Exceptional Children, 45(4), 34-39. technology, engineering, and mathematics. Bellanca, J., & Brandt, R. (2010). 21st Century Washington D.C.: The National Academic Press. skills rethinking how students learn. Rachel, B. J. (2008). Science, technology, Bloomington, Solution Tree Press. engineering, and math. Retrieved March 5,Breiner, J. M., Carla, C. J., Harkness, S. S., & Koehler, 2013, from http://www.learning.com/press/ C. M.. (2012). What is STEM? A discussion pdf/Science-Technology-Engineering- about conceptions of STEM in education Mathematics-STEM-Report.pdf and Shelly Sheats Harkness Partnerships. Rapporteur, A. B. (2011). Successful STEM School Science and Mathematics, 112(1), education: A workshop summary. Washington 3-11. D.C.: The National Academic Press. Bybee, R. W. (2009). K-12 engineering education The Partnership for 21st Century Skills. (2011). standards: opportunities and barriers. Framework for 21st century learning. Retrieved Retrieved March 1, 2013, from http://www. March 1, 2013, from http://www.p21.org/ nae.edu/File.aspx?id=15165 storage/documents/1.__p21_framework_2-Bybee, R. W. (2011). Scientific and engineering pager.pdf practices in K–12 classrooms understanding: The Wheelock College Aspire Institute. (2010). A framework for K–12 science education. Strengthening STEM education in the early Retrieved March 1, 2013, from http://www. years: A plan for increasing the number of nsta.org/about/standardsupdate/resources/ skilled pre K-6 STEM educators in the greater 201112_Framework-Bybee.pdf Boston Region. Retrieved April 1, 2013, fromCarr, R. L., Bennetti V, L. D., & Strobe, J. O. (2012). http://www.wheelock.edu/Documents/News/ Engineering in the K-12 STEM standards of Foundation%20for%20the%20Future%20 the 50 U.S. States: An analysis of presence Report. pdf and extent. Retrieved March 1, 2013, from Wayne, C. (2012). What is S.T.E.M. and why do I http://www.nysstemeducation.org/STEM_ need to know? Retrieved February 2, 2013, Docs/2012K-12STEM_in_USA.pdf from http://issuu.com/carleygroup/docs/Dejarnette. (2012). America’s children: providing stem12online/1 early exposure to STEM (science, technology, engineering and math) initiatives. Education, 133(1), 77–84. 56 วารสารนกั บรหิ าร 6/24/13 4:55 PM Executive Journal7.������� .indd 56


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook