Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-learning Ver.1

e-learning Ver.1

Description: e-learning Ver.1

Search

Read the Text Version

เนอื้ หาประกอบสื่อ E-Learning เร่อื ง เครอ่ื งมือคุณภาพ จดั ทำโดย งำนพฒั นำคุณภำพงำน สำนกั งำนคณบดี คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำลรำมำธบิ ดี มหำวทิ ยำลัยมหิดล Visaruta Poomsup เผยแพรเ่ มอ่ื ปี 2563

เนื้อหาประกอบสือ่ E-Learning เรอ่ื ง เคร่ืองมือคุณภาพ 1 สารบญั รายการเนอื้ หา หน้า 1. ทาความร้จู กั เคร่ืองมอื คุณภาพ.................................................................................................................................................2 2. การวิเคราะหป์ ญั หาเพอ่ื ปรบั ปรุงการทางาน............................................................................................................................2 3. กระบวนการทางาน (Work process).....................................................................................................................................3 4. เครอ่ื งมอื คณุ ภาพเพือ่ พฒั นางาน .............................................................................................................................................3 4.1. ผังก้างปลา .....................................................................................................................................................................3 4.1.1. การวเิ คราะหแ์ ผนผงั ก้างปลา และส่วนประกอบของก้างปลาดว้ ย 4M1E..................................................................3 4.1.2. ตัวอย่างก้างปลาทด่ี ี...................................................................................................................................................4 4.1.3. ตัวอย่างก้างปลาทไ่ี มด่ ี...............................................................................................................................................5 4.2. เครอื่ งมอื สาหรับการพัฒนาและปรับปรงุ อย่างตอ่ เน่ือง CQI ..........................................................................................7 4.2.1. ความหมายของ CQI .................................................................................................................................................7 4.2.2. กระบวนการของ PDCA ใน CQI...............................................................................................................................7 4.2.3. ตัวอย่างการทา CQI ..................................................................................................................................................8 4.2.4. ประโยชน์ของการใช้ CQI ในการพฒั นางาน..............................................................................................................9 4.3. เครือ่ งมอื การพัฒนาคณุ ภาพงาน KAIZEN ...................................................................................................................10 4.3.1. กระบวนการทางานของ KAIZEN............................................................................................................................10 5. ความแตกต่างของ CQI และ KAIZEN ...................................................................................................................................11 6. วิธีการเขียน CQI....................................................................................................................................................................11 7. วธิ ีการเขยี น KAIZEN.............................................................................................................................................................12 8. ประเภทของผลงาน................................................................................................................................................................12 9. ตวั อย่างแบบฟอร์ม ................................................................................................................................................................12 10. ขนั้ ตอนการส่งผลงาน งานมหกรรมคณุ ภาพ..........................................................................................................................13 รายการอ้างอิง .................................................................................................................................................................................14

เนื้อหาประกอบสื่อ E-Learning เร่ือง เครือ่ งมอื คณุ ภาพ 2 1. ทำควำมร้จู กั เครื่องมือคณุ ภำพ เครื่องมือคุณภาพ (Quality Tools) เป็นการใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ ช่วยในการทาความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นในงาน เพื่อให้ทราบสาเหตุของปัญหา นาไปสู่การแก้ไขในงาน การพัฒนาคุณภาพขององค์กร และพัฒนาคุณภาพการทางาน ให้ดียิ่งขึ้น ปัจจุบันมีเครื่องมือคุณภาพที่หลากหลายสามารถนามาพัฒนางานได้ เช่น KM, Lean, 3P, 5ส, CQI, KAIZEN ฯลฯ โดยเครื่องมือ คุณภาพ 3 ชนิดที่นิยมได้แก่ แผนผังก้างปลา CQI และ KAIZEN ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถนามาปรับปรุงแก้ไขปัญหาในงานได้ ทันที ไดใ้ นทุกระดบั การปฏบิ ตั ิงาน และมปี ระสทิ ธภิ าพในการปรับปรงุ 2. กำรวเิ ครำะหป์ ัญหำเพอื่ ปรบั ปรุงกำรทำงำน ผู้เขียนผลงาน ส่วนใหญ่มักสับสนระหว่างคาว่า ปัญหา และ อาการ ที่เกิดขึ้นระหว่างการทางาน ทาให้การวิเคราะห์ปัญหาไม่ สอดคล้องกบั สาเหตุ โดยการทาความเข้าใจปัญหา และอาการ มดี งั น้ี กำรแยกปัญหำและอำกำร ปัญหำ คือ ความแตกต่างระหว่างเป้าหมาย ซึ่งปัญหาเกิดขึ้นได้ เมื่อมีเป้าหมาย แต่ในความเป็นจริง สภาพปัจจุบันไม่ เป็นไปตามเป้าหมาย หรือไม่ถึงตามเป้าหมายที่กาหนด จึงทาให้เกิดช่องว่าง (Gap) ระหว่างเป้าหมาย โดยช่องว่างที่เกิดขึ้น คือ ปัญหา ตัวอย่างเช่น การรักษาไม่บรรลเุ ป้าหมาย มีความผิดพลาดในกระบวนการ จานวนผู้รักษาหายไม่ถึงเปา้ หมาย สิ่งเหล่านีค้ ือ ปัญหาทัง้ สิน้ อำกำร คือ ตัวบ่งบอกถึงสถานะ ความรู้สึก, Indication of Errors, ภาวะผิดปกติ ที่มีผลมาจากกระบวนการทางาน บางอย่างทีผ่ ิดปกติ หรือสิ่งไม่พึงประสงค์ เช่น ความไม่สะดวกสบาย ความราคาญ ไม่พึงพอใจ เป็นต้น แต่ไม่ถอื วา่ เปน็ สาเหตขุ อง ปัญหา เป็นเพียงผลทีม่ าจากปัญหาเท่านน้ั จาเปน็ จะต้องแยกกันใหอ้ อก เนือ่ งจากอาจทาให้การวิเคราะห์ปญั หาสบั สนได้ ตัวอย่ำงกำรแยกปัญหำกับอำกำร ปญั หา ปัญหาจานวนผ้ปู ่วยรอควิ นาน อาการ แลป็ ตรวจไมเ่ พยี งพอ บุคลากรไมเ่ พยี งพอ ทอ้ แท้ หงุดหงดิ งานไมเ่ ป็นระบบ เครียด ไม่พอใจ ชอื่ ตาราง การแยกปัญหากบั อาการ หลังจากที่สามารถแยกปัญหาและอาการได้แล้ว ต่อไปคือการนาปัญหาที่แยกออกจากอาการแล้ว มาทาการแบ่งแยกสาเหตุของ ปญั หาผ่านแผนผงั ก้างปลา เพอ่ื ระบสุ าเหตขุ องปญั หาท่ีเกิดขน้ึ โดยสามารถแบ่งแยกสาเหตุของปัญหาออกไปไดอ้ กี เพื่อไมใ่ ห้ปัญหา เกดิ ซ้า

