2. วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการเจริญปัญญา ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ก่อนและหลังเรียนตามแนวคิดของกานเร่ ว ม กั บ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย มัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิต มธั ยม) ตาราง 2 เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกอ่ นและหลงั เรียน การทดสอบ จำนวนนักเรียน คะแนนเต็ม ���̅��� S.D. t Sig.(1- tailed) 2.83 กอ่ นเรยี น 38 25 16.66 1.66 9.40* 0.0000 หลงั เรยี น 38 25 20.97 *มนี ัยสำคญั ทางสถิติระดับที่ .05 3. ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นสาธติ จากตาราง 2 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนด้วย ทางการเรียนก่อนเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 16.66 จาก แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของกาน คะแนนเต็ม 25 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เยร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการ เท่ากับ 2.83 ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี เท่ากับ 66.64 บริหารจิตและการเจรญิ ปญั ญา และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเฉล่ีย เท่ากับ 20.97 จากคะแนนเต็ม 25 คะแนน ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.66 ร้อยละของคะแนน เฉล่ีย เทา่ กบั 83.88 ตาราง 3 ผลการศกึ ษาความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ทกั ษะการคดิ ระดับ คะแนนเฉล่ยี สว่ นเบี่ยงเบน ระดับคุณภาพ ลำดับท่ี วิเคราะห์ คะแนน มาตรฐาน 1 3 1.ดา้ นเนอ้ื หา 5 4.01 0.70 ดี 2 - 2.ดา้ นความสัมพันธ์ 5 3.83 0.94 ดี - 3.ดา้ นหลักการ 5 3.84 0.97 ดี รวม 3.93 0.88 ดี รอ้ ยละ 78.60 - - 47 | P a g e
จากตาราง 3 พบว่า คะแนนที่ได้จากการวัดทักษะ =0.97) และด้านความสัมพันธ์ ( ���̅���= 3.83, S.D. = การคิดวิเคราะห์รวมทุกด้าน นักเรียน ส่วนใหญ่มี 0.94) ตามลำดบั ทักษะการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับดี ( ���̅���= 3.93, S.D. = 0.88 ) คิดเป็นร้อยละ 78.60 เมื่อพิจารณา 4. ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ เป็นรายด้าน ตามองค์ประกอบ โดยเรียงลำดับจาก ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธิต มากไปน้อย พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะการคิด มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน วิเคราะห์ ด้านเนื้อหา มากที่สุด ( ���̅���= 4.01, S.D. = ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย 0.70) รองลงมา คือ ด้านหลักการ ( ���̅��� = 3.84, S.D. ร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการ บรหิ ารจิตและการเจริญปญั ญา ตาราง 4 ผลการศึกษาคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคด์ า้ นใฝเ่ รียนรู้ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 พฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ ������̅ S.D. การแปลผล ตวั ช้ีวัดที่ 1 ดา้ นการตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ 1.ต้งั ใจเรยี น จดจอ่ อยู่กบั ส่งิ ท่เี รียน 4.00 0.86 ดี 2.กล้าแสดงความคิดเห็นเมื่อสงสัยจะถามครูเพื่อคลายข้อ 3.51 0.91 ดี สงสัย 3.เขา้ เรียนตรงเวลาและตอบคำถามในระหว่างเรียน 3.91 0.87 ดี ตวั ชว้ี ดั ท่ี 2 แสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอก และสรปุ เปน็ องคค์ วามรู้และสามารถ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ 4.ส่งงานตรงเวลาและสามารถตอบคำถามนอกเหนือจาก 3.94 0.75 ดี เนอื้ หาทเ่ี รยี นได้ 5.ทำความเข้าใจในเนอ้ื หาและสรุปองค์ความรู้หลงั เรยี น 3.66 0.79 ดี 6.ร่วมแลกเปลี่ยนการเรียนรู้และนำความรู้ไปปรับใช้ใน 3.20 0.67 ปานกลาง ชีวิตประจำวัน รวม 3.70 0.86 ดี จากตาราง 4 พบว่า นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษา คุณลักษณะใฝ่เรียนรู้โดยเรียงลำดับสูงสุดดังนี้ ปีที่ 1 มีพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับดี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตั้งใจเรียนและจดจ่อ อยู่กับสิ่งที่เรียนมากที่สุด ( ������̅ = 4.00, S.D. = 0.86) (������̅= 43.70, S.D. = 0.86) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อ และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร่วมแลกเปลี่ยน พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ส่วนใหญ่มี 48 | P a g e
การเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันใน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ด้วยการสอนโดยใช้รูปแบบการใช้ปัญหาเป็น ระดับปานกลาง (������̅ = 3.20, S.D. = 0.67) ฐานร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย รายวิชา ส 32201 พระพทุ ธศาสนา เรือ่ ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา อภปิ รายผล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ 1.แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ วัฒนธรรม ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพของ สื่อมัลติมีเดีย ในการทดลองแบบรายบุคคล เท่ากับ กานเยร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง 74.69/71.11 การทดลองแบบกลุ่มเล็ก เท่ากับ การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ของนักเรียนช้ัน 79.26/78.00 และ การทดลองภาคสนาม เท่ากับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย 90.80/87.00 จากทก่ี ลา่ วมาแสดงให้เห็นวา่ แผนการ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ให้มีประสิทธิภาพ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ 85.74/83.88 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนด มัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิต ไว้ทั้งนี้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย และการเจริญปญั ญา ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ร่วมกับมัลติมีเดีย ยังเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้น 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน มัธยม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่พัฒนาขึ้นมี กระบวนการเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์และได้เรียนรู้ ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ ร่วมกับผู้อื่น มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ระหว่างกัน สามารถพัฒนา 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการคิดระดับสูงได้ สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน เป็นอย่างดี อีกทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกับ ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง มัลติมีเดียส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แบบ Active การบริหารจิตและการเจริญปัญญา โดยใช้กิจกรรม Learning สื่อการสอนที่หลากหลายกระตุ้นให้ผู้เรียน การเรียนรู้ตามแนวคดิ ของกานเยร่วมกับมลั ติมเี ดยี มี เกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนาน สนใจในบทเรียนมาก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อน ยิ่งขึ้นซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยณัฐวุฒิ บุญบรรลุ เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากการ (2559) ได้พัฒนาแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ตาม จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด แนวคิดของกานเย ร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดีย เพ่ือ การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้มัลติมีเดียเข้า เสริมสร้างความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง มาใช้ในกระบวนการรเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้จาก อาเซียน ผลการวิจัยพบว่าแผนการจัดการเรียนรู้ตาม สิ่ง ท ี่เ ป็นนามธ ร ร มก ลาย เ ป็นร ูปธ ร ร มมาก ยิ่งขึ้ น แนวคิดของกานเย ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็น และช่วยใหผู้เรียน อาเซียนศึกษามีประสิทธิภาพ 83.13/82.13 ตาม ได้เข้าใจในเนื้อที่เรียนเพิ่มมากขึ้นจึงส่งผลให้ผล เกณฑ์ 80/80 สอดคล้องกบั การศึกษาของ ภัทรพงษ์ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของเรียนหลังเรียนสูงกว่าหลัง วงษ์วิจิตรานนท์ และ เพชรรัตน์ จงนิมิตสถาพร เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติซึ่งสอดคล้องกับ (2557) ได้การศึกษาทักษะการคิดแก้ปัญหาและ 49 | P a g e
การศึกษาของ วลิ าวัณย์ พินสุวรรณ (2557) ได้ศกึ ษา หรือเพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น จัดเป็นสำคัญของ ค้นคว้าเรื่องการพฒั นาหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์แบบสอ่ื การศึกษาเป็นอย่างมาก ประสม กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลวิจัยพบว่า สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนกลุ่มที่ ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบสื่อประสมสูง การบริหารจิตและการเจริญปัญญา โดยใช้กิจกรรม กว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยวิธเี รียนแบบปกติอย่างมี การเรยี นรตู้ ามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมเี ดีย มี นัยสำคญั ทร่ี ะดบั .05 คะแนนเฉลี่ยคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคด์ ้านใฝ่เรียนรู้ อยู่ในระดับดี ซึ่งหมายถึงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ซึ่งสอดคล้องกับสำนักวิชาการและมาตรฐาน สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน การศึกษา (2552:170-171) ว่าคุณลักษณะของผู้ที่มี ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่อง พฤติกรรมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 ส่วนเบี่ยงเบน การบริหารจิตและการเจริญปัญญา โดยใช้กิจกรรม มาตรฐานเท่ากับ 0.86 พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ การเรียนรูต้ ามแนวคิดของกานเยรว่ มกบั มัลตมิ เี ดยี มี ประกอบด้วยการกระทำหรือการปฏิบตั ิตนที่แสดงถึง ทักษะความสามรถในการคิดการคิดวิเคราะห์ใน การมีความกระตือรือร้น ต้องการแสวงหาความรู้ ระดับดี คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 3.93 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ตลอดเวลา มีความตั้งใจมุ่งมั่นพยายามในการทำงาน เท่ากับ 0.88 คิดเป็นร้อยละ 78.60 โดยนักเรียนมี ของตน เช่นการทำงานส่งครูในชั้นเรียนให้สำเร็จ ความสามรถในการคิดวิเคราะห์ด้านเนื้อหามากที่สุด ลุล่วงไปด้วยดี มีความคิดริเริ่ม การตัดสินใจ กล้า รองลงมาคือด้านหลักการและด้านความสัมพันธ์ แสดงออก ตามลำดับ ผลการวิจัยได้อธิบายถึง การวัดการคิด วิเคราะห์ เป็นการใช้ วิจารณญาณเพื่อไตร่ตรอง การ ข้อเสนอแนะ แยกแยะพิจารณาดูรายละเอียดของสิ่งของต่าง ๆ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป หรือเรื่องต่าง ๆ ว่ามี ชิ้นส่วนใดสำคัญที่สุด ของ 1.1 การพฒั นาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช ชิ้นส่วนใดสัมพันธ์กันมากที่สุด และชิ้นส่วนเหล่านั้น อยู่รวมกันได้ หรือทำงาน ได้เพราะอาศัยหลักการใด สื่อมัลติมีเดียนั้น ควรมีการถ่ายทอดเนื้อหาต่างๆ ที่มี ส อ ด ค ล ้ อ ง ก ั บ ก า ร ค ิ ด แ บ บ โ ย น ิ โ ส ม น ส ิ ก า ร ที่ นอกเหนือจากสิ่งที่มีอยู่ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจ นักวิชาการได้นำมาออกแบบการสอนแบบโยนิโส รวมท้งั จะเปน็ การสอดแทรกเน้ือหาให้ไดม้ ากทีส่ ุด ซึ่ง มนสิการ เป็นการสอนให้ผู้เรยี นไดร้ ้จู กั คดิ มุง่ เน้นการ จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เนื้อหาต่าง ๆ ได้มากขึ้น ฝึกผู้เรียนให้ใช้ความคิดอย่างถูกวิธี คิดอย่างเป็น รวมถึงเป็นการประหยัดทรัพยากรที่นำมาผลิตเป็น ระบบ รูจ้ กั วิเคราะห์ ไม่มองเหน็ ส่ิงต่าง ๆ อย่างต้ืน ๆ สอ่ื การเรียนการสอน 50 | P a g e
1.2 ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม 2.2 ผู้พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดย ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ควรนำการจัดกิจกรรม ใช้สื่อมัลติมีเดียประกอบการเรียน ควรมี การเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย การศึกษาและประยุกต์ใช้เทคนิคหรือ รูปแบบ ไปปรับใช้ในการพัฒนาการสอนวิชาสังคมศึกษาใน การสร้างมัลติมีเดียเพิ่มเติม เพื่อนำมาปรับใช้ให้ เรอ่ื งอนื่ ๆ สื่อมัลติมีเดียมีความน่าสนใจและตอบสนองการ เรยี นรขู้ องผเู้ รียนมากย่ิงข้ึน 1.3 ควรศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการ จัดกิจกรรม รูปแบบกิจกรรมควรมีความหลากหลาย 2.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม ตามวยั และระดับสตปิ ัญญาของนกั เรียนดว้ ย แนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย ควรมีการ จัดเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์และระบบ 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษา เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ ค้นควา้ วิจยั ครั้งตอ่ ไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.1 ควรมีการส่งเสริมให้มีการพัฒนา 2.4 ควรมีการวิจัยสภาพปัญหาและ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย ผลกระทบจากการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ด้ วย ร่วมกับมัลติมีเดียประกอบการเรียน สำหรับใน มัลติมีเดียเพ่อื ประโยชนใ์ นการพฒั นาและปรับใช้ การเรียนในเนื้อหาอืน่ ๆ และรายวชิ าอ่นื ๆ ให้เหมาะสมตอ่ ไป บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ. ณฐั วฒุ ิ บุญบรรล.ุ (2559). การพฒั นาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดของกาเยรว่ มกับการใช้สือ่ มัลตมิ ีเดยี เพ่อื เสริมสรา้ งความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เร่อื งอาเซยี นศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (หลักสตู รและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. บญุ ศรี เลิศวิรยิ จิตต์. (2553). การพฒั นาการเรียนการสอนวิชาเวชกรรมแผนไทย เรื่องโรคระบบทางเดนิ อาหาร โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ภทั รพงษ์ วงษว์ จิ ิตรานนท์ และ เพชรรตั น์ จงนมิ ติ สถาพร. (2557). การศกึ ษาทักษะการคิดแกป้ ญั หาและ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี น ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ด้วยการสอนโดยใช้รูปแบบการใชป้ ญั หาเป็น ฐานรว่ มกบั ส่ือมัลตมิ ีเดยี รายวิชา ส 32201พระพทุ ธศาสนา เรอ่ื ง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร.์ 37(2) : 87 ; เมษายน - กรกฎาคม 2557. 51 | P a g e
โรงเรยี นสาธติ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). รายงานการประเมนิ คณุ ภาพในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2562. มหาสารคาม : สำนักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วิลาวณั ย์ พนิ สุวรรณ. (2557). การพัฒนาหนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ สแ์ บบส่อื ประสม กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่อื ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสำหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2. วารสาร เทคโนโลยีภาคใต้. 7(1) : 9 ; มกราคม-มิถุนายน 2557. สาํ นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2552). แนวทางการดาํ เนนิ งานปฏิรูปการเรยี นการสอน ตามเจตนารมณ์ กระทรวงศึกษาธิการ 2549 ปแี หง่ การปฏิรปู การเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. 52 | P a g e
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ ของกานเยร่วมกับมัลติมีเดยี เร่ือง วถิ ีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม) (ทพิ ธญั ญา ตรพิ งษา)
ก า ร พ ั ฒ น า แ ผ น ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว ค ิ ด ข อ ง ก า น เ ย ร ่ ว ม ก ั บ ม ั ล ต ิ ม ี เ ดี ย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม) Development of a learning management plan based on Gange's concept with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence of Mathayomsueksa 3 Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) ทพิ ธญั ญา ตรพิ งษา1 สาคร อฒั จักร2 เดชา จันทคัต3 Thiptanya Tripongsa1 Sakorn Atthachakara2 Decha Jantakat 3 บทคดั ย่อ การพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมลั ติมีเดีย เร่อื ง วถิ ศี าสนากับการอยรู่ ่วมกัน อย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี ศาสนากับการอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ทีม่ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพอื่ ศกึ ษาดัชนี ประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนา กับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดียเรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ 4) เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ กลุ่ม ตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 41 คน โดยการสุม่ อยา่ งง่าย เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั ไดแ้ ก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคดิ ของกานเยร่วมกับมัลตมิ ีเดยี เรือ่ ง วิถศี าสนากับการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติ ประกอบด้วย 2 แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนเรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ แบบประเมิน 1 นสิ ติ สาขาสงั คมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University. 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University. 3 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University. 54 | P a g e
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ด้านใฝเ่ รียนรู้ หลงั จากการเรียนโดยการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย เรื่อง วถิ ี ศาสนากับการอยูร่ ว่ มกันอยา่ งสันติ สถติ ิที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบวา่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ( E1/E2) เท่ากับ 89.73/83.82 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนา กบั การอย่รู ว่ มกันอย่างสนั ติ ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 มคี า่ เทา่ กบั 0.4923 หรอื มคี วามก้าวหน้า ในการเรียนคดิ เปน็ ร้อยละ 49.23 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีคะแนนความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ เฉลี่ยโดยรวมเทา่ กบั 2.63 คิดเป็นรอ้ ยละ 87.66 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีค่าเฉลี่ยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานมี คา่ เฉล่ียรวม 4.06 คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.2 คำสำคัญ : การเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย, ทักษะการคิดวิเคราะห์, คุณลักษณะอันพึง ประสงคด์ ้านมงุ่ มั่นในการทำงาน Abstract Development of a learning management plan based on Gange's concept with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence of students of Mathayomsueksa 3, Mahasarakham University Demonstration School (Secondary). This research aims 1) for the development of a learning management plan based on Gange's concept together with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence of Mathayomsueksa 3 with efficiency according to 80/80 criteria. 2) To study the effectiveness of the learning management plan with Gange's concept of teaching and learning with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence. 3) To study the analytical thinking ability of the students of Mathayomsueksa 3 by using Gange's teaching style in conjunction with multimedia 4) To study the desirable characteristics of working commitment of Mathayomsueksa 3 students by teaching according to Gange's concept together with multimedia on Religious Ways and Coexistence together in peace. The sample group in this research consisted of 41 students in Mathayomsueksa 3 at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary). Totaling by simple random sampling. The research instruments were Gange's conceptual learning management plan together with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence, consisting of 2 learning management plans. Pre-school and post-study achievement test on Religious Ways and Peaceful Coexistence a test to measure the ability to think critically after studying the subject Religious ways 55 | P a g e
and peaceful coexistence Desirable Characteristics Assessment Form for Learning after studying by teaching management according to Gange's concept of religion and peaceful coexistence Statistics used in data analysis, percentage, mean and standard deviation. The results showed that 1. The learning management plan using Gange's teaching and learning model with multimedia on religious life and peaceful coexistence. Of the students of the students of Mathayomsueksa 3 whose efficiency criterion (E1/E2) is 89.73/83.82, which is higher than the 80/80 criterion. 2. Index of Effectiveness of Gange's Conceptual Learning Management Plan with Multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence of the students of Mathayomsueksa 3 is equal to 0.4923 or progress in learning, accounting for 49.23%. 3. The students of Mathayomsueksa 3 who have studied with Gange's conceptual learning plan together with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence. have a score for analytical thinking ability The overall average was 2.63 or 87.66%. 4. The students of Mathayomsueksa 3 who studied with Gange's conceptual learning plan together with multimedia on Religious Ways and Peaceful Coexistence. The average of the desirable characteristics in working commitment was 4.06, or 81.2%. Keywords : Gange's conceptual teaching with multimedia, Critical thinking skills, Desirable attributes of commitment to work บทนำ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 4) ทั้งน้ีสำนัก การศึกษามีบทบาทสำคัญต่อการ วิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2553 : 3) ได้ กำหนดกรอบนโยบายหลักในการปฏิรูปการศึกษา แก้ปัญหาสังคมและการพัฒนาประเทศโดยมุ่ง ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) โดยกำหนด พัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังหลักของชาติให้ วิสัยทัศน์ให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกายความรู้ คุณภาพ โดยมีเป้าหมายยุทธศาสตร์หลักที่ 4 คือ คุณธรรมมีจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองไทย และ คนไทยคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้มีทักษะในการ เป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ คิดและปฏิบัติ มีความสามารถในการแก้ปัญหา มี ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการ มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งมีเจตคติที่ สื่อสาร และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และ พื้นฐาน ได้กำหนดจุดเน้นและแนวทางการพัฒนา การศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เนน้ ผูเ้ รยี นนเ้ี ป็นสำคัญ คุณภาพผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 56 | P a g e
พื้นฐานและมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด (SAR) ปีการศึกษา 2562 (สาธิตมหาวิทยาลัย พทุ ธศักราช 2551 ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560 ได้กำหนด มหาสารคามฝ่ายมัธยม, 2562) พบว่าในการเรียน จุดหมายของหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคน การสอนในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ ดี มีปัญญา และมีความสุข (กรมวิชาการกระทรวง วัฒนธรรมนี้ ยังไม่บรรลุจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ศึกษาธิการ, 2560 : 3-4) กลุ่มสาระการเรียนรู้ เนื่องมาจากองค์ประกอบต่าง ๆ หลายด้าน และท่ี สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรมเป็นวิชาท่ีชว่ ยให้ สำคัญประการหนึ่ง ซึ่งเห็นได้จากผลการทดสอบ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิตของ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ใน มนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกัน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม พบว่า ในสังคมการปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การ อยู่ในระดับที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ คือ ไม่ผ่านคะแนน จัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเข้าใจถึงการ ร้อยละ 50 แม้คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนจะสูงกว่า พฒั นาเปลีย่ นแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุ คะแนนเฉลี่ยระดับชาติ ทั้งนี้ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ใน ปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มี สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ ความอดทน อดกลนั้ ยอมรบั ในความแตกต่างและมี วัฒนธรรม ยังมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งผลการ คุณธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการ ประเมินนีส้ ะท้อนถึงปญั หาดา้ นผลสัมฤทธ์ิท่ีอาจจะ ดำเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและ มีสาเหตุจากการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนที่เน้น สังคมโลก (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา การบรรยาย ทำให้ต้องพิจารณาถึงการพัฒนา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 4) ทั้งนี้ยังเป็นสาระ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะ พื้นฐานที่มุ่งปลูกฝังผู้เรียนมีลักษณะนิสัยที่ดีงาม ผู้เรียน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพของครู ทั้งนี้ สามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปปรับ อุปสรรคของหลักสูตร ขณะที่อุปสรรคของ ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมได้ หลักสูตรจากสภาพแวดล้อมภายนอก คือ การแพร่ อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552 : 1) ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ทำโรงเรียนต้อง กล่าวได้ว่าการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ปรับห้องเรียนปกติสู่ห้องเรียนออนไลน์ ซึ่งพบ ศาสนา และวัฒนธรรม ในรายวชิ าพระพุทธศาสนา อุปสรรคจำนวนมากทั้งความสามารถด้านการใช้ เป็นรายวิชาหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการ เทคโนโลยีของครูผู้สอนที่จะจัดการเรียนรู้อย่างไร พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน (วิภาพรรณ พินลา, ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อทำการจัดกิจกรรม 2560 : 16) การเรียนรู้ในรายวิชาศาสนา ศีลธรรมและ จริยธรรม ที่มีเนื้อหาค่อนข้างเยอะ ทำให้เป็นไม่ การเรียนการสอนในวิชาสังคมศึกษา เอื้อต่อการที่จะเรียนรู้ได้ปริมาณที่มากและเป็น ศาสนาและวัฒนธรรมยังประสบปัญหาในการสอน อ ุ ป ส ร ร ค ใ น ก า ร ท ี ่ จ ะ ต ่ อ ย อ ด ค ว า ม ร ู ้ ใ ห ้ มี โดยเฉพาะสาระพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นสาระที่มี ประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามหลักการ เนื้อหากว้าง ซ้ำซ้อน ทั้งนี้โรงเรียนสาธิต หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จาก มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่ต้องเน้นการพัฒนา รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผู้เรียนตามความถนัดและตามศักยภาพ ตอบสนอง ความต้องการในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 57 | P a g e
และการประกอบอาชีพในอนาคต รวมไปถึงการ เดิม ขัน้ ใหค้ วามร้แู ละเนอ้ื หาใหม่ ข้ันชีแ้ นวทางการ สร้างประสบการณ์สร้างเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ เรียนรู้ ขั้นกระตุ้นผู้เรียนให้แสดงความรู้ ขั้นให้ผล รวมไปถึงสามารถดึงศักยภาพของผูเ้ รียนตามความ ป้อนกลับ ขั้นทดสอบ ความรู้ และขั้นความจำและ สนใจและความถนัด ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม นำความรู้ไปใช้ ซึ่งเป็นการจัดการกิจกรรมการ แ ล ะ ถ ่ า ย ท อ ด ว ั ฒ น ธ ร ร ม เ อ ก ล ั ก ษ ณ ์ สู่ เรียนรู้ที่มีการจัดสภาพการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ มาตรฐานสากลส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเจริญงอก การเรียนรู้แต่ละประเภทที่มี ลักษณะเฉพาะท่ี งามด้านสติปัญญา ร่างกาย จิตใจ สังคม และมี แตกต่างกัน (ภาคินี ชูอินแก้ว, 2553) การจัด การคิดวิเคราะห์เมื่อเผชิญกับปัญหาสามารถ กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวคิดของ ปรับตัวและสามารถหาวธิ แี ก้ไขไดอ้ ย่างชาญฉลาด กานเยจึงเป็นการให้ความสำคัญกับการฝึกให้ นักเรียนคิดวิเคราะห์ทำให้นักเรียนเข้าใจปัญหาได้ การส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์กล่าว อย่างชัดเจน สามารถนำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ โดยจะต้องจัดการเรียนการ สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมี สอนให้รู้จักคิดที่มีเหตุผลการตัดสินใจที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ซึ่งการฝึกให้ แก้ปัญหาด้วยวิธีที่ถูกต้อง ทั้งนี้ ทักษะการคิด นักเรียนคิดวิเคราะห์จะอยู่ใน ขั้นที่ 5 ตามแนวคิด วิเคราะห์เป็นวิธีการแยกแยะองค์ประกอบหรือ ของ คือ ชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ตามหลักการ ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ เรื่องราวหรือเหตุการณ์ การ และเงื่อนไขการเรียนรู้ ผู้เรียนจะจำเนื้อหาได้ดี คิดในระดับที่ต้องอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อมูล หากมีการจัดระบบการเสนอเนื้อหาทดี่ ีและสัมพันธ์ ทฤษฎีมาเปน็ เครื่องมือในการวิเคราะห์ จึงสามารถ กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้ท่ี อธิบายได้ว่าเรื่องราวหรือเหตุการณ์เหล่านั้นอยู่ใน กระจ่างชัดจะเกิดขึ้นได้ก็คือการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ สภาพใด และอาจบอกได้ว่ามีแนวโน้มไปในทางใด และตีความในเนื้อหาใหม่ลงในพื้นฐานของความรู้ (เพ็ญศรี จันทรดวง, 2545 : 90) นอกจากน้ีการคดิ และประสบการณ์เดิมรวมกันเกิดเป็นองค์ความรู้ ว ิ เ ค ร า ะ ห์ เ ป ็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ แ ส ด ง ใ ห ้ เ ห ็ น ถึ ง ใหม่ ดังนั้นหน้าที่ของครูผู้สอนในขั้นนี้คือพยายาม ความสามารถในการจำแนก แยกแยะองค์ประกอบ ค้นหาเทคนิคที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนนำความรู้เดิม เพื่อค้นหาสภาพความเป็นจริงอย่างสมเหตุสมผล มาใช้ในการศึกษาความรู้ใหม่ (ภาคินี ชูอินแก้ว, และการคิดวิเคราะห์ช่วยสามารถทำให้ผู้เรียน 2553) สามารถแก้ปัญหา ประเมินตัดสินใจ และสรุป ข้อมูลต่าง ๆ ที่รับรู้ด้วยความสมเหตุสมผล ทั้งนี้จึง จากที่ได้กล่าวข้างต้น ผู้ศึกษาจึงได้เห็น ได้มีการศึกษาและค้นคว้ารูปแบบการจัดการเรียน ความสำคัญในการจัดการเรียนรู้รูปแบบการเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีหลักการนำเสนอ การสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เนื้อหากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ Robert เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ช้ัน Gagne ทม่ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย เน้ือหาต่าง ๆ ได้อย่างดี รวดเร็ว และสามารถจดจำ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เป็นเป็นการจัด สิ่งที่เรียนได้นาน โดยใช้กลวิธีการออกแบบ กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีมแี นวคดิ ทเ่ี ปน็ ขัน้ ตอน กิจกรรมการเรียนรู้ 9 ขั้น คือ ขั้นเร้าความสนใจ เริ่มจากง่ายไปหายาก โดยจัดลำดับขั้นการสอน ขั้นบอกวัตถุประสงค์การ เรียน ขั้นทบทวนความรู้ ต ามปร ะเ ภท ข อ ง ก าร เ ร ีย นร ู ้ซ ึ่ง จ ะท ำใ ห ้ ผู้ เ ร ี ย น 58 | P a g e
สามารถเรียนได้อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการเรียนการสอนตาม รวมไปถึงยังได้มีการศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ แนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี และศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านความ ศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ มุง่ ม่นั ในการทำงานของผู้เรียน ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้ จะเป็นแนวทางของครูและบุคลากรทางการศึกษา วธิ ีดำเนินการวจิ ัย ในการพัฒนาต่อยอดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง แบบผสมผสานที่มีประสิทธิภาพ จะเป็นประโยชน์ 1) ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ต่อการพัฒนาการสื่อการเรียนรู้ และเกิดประโยชน์ ต่อก าร พัฒนาการจัดการศึก ษาในระดับ ค้นคว้า ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มัธยมศึกษาต่อไป เพื่อให้ผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย การดำรงชวี ติ อยู่ในสงั คม และการอยรู่ ว่ มกับบุคคล มัธยม) จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 2 ห้อง ภาค อื่นได้อย่างมีความสุขตลอดจนสามารถนำเอา เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ห้องมัธยมศึกษาปีที่ ความรู้ ความเข้าใจนั้นไปปรับใช้ให้เข้ากับสภาพ 3/1 มีจำนวน 41 คน ห้องมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม สมดุล จำนวน 39 คน รวมท้ังหมดจำนวน 80 คน และยง่ั ยนื 2) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งน้ี ความมงุ่ หมายของการวจิ ัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธติ 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 1 ห้อง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 จำนวน 41 คน โดย ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี การสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 2. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั 80/80 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง : 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการเรียนการสอนตาม สอนตามแนวคิดของกานเยจำนวน 2 แผน รวม แนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี ท้งั หมด 4 ชั่วโมง ศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ นักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกัน 3. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิด อย่างสันติ แบบปรนยั 4 ตวั เลือก จำนวน 30 ข้อ วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วย รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย 3) แบบวัดความสามารถในการคิด ร่วมกับมัลติมีเดียเรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกัน วิเคราะห์ เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง อย่างสันติ สนั ติเป็นแบบวดั อตั นัย จำนวน 4 ขอ้ 4. เพื่อศึกษาคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4) แบบสอบถามคุณลักษณะอันพึง ด ้ า น ม ุ ่ ง ม ั ่ น ใ น ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง น ั ก เ ร ี ย น ชั้ น ประสงคด์ า้ นความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 จำนวน 24 ข้อ 59 | P a g e