เนอื้ หาประกอบสื่อ E-Learning เรื่อง เครื่องมือคณุ ภาพ 3 3. กระบวนกำรทำงำน (Work process) กระบวนการทางาน (Work process) คือ กิจกรรมที่เชื่อมโยงกัน เพื่อจุดมุ่งหมาย หรือการบริการให้แก่ผู้รับบริการ โดยปัญหา สามารถเกิดข้ึนไดใ้ นทุกขน้ั ตอนการทางาน โดยมีผลกระทบสบื เน่อื งกันทัง้ ส้ิน กระบวนการทางานสามารถประยุกต์ใช้ในการวเิ คราะห์ หาจุดเริ่มต้นของปัญหาว่า ปัญหาเกิดขึ้นในกระบวนการใดของ การทางานโดยเขียน กระบวนการทางาน (Workflow) ซึ่งเป็นภาพรวมของการทางานของหน่วยงานนั้น ๆ เพื่อนามาวเิ คราะห์หา สาเหตวุ า่ ปัญหาเกิดขนึ้ ทจี่ ุดใด อนั จะนาไปสผู่ ลการทางานทีด่ ขี นึ้ ตัวอย่างปัญหากระบวนการจาหนา่ ยผูป้ ว่ ยกลับบา้ นลา่ ช้า แพทย์ •แจง้ ผู้ป่วยกลับบา้ นได้ จากตัวอย่าง แสดงให้เห็นถึงการแยกกระบวนการทางานตาม WI •พยาบาลรบั แจง้ ลงขอ้ มูลในระบบ (Work Instruction) ออกมา เพื่อวิเคราะห์ หาปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการ พยาบาล •จัดการเอกสาร ยา นดั หมายผปู้ ่วย ทางาน โดยจุดที่วงกลมและมีดาวสีแดง คือจุดที่เกิดปัญหาในกระบวนการ •ตรวจสอบคา่ ยา ค่าห้อง ทางาน และตอ้ งดาเนินการแกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ขน้ึ การเงิน •รบั ชาระ จาหน่ายผปู้ ว่ ยกลบั บา้ น 4. เคร่อื งมอื คุณภำพเพื่อพัฒนำงำน ช่อื ภาพ กระบวนการทางาน (Workflow) 4.1. ผังกำ้ งปลำ ผังก้างปลา (Fishbone Diagram) คือ ผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา กับสาเหตุทั้งหมดที่เกิดขึ้นในงาน โดยมีความ สอดคล้องเหมือนกับโครงสร้างของปลา โดยหัวปลาเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในงาน มีก้างใหญ่ที่เป็นสาเหตุหรือปัจจัยหลักของปัญหา และก้างเล็กเป็นสาเหตุย่อยของปัญหา ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาในงาน โดยผังก้างปลาสามารถใช้ในการระดมความคิดเพื่อให้เข้าใจถงึ สาเหตุและเหน็ ภาพรวมของปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึน 4.1.1. กำรวิเครำะหแ์ ผนผังก้ำงปลำ และส่วนประกอบของกำ้ งปลำดว้ ย 4M1E การกาหนดกลุ่มสาเหตุที่เป็นองค์ประกอบของผังก้างปลา (Factors/ Categories) เพ่ือ ชว่ ยให้แบง่ แยกสาเหตไุ ด้อยา่ งเป็นระบบและเป็นเหตผุ ล โดยใชห้ ลกั การ 4M1E นาไปสู่ 4M1E การจดั กล่มุ สาเหตุของปัญหา M = Man พนกั งาน คนงาน คนปฏิบัตกิ ารในงาน เช่น บคุ ลากรไมช่ านาญ ไมเ่ พยี งพอ M = Machine เครื่องมือ หรือเครื่องจักร ที่อานวยความสะดวก เช่น ไม่พร้อมใช้งาน เครือ่ งมือเสยี หาย อุปกรณ์ไมท่ นั สมัย ไมเ่ ออ้ื ต่อการปฏิบตั งิ าน สำเหตขุ องปัญหำ M = Material วัสดุ วัตถุดิบ อะไหล่ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ในกระบวนการ เช่น ไม่ ครบถ้วนตามทต่ี ้องการ วัตถุดิบไม่ตรงตามสง่ั ขาดแคลน ไม่เพยี งพอ ตน้ ทุนสูง ชอ่ื ภาพ การกาหนดสาเหตุดว้ ย 4M1E M = Method กระบวนการทางาน เช่น มีความซ้าซ้อน ภาระงานมาก ขั้นตอน การ ทางานไมเ่ ป็นระบบระเบยี บ E = Environment สถานท่ี สภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศการทางาน เช่น สภาพแวดล้อม ไม่สะอาด เสยี งดงั มสี ่งิ รบกวน มอี นั ตราย

เน้ือหาประกอบส่ือ E-Learning เร่อื ง เครือ่ งมอื คณุ ภาพ 4 4.1.2. ตวั อยำ่ งก้ำงปลำทดี่ ี การเขียนผังก้างปลาที่ดี ประกอบด้วยหลายองค์ประกอบ เพื่อให้สามารถทาความเข้าใจปัญหาโดยใช้แผนผังก้างปลา นาไปต่อยอด CQI และผลงานคุณภาพอื่น ๆ แผนผังก้างปลาที่ดีจะต้องมีองค์ประกอบที่สมบูรณ์โดยใช้ 4M1E ตัวอย่าง การสง่ ออกผปู้ ่วยกลับบา้ นใชเ้ วลามากกวา่ 30 นาที สามารถแยกองคป์ ระกอบสาเหตุของปัญหาเพอ่ื นาไปเขียนผงั กา้ งปลาไดด้ ังน้ี ตวั อย่ำงองคป์ ระกอบของกำ้ งปลำทด่ี ี 4M1E สาเหตหุ ลกั (ก้างหลกั ) สาเหตยุ ่อย (กา้ งย่อย) Man พยาบาล Machine เครื่องยิงบารโ์ คด้ ไมม่ ที กั ษะในการส่งตอ่ ประสานเรอื่ ง ไม่มี มาตรฐานในการสง่ ต่อเรือ่ ง (ใชก้ ารจด) ไมม่ เี ครื่องยงิ บารโ์ ค้ด Material ยา ไมม่ ใี บส่ังยาทเี่ ปน็ มาตรฐาน (ใชก้ ารจด) Method กระบวนการสง่ ต่อเรื่อง ไม่มมี าตรฐานในการสง่ ต่อเร่ือง ไมม่ ี Environment ไมม่ ที จี่ ดั เกบ็ ยาผ้ปู ว่ ยกลับบา้ น แบบฟอร์ม (ใชก้ ารจด) ตวั อยำ่ งกำรเขียนกำ้ งปลำท่ดี ี ยาคลา้ ยกันหลายชนิดในตะกรา้ ปะปน กนั ต้องใช้เวลาแยกคอ่ นข้างนาน ชือ่ ตาราง ตารางองคป์ ระกอบของก้างปลาทด่ี ี เครื่องยิงบำร์โค้ด พยำบำล ยำ ไมเ่ พยี งพอ ไม่ ไมพ่ ร้อมใช้งาน ไมม่ คี วามรู้ ตรงตามสั่ง เสยี หาย ไม่ปลอดภยั ซ้าซ้อน การสง่ ออกผูป้ ่วย ไม่สะอาด ไม่มีค่มู ือ กลบั บา้ นใช้เวลา มากกว่า 30 นาที ไม่มที ีจ่ ัดเก็บยำผู้ปว่ ย กระบวนกำรสง่ กลับบ้ำน ต่อเรื่อง ช่ือภาพ ผังกา้ งปลาทีด่ ี