3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล 1) ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) กบั 1) หาค่าประสิทธิภาพของแผนการ นักเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายด้วยแบบทดสอบวัด จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง วิถีศาสนา มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง กับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยพิจารณา จำนวน 1 ชุด เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ความสัมพันธ์ของกระบวนการและผลลัพธ์ที่มี ตัวเลือก ซึ่งเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เรียนที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จำนวน 30 ข้อ แล้วทำการเก็บข้อมูลที่ได้จากการทดสอบเพื่อ 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผลของการ วิเคราะห์ขอ้ มลู ในข้ันต่อไป จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง 2) ดำเนินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สนั ติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกาน เยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ 3) การวิเคราะห์ข้อมูลทักษะการคดิ ร่วมกันอย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลัง แผน แผนละ 2 ชั่วโมง ใช้เวลาจัดการเรียนรู้เป็น การจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ เวลา 4 ช่ัวโมง มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติ โดยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน 3) ทดสอบหลังเรียน (Post-test) มาตรฐาน ด้วยแบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียน เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง 4) การวิเคราะห์คะแนนจากการ สันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และบันทึกผลการสอบ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นใน ไว้ใช้เป็นคะแนนสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทำงาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ด้วย หลงั เรียนสำหรับการวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้สถติ ิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบตามแนวคิดของ กานเยร่วมกับมลั ติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ 4) ทดสอบหลังเรียน (Post-test) ร่วมกนั อยา่ งสนั ติ โดยใช้คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบน ด้วยแบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ วิถี มาตรฐาน ศาสนากับการอย่รู ว่ มกนั อยา่ งสันติ ชน้ั มัธยมศกึ ษา ปีที่ 3 และบันทึกผลการสอบไว้ใช้เป็นคะแนน ผวู้ จิ ยั ได้เสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตามลำดบั ทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสำหรับการ ดังนี้ วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชส้ ถติ ิ 1. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ 5) การประเมินคุณลักษณะอันพึง จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว ค ิ ด ข อ ง ก า น เ ย ร ่ ว ม กั บ ประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัด มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง กิจกรรมการเรียนรู้แบบตามแนวคิดของกานเย สันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ฝ่ายมัธยม) ที่มี ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ปรากฏผลตาม ร่วมกนั อยา่ งสนั ติ โดยใช้ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบน ตาราง 1 ดงั น้ี มาตรฐาน 60 | P a g e
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ตาราง 1 ประสิทธิภาพแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่ อง วิถีศาสนา .................กับการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ผลการเรยี น คะแนน คะแนน x̅ S.D. รอ้ ยละของ เต็ม รวม คะแนนเฉลี่ย ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) 3,280 2,943 53.46 4.43 89.73 ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ (E2) 1,230 1,031 22.07 4.30 83.82 ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (E1/E2) เท่ากบั 89.73/83.82 จากตาราง 1 พบว่า นักเรียนที่เรียน 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.82 แสดงว่าแผนการ ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว ค ิ ด ข อ ง ก า น เ ย ร่ ว ม กั บ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยูร่วมกัน มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง อย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้คะแนนจาก สันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตาม แบบทดสอบย่อยประจำแผนการจัดการเรียนรู้ เกณฑ์ 80/80 ผลปรากฏดังตารางมีประสิทธิภาพ แบบกิจกรรมการเรียนรู้ และแบบประเมิน เท่ากับ 89.73/83.82 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ (80/80) ที่ กำหนดไว้ พฤติกรรมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (E1) มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2,943 จากคะแนนเต็ม 3,280 2. ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผล คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.73 และได้คะแนนจาก ของตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ชั้น การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (E2) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปรากฏผลตามตาราง 2 ดังนี้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 22.07 คะแนน จากคะแนนเต็ม ตาราง 2 ดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ตามตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี ...................ศาสนากบั การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน คะแนนเต็ม ทดสอบหลงั เรยี น ทดสอบก่อนเรียน E.I. นกั เรียน คะแนนท่ไี ด้ รอ้ ยละ คะแนนทีไ่ ด้ ร้อยละ 41 30 838 68.13 1031 83.82 0.4923 จากตาราง 2 พบว่า ดัชนีประสิทธิผล ค่าเท่ากับ 0.4923 แสดงว่าการเรียนรู้ตามแนวคิด ของนักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตาม ของกานเยร่วมกบั มลั ติมเี ดยี เรื่อง วิถศี าสนากบั การ แนวคิดของกานเยร่วมกบั มลั ตมิ ีเดยี เรือ่ ง วิถศี าสนา อยู่ร่วมกันอย่างสันติ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แสดงถึง กับการอยู่รว่ มกันอย่างสนั ติ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มี 61 | P a g e
นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็น ร้อยละ จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว ค ิ ด ข อ ง ก า น เ ย ร ่ ว ม กั บ 49.23 มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง สนั ติ ปรากฏผลตามตาราง 3 ดงั น้ี 3. ผลการศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยแผนการ ตาราง 3 ผลการวิเคราะห์ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยแผนการ................... จดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ ของกานเยรว่ มกบั มัลตมิ ีเดีย เรือ่ ง วิถศี าสนากบั การอย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ระดบั คะแนน x̅ S.D. ระดับคุณภาพ ลำดับที่ 1. ดา้ นเน้อื หา 3 2.83 0.38 ดี 1 2. ด้านความสมั พันธ์ 3 2.76 0.43 ดี 2 3. ด้านหลกั การ 3 2.41 0.54 พอใช้ 3 2.62 0.55 ดี - รวม จากตาราง 3 คะแนนที่ได้จากการวัด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.41 และด้านหลักการค่าเฉลี่ย ทักษะการคิดวิเคราะห์รวมทุกด้าน นักเรียนส่วน 2.41 ระดับคณุ ภาพพอใช้ ตามลำดบั ใหญ่มีทักษะการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับดี โดยมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.62 ระดับคุณภาพดี เมื่อพิจารณา 4. ผลการวิเคราะห์คุณลักษณะอัน เป็นรายด้านตามองค์ประกอบ โดยเรียงลำดับจาก พึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนชั้น มากไปนอ้ ย พบวา่ นกั เรยี นส่วนใหญม่ ที กั ษะการคิด มัธยมศึกษาปีที่ 3 หลักจากการจัดการเรียนรู้ด้วย วิเคราะห์ด้านเนื้อหามากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.76 แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ กานเย ระดับคุณภาพดี รองลงมา คือ ด้านความสัมพันธ์ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ติ ปรากฏผลตามตาราง 4 ดังนี้ 62 | P a g e
ตาราง 4 ผลการวิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้ ................ ..ตามแนวคิดของกานเยรว่ มกบั มลั ติมีเดยี เรอื่ ง วิถศี าสนากับการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติชัน้ มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 รายการที่วดั คะแนนเต็ม x̅ S.D. การแปลผล 1. ดา้ นเอาใจใสต่ ่อการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีท่ี 5 4.26 0.75 ระดับดี ได้รับมอบหมาย 2. ดา้ นตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในการ 5 4.25 0.81 ระดบั ดี ทำงานให้สำเร็จ 3. ดา้ นปรับปรงุ และพัฒนา 5 4.25 3.74 ระดับดี การทำงานดว้ ยตนเอง 4. ด้านท่มุ เททำงาน อดทน ไมย่ อ่ ท้อ 5 3.74 4.67 ระดบั พอใช้ ต่อปัญหาและอปุ สรรคในการทำงาน 5. ด้านเอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าท่ที ี่ 30 4.07 0.82 ระดบั ดี ได้รบั มอบหมาย 6. ด้านชื่นชมผลงานดว้ ยความ 5 3.79 0.94 ระดบั ดี ภาคภูมิใจ รวม 30 24.36 1.39 ระดับดี จากตาราง 4 พบว่า ผลการวิเคราะห์ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนต่ำที่สุด คือ ด้านทุ่มเท คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ทำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคใน โดยการจดั การเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกบั การทำงาน มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉล่ีย อภปิ รายผล โดยรวมเทา่ กับ 1.39 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ ผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยมาอภิปรายผล 1.39 การแปลผลอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาแต่ละ ด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงที่สุด คอื แยกตามความมุ่งหมายของการวจิ ยั ดังน้ี ด้านเอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1. แผนการจัดการเรยี นรดู้ ว้ ยรปู แบบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 ด้านตั้งใจและรับผิดชอบใน การทำงานให้สำเร็จ ด้านปรับปรุงและพัฒนาการ การเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ ทำงานด้วยตนเอง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ด้านเอา มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง ใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมี สนั ติ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ทมี่ ีประสิทธิภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 ด้านชื่นชมผลงานด้วยความ (E1/E2) เท่ากับ 89.73/83.82 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ภาคภูมิใจ มี่ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.79 ตามลำดับ และ 80/80 ที่ตั้งไว้ หมายความว่า นักเรียนได้คะแนน เฉลี่ยจากการทำคะแนนแบบทดสอบย่อย การทำ กิจกรรมการเรียนรู้ และคะแนนจากพฤติกรรมการ 63 | P a g e
ทำงานจากแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการวิจัย หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์เบื้องต้นชั้น ปรากฏเช่นนี้อาจเนื่องมาจาก การเห็นถึง ประถมศึกษาปีที่ 4 ประสิทธิภาพที่ตั้งไว้ 80/80 ความสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งเป็นการ จ า ก ก า ร ว ิ จ ั ย พ บ ว ่ า E1/E2 ม ี ค ่ า เ ท ่ า กั บ เตรียมการสอนใหค้ รผู ู้สอนทราบเปน็ การสรา้ งความ 83.72/82.50 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ มั่นใจให้แก่ผู้สอน และกำหนดแนวทางเป้าหมายให้ ณัฎฐญา ใจหาญ (2555 : 91) ที่มีผลการวิจัยพบว่า ผู้เรียนนั้นบรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งการ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้มีการเช่ือมโยงหลักสูตร การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่เน้นกระบวนการ แนวคิด ทฤษฎีทางการเรียนรู้ เพื่อออกแบบการ เรียนรู้ตามแนวคิดของโรเบิร์ต กานเย ด้วยบทเรียน จัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ โดยมีการกำหนด เครือข่าย เรื่อง การสร้างเว็บเพจ ชั้นมัธยมศึกษาปี จุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอน ที่ 3 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 80.87/80.67 การวัดและประเมินผล ซึ่งการกำหนดจุดประสงค์ ซึง่ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 นั้น สอดคล้องกับทฤษฎีของ Bloom (ประกาศิต อานุภาพแสนยากร.2555 : 496) ซึ่งได้กำหนด 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการ หมวดหมู่ ซึ่งได้กำหนดหมวดหมู่ และระดับการ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ เรียนรู้ไป 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธิพิสัย เน้น มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง ความสามารถทางสมอง ด้านจิตพิสัย เน้นเจตคติ สันติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ และค่านิยมของตนเองและผู้อื่น และด้านทักษะ 0.4923 แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการ พิสัย เน้นการวางท่าทางให้ถูกต้องเหมาะสม เรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ซึ่งจุดประสงค์การเรียน เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มี เรียนรู้ดังกล่าว จะนำไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียน ความก้าวหน้าในการเรียนร้อยละ 49.23 ทั้งนี้ การสอนที่มีคณุ ภาพ โดยกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนจะมีความก้าวหน้าทางการเรียนได้น้ัน ได้ใช้ แนวคิด กานเย 9 ขั้นในการออกแบบ ซึ่งแต่ นกั เรียนจะตอ้ งเกดิ การเรยี นรใู้ นเน้ือหาของบทเรยี น ละขั้นได้ถูกออกแบบในด้านเนื้อหา และกิจกรรม ก่อน โรเบิร์ตกานเย ได้กล่าวว่า องค์ประกอบท่ี ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ส่งผลให้คุณภาพของ สำคัญที่ก่อให้เกิดการเรียนรูป้ ระกอบไปด้วย ผู้เรียน แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการ สิ่งเร้า การตอบสนอง (ทัศนา แขมมณี.2557 : 72) สอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง ซึ่งจากการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตาม วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มีผลสูงกว่า แนวคดิ ของกานเยรว่ มกบั มลั ติมเี ดีย เรอ่ื ง วถิ ศี าสนา เกณฑ์ซึ่งสอดคล้องกับวิจัยของอรรถโกวิท (2559) กับการอยู่ร่วมกันอย่างสันตินั้น ได้ส่งเสริมให้ ได้วิจัยการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ นักเรียนได้เข้าใจในบทเรียนเพิ่มมากยิ่งข้ึน กานเยเสริมด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เนื่องจากเป็นการจัดกิจกรรรมท่ีมีขั้นตอนในการ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ช้ัน สอนเพื่อให้ผู้เรียนแสดงออกถึง ความรู้ความเข้าใจ ประถมศึกษาปี ที่ 4 ซึ่งมีความมุ่งหมายเพื่อหา ในเนื้อหา และมีการทบทวนความรู้รวมถึงการ ประสิทธภิ าพของแผนการจดั การเรียนรู้ตามแนวคิด กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจใน ของกานเย เสริมด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เนื้อหาที่เรียนในขั้นการลงมือปฏิบัติ และมี แบบทดสอบท่เี ปน็ การทดสอบความรู้ความเข้าใจใน 64 | P a g e