เนื้อหาประกอบสอื่ E-Learning เรอื่ ง เคร่ืองมอื คณุ ภาพ 5 องคป์ ระกอบของก้ำงปลำทีด่ ี  ใช้การวิเคราะหป์ ญั หาโดยดูจาก Work Process วา่ ปญั หาเกิดท่จี ดุ ใด และปญั หาคืออะไร นามาใสท่ ีห่ ัวปลา โดยหัวปลา ควรหันไปทางขวา  กาหนดสาเหตุของปัญหาแยกออกจากอาการอยา่ งชดั เจน  การกาหนดสาเหตุหลักของปัญหาโดยใช้หลัก 4M1E เพื่อมองปัญหาอย่างรอบด้านถึงสาเหตุที่แท้จริง และต้นตอของ ปัญหา  ระบุก้างปลาย่อย โดยใช้หลัก 4M1E นามาอธิบายสาเหตุย่อยของปัญหาต่ออยา่ งชัดเจน (โดยสามารถระบุได้มากกวา่ 1 สาเหตุยอ่ ย ) 4.1.3. ตวั อย่ำงกำ้ งปลำท่ีไม่ดี ผังก้างปลาที่ไม่ดีนั้น มีหลายสาเหตุที่ทาให้การเขียนผังก้างปลาออกมาไม่ได้ เช่น การไม่ใช้ 4M1E ในการวิเคราะห์หรือการนา อาการมาปะปนในการวิเคราะหส์ าเหตุ ทาให้ผงั กา้ งปลาออกมาไม่ชัดเจน ไมส่ มบูรณ์ ตวั อยา่ งเช่น ปญั หาการส่งออกผู้ปว่ ยกลับบา้ น ใช้เวลามากกวา่ 30 นาที เขยี นผังก้างปลาท่ีไมด่ ีออกมาได้ ดังนี้ 4M1E สาเหตุหลกั (กา้ งหลัก) สาเหตุย่อย (กา้ งยอ่ ย) Man พยาบาล งานย่งุ เอกสารเยอะ เหนื่อยใจ เบอ่ื งาน Machine เครอ่ื งยิงบาร์โคด้ Material ยา ไม่สวยงาม ไมเ่ หมือนวอรด์ อน่ื เคร่ืองรุน่ Method กระบวนการสง่ ต่อเร่อื ง เกา่ (แตใ่ ชง้ านไดป้ กต)ิ Environment ไม่มีทจ่ี ดั เก็บยาผู้ปว่ ยกลบั บา้ น ยานาเข้า ไม่มีคนเดนิ ใบสัง่ ยา ทาให้จัด ยาก ยากนอกระบบ เบิกช้า ไมท่ นั ใจ สง่ ตอ่ แลว้ แตไ่ มไ่ ม่คนดาเนินการ คน ดาเนนิ การไมร่ ู้ ไมส่ นใจ ท่วี างไม่พอ ไม่มีคนจดั รสู้ กึ ว่าไม่ จาเป็นต้องตรวจสอบ ชอื่ ตาราง ตารางองค์ประกอบของก้างปลาทไี่ มด่ ี

เนื้อหาประกอบสอื่ E-Learning เรื่อง เคร่อื งมอื คุณภาพ 6 ตวั อยำ่ งกำ้ งปลำที่ไมด่ ี เคร่อื งยงิ บำรโ์ ค้ด ยำ พยำบำล ยาน้าเข้า ไม่มคี นเดนิ ไมส่ วยงาม ไม่เหมือนวอร์ด งานยุ่ง เอกสารเยอะ ใบสั่งยา ท้าให้จดั ยาก อ่ืน เครอ่ื งรนุ่ เกา่ (แต่ใช้งาน เหนอื่ ยใจ เบอ่ื งาน ยากนอกระบบ เบิกช้า ได้ปกติ) ไมท่ นั ใจ ทว่ี างไมพ่ อ ไมม่ คี นจดั รสู้ กึ ส่งตอ่ แล้ว แตไ่ ม่ไมค่ น การสง่ ออกผปู้ ว่ ยกลบั วา่ ไมจ่ า้ เป็นต้องตรวจสอบ ดา้ เนนิ การ คนด้าเนนิ การไมร่ ู้ บา้ นใชเ้ วลามากกวา่ 30 ไมม่ ีที่จดั เกบ็ ยำ ไม่สนใจ นาที ผ้ปู ว่ ยกลับบำ้ น กระบวนกำร ส่งตอ่ เร่ือง ชื่อภาพ กา้ งปลาทีไ่ มด่ ี องคป์ ระกอบของก้ำงปลำท่ไี มด่ ี  ไมใ่ ช้การวิเคราะหป์ ญั หา โดยไมไ่ ด้ดจู าก Work Process ว่าปญั หาเกดิ ที่จดุ ใด และสาเหตคุ อื อะไร  ไมแ่ ยกปญั หาออกจากอาการ  ไม่ได้นาหลัก 4M1E มาใช้ในการแยกสาเหตุ  ระบุกา้ งปลายอ่ ย โดยใชอ้ าการ ความรูส้ กึ ไมส่ ะทอ้ นปัญหา

เนือ้ หาประกอบสอื่ E-Learning เรื่อง เครื่องมือคุณภาพ 7 4.2. เครื่องมือสำหรบั กำรพัฒนำและปรับปรงุ อยำ่ งตอ่ เนือ่ ง CQI 4.2.1. ควำมหมำยของ CQI CQI ย่อมาจาก Continuous Quality Improvement หมายถึง การพยายามที่จะพัฒนาและดาเนินการปรับปรุงกระบวนการ ในการทางาน อย่างต่อเนื่อง โดยมีจุดหมายให้มีการปรับปรุงที่ดีขึ้น และดีขึ้นอีกไม่หยดุ พัฒนาการทางาน รูปแบบการทางานของ CQI นั้น ก่อนการใช้งานต้องทาความเข้าใจปัญหาที่จะต้องการปรับปรุง โดยใช้ควบคู่กับ Work Process และแผนผังก้างปลา เพือ่ ทาความเข้าใจปัญหาแลว้ จึงนามาส่ขู ัน้ ตอนการทางานของ CQI 4.2.2. กระบวนกำรของ PDCA ใน CQI PDCA คือ วงจร หรอื แนวคดิ การบรหิ ารคุณภาพการทางานประเภทหน่งึ ทถ่ี กู คดิ ค้นโดย วอล์ทเตอร์ ซวิ ฮารท์ (Walter Shewhart) ความหมายของ PDCA ย่อมาจาก Plan คอื การศึกษาปญั หา การวางแผนที่จะแก้ไขปญั หา DO คอื การปฏบิ ัตติ ามแผน Check คอื การวัดผล หรอื การตรวจสอบจากการปฏิบตั ิตามแผนว่าตรงตามวัตถปุ ระสงค์ท่กี าหนด Act คือ กระบวนการปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา โดยขั้นตอนนี้เป็นการนาเอาผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนการ ตรวจสอบ มาวเิ คราะหแ์ ละตรวจสอบสาเหตุ การปรับปรงุ มาตรฐาน การปรับปรุง การทางานคร้ังท่ี 2 ใหด้ ขี น้ึ การปรบั ปรงุ มาตรฐาน ระยะเวลาการปรับปรงุ การทางานครั้งที่ 1 ช่ือภาพ กระบวนการของ PDCA ใน CQI โดยหลังจากทาการวิเคราะห์ปัญหาแล้ว จึงเริ่มต้นกระบวนการวางแผนการทางานด้วย PDCA ได้โดยมีจุดเน้นคือ กระบวนการ ปรบั ปรงุ วางแผนด้วย PDCA น้ัน จะตอ้ งดาเนนิ การใหค้ รบสองรอบการปรบั ปรุง เพื่อให้เห็นการปรบั ปรุง และอธิบายความก้าวหน้า อย่างตอ่ เนือ่ ง

เนอ้ื หาประกอบสอื่ E-Learning เร่อื ง เครอ่ื งมอื คุณภาพ 8 4.2.3. ตวั อยำ่ งกำรทำ CQI หลกั การและเหตผุ ล การส่งตอ่ เร่ืองรอ้ งเรยี นน้ันใช้ระยะเวลาในรบั เร่ืองนานและบางครั้งเอกสารสญู หายเนื่องจากไม่มแี บบแผนในการทางาน โดยอัตรา ขอ้ มลู สญู หาย 50% (15 ครัง้ /เดอื น) ใช้เวลาดาเนนิ การ 30 นาทขี ้นึ ไปในการทางาน Work Flow หน่วยงำน เจ้ำหนำ้ ท่ี ฝำ่ ย ร้องเรยี น รับเร่ือง ติดตำม ข้อมลู ผงั ก้างปลา เจ้ำหนำ้ ท่ี อปุ กรณ์เก็บ พ้นื ที่เก็บข้อมูล ข้อมูล ไมม่ ที ี่เก็บ ไมม่ อี ุปกรณ์ ไม่มที ักษะ ขอ้ มูลกลาง ไม่เป็น ไมม่ ี ขอ้ มลู สูญหาย ขัน้ ตอน แบบฟอรม์ และใช้เวลามากกวา่ 30 นาที กระบวนกำร ใบจดขอ้ มลู ในการท้างาน ทำงำน กรอบระยะเวลา กิจกรรม ม.ค. ก.พ มี.ค. เม.ษ. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. วางแผน ปรบั ปรุง ดาเนินการ ตรวจสอบ ปรับปรงุ ปฏิบตั ิจริง วางแผนงาน ตัวชวี้ ัด 1.อัตราข้อมูลสูญหายเป็น 0% (0 คร้ัง/เดือน) 2.การดาเนินการจนสิน้ สดุ กระบวนการใช้เวลา 5 นาที หรือน้อยกวา่