เนื้อหาเพื่อนำไปใช้ ซึ่งผลวิจัยได้สอดคล้องกับ หาความสมั พันธ์ เชงิ เหตุผลเพื่อเช่ือมโยงสงิ่ ทเ่ี กดิ ข้นึ งานวจิ ยั ของปยิ ะวรรณ กันภยั (2558 : 83-90) ทีไ่ ด้ ได้ ทั้งนี้ผลรวมทุกด้านของทักษะการคิดวิเคราะห์ ศึกษาผลการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวคิดของ อยู่ในระดับดี อาจเป็นเพราะแผนการจัดการเรียนรู้ กานเยเรอ่ื งคอมพวิ เตอร์เบ้ืองตน้ ชัน้ ประถมศึกษาปี ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถี ที่ 5 ผลการวิจัย พบว่าแผนการจัดการเรียนรู้แบบ ศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นการบูรณา ผสมผสานตามแนวคดิ ของกานเยเรื่อง คอมพิวเตอร์ การระหว่างทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรม เบื้องต้นมีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7494 และ นิยมกับทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพุทธินิยม ซึ่งเป็น วิจัยของอรรถโกวิท จิตจัก (2559 : 102) ที่มี กระบวนการสอนที่มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนอง ผลการวิจัยพบว่า ดัชนีประสิทธิผลของการจัดการ สมรรถภาพทั้ง 5 ของมนุษย์อันได้แก่การเรียนรู้ เรียนรู้ตามแนวคิดกานเยเสริมด้วยคอมพิวเตอร์ชว่ ย ข้อเท็จจริง ทักษะด้านสติปัญญา ทักษะการคิด สอน เรือ่ ง หลกั การทำงานของคอมพวิ เตอร์เบอ้ื งตน้ ทักษะการเคลื่อนไหว และเจตคติซึ่งผู้เรียนจะเกิด ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 0.7315 หรือ การเรยี นรภู้ ายในสมองเมือ่ มีการจัดระบบขอ้ มูลใหม้ ี รอ้ ยละ 73.15 ความหมาย ทำให้ผู้เรียนเข้าใจง่าย เรียนรู้ได้อย่าง รวดเร็ว และเกิดองค์ความรู้ที่คงทนผ่านการลงมือ 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนรู้ ปฏิบัติจากกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้น การปฏิบัติ ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย กิจกรรมตามการเรียนรู้จะทำให้นักเรียนได้ฝึก ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกนั ทักษะความสามารถในการคิด ทั้งนี้จากแผนการจัด อย่างสันติ มีคะแนนความสามารถในการคิด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าสร้างขึ้น วิเคราะห์ เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 2.62 คิดเป็นร้อยละ ไดแ้ ทรกกิจกรรมท่ฝี ึกให้นักเรยี นได้คดิ วิเคราะห์ตาม 87.33 ทั้งนี้คะแนนที่ได้จากการวัดทักษะการคิด ทฤษฎีการคิดของบลูม อธิบายว่าการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์รวมทุกด้าน นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะการ เป็นความสามารถในการแยกแยะเพื่อหาส่วนย่อย คิดวิเคราะห์อยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ของเหตุการณ์ เรื่องราวหรือเนื้อหาต่างๆ วา 2.62 ระดับคุณภาพดี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ประกอบด้วยอะไร มีความสำคัญอย่างไร้อะไรเป็น ตามองค์ประกอบ โดยเรียงลำดับจากมากไปน้อย เหตุ อะไรเป็นผล และที่เป็นอย่างนั้นอาศัยหลักการ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะการคิดวิเคราะห์ รู้อะไร แบ่งการคิดวิเคราะห์เป็น 3 ลักษณะ คือการ ด้านเนื้อหามากที่สุด ระดับคุณภาพดี รองลงมา คอื วิเคราะห์ส่วนประกอบ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ด้านความสัมพันธ์ ระดับคุณภาพดี และด้าน และการวิเคราะห์หลักการความสามารถในการ หลักการ ระดับคุณภาพพอใช้ ตามลำดับ การที่ วิเคราะห์จะส่งผลให้ผู้เรียนสามารถนำไป นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ด้านหลักการน้อย ประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ใหม่ได้อย่างสร้างสรรค์ ที่สุดในสามด้าน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการคิด เพราะเป็นการพัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ วิเคราะห์ด้านหลักการมีความสลับซับซ้อนมาก ระดับการมีเหตุผลและเป็นการเรียนรู้ที่คงทนของ นักเรียนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจพืน้ ฐานในเรือ่ ง นี้เป็นอย่างดีประกอบกับต้องมีความสามารถในการ 65 | P a g e
แต่ละบุคคลมากขึ้น (สุวิทย์ มูลค่า 2547 : อ้างอิง ประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการเรียนรู้อยู่ในระดับดี มาจาก Bloom. 1976 1 201-207) ทั้งนี้แผนการ สอดคล้องกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ พื้นฐาน (2551) ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ มัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกันอย่าง อันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สันติด้สอดแทรกกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ สังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย ฝึกคิดวิเคราะห์ ตามทฤษฎีของบลูม ส่งผลให้ และพลโลก ซึ่งความมุ่งมั่นในการทำงาน เป็น นักเรียนเข้าใจเนื้อหาและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ และ อันส่งผลให้ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมี รับผิดชอบในการทำหน้าที่การงานด้วยความเพียร ระดับคุณภาพดี พยายาม อดทน เพ่ือใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ผูท้ ี่ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน คือ ผู้ทมี่ ีลกั ษณะซง่ึ แสดงออก 4. นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ท่ีได้เรียน ถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วย ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย ความเพยี รพยายาม ทมุ่ เทกำลังกาย กำลังใจ ในการ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง วิถีศาสนากับการอยู่ร่วมกนั ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลลุ ่วงตามเป้าหมายท่ี อย่างสันติ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งม่ัน กำหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจ ในการทำงานอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน ในผลงาน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงที่สุด คือ ด้าน เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ระดับคุณภาพดี ถัดมาคือด้านตั้งใจและรับผิดชอบ 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ ในการทำงานให้สำเร็จ ด้านปรับปรุงและพัฒนาการ 1.1 การจัดการเรยี นการสอนโดยการ ทำงานด้วยตนเอง ด้านเอาใจใส่ต่อการปฏิบตั หิ น้าท่ี ที่ได้รับมอบหมายมี ตามลำดับ และด้านทีม่ ีค่าเฉล่ยี จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดกานเย เรื่อง วิถีศาสนากับ ของคะแนนตำ่ ที่สุด คือ ด้านทมุ่ เททำงาน อดทน ไม่ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรม ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน อยู่ใน การเรียนรู้ที่มีการเน้นการปฏิบัติ การมีส่วนร่วม ระดับพอใช้ สาเหตุอาจมาจากภาระงานที่ได้รับ ระดมความคิด เพื่อให้ผู้เรียนเกดิ ความเข้าในเนื้อหา มอบหมายในชั้นเรียน ซึ่งสถานการณ์การเรียน มากยง่ิ ขึน้ ออนไลน์ (On-line) ในช่วงโรคระบาดของโควิด-19 ทำให้สลับกับการเรียนออนไซต์ (On-Site) ภาระ 2.1 การจดั การเรียนการสอนโดยการ งานที่ได้รับมอบหมายอาจไม่สะดวกในการทำได้ จัดการเรยี นร้ตู ามแนวคิดกานเย ครผู สู้ อนต้องมีการ อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงสมาธิใน วางแผนและอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ เพื่อ การทำงานที่สภาพแวดล้อมมีปจั จัยสง่ ผลตอ่ อารมณ์ รับมือให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนออนไลน์ ท่ี และความรู้สึกในการเรียนและการทำงานของ มีข้อจำกัดในเรื่องของอุปกรณ์การเรียนรู้ของ นกั เรยี น ทั้งนคี้ ะแนนโดยรวมของคณุ ลกั ษณะอันพึง นกั เรยี น 2.2 ครูผู้สอนควรมีการแนะนำแหล่ง การเรียนรู้ แหล่งสืบค้นหาขอ้ มูลเพิ่มเติมให้นักเรยี น 66 | P a g e
ได้มีฐานข้อมูลที่หลากหลาย เป็นฐานในการนำ กิตติกรรมประกาศ ข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาความสามารถในการคิด การวิจัยฉบับนี้สำเร็จสมบูรณ์ได้ด้วย วเิ คราะห์ ความกรุณาและความช่วยเหลือเอาใจใส่เป็นอย่างดี 2. ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษา ยิ่งจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร อัฒจักร และ คน้ ควา้ วจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เดชา จันทคัต อาจารย์ที่ ปรึกษา ครูพี่เลี้ยงในการฝึกประสบการณ์และ 2.1 ควรมีการเปรียบเทียบการ พัฒนาวิชาชีพครู ได้กรุณาให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดกานเยกับการสอนด้วย และตรวจแก้ไขข้อบกพร่องตั้งแต่ต้นจนสำเร็จ และ เทคนิควธิ ีการจดั การเรยี นรู้แบบอน่ื ๆ อำนวยความสะดวกกรุณาให้คำปรึกษา แนะนำ และตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องอย่างดียิ่ง ตั้งแต่ 2.2 การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ เริ่มต้นจนเสร็จสมบูรณ์ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็น รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดกานเย ควร อย่างสูงสำหรบั การเก็บรวบรวมข้อมลู วิจยั ในครั้งน้ี พัฒนาและบรู ณาการเพื่อนำไปใชไ้ ด้กบั วชิ าอ่นื ๆ 2.3 ควรทำการศึกษาเกีย่ วข้องกบั ตวั แปรอื่น ๆ นอกเหนือจากความสามารถในการคิด วิเคราะห์ เพื่อพัฒนาทักษะให้หลากหลายและรอบ ดา้ น บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : องคก์ ารรับสง่ สนิ คาและพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.), 2545. กรมวิชาการ. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : องค์การรับส่งสินคาและพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.), 2545. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.cvk.ac.th. [สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2564]. ทัศนา แขมมณี. (2557).ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ.์ บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2547). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์. กรุงเทพมหานคร: บุค๊ พอยท์ พิมพ์ประภา อรัญมิตร. (2552). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลยเขต 3 โดยการวิเคราะห์พหุระดับ. วารสารครุ ศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเลย, 3(4). 42. ภาคนิ ี ชอู นิ แกว้ (2553). “การพัฒนาโปรแกรมสอนเสรมิ เพอื่ การเรียนร้โู ครงสร้างขอ้ มูลแบบตน้ ไม้ดว้ ยหลักการ สอนของกานเย” วารสารมหาวิทยาลัยทกั ษิณ. ปี ท1่ี 3 เล่ม 2. 67 | P a g e
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). (2563). หลักสูตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ฉบับ ปรับปรุงตัวชี้วัด พุทธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา 2563). [ออนไลน์]. ได้จาก: https://satit.msu.ac.th [สืบคน้ เมอ่ื วันท่ี 29 ธันวาคม 2564]. ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนคิ การวดั ผลการเรียนรู.้ กรงุ เทพ: สรุ วี ยิ าสาส์น ศุภาวรรณ ชัยลังกา, เพ็ญพิศุทธิ์ ใจสนิท และศิวภรณ์ สองแสนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของกาน เย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 วารสาร บัณฑิตศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงราย, 10(1). สมนกึ ภทั ทิยธน.ี (2560). การวัดผลทางการศึกษา. พิมพค์ รัง้ ท่ี 11. กาฬสินธุ:์ ประสานการพมิ พ์. สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มลู คำ. (2546). 19 วธิ จี ดั การเรียนรู้ : เพือ่ พฒั นาความรู้และทกั ษะ. กรงุ เทพฯ :ภาพ พมิ พ์ อังคณา รักเพื่อน. (2560).การพัฒนาความสามารถการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ โดยใช้ รูปแบบการจัดการ เรียนรู้ของกานเย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรี ยนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5. ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (หลักสูตรและการเรียนการสอน) มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. 68 | P a g e
การพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบโยนโิ สมนสิการร่วมกบั มลั ติมีเดยี สาหรบั พฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และใฝเ่ รียนรู้ เรื่อง การปฏบิ ตั ติ นตามหลักศาสนาและวันสาคัญทางศาสนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม) (นิเวศ ตรีจันทร)์
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียสำหรับพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และใฝ่เรียนรู้ เรื่อง การปฏิบัติตน ตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม) The Development of Yonisomanasikarn Learning Activities with Multimedia for Developing Learning Achievement, Analytical Thinking Abilities, and Avidity for Learning on Religious Practices and Important Religious Holidays of Mathayomsueksa 5 , Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) นเิ วศ ตรีจนั ทร์1 สาคร อฒั จกั ร2 เดชา จนั ทคตั 3 Nivase Treejun1 Sakorn Atthachakara2 Decha Jantakat3 บทคดั ยอ่ การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียช่วยเสริมสร้างความสามารถทางการ คิดของผู้เรียน และเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะกับการพัฒนาความสามารถในการคดิ วิเคราะห์และส่งเสริมคุณลักษณะ ด้านใฝเ่ รยี นรู้ของผู้เรยี นใหส้ งู ขน้ึ การวจิ ยั คร้งั น้ีมคี วามมงุ่ หมายเพอ่ื 1) เพอ่ื พฒั นาแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบโยนิโส มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียน ของนักเรียนที่ เรียนด้วยการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการรว่ มกับมัลตมิ ีเดีย เรื่อง การปฏิบตั ติ นตามหลักศาสนาและวันสำคญั ทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ท่ี เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 4) เพ่อื ศึกษาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก 1 นสิ ิตสาขาสังคมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University. 2 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University. 3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควชิ าหลกั สตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University. 70 | P a g e
ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 5/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 34 คนซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทาง ศาสนาร่วมกับมัลติมีเดีย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 2 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 4 ชั่วโมง ผลจากการประเมินของ ผู้เช่ียวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมที่ 4.91 2) มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนาร่วมกับ มัลติมีเดีย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมที่ 4.79 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.21 – 0.94 ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rcc) เท่ากับ 0.96 4) แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ ชนิดอัตนัย จำนวน 2 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก ( B) ตั้งแต่ 0.23 – 0.82 ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rcc) เท่ากับ 0.94 5) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ จำนวน 6 ข้อ มีค่า อำนาจจำแนก (rxy) ตั้งแต่ 0.47 – 0.63 และค่าความเชื่อมั่น (α) เท่ากับ 0.81 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมตฐิ านโดยใช้ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจยั ปรากฏดงั น้ี 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) 92.17/80.08 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ทีต่ ้งั ไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มลั ตมิ ีเดยี เรือ่ ง การปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนเพิ่มขึ้นจากก่อน เรยี นอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา มีทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ อยู่ใน ระดบั ดี โดยสรุป การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบโยนโิ สมนสิการร่วมกบั มัลติมเี ดยี มีประสิทธภิ าพชว่ ยเสริมสรา้ งผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และใฝ่เรียนรู้ จึงควรสนับสนุนให้ครนู ำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนเพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นบรรลุผลตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละประสบผลสำเรจ็ มากข้ึน คำสำคัญ : การเรียนร้โู ยนโิ สมนสิการ, มลั ติมเี ดยี , การคิดวิเคราะห์, ใฝเ่ รียนรู้ 71 | P a g e
Abstract The development of Yonisomanasikarn learning activities with multimedia enhances the students' thinking abilities. It is a suitable method for developing analytical thinking abilities and enhancing avidity for learning of students. This research purposed 1) to develop Yonisomanasikarn learning activity plans with multimedia on religious practices and important religious holidays of Mathayomsueksa 5 based on the efficiency criterion of 80/80. 2) to compare the learning achievement between before and after studying of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays. 3) to compare the analytical thinking abilities of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays. 4) to study the desirable characteristics in avidity for learning of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays. The sample group was 34 students in Mathayomsueksa 5/2, Mahasarakham University Demonstration School (Secondary), in semester 2 of the academic year 2021 by a simple random sampling method. The research instruments were 1) the lesson plan with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays, Mathayomsueksa 5, with 2 lesson plans, 2 hours each, a total of 4 hours. The results of the expert assessment had a total mean of 4.91. 2) the multimedia on religious practices and important religious holidays, Mathayomsueksa 5, had a total mean of 4.79 from the results of the expert assessment. 3) the achievement test with a multiple-choice test that had 4 choices with a total of 25 items had the discrimination index B ranging from 0.21 – 0.94, and the reliability (rcc) of the test was 0.96. 4) the analytical thinking skills test with a subject test that had 2 items had the discrimination index B ranging from 0.23 – 0.82, and the reliability (rcc) of the test was 0.94. 5) the observation form of the desirable characteristics in the avidity for learning with a total of 6 items had the discrimination item total correlation from 0.47 – 0.63 and the reliability (α) of the test was 0.81. The statistics used in the data analysis were mean, percentage, standard deviation, and hypothesis testing using t-test (Dependent Sample). The result of the study revealed that; 1. The lesson plans with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia about religious practices and important religious holidays, Mathayomsueksa 5 had the effectiveness (E1/E2) of 92.17/80.08 which followed the efficiency criterion of 80/80 that the researcher set. 2. The learning achievement after studying of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays was significantly higher than before studying at the .05 level. 72 | P a g e