เนื้อหาประกอบส่ือ E-Learning เร่ือง เครื่องมอื คุณภาพ 9 สภาพการทางานเดิม ตารางเปรียบเทียบการปรับปรุง การปรับปรงุ ครงั้ ท่ี 2 การปรับปรุงคร้ังที่ 1 สภาพการทางาน สภาพการทางาน สภาพการทางาน 1.ข้อมูลสูญหายเพราะใช้การจดใส่เศษ 1.ทาเป็นแบบฟอร์มข้อมูลสูญหายลดลง 1.ข้อมูลไม่สูญหาย ปรับการทางานด้วย กระดาษ แต่ไม่มีฐานขอ้ มูลกลาง การสแกนเข้าฐานขอ้ มูลกลาง 3.การดาเนินการช้า (ต้องจดเยอะ อ่าน 2.การดาเนินการเร็วขึ้น แต่ยังต้องเขียน 2.การดาเนนิ การเร็วขน้ึ (เขยี นนอ้ ยลง) ไม่ออก) อยู่ ผลการดาเนินการ ผลการดาเนินการ ผลการดาเนนิ การ 1.อัตราข้อมูลสูญหาย 50% (15 ครั้ง/ 1.อัตราข้อมูลสูญหาย 20% (6 ครั้ง/ 1.อัตราข้อมูลสูญหาย 0% (0 ครั้ง/ เดอื น) เดอื น) เดอื น) 2.การดาเนินการ 30 นาที 2.การดาเนินการ 15 นาที 2.การดาเนินการ 5 นาที ชอ่ื ตาราง ตวั อย่างการทา CQI การควบคุม ตดิ ตาม ประเมนิ ปอ้ งกนั ปัญหาเกิดซ้า 1. ดาเนนิ การประชมุ หารอื เพมิ่ รายงานผล และบันทึกผลการทางานทกุ 1 เดือน 2. สมุ่ ตรวจขอ้ มูลทุก 1 เดอื น เพ่อื รกั ษามาตรฐานในการทางาน 4.2.4. ประโยชน์ของกำรใช้ CQI ในกำรพฒั นำงำน  ขจดั ปัญหาทเี่ กิดขึ้นในงานได้จากตน้ ตอสาเหตุ  สามารถเปรียบเทียบการเปล่ยี นแปลงและแนวโนม้ การพัฒนา  พัฒนาตนเองและพฒั นาการทางานให้ดียง่ิ ขนึ้  ปรับปรุงแกไ้ ขปญั หาอย่างต่อเน่ือง เปน็ รูปธรรม

เนอ้ื หาประกอบส่ือ E-Learning เรื่อง เครือ่ งมอื คุณภาพ 10 4.3. เครอื่ งมอื กำรพัฒนำคณุ ภำพงำน KAIZEN KAIZEN เป็นภาษาญี่ปุน่ แปลว่า การเปลี่ยนให้ดีข้ึน (Improvement) เป็นแนวคิดที่ใช้ในการบรหิ ารการทางานในทุกระดับ เพื่อ ร่วมกันแสวงหาแนวทางในการปรับปรงุ แกไ้ ขการทางานใหเ้ กดิ วิธีการใหม่ ๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการทางานใหด้ ีขนึ้ 4.3.1. กระบวนกำรทำงำนของ KAIZEN กระบวนการทางานของ KAIZEN มคี วามแตกตา่ งจาก CQI เล็กน้อย โดย KAIZEN เปน็ การใช้วงรอบ PDCA เช่นเดียวกัน กับกระบวนการทางานของ QCI แต่ความแตกตา่ งคือ KAIZEN ใช้วงรอบเพยี ง 1 รอบการปรบั ปรงุ และไม่ต้องใชผ้ งั ก้างปลา ตวั อย่ำงกระบวนกำรทำงำนของ KAIZEN สภาพการทางานเดมิ สภาพการทางานใหม่ ช่ือภาพ กระบวนการทางานของ KAIZEN สภาพการทางานเดมิ สภาพการทางานใหม่ ผรู้ ับสำยแทนไมท่ รำบเบอร์ภำยใน ภำยนอก คน้ หำนำน ตดิ เบอรภ์ ำย ภำยนอกท่จี ำเป็น ในไว้ใกล้โทรศพั ท์เพอ่ื ลด โอนสำยผดิ พลำด เวลำ ลดควำมผดิ พลำดในกำรโอนสำย / ส่งตอ่ เร่อื ง สภาพการทางานเดมิ สภาพการทางานใหม่ ใชเ้ วลา 1-2 นาที ในการหาเบอร์ โอนสาย ใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ 1 นาทใี นการโอนสาย ความผิดพลาด 5-10 คร้งั ต่อเดอื น ความผิดพลาด 0 คร้ัง ตอ่ เดือน ช่อื ภาพ ตวั อยา่ งการปรบั ปรุงด้วย KAIZEN

เนอ้ื หาประกอบสอื่ E-Learning เรือ่ ง เครอ่ื งมือคณุ ภาพ 11 4.3.2. ประโยชน์ของกำรใช้ KAIZEN ในกำรพัฒนำงำน  เปน็ การสร้างการมีสว่ นร่วมในการปรับปรงุ ทกุ ระดบั  เปน็ การเพมิ่ ความสะดวก ลดตน้ ทุนในการทางาน เช่น ลดเวลา ลดความผิดพลาด  เปน็ การพัฒนางานอยา่ งต่อเน่อื งไม่หยุดนงิ่  ทาให้บคุ ลากรมีทกั ษะในการพฒั นางานประจาของตนเอง 5. ควำมแตกต่ำงของ CQI และ KAIZEN ในการเลือกใชเ้ คร่ืองมือแตล่ ะชนิด มขี ้อแตกต่างโดยสรปุ เพื่อใหเ้ ลือกใช้งานอย่างเหมาะสมของดังน้ี CQI KAIZEN - การพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง - ปรบั กระบวนการทางานให้ดขี ้ึน - ระดบั งานกลุ่ม - ระดับงานบคุ คล - รปู แบบการวิเคราะห์ - รูปแบบกอ่ นทา - หลังทา เห็นผลชัดเจนเทียบกับเป้าหมาย (กระทบต่อตนเอง เพ่ือนร่วมงาน ผปู้ ว่ ย ทีด่ ีขึน้ หรือแย่ลงอย่างไร) - PDCA มากกวา่ 2 รอบ - PDCA 1 รอบ ชอื่ ตาราง ความแตกตา่ งของ CQI และ KAIZEN 6. วิธีกำรเขียน CQI 1. อธิบายปัญหาที่เกิด ความถี่ ที่มาและความสาคัญ โดยใช้การอธิบายโดยละเอียดควบคู่กับการใช้ความถี่ สถิติ เข้า มาร่วมอธิบายเพื่อให้เห็นอัตราความถี่ของการเกิดปัญหา โดยสามารถใช้สถิติต่างๆ เช่น เปอร์เซ็นต์ จานวนครั้งต่อ เดอื น 2. กาหนดปญั หาดว้ ย Work Process โดยเลอื กปัญหาท่ตี อ้ งการปรับปรุงจากการบันทกึ ความถ่ี หลงั จากนนั้ นามาเทียบ กับโครงสร้างองค์กรโครงสร้างหน่วยงาน ว่าปัญหาที่ต้องการแก้ไขนั้น เกิดอยู่ที่จุดใด กระบวนการใดในการทางาน โดยทาเครือ่ งหมาย หรือวงกลมในจุดทเี่ กิดปัญหาในกระบวนการทางานเพอ่ื ให้เห็นภาพรวมของกระบวนการทางานท่ี เกิดปญั หา 3. ร่างผังก้างปลา โดยจัดองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับปัญหาตามหลัก 4M1E ให้ครบถ้วนโดยเลือกเพียงสาเหตุของ ปัญหาไม่ใช่อาการ นามาใส่ผังก้างปลาโดยหันหัวปลาทางขวาให้หวั ปลาเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น และอธิบายสาเหตุยอ่ ย ตามหมวดหมใู่ ห้ถกู ต้อง ละเอียด ชดั เจน 4. กาหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงแก้ไข และตั้งตัวชี้วัดให้สอดคล้องกันกับเป้าหมายและปัญหา โดย ตวั ชวี้ ดั ตอ้ งเปน็ ผลทางสถิติ เชน่ ลดลงหรอื เพมิ่ ขน้ึ กเ่ี ปอร์เซ็นต์ กค่ี รงั้ ต่อเดอื น/ ตอ่ ป/ี 5. หลงั จากนนั้ วางแผนและปรบั ปรงุ ดว้ ย PDCA สองวงรอบขนึ้ ไป 6. สรุปผลการปรับปรงุ โดยให้สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายและตัวชีว้ ดั ทก่ี าหนด 7. จัดทาเปน็ WI ให้เปน็ รปู ธรรมในการทางาน เชน่ ใช้ในหน่วยงาน ภาควิชา ฯลฯ