3. The analytical thinking skills after studying of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays were significantly higher than before studying at the .05 level. 4. The desirable characteristics in avidity for learning of Mathayomsueksa 5 students who studied with Yonisomanasikarn learning activities with multimedia on religious practices and important religious holidays were at a good level. In conclusion, Yonisomanasikarn learning activities with multimedia enhance learning achievement, analytical thinking abilities, the avidity for learning. Therefore, teachers should be encouraged to use it as a guideline for teaching in order to lead learners to achieve their objectives and achieve greater results. Keywords : Learning By Using the Yonisomanasikarn Approach, Multimedia, Analytical Thinking, Avidity for Learning บทนำ หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และ ในสถานการณ์ปัจจุบันโลกได้เปลี่ยนแปลง พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด (Child Center) กระบวนการจัดการศึกษา ต้อง ไปอย่างมากมาย ความเจริญของเทคโนโลยีที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว เข้าสู่ยุคโลกไร้พรมแดนการ เต็มตามศักยภาพ” และ “มาตรา 24 การจัด รับรู้ข้อมูลด้านต่าง ๆ จึงต้องคิดวิเคราะห์ ให้ถูกต้อง กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นจัดกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับ เพื่อนำความรู้ท่ีไดน้ ั้นมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต ความสนใจและความถนัดของผู้เรียน ฝึกทักษะ อันได้แก่ด้านการศึกษาด้านการทำงาน ด้านการ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ อุปโภคและบริโภคสินค้าและบริการต่าง ๆ เพื่อ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไข นำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา การตัดสินใจ ที่ถูกต้อง ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก จงึ จำเปน็ ต้องมีทักษะการคดิ วิเคราะหท์ ี่ถกู ต้อง ตาม ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้คิดได้ คิดเป็น ทำ ขั้นตอนและหลักวชิ า เพ่ือนำความรู้น้ันมาประยุกตใ์ ช้ เป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม เพราะฉะนั้น จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้าน ความสำคัญของการพัฒนาผู้เรียน ได้ระบุไว้ใน ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝัง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (และ คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึง แก้ไขเพิ่มเติม 2545, 2553) ให้ไว้ ณ วันที่ 14 ประสงค์ไว้ในทุกวิชาส่งเสริมสนับสนุนให้ครูสามารถ สิงหาคม พ.ศ.2542 ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนา จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและ ผู้เรียนไว้ในหมวดที่ 4 เรื่อง แนวการจัดการศึกษา ตามมาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึด 73 | P a g e
อำนวยความสะดวก เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมี เกิดขึ้น และวางแผนสู่อนาคต รวมถึงการศึกษา ความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง คุณลักษณะการเป็นคนดีของสังคม สังคมของ มนุษย์ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้ครูและผู้เรียน โลกจะดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีสันติสุข ประชากร อาจเรยี นร้ไู ปพรอ้ มกนั จะต้องเป็นพลเมืองดีทั้งในระดับโลก และ ระดับประเทศ ตลอดถึงสังคมของบุคคลกลุ่มย่อย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ วัฒนธรรมมีความสำคัญในการพัฒนาคุณลักษณะ การดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล ต่าง ๆ ของผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี โดยมีเป้าหมาย และการอยู่ร่วมกันในสังคมการปรับตัวตาม ของการพัฒนาความเป็นพลเมืองดีของสังคม (กรม สภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง วชิ าการ, 2544 : 10) จำกัด เข้าใจถึงการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ เกิดความเข้าใจใน รายงานการประเมินคุณภาพของ ตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับใน สถานศึกษาและจากการสังเกตการณ์สอนที่โรงเรียน ความ แตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนำความรู้ไป สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) พบว่า ปรับใช้ในการดำเนินชีวิตเป็นพลเมืองดีของ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ ประเทศชาติ และสังคมโลกทำให้เข้าใจการอยู่ วัฒนธรรม พบจุดที่ควรพัฒนา ได้แก่ การพัฒนาครู ร่วมกันในสังคมที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน เพื่อให้ ให้จัดกิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนได้มีความสามารถในการ สามารถปรับตนเอง กับบริบทสภาพแวดล้อม เป็น คิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างหลากหลาย และใช้ พลเมืองดีมคี วามรบั ผิดชอบมคี วามรู้ ทักษะ คณุ ธรรม แหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาตนเอง (โรงเรียนสาธิต และค่านิยมท่ี เหมาะสม ประกอบไปดว้ ยสาระต่าง ๆ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม), 2562: 5) คือ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง ดังนั้นจึงควรปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้มี วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ประสิทธิภาพ เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางการ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เรียนรู้ และเนื่องด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนการ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 132) เป็นงานที่ท้า สอนในรายวิชาพระพุทธ ศาสนามักจัดตามเนื้อหาท่ี ทายความสามารถของครูผู้สอนสาระ กล่าวไว้ในตำรามุ่งการท่องจำมากกว่าการคิด พระพุทธศาสนา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ วิเคราะห์และปฏิบัติ ขาดสิ่งเร้าหรือสิ่งจูงใจในการ อย่างเหมาะสม และมีคุณค่า เป้าหมายต้องเป็นไป เรียน ไม่มีสื่อประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี เพื่อสร้างจิตสำนึกของการเป็นคนดีของ สังคมเป็น ทนั สมยั หาส่อื ท่ีนำมาประกอบการเรียนทสี่ ่งเสรมิ การ ประชาชนที่มีการศึกษา เข้าใจปัญหาสังคมเชื่อมโยง คิดวิเคราะห์ให้สอดคล้องกับเนื้อหาได้ยาก ส่วนมาก เข้ากับการดำเนินชีวิตของผู้เรียนและผู้อื่น ส่งเสริม มีแต่บทเรียนที่ขาดภาพประกอบทำให้นักเรียนเบื่อ ความเข้าใจโลกปฏิสัมพันธ์ที่มนุษย์มีต่อความ หน่ายในการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา (พระมหาสุ หลากหลายทางวัฒนธรรม โดยตระหนักถึงผลที่จะ ธน วงศ์แดง. 2540 : 5-8) ในการจัดการเรียนรู้นั้น 74 | P a g e
ครูผู้สอนต้องเป็นครูยุคใหม่ ต้องเลือกสรรและใช้ กลมกลืนกัน เพื่อนำไปสู่แนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องอีก รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อ ทั้งวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการเป็นวิธีคิดถูก วิธีคิดมี นำมาใช้กระตุ้น ให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้อย่าง ระเบียบ คิดมีเหตุผล คิดเร้ากุศล นอกจากนี้ยังเป็น กว้างขวางและทันสมัย รู้จักคิดอย่างมีเหตุผล วิธีการสอนที่มี ลักษณะบูรณาการหลักจิตวิทยาการ สามารถแก้ไขปัญหา และมีทักษะในเชิงปฏิบัติ มีการ เรียน หลักการแนะแนว และหลักการสอนอย่าง สร้างแรงจูงใจ สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ให้ ผสมผสานกลมกลืนไดส้ ดั ส่วนให้สมดลุ กัน โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้น และกระตุ้นให้ ให้ครูเป็นกัลยาณมิตรของศิษย์ ครูและศิษย์มี เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในเชิงสร้างสรรค์ การนำ ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน จัดเป็นปัจจัยภายนอกที่ มัลติมีเดียมาใช้ประกอบกับการจัดการเรียนการสอน เหนี่ยวโน้ม ส่งเสริมและปลุกเร้าให้เกิดความเชื่อใน จะช่วยทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเข้าใจ มองเห็น ตัวครูผู้สอน ในสาระที่เรียนและวิธีการเรียนจะเกิด ภาพชัดเจนเป็นรูปธรรมและได้เรียนรู้อย่างมี ประโยชน์สูงสุดแก่ตัวผู้เรียน โดยเน้นการคิด ความหมายมากขึ้น วิเคราะห์อย่างมีระบบ ใช้วิธีการแห่งปัญญาในการ เล่าเรียน การคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น 3 การจดั การเรียนรูต้ ามหลักโยนิโสมนสิการที่ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอน จึงเน้นให้นักเรียน หมายถึงการคิดหรือการกระทำไว้ในใจ โดยอุบายอัน เป็นศูนย์กลาง และเพิ่มกระบวนการฝึกคิดวิเคราะห์ แยบคาย โดยมีสติไตร่ตรองพิจารณาอย่างรอบด้าน จัดกิจกรรมที่น่าสนใจ เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะการ และมีเหตุมีผลสมบูรณ์ที่สุด จึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะ คดิ วิเคราะห์และตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม ช่วยในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ระเบียบ ตรง ด้วยเหตุผลและความสำคัญดังกล่าวในการ ตามสภาวะและเหตุปัจจัยทุกขั้นตอน สามารถพิสูจน์ ปลูกฝังและส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสามารถใน หรือจำแนกแยกแยะออกมา อธิบายให้เห็นจริงได้ซึ่ง การคิดวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่ถูกต้อง พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้เสนอวิธีคิด ตามเหตุและผล โดยใช้แนวพุทธธรรมจึงเป็นสิ่งท่ี แบบโยนิโสมนสิการไว้ ในหนังสือพุทธธรรมทั้งหมด สำคัญ ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนในรายวิชา 10 วิธีคือ 1) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย 2) วิธีคิด พระพุทธศาสนาจึงสนใจศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ แบบแยกแยะองค์ประกอบ 3) วิธีคิดแบบรู้เท่าทัน ที่จะนำมาพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยใช้การ ธรรมดา 4) วิธีคิดแบบแก้ปัญหา 5) วิธีคิดแบบอรรถ คิดตามหลักโยนิโสมนสิการ มาใช้ในจัดการเรียนการ ธรรมสัมพันธ์ 6) วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก 7) สอนในวิชาพระพทุ ธศาสนา สำหรับนกั เรียนระดับชนั้ วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม 8) อุบายปลุก มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย เร้าคุณธรรม 9) วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบัน มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ตำบลขามเรียง อำเภอ 10) วิธีคิดแบบวิภัชชวาท ซึ่งวิธีคิดดังกล่าวอาศัยกัน กันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม โดยเชื่อว่าวิธีการน้ี และสัมพันธ์กันเมื่อเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา จะช่วยทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและ จะต้องบูรณาการรูปแบบวิธีการคิดมาผสมผสาน ทักษะการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น และเป็นวิธีที่ช่วยฝึกให้ 75 | P a g e
เป็นผู้เรียนได้ คิดเป็น คิดดี คิดถูก สามารถแก้ปัญหา ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ได้ สามารถนำประสบการณ์การเรียนรู้ไปปรับใช้กับ ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สภาพสังคมปัจจุบัน ที่ต้องรับข้อมูลข่าวสารมากมาย 5 การมีทักษะการคิดที่ดี ถูกวิธี ถูกต้อง ตามเหตุและ ผล จะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ีสับสน 3. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคดิ วุ่นวายได้อย่างเหมาะสม และยังเหมาะกับเนื้อหา วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียน และ วัยของผู้เรียน ซึ่งกำลังเป็นวัยรุ่นที่กำลังจะ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ กลายเป็นผู้ใหญ่ที่มีความกระตือรือร้น อยากรู้ อยาก ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ลอง อยากเห็น ชอบคิด ค้นคว้าทดลอง เพื่อหาความ ศาสนาและวันสำคญั ทางศาสนา จริง ตลอดจนเพื่อช่วยนักเรียนให้มีความสามารถใน การแก้ไขปญั หาเมอ่ื เผชญิ สถานการณ์ และปฏบิ ัติตน 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีคุณธรรม และยังเป็น ด้านใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ท่ี การศึกษาทักษะการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทาง เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส เรียนในรายวิชาพระพุทธศาสนา โดยใช้การคิดตาม มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตาม หลักโยนิโสมนสิการ จึงมีความสำคัญและจำเป็น หลกั ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา อย่างยิ่ง ซึ่งเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสตูร การศึกษาในปัจจุบัน ที่เน้นการคิดเป็น ทำเป็น และ วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั แก้ปัญหาเป็น และหากนักเรียนมีทักษะการคิด 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจได้อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ เหมาะสมในสังคมปัจจุบันแล้ว ส่งผลให้นักเรียน เหล่านัน้ เตบิ โตขน้ึ เป็นผู้ใหญ่ทมี่ ศี ักยภาพในอนาคต นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จังหวัด ความมงุ่ หมายของการวจิ ัย มหาสารคาม จำนวน 2 ห้อง ในภาคเรียนที่ 2 ปี 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการ การศึกษา 2564 จำนวน 66 คน แบ่งเป็น ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 32 คน ชั้นมัธยมศึกษา เรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง ปีท่ี 5/2 จำนวน 34 คน การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทาง ศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เกณฑ์ 80/80 ได้แก่ นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/2 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จังหวัด 2. เพื่อเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มหาสารคาม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่เรียน จำนวน 34 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ (Sample Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียน เปน็ หนว่ ยการสมุ่ 76 | P a g e
2. เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจยั 2. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) ด้วย 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้น จำนวน 25 ข้อ และแบบวัดทักษะการคิด แบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก วิเคราะห์เพ่ือตรวจสอบความร้พู ื้นฐานของนกั เรียน ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนาร่วมกับมัลติมีเดีย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 2 แผน แผนละ 2 3. ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง รวม 4 ชั่วโมง โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญ 2. มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตาม ทางศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา ห ล ั ก ศ า ส น า แ ล ะ ว ั น ส ำ ค ั ญ ท า ง ศ า ส น า ร ่ ว ม กั บ และวัฒนธรรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มลั ติมีเดีย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 2 แผน รวม 4 ช่ัวโมง 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ 4. ทดสอบหลังเรียน หลังจากการ เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย จัดการเรียนรู้สิ้นสุดลง ทดสอบด้วยแบบทดสอบวัด แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบวัดทักษะด้านการ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ค ิ ด ว ิ เ ค ร า ะ ห์ ซ ึ ่ ง เ ป ็ น แ บ บ ท ด ส อ บ ช ุ ด เ ด ี ย ว กั บ ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชนิดเลือกตอบ 4 แบบทดสอบกอ่ นเรียน ใชเ้ วลา 60 นาที ตวั เลอื ก จำนวน 25 ขอ้ 4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล 4. แบบทดสอบวัดทักษะการคิด 1. หาค่าประสิทธิภาพของแผนการจดั วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียน ด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตาม มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและ หลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา จำนวน 1 ชุด วันสำคัญทางศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม เปน็ แบบทดสอบชนิดอัตนัย จำนวน 2 ข้อ ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ท่ีมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 5. แบบสอบถามคุณลักษณะอันพึง ประสงคด์ ้านใฝ่เรยี นรู้ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนผล 5 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ การทดสอบของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ท่เี รียน โยนโิ สมนสิการร่วมกบั มลั ติมเี ดีย เร่อื ง การปฏิบัติตน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ ตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา เป็น มัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating วันสำคัญทางศาสนา ระหว่างคะแนนก่อนเรียนและ Scale) แบ่งระดบั การใฝ่เรียนรู้ 5 ระดับ คะแนนหลังเรยี น 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3. การวิเคราะห์ข้อมูลทักษะการคิด 1. ชี้แจงรายละเอียดขั้นตอนและวิธี วิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการ จัดการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย ปฏิบัตใิ นการเรยี นกบั นกั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ ง 77 | P a g e
เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางศาสนา ระหว่างคะแนนก่อนเรียนและคะแนน ผู้วิจัยได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตาม หลังเรียน ความมุ่งหมายของการวจิ ยั ดงั นี้ 4. หาค่าเฉลี่ยของคะแนนศึกษาด้าน 1. วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ ใฝ่เรียนรู้ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตาม แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ หลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา โดยใช้ค่าเฉล่ีย มัลตมิ ีเดียเร่ือง การปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนาและวัน และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน สำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ตามเกณฑ์ 80/80 ได้ผลดงั ตาราง 1 ตาราง 1 ผลการวิเคราะหห์ าประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรยี น คะแนน คะแนน ���̅��� SD. รอ้ ยละของ เตม็ รวม คะแนนเฉลย่ี ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1) 4,318 3,980 117.06 7.20 92.17 80.08 ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ (E2) 1,190 953 28.03 5.01 ประสิทธิภาพของแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (E1/E2) เท่ากบั 92.17/80.08 จากตาราง 1 พบว่า นักเรียนได้คะแนนจาก ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 80.08 ซึ่งสูง การปฏิบัติงานกลุ่ม การทำกิจกรรมการเรียนรู้ และ กว่าเกณฑ์ท่ีกำหนอดไว้ (80/80) การทดสอบย่อย จากแผนการจัดการเรียนรู้แบบ โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียเรื่อง การปฏิบัติตน 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ตามหลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้น ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ท่ี มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 จำนวน 2 แผน มีคะแนนเฉลีย่ รอ้ ย เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ละ 92.17 ดังนั้น ประสิทธิภาพของแผนการจัด รว่ มกบั มลั ติมีเดยี เรือ่ ง การปฏบิ ัตติ นตามหลกั ศาสนา กิจกรรมการเรียนรู้ (E1) เท่ากับ 92.17 และคะแนน และวันสำคัญทางศาสนา ระหว่างคะแนนก่อนเรียน สอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.08 และหลงั เรียน ได้ผลดงั ตาราง 2 ตาราง 2 คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน การทดสอบ จำนวนนกั เรยี น คะแนนเต็ม ���̅��� S.D. tp 12.12 2.80 15.96 .00* กอ่ นเรียน 34 25 2.97 78 | P a g e หลงั เรียน 34 25 20.18 ** มีนัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05*
จากตาราง 2 พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยแผนการ เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ จัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย ระดบั .05 เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญ ทางศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 มีคะแนนผลสมั ฤทธ์ิ 3. วิเคราะห์ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทางการเรียนก่อนเรียนเฉลี่ย 12.12 ส่วนเบี่ยงเบน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย มาตรฐาน 2.80 หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ 20.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.97 และมีค่า t มัลตมิ ีเดียเรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวัน เท่ากับ 15.96 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สำคัญทางศาสนา ระหว่างคะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรียน ไดผ้ ลดังตาราง 3 ตาราง 3 วเิ คราะห์ทกั ษะคิดวิเคราะหท์ างการเรยี นกอ่ นเรียนและหลงั เรียน การทดสอบ จำนวนนกั เรยี น คะแนนเตม็ (10) ���̅��� S.D. t p กอ่ นเรยี น 34 141 4.15 0.93 27.04 .00* หลงั เรยี น 34 259 7.62 1.23 ** มีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05* จากตาราง 3 นักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการ 27.04 มีทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนเพิ่มขึ้นจาก เรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียเรื่อง ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญทาง ศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนทักษะการคิด 4. วิเคราะห์คุณลักษณะอันพึง วิเคราะห์ก่อนเรียนเฉลี่ย 4.15 ส่วนเบี่ยงเบน ประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี มาตรฐาน 0.93 หลงั เรียนมีคะแนนเฉลยี่ เท่ากับ 7.62 ที่ 5 ที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.23 และมีค่า t เท่ากับ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดียเรื่อง การปฏิบัติตนตาม หลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ระหว่าง คะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรียน ไดผ้ ลดังตาราง 4 ตาราง 4 วิเคราะหค์ ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ การทดสอบ จำนวนนกั เรียน คะแนนเตม็ (30) ���̅��� S.D. การแปลผล 25.72 0.27 ดี ใฝ่เรยี นรู้ 34 30 จากตาราง 4 พบว่านักเรียนที่เรียนด้วยแผนการ ทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน จัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้เฉลี่ยเท่ากับ เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาและวันสำคัญ 79 | P a g e
25.72 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27 สอดคล้องกับ นฤมล ทองพันธ์ (2557) ได้ศึกษาการ ซง่ึ แปลผลในระดบั ดี เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อสาระ อภิปรายผล พระพุทธศาสนา ซึ่งมีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการ การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ สาระ พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มี โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย สำหรับพัฒนา ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิด แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบโยนโิ สมนสิการ มี วิเคราะห์ และใฝ่เรียนรู้ เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลกั ประสิทธิภาพเท่ากับ 93.12/88.50 และสอดคล้อง ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ กับงานวิจัยของ ศรีไพร จันทร์เขียว (2559) ที่ศึกษา 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย การจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาโดยพุทธวิธีบูรณา มัธยม) สามารถอภปิ รายผลได้ ดังน้ี การ ซึ่งมีความมุ่งหมายเพื่อสร้างและหา ประสิทธิภาพหน่วยการเรียนรู้เรื่องหลักธรรมเพ่ือ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส พฒั นาชวี ติ ด้วยแนวคดิ ตะวนั ตกกับพุทธวธิ ี พบว่า ผล มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตาม การหาประสิทธิภาพของหน่วยการเรียนรู้เรื่อง หลักศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา ชั้นมัธยมศกึ ษา หลักธรรมเพื่อพัฒนาชีวิตด้วยแนวคิด ตะวันตกกับ ปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพเท่ากับ 92.17/80.08 ซ่ึง พุทธวิธี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.91/87.60 ซึ่งสูง เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ เน่อื งจากมกี าร กวา่ เกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ คือ 80/80 พัฒนาและปรับปรุงแก้ไขตามที่ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ คำแนะนำ รวมไปถึงได้ศึกษารูปแบบวิธีการจัดการ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย เรียนรู้ตามนักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ผลการวิจัยของ ศศิวิมล อินทปัตถา (2560) ได้วิจัย ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส ศาสนาและวนั สำคัญทางศาสนา มีผลสมั ฤทธท์ิ างการ มนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม เรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับผลวิจัยของ ศศิวิมล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย อินทปัตถา (2560) ได้วิจัยการพัฒนาการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้หนังสอื มนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ท่ี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ส่งสริมความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ซึ่งมี ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลวิจัยพบว่า วจิ ัยครง้ั น้มี ีความมงุ่ หมายเพอื่ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ของ ร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษา นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.93/80.29 และ 80 | P a g e
โยนิโสมนสิการ ผลวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วย โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ เมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อ ร่วมกับการใช้หนังสอื ออิเล็กทรอนิกส์ มีคะแนนเฉลย่ี ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระหว่างหลังเรียนสงู กว่าก่อน พระพุทธศาสนาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอ สอดคล้องกับนฤมล ทองพันธ์ (2557) ได้ศึกษาการ เมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ก่อนเรียนและหลัง เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถ เรียน ตามหลักโยนิโสมนสิการ ผลวิจัยพบว่า ในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อสาระ นักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดการเรียน รู้ตามหลัก พระพุทธศาสนา ซึ่งมีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบ โยนิโสมนสิการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิด สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ซึ่ง วิเคราะห์ และเจตคติต่อการเรียนสาระ สอดคล้องกบั สมมติฐานท่ตี ง้ั ไว้ พระพุทธศาสนา ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ทไ่ี ด้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการและการจัด 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา ระหว่างก่อนและหลัง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ เรียน ผลปรากฏว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการจัด ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ มีผลสัมฤทธิ์ ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา มีทักษะการคิด ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง วิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคญั สถิติที่ .05 สอดคล้องกับธนัท อู๊ดน้อย (2559) ได้ ทางสถติ ิที่ระดบั .05 ซึ่งสมนกึ ภัทธิยธนี (2560: 83- ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถใน 84) ได้อธิบายถึง การวัดการคิดวิเคราะห์ เป็นการใช้ การคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เรื่องแนวโน้มการ วิจารณญาณเพื่อไตร่ตรอง การแยกแยะพิจารณาดู เปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหาสังคม ของ รายละเอียดของสิ่งของต่าง ๆ หรือเรื่องต่าง ๆ ว่ามี นักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ ชิ้นส่วนใดสำคัญที่สุด ของชิ้นส่วนใดสัมพันธ์กันมาก โดยการสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ ผลวิจัย ที่สุด และชิ้นส่วนเหล่านั้นอยู่รวมกันได้ หรือทำงาน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แนวโน้มการ ได้เพราะอาศัยหลักการใด สอดคล้องกับการคิดแบบ เปล่ยี นแปลงทางสังคม และปัญหาสังคมของนักเรียน โยนิโสมนสิการที่นักวิชาการได้นำมาออกแบบการ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 หลังเรียนดว้ ยการจัดการเรียนรู้ สอนแบบโยนิโสมนสิการ เป็นการสอนให้ผู้เรียนได้ โดยการสรา้ งศรทั ธา และโยนโิ สมนสิการ สูงกวา่ ก่อน รู้จักคิด มุ่งเน้นการฝึกผู้เรียนให้ใช้ความคิดอย่างถูก เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ วิธี คิดอย่างเป็นระบบ รู้จักวิเคราะห์ ไม่มองเห็นสิ่ง สอดคลอ้ งกับคมสินธุ์ ต้นสีนนท์ (2561) ได้ศึกษาการ ต่าง ๆ อย่างตื้น ๆ หรือเพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น จัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการในรายวิชา จัดเป็นสำคัญของการศึกษาเป็นอย่างมาก เนื่องจาก พระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นขนั้ ของการสรา้ งปญั ญาทบี่ รสิ ทุ ธ์ิ เป็นอสิ ระทำให้ ผู้เรียนสามารถช่วยตัวเองได้และนำไปสู่จุดหมายของ 81 | P a g e
การเรียนรู้อย่างแท้จริง ซึ่งสอดคล้องกับทิศนา แขม ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และ มณีได้นำวิธีการจัดการเรียนรู้โดยสร้างศรัทธาและ เจตคติต่อสาระพระพุทธศาสนา ซึ่งมีความมุ่งหมาย โยนิโสมนสิการของศาสตราจารย์สุมน อมรวิวัฒน์มา เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เขียนไว้ในหนังสือศาสตร์การสอนว่า วิธีการจัดการ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคต่อสาระ เรียนรู้ที่ดีต้องเกิดจากการวางรูปแบบการเรียนการ พระพุทธศาสนาระหว่างก่อนและหลังเรียน พบว่า สอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ โดยได้นำ นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ แนวคิดจากหนังสือพุทธรรมของพระราชวรมุนี โยนิโสมนสิการมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) มาสร้างเป็นหลักการและวิธีการ หลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี สอนตามแนวพุทธวิธีขึ้น รูปแบบการเรียนการสอนนี้ .05 และ Vishalache Balakrishnan ได้มีการศึกษา พัฒนาขึ้นจากหลักการที่ว่า ครูเป็นบุคคลสำคัญท่ี การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมสมัยเกี่ยวกับ สามารถจัดสภาพแวดลอ้ ม แรงจูงใจ และวิธีการสอน ทางเลือกในการเรียนการสอนคุณธรรมการศึกษา ให้ศิษย์เกิดศรัทธาที่จะเรียนรู้การได้ฝึกฝนวิธีการคิด (ME) ในประเทศมาเลเซียโดยรวมถึงเสียงสะท้อน แยบคายและนำไปสู่การปฏิบัติจนประจักษ์จริงโดย ของนักเรียนที่มีต่อระบบ ME ผลวิจัยแสดงให้เห็นว่า ครูทำหน้าที่กัลยาณมติ รชว่ ยให้ศิษย์มีโอกาสคิด และ วัยรุ่นหนุ่มสาวได้อธิบายประเด็นขัดแย้งทางศีลธรรม แสดงออกอย่างถูกวิธี จะสามารถช่วยพัฒนาให้ศิษย์ เป็นวิธีที่พวกเขาต้องพบเจอในชีวิตการเป็นนักเรียน เกิดปัญญาและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และ พวกเขาพบวา่ มีประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาส่งผลให้ สอดคล้องกบั ผลวิจยั ของ ศศิวมิ ล อนิ ทปัตถา (2560) เกิดการวิเคราะห์ และสอดคล้องกับ แคสซาริโน ได้วิจัยการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (Cassarino, 2007) ไดศ้ กึ ษาผลของการเรียนรโู้ ดยใช้ โยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ พบว่า มี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ อุปสรรคในการแก้ไขปัญหาในการทำงานเป็นกลุ่ม วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การวิจัยครั้งนี้มี แต่ได้รับการเรียนรู้ที่จะใช้กลยุทธ์การวิเคราะห์ใน ความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้าน การแก้ไขปัญหา การเรียนรู้สามารถนำไปปรับปรุง การคดิ วิเคราะหร์ ะหวา่ งก่อนเรยี นและหลังเรียน ของ การทำงานแบบกลุ่มที่เกี่ยวกับเครือข่ายด้านสังคม นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ เทคโนโลยีและกลยุทธ์การแก้ไขปญั หา โยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรม 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้หนังสอื แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ อิเล็กทรอนิกส์มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การปฏิบัติตนตามหลัก ระหว่างหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ศาสนาและวันสำคัญทางศาสนา มีคุณลักษณะอันพึง ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05 และยงั สอดคล้องกบั นฤมล ทอง ประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้อง พันธ์ (2557) ได้ศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ กับสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2552:170-171) ว่าคุณลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรม 82 | P a g e
ใฝ่เรียนรู้ประกอบด้วยการกระทำหรือการปฏิบัติตน 1.2 ครูมีความเข้าใจและต้องศึกษา ที่แสดงถึงการมีความกระตือรือร้น ต้องการแสวงหา นักเรียนเป็นรายบุคคลก่อนการจัดกิจกรรมการเรียน ความรู้ตลอดเวลา มีความตั้งใจมุ่งมั่นพยายามในการ การสอน และการมอบหมายงาน ทำงานของตน เช่น การทำงานส่งครูในชั้นเรียนให้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี มีความคิดริเริ่ม การตัดสินใจ 1.3 ครูต้องเตรียมสื่อการเรียนการ กล้าแสดงออกในสิ่งที่ แบ่งพฤติกรรมบ่งชี้ด้านใฝ่ สอนให้พร้อมก่อนสอนทุกครั้ง เช่น ใบกิจกรรม แบบ เรียนรู้ แบ่งออกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ ตั้งใจเรียน เอาใจ บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใส่และมีตความพยายามในการเรียนรู้ เข้าร่วม โดยแบบโยนิโสมนสิการ ควรมีเวลาให้นักเรียนได้ กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนอย่างเพียงพอ แบ่ง จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ และเลือกใช้สื่ออย่าง เวลากำหนดตามความเหมาะสม ทั้งขั้นการกำหนด เหมาะสม บันทึกความรู้ และสรุปองค์ความรู้ ปัญหา การตั้งสมมติฐาน การศึกษาและการรวบรวม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนำไปใช้ใน ขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู การสรปุ และการรายงาน ชวี ิตประจำวนั ซงึ่ พฤตกิ รรมดงั กล่าวมเี กณฑ์การวัดท่ี เพื่อให้นักเรียนได้คิดเรียนรู้อย่างเป็นระบบ นักเรียน แน่นอนและสามารถแปรผลออกมาในรูปของเกณฑ์ มเี วลาในการฝกึ คิดในแต่ละวธิ มี ากเพียงไร ย่อมสง่ ผล คณุ ภาพในระดบั ตา่ ง ๆ คอื ดี พอใช้และปรบั ปรงุ ใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิดไดห้ ลากหลาย คดิ ไดอ้ ยา่ งมรี ะเบยี บและพัฒนาความสามารถของตน ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ 1.4 สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการ 1.1 ก่อนนำแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรคู้ รูผสู้ อนสามารถใชส้ ่ือ เช่น มัลตมิ ีเดีย หนังสอื เรียนอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ดูสื่อวีซีดีการ์ตูน ละคร เรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียไปใช้ เรื่องสั้น ภาพข่าวจากหนังสือพิมพ์ ตามความ ครูผู้สอนควรศึกษานักเรียน ขั้นตอน วิเคราะห์ เหมาะสมและสัมพันธ์กับเรื่องนั้นๆที่จะสอน เพื่อ เนื้อหาของแผนการเรยี นรู้ประกอบกับมัลติมีเดียให้มี แสดงให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้นและดึงดูดความ ความน่าสนใจเหมาะสมกับวยั เรียนของนักเรียน และ สนใจของผู้เรียนมากขึ้น และเป็นการนำส่ือ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ และหลักสูตร เทคโนโลยีมาใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความ สถานศึกษาของโรงเรียน การจัดเตรียมสถานที่ มีส่ือ หลากหลายมากขนึ้ อุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสม การสร้างบรรยากาศที่ ดพี รอ้ ม มคี รคู อยแนะนำเป็นกัลยาณมติ รท่ีดี พร้อมที่ 1.5 โรงเรียนหรือหน่วยงานท่ี จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เตรียมพร้อมให้ รับผิดชอบ ควรเผยแพร่และส่งเสริมให้ครูนำการจัด นักเรยี นสามารถเกดิ การเรยี นรทู้ ด่ี ีขึ้น กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มัลติมีเดีย ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นๆ ในแต่ละระดับชั้นเพื่อส่งเสริม การคิดวิเคราะห์ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้เกิด ประโยชน์แกน่ ักเรยี น 83 | P a g e
2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยคร้งั ต่อไป หรือการใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส 2.1 ควรศึกษาขั้นตอนการจัดทำ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดียที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น กับวิธี สอนอื่น ๆ ศึกษาเพื่อเปรียบเทยี บกับการจัดกิจกรรม แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ การเรียนรู้แบบอื่น ๆ เช่น การจัดการเรียนการสอน ร่วมกบั มลั ตมิ เี ดยี ให้มปี ระสิทธิภาพ วเิ คราะห์ เนื้อหา ตามวัฏจักรการเรียนรู้แบบ 4MAT ร่วมกับมัลติมีเดยี ประกอบกับการจัดทำของแผนการเรียนรู้ร่วมกับ การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและการสอนให้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้มีความน่าสนใจเหมาะสม คดิ มวี จิ ารณญาณร่วมกบั มัลตมิ ีเดยี ว่าจะส่งผลต่อการ กับวัยเรียนของนักเรียน และสอดคล้องกับ คิดวิเคราะห์ ใฝ่เรียนรู้และการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ จุดประสงค์การเรียนรู้ และหลักสูตรสถานศึกษาของ ทางการเรยี น หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียนหรอื ไม่ โรงเรียน มีสื่ออุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสมน่าสนใจ พร้อมทจี่ ะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กติ ติกรรมประกาศ การวิจยั ฉบบั น้ี สำเร็จสมบรู ณ์ไดด้ ว้ ยความกรุณาและ 2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจาก ผศ. ดร.สาคร โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียสามารถนำไปใช้จัด อัฒจกั ร และ ผศ.ดร.เดชา จนั ทคัต อาจารย์ทป่ี รกึ ษา กิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้ ในรายวิชา นายสุภัทรญาณ เฑียรธีระสมบัติ ครูพี่ เช่น วิชาภาษาไทย ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เลี้ยง ที่กรุณาให้คำปรึกษา แนะนำ และตรวจสอบ หรือระดับชั้นอื่น ๆ สามารถนำไปปรับใช้ตามความ แก้ไขข้อบกพร่องอย่างดียิ่ง ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จ เหมาะสม สมบรู ณ์ ผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู 2.3 สามารถศึกษาเปรียบเทียบการใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอังพึงประสงค์. กรุงเทพฯ : กลุ่มพัฒนาและสง่ เสริมการวดั และประเมินผลการเรียนรู้. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรง พิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งงประเทศไทย จำกัด. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ งประเทศไทย จำกดั . คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2542). ชุดพัฒนากระบวนการเรียนการสอนครูอาชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว. 84 | P a g e
คมสินธุ์ ต้นสีนนท์. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต. พระนครศรอี ยธุ ยา : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ชนาธิป พรกุล. (2552). การออกแบบการสอน การบูรณาการ การอ่าน การคิดวิเคราะห์และการเรียน. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท วี.พร้นิ ท์ (1991) จำกัด. ชวลิต ชูกำแพง. (2553). การวิจัยหลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการดา้ นการคิด. กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเมน้ ท.์ ธนัท อู๊ดน้อย. (2559). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เรื่อง แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และปัญหาสังคม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการ จัดการเรียนรู้โดยการสร้างศรัทธา และโยนิโสมนสิการ . “Veridian E-Journal, Silpakorn University”. 9(2) : 1802-1815. นฤมล ทองพันธ์. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจต คติต่อสาระพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2553). การวิเคราะห์การประเมนิ ทางการศกึ ษาเบอ้ื งตน้ . กรุงเทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น. ปิลันญา วงศ์บุญ. (2550). การศึกษาคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียนของนักเรียน ช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์. วิทยานพิ นธ์ กศ.ม. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาศรีนครินทรวโิ รฒ. พัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2543). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปฏิรูปการศึกษา. “พัฒนาเทคนิคการศึกษา”. 13(4), 39-41. พิชติ ฤทธ์ิจรญู . (2545). หลกั การวดั และประเมินผลการศกึ ษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : เฮา้ ส์ ออฟ เคอร์มิสท์. โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). (2563). หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). มหาสารคาม : งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา ฝ่ายวชิ าการ. ศรีไพร จันทร์เขยี ว. (2559). การจัดการเรียนรพู้ ระพุทธศาสนาโดยพุทธวธิ ีบูรณาการ. วิทยานพิ นธพ์ ุทธ ศาสตดุษฎี บณั ฑิต. พระนครศรีอยุธยา : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . ศศธิ ร เวยี งวะลัย. (2556). การจัดการเรียนรู้. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์. ศศิวิมล อินทปัตถา. (2560). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมนึก ภัททยิ ธนี. (2558). การวดั ผลการศกึ ษา. พิมพค์ รัง้ ที่ 10. กาฬสนิ ธุ์ : ประสานการพิมพ.์ 85 | P a g e
สุมน อมรวิวัฒน์. (2530). การสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นต้ิง เฮา้ ส.์ Cassarino, C. A. (2007). The Impact of Problem-based Learning of Critical Thinking and Problem Solving Skills. Dissertation Abstracts International. Vishalache Balakrishnan. Teaching Moral Education in Secondary Schools Using Real-Life Dilemmas, Victoria University of Wellington, 86 | P a g e
การพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ความคิดสร้างสรรค์ และคุณลกั ษณะด้านใฝ่เรยี นรู้ ดว้ ยการจดั การเรยี นรแู้ บบเปดิ ร่วมกับสือ่ อินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากบั การแก้ปญั หาและการพฒั นา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม) (ชลลดา คาแพง)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสร้างสรรค์ และคุณลักษณะด้านใฝเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม) The development of learning achievement, creativity and avidity for learning by open approach with infographic on Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5 , Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) ชลลดา คำแพง1, สาคร อัฒจกั ร2, เดชา จนั ทคัต2 Chonlada Khamphaeng1, Sakorn Atthachakara2, Dacha Jantakat2 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายการวิจัย ดังนี้ (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟ กราฟกิ เร่อื ง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ท่มี ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปญั หาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (3) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยการ จัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 และ (4) เพื่อศึกษาคุณลักษณะด้านใฝ่เรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟ กราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ในหลักสูตรพิเศษของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 32 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ซึ่งมี หน่วยสุ่มเป็นห้องเรียน โดยเครื่องมอื ทีใ่ ช้สำหรับการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ใช้การจดั การ เรียนรู้แบบเปิดรว่ มกับสือ่ อินโฟกราฟิก จำนวน 2 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 4 ชั่วโมง และสื่ออินโฟกราฟิกจำนวน 2 เรือ่ ง สว่ นเคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบดว้ ย แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 25 ข้อ 1 นสิ ติ สาขาวชิ าสังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University 88 | P a g e
แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ จำนวน 2 ข้อ และแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและ การพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ที่มปี ระสทิ ธภิ าพ (E1/E2) เท่ากบั 84.87/84.75 ซึ่งเป็นตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด 80/80 2. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการ แกป้ ัญหาและการพฒั นา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทาง สถิตทิ ่ีระดับ .05 3. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการ แกป้ ญั หาและการพัฒนา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 มีค่าเฉลี่ยความคดิ สรา้ งสรรคโ์ ดยรวม 49.09 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70.13 4. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับการ แกป้ ัญหาและการพัฒนา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 มคี ่าเฉลี่ยคุณลกั ษณะใฝเ่ รยี นรู้โดยรวม 24.31 คดิ เป็นรอ้ ยละ 81.04 คำสำคัญ : การจดั การเรียนร้แู บบเปดิ , สอ่ื อนิ โฟกราฟกิ ABSTRACT This study aimed to (1) develop organization of open approach with infographic on Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5, which a required efficiency of 8 0 / 8 0 , (2) compare students’ learning achievement before and after doing open approach with infographic, (3) study of creativity after doing open approach with infographic and (4) study of avidity for learning after doing open approach with infographic. The samples is Secondary 5 students at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) comprising 32 persons. The samples were selected through simple random sampling. The instruments used for the study consisted of (1) learning manage tools which included 2 lesson plans, 2 hours each, a total of 4 hours using open approach with infographic and infographic 2 items, (2) data collection tools which included learning achievement test that had 4 choices with total of 25 items, creative test with total of 2 items and avidity for learning assessment form. The statistics used in the data analysis were mean, percentage, standard deviation, and hypothesis testing using t-test (Dependent Sample). The results of the study is as follows: 1. The efficiencies of open approach with infographic lesson plans for Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5 is 84.87/84.75, which is according to the specified criteria 80/80. 89 | P a g e
2. The students who do open approach with infographic activities get higher achievement in creativity than doing the activities at the statistically significant level of 0.5. 3. The students who do open approach with infographic activities get creativity point average 49.09, or 70.13 percent. 4. The students who do open approach with infographic activities get avidity for learning point average 24.31, or 81.04 percent. Keyword: open approach, infographic บทนำ ด้านเคารพให้เกียรติ และสมองด้านจริยธรรม จะ ปัจจุบันคริสต์ศตวรรษที่ 21 มนุษย์ เห็นได้ว่าการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้นจะต้อง เป็นการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะที่จำเป็นในการ สามารถเชื่อมโยงโลกที่กว้างใหญ่ด้วยการ ดำรงชีวิต แต่อย่างไรก็ตามการจัดการเรียนรู้ของ ติดต่อสื่อสารกันอย่างไร้พรมแดน ภายใต้การ ระบบการศึกษาไทยในปัจจุบันนั้นยังไม่สามารถ ขบั เคลือ่ นดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ทกั ษะแหง่ ตอบโจทย์ความท้าทายของในโลกศตวรรษที่ 21 ศตวรรษที่ 21 จึงกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้เรียน ได้ จะต้องเรียนรู้เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตในโลกที่มี เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยไพฑูรย์ สินลารัตน์ ปัจจุบันประเทศไทยจัดการศึกษาโดย และคณะ (2558: 161-163) ที่ได้กล่าวว่า ทักษะ ย ึ ด ห ลั ก ส ู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศ ึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น สำหรับศตวรรษที่ 21 นั้นสามารถจำแนกได้ 7 พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) เป็น กลุ่ม คือ ทักษะทางด้านเทคโนโลยี ความสนใจใจ หลักสูตรแบบอิงมาตรฐานแต่ผลการจัดการเรียนรู้ ใคร่รู้และมีจินตนาการ การคิดวิจารณญาณและ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกลับ การแก้ปัญหา ความคิดสร้างสร้างสรรค์และ ยังไมส่ ามารถตอบโจทย์การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 พัฒนานวัตรรม ทักษะในการสื่อสารและร่วมมือ ดังท่ี สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2563 : การคิดในเชิงธุรกิจและทักษะประกอบการ และ 62-63) ระบุว่าความสามารถในการแข่งขันด้าน ทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมและการสนใจต่อ การศึกษาของประเทศไทยในปี 2563 ดัชนีของ โลก นอกจากนี้ วิจารณ์ พาณิช (2555: 23-24) ยัง สถาบันนานาชาติเพื่อพัฒนาการจัดการได้จัด ได้กล่าวว่า ครูจะต้องจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างทกั ษะ อันดับความสามารถในการแข่งขันด้าน ซ่ึง การดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตามแนวทฤษฎี พิจารณาเปรียบเทียบ 10 ที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า พหุปัญญาที่เรียกว่า พลังสมอง 5 ด้าน ซึ่ ง ประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลง จาก ประกอบด้วย พลังเชิงทฤษฎี (Cognitive Mind) 3 อันดบั ท่ี 47 ในปี 2553 ลดลงเป็นอันดับท่ี 55 ในปี ด้าน ได้แก่ สมองด้านวิชาและวินัย สมองด้าน 63 ลดลงถึง 8 อันดับ ซึ่งจากความสามารถในการ สังเคราะห์ และสมองด้านสร้างสรรค์ รวมทั้งพลัง แขง่ ขนั ด้านการศึกษาของประเทศไทยแสดงให้เห็น ด้านมนุษย์สัมผัสมนุษย์อีก 2 ด้าน ได้แก่ สมอง 90 | P a g e
ถึงคุณภาพทางการศึกษาของประเทศไทย 34.70-35.93 ซง่ึ มคี ะแนนเฉลี่ยทตี่ ำ่ กว่ารอ้ ยละ 50 โดยเฉพาะวิชาสังคมศึกษา ซึ่งดรุณี จำปาทอง อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสอดคล้องกับรายงานประเมิน (2560 : 123-126) กล่าวว่า สภาพการปฏิบัติงาน คุณภาพในสถานศึกษาปีการศึกษา 2562 โรงเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาของครูกลับไม่ สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) สอดคล้องกับแนวคิดของหลักสูตรที่เป็นหลักสูตร (2563: 41) ท่ีระบุวา่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษา แบบอิงมาตรฐาน โดยครูยังเน้นจัดการเรียนการ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการ สอนแบบบรรยายด้วยสอนตามหนังสือเรียนของ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำนักพิมพ์เป็นหลัก และวัดและประเมินผลด้าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ ความรู้ความจำมากกว่าทักษะกระบวนการคิด 50 โดยปีการศึกษา 2561 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ทั้งน้ีสอดคล้องกับวิภาพรรณ พินลา และวิภาดา 42.66 และปีการศึกษา 2562 มีคะแนนเฉลี่ยร้อย พินลา (2561: 2) ยังกล่าวว่า ครูผู้สอนวิชาสังคม ละ 43.42 โดยผลการทดสอบเหล่านี้สะท้อนให้ ศึกษาส่วนใหญ่จัดการเรียนรู้แบบบรรยาย โดยจะ เห็นปัญหาคุณภาพศึกษาไทยที่เกิดจากการจัดการ บรรยายเนื้อหาสาระตามหนังสือ ทำให้ผู้เรียนขาด เรียนรู้ที่เน้นการท่องจำ ส่งผลให้ผู้เรียนขาด ฝึกฝนการพัฒนา อีกทั้งเนื้อหาสาระวิชาจำนวน แรงจูงใจซึ่งจะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลง มากที่ส่งให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่าย รวมทั้งความ รวมทั้งไม่เกิดการพัฒนาทักษะและคุณลักษณะท่ี ซับซ้อนและลักษณะที่เป็นนามธรรมของเนื้อหา สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายวิชาสังคมศึกษา สาระทำให้ผู้เรียนยากต่อการเข้าใจ จากสภาพการ สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม การจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาปัจจุบันเป็นภาพ ที่ไม่ได้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางย่อมส่งต่อความ สะท้อนถึงปัญหาคุณภาพทางการศึกษาของ สนใจที่จะกระตือรือร้นในการเรียน ดังเช่นจากการ ประเทศไทย สังเกตการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ วิชา สังคมศึกษาพื้นฐาน 10 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของระบบ พบว่า ครูผู้สอนจัดการเรียนรู้ที่เน้นการบรรยาย การศึกษาไทยที่หยั่งรากลึกนานหลายทศวรรษ ซ่ึง และสอ่ื การเรยี นรูท้ ่ใี ชน้ นั้ ไม่สามารถดึงดูดความสน สะท้อนให้เห็นได้จากการวัดและประเมินผลใน ของผู้เรียนได้ อีกทั้งยังขาดแรงจูงใจในการเรียนรู้ ร ะ ด ั บ ป ร ะ เ ท ศ อ ย ่ า ง ก า ร ท ด ส อ บ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ดังที่เห็นจากการปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนที่น้อย ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( Ordinary National ดังนั้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อผู้เรียน Educational Test : O-NET) โดยสถาบันทดสอบ ในศตวรรษที่ 21 จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนรูปแบบการ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) (2564) จดั การเรียนรู้ รายงานผลการทดสอบ O-NET ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 พบว่า ตลอด ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท้ัง 5 ปีการศึกษา (ปีการศึกษา 2559-2563) วิชา ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ทำให้มีการศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีคะแนนเฉลี่ย และค้นคว้ารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เพิ่ม 91 | P a g e
ประสิทธิภาพและลดการเน้นการบรรยายนั่นคือ อินทร์ประสิทธิ์ (2546 อ้างอิงใน ดลพร เพ็ญ “การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)” ไพบูลย์เสถียร, 2561: 26) ได้กล่าวถึง การสอน โดยชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ และอุบล ทองปัญญา แบบเปิดว่าเป็นกระบวนการจัดกิจกรรม ให้มี (2563 : 25) ได้กล่าวว่าการเรียนรู้เชิงรุก เป็น ลักษณะที่เป็นปัญหาแบบเปิดกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ซึ่งเน้นเทคนิคท่ี คิด และวิจารณ์ พานิช (2557) กล่าวว่า บทบาท หลากหลายโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยจะมี ของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเปิด คือ การเน้นให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้จากการลงมือ เปิดประตูผู้เรียนสู่การเรียนรู้ที่ขับเคลื่อนด้วยตัว ปฏิบัติจริงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เรียนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แก้ปัญหาหรือ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังมี สร้างสรรค์ ประเมินผู้เรียนในขณะเรียนรู้ การเปลี่ยนแปลงบทบาทผู้สอนให้เป็น “ผู้อำนวย ตอบสนองต่อผลการประเมินนั้นอย่างเหมาะสม ความสะดวก” โดยแสงสุรีย์ ดวงคําน้อย (2561 : และทันเวลา รวมทั้งขับเคลื่อนและปรับพฤติกรรม 66) ได้กล่าวถึงการเรียนรู้เชิงรุกนั้นมีหลากหลาย ผู้เรียนด้วยวิธีการเชิงบวก อีกทั้งสื่ออินโฟกราฟิกส์ รูปแบบอย่างเช่นการจัดการเรียนรู้แบบเปิด อีกทั้ง ยังสิ่งชว่ ยเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้แบบ สื่อการเรียนรู้จัดเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่ ช่วย เปิด ส่ืออินโฟกราฟิกเป็นการนำข้อมูลที่ชับซ้อน กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาศักยภาพการคิดและ และยากต่อการทำความเข้าใจมาสรุปสาระสำคัญ จัดเป็นปัจจัยสำคัญที่มีส่วนสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด และถ่ายทอดสารสนเทศที่สามารถสื่อความหมาย การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (พัชรา ได้อยา่ งชัดเจน สอดคล้องกบั จงรัก เทศนา (2562 : วาณิชวศนิ , 2558: 234) โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สอ่ื การ 1) กล่าวว่า อินโฟกราฟิก หมายถึง การนำข้อมูล เรียนรู้สามารถจัดการเนื้อหาสาระจำนวนมากให้ หรือความรู้มาสรุปเป็นสารสนเทศในลักษณะของ อยใู่ นรูปทงี่ ่ายตอ่ การเรียนอยา่ งสือ่ อนิ โฟกราฟกิ ข้อมูลและกราฟิก ซึ่งมีการออกแบบให้เข้าใจง่าย ในเวลารวดเร็วและชัดเจน ดังนั้นการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่อ แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกจึงสามารถพัฒนา อินโฟกราฟิกสามารถนำมาปรับใช้เพื่อแก้ไขปัญหา ผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทันต่อการเปลี่ยนแปลงใน การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศึกษา สาระ โลกศตวรรษที่ 21 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม การจัดการเรียนรู้แบบ เปิดน้นั เป็นวิธีการจดั การเรยี นร้ทู ีใ่ ห้ผู้เรยี นได้เผชิญ จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงเห็น กับสถานการณ์ปัญหา เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ความสำคญั ของการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน แก้ปัญหาด้วยวิธีและคําตอบที่หลากหลายจนเกิด การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และคุณลักษณะ ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งกิจกรรมที่นำมาใช้จะเป็น ด้านใฝเรียนรู้ของผู้เรียน จึงได้ศึกษาและวิจัย เรื่อง กิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิด การเรียนรู้ จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบเปิด สร้างสรรค์ และคุณลักษณะด้านใฝเรียนรู้ ด้วยการ เป็นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ซึ่งสอดคล้องกับไมตรี จัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเรื่อง 92 | P a g e
พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา สมมตฐิ านของการวิจยั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชนั้ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) เพื่อการพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก โดย มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนเรื่อง พระพุทธศาสนา มีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิด กับการแก้ปัญหาและการพัฒนา หลังได้รับการ สร้างสรรค์ และคุณลักษณะด้านใฝเรียนรู้ จากการ จ ัด ก าร เ ร ีย นร ู้ว ิธ ีก าร แบบเ ปิด ร ่ว มกับสื่ อ อ ินโฟ จัดการเรียนรู้แบบเปิด จึงกล่าวได้ว่าเป็นการ กราฟิกสงู กว่ากอ่ นไดร้ ับการจดั การเรยี นรู้ พัฒนาแนวทางในการจัดการเรียนรู้วิชาสังคม ศึกษาให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับการเรียนรู้ใน วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ศตรวรรษท่ี 21 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ความมุ่งหมายการวจิ ยั ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนท่ี แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 62 คน จาก 2 พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ห้องเรียน ได้แก่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 32 คน และช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/6 จำนวน 30 คน 80/80 ซึ่งกลุ่มประชากรมีลักษณะคละความสามารถของ ผู้เรียนและจำนวนผู้เรียนใกล้เคยี งกนั 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี เปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนา คือ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 โรงเรียนสาธิต กับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม) ภาคเรียนท่ี ท่ี 5 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 32 คน จาก 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายซึ่งมี 3. เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ด้วย หน่วยสุ่มเป็นหอ้ งเรียน การจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่อ อินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั แก้ปัญหาและการพฒั นา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 2 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะด้านใฝ่เรียนรู้ ประเภท ได้แก่ ด้วยการจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่อ 1. เครื่องมือที่ใช้สำหรับการจัดการ อินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ แกป้ ญั หาและการพฒั นา ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เรยี นรู้ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ การจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ 93 | P a g e
พฒั นา วชิ าสงั คมศกึ ษาพนื้ ฐาน 10 ชน้ั มัธยมศึกษา 3. ดำเนินการให้นักเรียนทแบบทดสอบ ปที ่ี 5 จำนวน 2 แผน ใชเ้ วลา 4 ชั่วโมง วัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน เรื่อง พระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 1.2 สื่ออินโฟกราฟิกจำนวน 2 ด้วยแบบทดสอบปรนัย 25 ข้อจำนวน 4 ตัวเลือก เรื่อง ได้แก่ ธรรมะกับการแก้ปัญหา และสืบสาน ใช้เวลา 30 นาที พุทธศาสนา 4. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ตามขั้นตอนในแผนการจัดการเรียนรู้โดยมี 4 ขอ้ มูล จำแนกเปน็ 3 ชนิด คอื ข้ันตอน ดังน้ี 2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 4.1 ข้ันนำเสนอปญั หาปลายเปิด ทางการเรียน เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ 4.2 ขัน้ แกป้ ญั หา แก้ปัญหาและการพัฒนา วิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน 4.3 ขั้นนำเสนอและแลกเปลี่ยน 10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นแบบชนิดเลือกตอบ เรยี นรู้ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 25 ขอ้ 4.4 ขั้นสรุปโดยเชื่อมโยงแนวคิด ของผ้เู รียน 2.2 แบบทดสอบวัดความคิด 5. เมื่อดำเนินจัดการเรียนรู้เรียบร้อย สร้างสรรค์ เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ และการพัฒนา วิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน 10 ช้ัน เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ชนดิ อตั นยั จำนวน 2 ข้อ พัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยแบบทดสอบ ปรนัย 25 ข้อจำนวน 4 ตัวเลือก และแบบทดสอบ 2.3 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง วัดความคิดสร้างสรรค์ชนิดอัตนัยจำนวน 2 ข้อ ใช้ ประสงคด์ ้านใฝ่เรียนรู้ เวลา 1 ช่ัวโมง 6. ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัด การจัดการเรียนรู้ เรื่องพระพุทธศาสนากับการ กระทำข้อมูล แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มา วเิ คราะหด์ ้วยวธิ กี ารทางสถติ ิ ผู้วิจัยได้การดำเนินการทดลองและ การวิเคราะหข์ อ้ มลู เกบ็ รวบรวมข้อมลู ซึ่งดำเนนิ ตามข้นั ตอน ดงั น้ี ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยดำเนนิ การดังนี้ 1. ขออนุญาตลงสังเกตการณ์การณ์ 1. การจัดกระทำข้อมูล โดยเก็บ สอนจากภาควิชาหลักสูตรและการสอนในการ รวบรวมข้อมูลทุกชนิดมาไว้ด้วยกัน และ จำแนก ติดต่อประสานงานกับทางโรงเรยี นสาธิตมาหวิทยา เปน็ หมวดหมู่ ลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) เพื่อทำการเก็บ รวบรวมข้อมูลการทำวิจัยในชั้นเรียนของนักเรียน 94 | P a g e ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 2. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลที่ต้องการ ในวนั ท่ี 9 ธันวาคม 2564 โรงเรียนสาธิตมาหวิทยา ลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม)
2. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2.1 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของ ดว้ ยคา่ สถิติพ้นื ฐาน แผนการจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟ 2.4 เพื่อศึกษาคุณลักษณะด้าน กราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา ใฝ่เรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิด และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับ ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยค่าสถติ ิพื้นฐาน 2.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการ ผลการวจิ ยั เรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง 1. วิเคราะห์ประสิทธิภาพแผนการ พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โดยวิเคราะห์หาค่า t-test จัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ 2 . 3 ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ค ว า ม คิ ด พัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตาม สร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิด เกณฑ์ 80/80 ซงึ่ ปรากฏผลดังตาราง 1 ร่วมกับส่ืออินโฟกราฟิกเรื่อง พระพุทธศาสนากับ ตาราง 1 แสดงประสทิ ธภิ าพของแผนการจัดการเรียนร้แู บบเปิดร่วมกับสอื่ อินโฟกราฟิก ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) จดุ ประสงค์ คะแนน แผนการจัด แผนการจัด คะแนน ผลสัมฤทธ์ิ การเรียนรู้ เต็ม การเรยี นรู้ท่ี 1 การเรียนร้ทู ี่ 2 เตม็ ทางการเรียน หลังเรยี น % X SD % X SD % X SD ความรู้ 10 95.50 9.55 1.49 86.3 8.63 0.96 ทกั ษะ 30 82.60 25.70 1.77 87.5 24.70 4.95 25 84.75 21.19 3.51 คณุ ลกั ษณะ 10 86.25 8.26 0.76 80.8 8.08 0.92 X 100 84.87 SD 6.55 % 84.87 E1/E2= 84.87/84.75 95 | P a g e
จากตาราง 1 พบว่า ผู้เรียนที่เรียน ประสิทธิภาพเท่ากับ 84.87/84.75 ซึ่งเป็นไปตาม ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบแบบเปิดร่วมกับสื่อ เกณฑ์ 80/80 ทก่ี ำหนดไว้ อินโฟกราฟิกมีคะแนนเฉลี่ยจากการวัดและ ประเมินผลทั้งด้านความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 2 แผน คิดเป็นร้อยละ 84.87 และคะแนน ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเปิด เฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับ หลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 84.75 แสดงว่า มี การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซ่ึงปรากฏผลดงั ตาราง 2 ตาราง 2 เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั เรียน รายการวดั คะแนน % X SD ผลตา่ ง t df p-value เต็ม ของ X 34.38 31 .000* ผลสัมฤทธ์กิ อ่ นเรยี น 25 55.52 13.88 2.37 7.31 ผลสมั ฤทธิ์หลังเรยี น 25 84.76 21.19 3.51 *มีนยั สำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 จากตาราง 2 พบว่า ผู้เรียนที่ได้รับ 3. วิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์ด้วย การจัดการเรียนรู้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟ การจัดการเรียนรู้แบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก กราฟิก เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา และการพฒั นา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใชร้ อ้ ยละ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน คา่ เฉล่ยี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ซงึ่ ปรากฏผล ดังตาราง 3 เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนเฉลี่ย 13.88 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเฉลี่ย 21.19 ตาราง 3 วเิ คราะหค์ วามคิดสรา้ งสรรค์ รายการ คะแนนเตม็ X SD % ระดบั คณุ ภาพ 23.13 0.22 77.08 ดมี าก 1. ด้านการเขียน 30 1.1 เนอ้ื หา 10 7.91 1.12 79.06 ดมี าก 1.2 การลำดับใจความ 10 7.47 1.11 74.69 ดมี าก 1.3 การใชภ้ าษา 10 7.75 1.41 77.50 ดีมาก 2. ความคดิ สร้างสรรค์ 40 25.97 0.66 64.92 ดี 2.1 ความคดิ รเิ รมิ่ 10 7.44 1.11 74.38 ดมี าก 2.2 ความคดิ คลอ่ งแคลว่ 10 6.00 0.76 60.00 ดี 96 | P a g e
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117