เนื้อหาประกอบสือ่ E-Learning เรื่อง เครอ่ื งมอื คุณภาพ 12 7. วธิ ีกำรเขียน KAIZEN 1. อธบิ ายปัญหาท่ีเกดิ ความถี่ ทม่ี าและความสาคัญของปัญหาทีต่ ้องการแก้ไขปรับปรุง โดยใชก้ ารอธิบายโดยละเอียด ควบคู่กับการใช้ความถี่ สถิติ เข้ามารว่ มอธิบายเพือ่ ให้เห็นอัตราความถี่ของการเกิดปัญหา โดยสามารถใชส้ ถิติ เชน่ เปอร์เซน็ ต์ จานวนครง้ั ตอ่ เดอื น 2. กาหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงแก้ไข และตั้งตัวชี้วัดให้สอดคล้องกันกับเป้าหมายและปัญหา โดย ตวั ช้วี ดั ต้องเปน็ ผลทางสถติ ิ เช่น ลดลงหรือเพิ่มขน้ึ กเี่ ปอร์เซ็นต์ กีค่ รั้งตอ่ เดอื น/ต่อปี ฯลฯ หลงั จากนั้นวางแผนและ ปรบั ปรุงด้วย PDCA หนงึ่ วงรอบขึ้นไปสรุปผลการปรบั ปรุง โดยให้สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายและตวั ชีว้ ดั 3. จดั ทาเปน็ WI ให้เป็นรูปธรรมในการทางาน เชน่ ใชใ้ นหน่วยงาน ภาควชิ า ฯลฯ 8. ประเภทของผลงำน 8.1.1. CQI กระบวนการ คือ การปรับปรุงขั้นตอนกระบวนการทางาน ในระหว่างการปฏิบัติงานประจา เพื่อให้เกิดการ พัฒนาในทางที่ดขี ึ้น โดยใช้ 1. แผนผงั ก้างปลา 2. Work Flow และ 3. กระบวนการ PDCA 2 วงรอบ ร่วมกนั ทงั้ 3 เครือ่ งมอื เพ่อื ผลในการดาเนนิ การทด่ี ขี น้ึ เช่น การปรับปรงุ ระบบฐานข้อมูล เพ่อื ความรวดเร็วในการจัดยา ฯลฯ 8.1.2. CQI สิ่งประดิษฐ์ คือ การสร้างสิ่งประดิษฐ์ ในระหว่างการปฏิบัติงานประจา เพื่อให้เกิดการพัฒนาในทางที่ดีข้ึน โดยใช้ส่ิงประดษิ ฐ์ ควบคู่กับ กระบวนการ PDCA 2 วงรอบ เพื่อผลในการดาเนนิ การที่ดีขึ้น เช่น กระเป๋าประคบ เย็น เพอ่ื ลดอาการบวม และลดค่าใชจ้ ่ายในผปู้ ว่ ยผา่ ตดั เปลือกตา 8.1.3. KAIZEN คือ การปรับปรุงงานโดยเป็นการพัฒนาในงาน เช่น การลดต้นทุน ลดกระบวนการ ลดความซับซ้อน ลดการใช้บคุ ลากร โดยไม่จาเปน็ ต้องใช้ กระบวนการ PDCA เช่น หลอดเป่าวัดออกซิเจน ราคาประหยัด เพื่อเป็น การลดคา่ ใชจ้ ่ายในกระบวนการทางาน โดยยงั คงรักษาหรอื เพ่มิ คุณภาพในการทางานได้ 9. ตวั อย่ำงแบบฟอรม์ ตัวอย่างแบบฟอร์มในการส่งผลงาน ในแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกันออกไป โดยมีรายละเอียดข้อมูลแบบฟอร์มผลงานที่ ถูกตอ้ ง ทสี่ ามารถศกึ ษาได้จาก ลิงค์ Intranet https://intra9.rama.mahidol.ac.th/quality/th/km/qc/form-th ช่ือภาพ ตวั อยา่ งแบบฟอรม์ ในเว็ปไซต์

เนอ้ื หาประกอบสื่อ E-Learning เรอ่ื ง เคร่อื งมือคณุ ภาพ 13 10. ขน้ั ตอนกำรสง่ ผลงำน งำนมหกรรมคุณภำพ ลงทะเบยี นส่งผลงานได้ที่ http://intra9.rama.mahidol.ac.th/quality/th/km/qc/regis63-th Download แบบฟอรม์ และคมู่ ือการเขยี นงานไดท้ ่ี http://intra9.rama.mahidol.ac.th/quality/th/km/qc/form-th สง่ ไฟลผ์ ลงานมาทง่ี านพฒั นาคณุ ภาพงาน ผา่ นชอ่ งทางดงั นี้ Email : [email protected] Outlook : ธรุ การงานพัฒนาคณุ ภาพงาน CD หรือ DVD หรอื Flash Drive : งานพฒั นาคณุ ภาพงาน ชั้น 6 อาคารบรหิ าร โทร 02 201 2225

เน้อื หาประกอบสือ่ E-Learning เรื่อง เครือ่ งมอื คณุ ภาพ 14 รำยกำรอำ้ งอิง นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุตกิ ุล.เครอื่ งมอื พฒั นาคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สถาบนั พฒั นาและรับรองคณุ ภาพโรงพยาบาล, 2543 ฟุจิอิ มิโฮโยะ.ไคเซน็ ในสานกั งาน.กรุงเทพฯ:สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปนุ่ ), 2554 ชาญณรงค์ ตู่ วงค์วิชัย.(2556).CQI วงลอ้ แห่งการพฒั นา.สืบคน้ เมอ่ื 17 กรกฎาคม 2563 .จากเวบ็ ไซต:์ https://www.gotoknow.org/posts/539496 การพยาบาลท่ีพึงประสงค์.(2557).CQI ต่างกับ R2R อย่างไร.สบื คน้ เม่อื 17 กรกฎาคม 2563.จากเว็บไซต:์ http://r2r2557.blogspot.com/2014/03/cqi-r2r.html สธุ าสนิ ี โพธิจนั ทร.์ (2558).Operations บทความสาหรับบุคคลท่ัวไป องค์ความรู้ .สบื ค้นเมื่อ17 กรกฎาคม 2563. จากเวบ็ ไซต:์ https://www.ftpi.or.th/2015/2125 ผู้จัดทำ หน่วยพัฒนำศกั ยภำพองคก์ ร งำนพฒั นำคุณภำพงำน สำนกั งำนคณบดี คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำลรำมำธิบดี มหำวิทยำลยั มหิดล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook