Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged cdd namnao

ilovepdf_merged cdd namnao

Published by pol.dongmullek, 2020-04-22 00:15:55

Description: ilovepdf_merged cdd namnao

Search

Read the Text Version

แบบบันทึกองค์ความรู้รายบุคคล อาเภอนาหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ สำนักงำนพฒั นำชุมชนอำเภอนำ้ หนำว จังหวดั เพชรบูรณ์ โทร.056 – 705817 E-mail :[email protected] Facebook : สำนักงำนพฒั นำชุมชนอำเภอนำ้ หนำว จงั หวดั เพชรบูรณ์ http://district.cdd.go.th/namnao/

แบบบันทกึ องค์ความรรู้ ายบุคคล 1.ชื่อองค์ความรู้ บรหิ ารกองทุนโดยหลักธรรมาภบิ าล ของบา้ นหว้ ยแปก หมทู่ ี่ 6 ตา้ บลน้าหนาว อ้าเภอน้าหนาว จงั หวดั เพชรบรู ณ์ 2.เจา้ ขององค์ความรู้ นางสาวไพลิน ช่วยพยุง ตา้ แหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนช้านาญการ สงั กดั สา้ นักงานพัฒนาชมุ ชนอ้าเภอนา้ หนาว จงั หวดั เพชรบูรณ์ โทรศพั ท์ 082 - 8790619 3. องคค์ วามรู้ทบี่ ง่ ช้ี (เลือกได้ จานวน 1 หมวด) หมวดที่ 7 เทคนคิ การสง่ เสรมิ กองทุนชมุ ชนให้เกิดการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าล 4.ท่มี าและความสาคญั ในการจดั องคค์ วามรู้ วสิ ัยทศั น์กรมการพัฒนาชมุ ชน พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ “เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชุมชนพงึ่ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5” กรมการพฒั นาชุมชนได้มุ่งขบั เคลือ่ น ไปสู่การปฏบิ ัติใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อประชาชนอยา่ งแท้จริง ซง่ึ ไดผ้ ่านกระบวนการวิเคราะห์ ทา้ ใหม้ คี วามง่าย ทา้ ทาย และเป็นไปได้ในการปฏิบัติให้สอดคล้องกบั ทศิ ทาง แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บับที่ ๑๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ของประเทศไทย นโยบายของรัฐบาล สถานการณ์สภาพแวดล้อมในปจั จุบัน เพอื่ ให้บคุ ลากรทุกคน ใช้เปน็ กรอบทิศทางการ ปฏบิ ตั งิ าน โดยสามารถก้าหนดรปู แบบ น้าไปประยุกต์สู่การปฏบิ ตั ิงานไดต้ ามความเหมาะสม และกรมการ พัฒนาชมุ ชนได้ก้าหนดให้ปี ๒๕๖๐ ขับเคลอื่ นวาระกรมการพฒั นาชมุ ชน (Agenda) เพ่ือมุ่งมัน่ ว่ากรมการ พฒั นาชมุ ชน พร้อมขบั เคล่อื น สัมมา ชีพชุมชนเข้มแขง็ ภายใต้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อก้าวไปสู่ “เศรษฐกจิ ครัวเรอื นมีความมั่นคง ประชาชนใชช้ ีวติ อย่ใู นชมุ ชน อยา่ งมีความสุข” เพ่ือสนับสนุนให้ วิสัยทศั น์ของกรมการพฒั นาชุมชนบรรลุผล สา้ นกั งานพฒั นาชุมชนอ้าเภอนา้ หนาว โดยนางสาวไพลนิ ชว่ ยพยงุ นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชา้ นาญการ ส่งเสริมกระบวนการท้างานของหม่บู ้าน บา้ นห้วยแปก หมทู่ ่ี 6 ตา้ บลน้าหนาว อ้าเภอน้าหนาว จงั หวัดเพชรบูรณ์ โดยยึดหลักหลักธรรมาภบิ าล และการมีสว่ นร่วมของกลุ่ม 5.ปญั หาทีพ่ บและแนวทางในการแกไ้ ขปญั หา พื้นทด่ี ้าเนนิ การบ้านห้วยแปก หมทู่ ี่ 6 ตา้ บลน้าหนาว อา้ เภอน้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ มกี ารดา้ เนินงานกองทุนจา้ นวน 8 กองทุน ดงั นี้ 1. กองทุนหมูบ่ ้าน 2. กองทนุ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) 3. สหกรณ์เพือ่ การเกษตร 4. ออมทรัพยเ์ พ่ือการผลิต 7. กองทนุ ข้าว 6. กองทนุ ขา้ วหลาม 7. โรงสีข้าวชุมชน 8. กองทุนแม่ของแผน่ ดิน ซง่ึ แตล่ ะกองทนุ มีการดา้ เนนิ งานเป็นกลุม่ ประกอบด้วย สมาชกิ กรรมการ กฎกตกิ า กจิ กรรม และเงินทุน ผลกา้ ไร

ปัญหา 1.สมาชิกบางคนมีความสบั สนในการดา้ เนินงาน ไม่เขา้ ใจ 2.คณะกรรมการบางคน ท้าหลายหน้าท่ีหลายต้าแหน่ง เกิดความสับสน ไมม่ ีเวลา 3.ระเบียบกลมุ่ ทแ่ี ตกต่างกัน เชน่ การคดิ ดอกเบย้ี ทีต่ ่างกัน ท้าใหส้ มาชิกรู้สึกไดเ้ ปรียบเสียเปรียบกนั 4.กิจกรรม แบ่งแยกกัน ตา่ งคนต่างท้า เช่น การนดั ประชุม ที่มหี ลายคร้งั เพราะมหี ลายกลุ่ม 5.เงินกองทุน และผลก้าไร ของแตล่ ะกล่มุ การจัดสรรผลก้าไร เช่น ดา้ นสวัสดกิ าร ด้านสาธารณะ ประโยชน์ เน่ืองจากมีเงนิ น้อยและตา่ งคนตา่ งบริหาร จึงด้าเนินการไม่เป็นรปู ธรรมทชี่ ัดเจน แนวทางแก้ไข สนับสนุนใหห้ มู่บ้านใช้หลักธรรมาภิบาล 1.หลกั ประสิทธผิ ล 2.หลกั ประสทิ ธิภาพ 3.หลกั การตอบสนอง 4.หลกั ภาระรบั ผดิ ชอบ 5.หลักความโปร่งใส 6.หลักการมีส่วนรว่ ม 7.หลักกระจายอ้านาจ 8.หลักนิตธิ รรม 9.หลักเสมอภาค 10.หลกั ม่งุ เนน้ ฉนั ทามติ ทกุ กระบวนการให้ชาวบา้ น สมาชิก คณะกรรมการมีส่วนรว่ ม 1.รว่ มคิด ประชุมชาวบา้ นและคณะกรรมการกลมุ่ ต่าง ๆ ร่วมระดมความคิด 2.รว่ มท้า เม่ือทป่ี ระชมุ ตกลงในเรือ่ งตา่ งๆ ทไ่ี ด้ร่วมคดิ ไว้แล้ว ทกุ ฝ่ายตา่ งไปด้าเนนิ การในสว่ นท่ตี ัวเอง ไดร้ ับมอบหมายจากท่ีประชุมมาใหบ้ รรลุความสา้ เรจ็ ตามท่ีวางไว้ 3.ร่วมแก้ไข เม่ือไปทา้ งานแลว้ ประสบปัญหาใดก็รีบแจง้ เรื่องต่อกันและกนั เพื่อเร่งรีบแกไ้ ขมิให้ สง่ ผลกระทบต่องานท้ังหมด 4.รว่ มรบั ผล (ทงั้ ผลดแี ละผลไมด่ ี) รับผลส้าเร็จของงานรว่ มกนั 5.ร่วมพฒั นา น้าผลการปฏิบัติงานเข้าช้ีแจงประชาสัมพนั ธ์ใหช้ าวบ้านทราบ ในทปี่ ระชุมของหมู่บา้ น อยา่ งสม่า้ เสมอ หากมปี ัญหาในการท้างาน ที่ประชมุ จะช่วยกนั หาแนวทางแกไ้ ข หากเกิดผลการดา้ เนินงานทด่ี ี เกิดประโยชน์ จะน้ามาพัฒนางานใหด้ ีย่งิ ขนึ้ ต่อไปอย่างต่อเน่ือง 6.ประโยชนข์ ององคค์ วามรู้ 1. การพัฒนาหม่บู า้ นทจี่ ะก่อใหเ้ กิดความเข้มแขง็ ยั่งยืน ต้องเกดิ จากการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในหมูบ่ ้าน การมีส่วนร่วมจากทกุ ฝ่ายอย่างเต็มใจ คนในชุมชนเกิดการเปล่ียนแปลงความคดิ ทศั นคติทด่ี ี จากเดิมท่ีคิดว่าไม่ใชห่ นา้ ที่ของตัวเอง ใหเ้ ปล่ียนมาเปน็ ทุกคนต้องมีส่วนรว่ มในการพัฒนาหมู่บา้ น ของตวั เอง 2. เป็นการสนับสนุนการด้าเนนิ งานขององค์กร 3. การท้างานท่ี ชัดเจน เปน็ รปู ธรรม เกดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการทา้ งาน 4. เปน็ แนวทางในการขบั เคลือ่ นกจิ กรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน 5. เป็นการประชาสมั พันธผ์ ลการดา้ เนนิ งาน และสามารถน้าไปใช้ขยายผลปฏิบัติในหมู่บ้านอืน่ ได้

7.เทคนิคในการปฏิบัติงาน เทคนคิ และวิธีการทา้ งานที่ใช้ เป็นเทคนคิ ทส่ี ่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของคนในชุมชน เพือ่ เกิดการเรยี นรู้ ใหท้ กุ คนไดม้ สี ่วนร่วมต้ังแต่เริ่มตน้ การท้างาน จนถึงขั้นตอนรบั ผลประโยชนร์ ว่ มกนั ดงั น้ี 1.การจัดเวทปี ระชาคมเป็นประจ้าทุกเดือน เพื่อนา้ ใหไ้ ด้การมสี ่วนร่วมทางสงั คม ๒.การใช้ทรพั ยากรท่ีมใี นท้องถ่ินเปน็ ทนุ ในการพฒั นา ๓.หลักการมีสว่ นร่วมของคนในชมุ ชน วธิ ีการทา้ งาน ๑. การเตรียมหม่บู า้ นในการพัฒนา ๒. การขบั เคล่อื นการพฒั นาหมบู่ ้านทีส่ ามารถสรา้ งพลงั ชุมชนในการใช้ทนุ ชมุ ชน ๓. การยกย่องเชดิ ชูเกียรติ ปัจจยั แหง่ ความสา้ เร็จ 1. ผนู้ า้ ชุมชนและแกนนา้ มีความรคู้ วามเข้าใจและมคี วามสามารถในการส่งเสรมิ ให้คนในหมู่บา้ น เข้ามาร่วมพฒั นา 2. คนในชุมชนมีวิถีชีวติ ทเี่ รยี บงา่ ย มคี วามสามัคคี ปรองดองรบั ฟังความคิดเหน็ ซึง่ กันและกนั เคารพ กฎระเบียบ

การจัดการความรู้ (KM) การดาเนนิ การจัดตง้ั กลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต โดย นางสาวเสาวลกั ษณ์ สเุ จริญพงศ์ นักวิชาการพฒั นาชุมชนชานาญการ สงั กดั สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอน้าหนาว อาเภอน้าหนาว จงั หวดั เพชรููรณ์

การจัดการความรู้ (KM) การดาเนินการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ กลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลติ จะดาเนินงานให้ประสบผลสาเรจ็ และมีประสิทธภิ าพจะตอ้ งบริหารจดั การ อยู่ภายใต้ คุณธรรม 5 ประการ ดงั น้ี 1.ความซ่อื สัตย์ 2.ความเสียสละ 3.ความรับผดิ ชอบ 4.ความเหน็ อกเหน็ ใจกนั 5.ความไวว้ างใจกัน แนวคดิ ในการจดั ตง้ั กล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลิต 1. การรวมคนในหมู่บ้านให้ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกัน โดยรวมคนทีม่ ฐี านะแตกตา่ งกนั ให้ชว่ ยเหลือกนั อัน จะเปน็ การยกฐานะคนยากจน 2. การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงนิ ทนุ โดยรวมกลุ่มกันออมเงินแลว้ กู้ไปทาทนุ 3. การนาเงินทนุ ไปดาเนนิ การด้วยความขยนั ประหยดั และถูกต้อง เพอ่ื ให้ได้ทุนคนื และมกี าไร เปน็ รายได้ 4. การลดตน้ ทุนในการครองชีพ โดยการจัดตงั้ ศนู ยส์ าธติ การตลาด เป็นการรวมกันซอ้ื -ขาย สามารถลด ตน้ ทุนในการซ้ือสนิ คา้ อปุ โภค-บรโิ ภค และปจั จยั การผลิต กล่มุ ออมทรัพยเ์ พื่อการผลิต เม่ือดาเนนิ การ ระดมเงินออมมาไดร้ ะยะหนึง่ จนสมาชิก มีความเข้าใจในการดาเนินงานกลมุ่ แล้ว กลมุ่ สามารถนาเงนิ ทนุ ท่มี ีอยู่มาดาเนินกิจกรรมเพ่อื ช่วยเหลือหรอื แก้ไขปัญหาของสมาชิกและชมุ ชน โดยดาเนินกิจกรรมใน 3 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. ด้านการพฒั นาอาชีพ กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ เปน็ แหลง่ เงินทนุ ใหส้ มาชกิ กเู้ งนิ ไปประกอบ อาชีพ ขยายการผลิต และเพ่อื ใชเ้ ป็นสวัสดกิ ารในครอบครัว โดยการดาเนนิ กจิ กรรม การบริการเงนิ กู้ 2. ด้านการพัฒนาระบบการจัดการทางธรุ กจิ เป็นการดาเนินกิจกรรมทีช่ ว่ ยเหลือ และแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของชมุ ชน เป็นการฝึกการดาเนินธุรกิจในระบบกลุม่ และมุ่งหวงั ผล กาไรเพอ่ื นาไป ดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ของกล่มุ และการจดั สวัสดิการให้แกส่ มาชิกและชุมชน กจิ กรรม เชิงธรุ กิจท่ีกลุม่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิตดาเนนิ การ ไดแ้ ก่ ศูนยส์ าธิตการตลาดเป็นรา้ นคา้ ทีก่ ลมุ่ ฯ ลงทุนจัดตง้ั ข้ึนเพอ่ื อานวยความสะดวกในการซอื้ ขายสนิ คา้ อปุ โภค บริโภค รวมถึงปัจจัยการผลิตให้ กบั สมาชิก ยงุ้ ฉาง เป็น กจิ กรรมทกี่ ลมุ่ ฯ ลงทุนจดั ขนึ้ เพือ่ ดาเนนิ การซ้อื ขายผลผลติ ของสมาชกิ ด้วยการรบั ซ้อื ขายฝาก หรอื ฝากขาย ทั้งน้กี ลุม่ จะชว่ ยให้สมาชิกไมต่ ้องขายผลผลติ อยา่ งเร่งดว่ น ถกู กดราคา และเปน็ การหากาไร ใหก้ ับกลุ่มฯ ด้วย นอกจากน้ียงั มีกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีตั้งกลมุ่ ดาเนนิ การ ตามมติของสมาชิกเพื่อแก้ไขปัญหา และความตอ้ งการของสมาชกิ และชุมชน เช่น ปมั๊ นา้ มัน เพ่ือจัดหานา้ มนั มาบรกิ ารแกส่ มาชกิ และ ประชาชนในราคายุติธรรม ลานตากผลผลติ เพอ่ื แก้ไขปญั หาผลผลิต มคี วามช้ืน เชน่ ข้าว, มันสาปะหลงั โรงสีข้าว เพ่อื แกไ้ ขปัญหาขา้ วเปลือกราคาตกตา่ โดยแปรรปู เป็น ขา้ วสาร และสง่ เสรมิ อาชีพเลยี้ งสตั ว์ โดยใชร้ าและปลายขา้ ว กองทุนปุย๋ ชีวภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาดนิ เสอื่ มสภาพ การผลิตนา้ ดม่ื สะอาด โรง แป้งขนมจีน เป็นการฝกึ หดั ใหก้ ลุ่มรู้จักดาเนินธุรกิจ

- ๒- 3. ดา้ นการสงเคราะห์และสวัสดกิ าร เปน็ กจิ กรรมท่ีกลุ่มดาเนินการเพอ่ื ช่วยเหลือ สมาชกิ และคน ยากจนในชุมชน ได้แก่ ธนาคารข้าว เปน็ กจิ กรรมที่กลมุ่ ฯ ดาเนนิ การเพื่อการสงเคราะห์ ช่วยเหลอื โดย การใหก้ ู้ ให้ยืม และใหเ้ ปล่า นอกจากนีก้ ลมุ่ ฯ นาผลกาไรสว่ นหนง่ึ จากการดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ มา ชว่ ยเหลอื สมาชิกทเี่ ดือดรอ้ นและคืนส่ชู ุมชน เช่น การรกั ษาพยาบาล ทนุ การศึกษาบตุ รของสมาชกิ ชว่ ยเหลือ การจัดงานศพสมาชกิ การสงเคราะห์คนชรา การพฒั นาหม่บู า้ นและบารงุ รกั ษา สาธารณประโยชน์ เป็นตน้ โดยมวี ัตถุประสงค์ของการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพยเ์ พอ่ื การผลติ ดงั นี้ 1. ส่งเสริมให้มกี ารประหยัดและออมเงนิ ในรปู เงินสัจจะ 2. ใหบ้ ริหารเงินทนุ สนบั สนนุ การประกอบอาชพี และสวสั ดิการของสมาชิก 3. ให้มปี ระสบการณ์ในการบริหาร และจดั ทาเงนิ ทุนดว้ ยตนเอง 4. สง่ เสรมิ ให้มคี วามสามคั คี การทางานรว่ มกัน และการช่วยเหลือซึง่ กันและกัน 5.ให้มปี ระสบการณใ์ นการบรหิ าร และจัดการเงินทนุ ของตนเอง เงินทุนของกลุ่ม ได้มาจาก 1. เงนิ สจั จะสะสมเปน็ เงนิ ทไ่ี ดจ้ ากการออมของสมาชกิ จานวนเท่าๆกันทกุ เดือนตามกาลงั ความสามารถ เพอ่ื ใชเ้ ป็นทุนในการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพยเ์ พอื่ การผลติ ซงึ่ จะจา่ ยคนื เงนิ สจั จะสะสมเมอ่ื สมาชกิ สน้ิ สุดสมาชกิ ภาพแล้วเทา่ นน้ั ซ่ึงกลุ่มจะจา่ ยผลตอบแทนในรปู ของเงินปนั ผล 2. เงินสจั จะสะสมพเิ ศษ เปน็ เงินรับฝากจากสมาชกิ ที่มีเงนิ เหลอื และประสงคจ์ ะฝากเงินไดก้ ับกลุ่ม ซงึ่ สามารถถอนเงินออกไปใช้จ่ายเมอ่ื จาเป็น และกลมุ่ จะจา่ ยผลตอบแทนใน รปู แบบดอกเบยี้ ตามระเบียบ ของกลุ่ม 3. เงนิ รายไดอ้ ่ืน ๆ เชน่ คา่ สมคั ร/ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ดอกเบีย้ 4. เงินอดุ หนุน จากสว่ นราชการ องค์กรปกครองทอ้ งถนิ่ และองค์กรอนื่ ๆ สมาชิก สมาชกิ ของกลุม่ ออมทรัพยเ์ พ่อื การผลิตมี 3 ประเภท คอื 1.สมาชกิ สามญั ไดแ้ ก่บคุ คลทกุ เพศ ทกุ วัยภายในหมู่บา้ น/ตาบล ทีส่ มคั รเขา้ มาเปน็ สมาชกิ กลุ่ม ตาม ระเบียบข้อบังคบั ของกลมุ่ 2. สมาชิกวสิ ามญั ไดแ้ ก่ กล่มุ /บคุ คล ภายในหมู่บา้ น/ตาบล ที่สนใจและสมคั รเขา้ เป็นสมาชิกกลุม่ โดย ไม่ประสงคจ์ ะกูเ้ งินจากลมุ่ 3. สมาชกิ กิตติมศักด์ิ ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการ หรือคหบดี ทส่ี นใจและใหก้ ารสนบั สนุนกลมุ่ โดยไม่หวงั ผลตอบแทน

- ๓- หนา้ ท่ีของสมาชิก 1. ส่งเงนิ สจั จะสะสมเป็นประจาทกุ เดือน 2. สง่ คืนเงนิ กูต้ ามกาหนด 3. เลอื กตัง้ คณะกรรมการบริหารกลุ่ม 4. เข้าร่วมประชุมสามญั ประจาปี 5. มสี ่วนร่วมในกิจกรรมกลุม่ 6. ให้ขอ้ คิดเห็น และขอ้ เสนอแนะท่ดี ีแก่กลุม่ 7. กากบั ตรวจสอบการดาเนนิ งานของกลมุ่ คณะกรรมการ คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์ มี 4 คณะ ดังน้ี 1. คณะกรรมการอานวยการ จานวน 5-9 คน มีหนา้ ท่ีในการบรหิ าร จดั การกลุ่มออมทรพั ยใ์ ห้มี ประสิทธิภาพ เป็นที่พงึ พอใจของสมาชกิ ตลอดจนเปน็ ตัวแทนของกลุม่ ในการประสานงาน และตดิ ต่อ กบั องค์กรภายนอก 2. คณะกรรมการพจิ ารณาเงินกู้ จานวน 3-5 คน มีหนา้ ที่ในการพิจารณาให้กู้ – ยมื เงิน ตดิ ตาม โครงการ และเร่งรดั หน้ีสิน 3. คณะกรรมการตรวจสอบ จานวน 3-5 คน มีหนา้ ที่ในการตรวจสอบบญั ชีและผลการ ดาเนนิ งาน ของกลมุ่ 4.คณะกรรมการสง่ เสริมจานวนขึน้ อยกู่ บั จานวนสมาชิกและระเบียบขอ้ บังคับของกล่มุ มหี น้าที่ชกั ชวน ผู้สมัครใจสมคั รเปน็ สมาชกิ กลุ่มออมทรัพยต์ ลอดจนการใหค้ วามรู้เก่ียวกบั กลุ่มออมทรัพยแ์ ก่สมาชกิ ประสานงานระหว่างสมาชิกกบั กลมุ่ และกลุ่มกับสมาชกิ ให้มคี วามสมั พันธอ์ ันดตี อ่ กัน กจิ กรรมของกลุม่ 1. กิจกรรมดา้ นการให้บริการรับฝากเงิน และการกูย้ ืมเงิน 2. กจิ กรรมดา้ นการจดั สวัสดิการใหก้ ับสมาชกิ 3. ขยายเครอื ขา่ ยและทาธรุ กจิ เชน่ ศนู ยส์ าธติ การตลาด, โรงสี เปน็ ต้น 4. กจิ กรรมในการพัฒนาสมาชกิ เชน่ การฝกึ อบรม การศึกษาดงู าน ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ย์ 1. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนมีการออมเงิน และนาเงินไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี โดยลดภาระการกูย้ มื เงินจาก แหล่งอนื่ ๆ ทีต่ อ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยสงู 2. พัฒนาคนให้มีคุณธรรม 5 ประการ คอื ซอ่ื สัตย์ เสยี สละ รับผิดชอบ เห็นอกเหน็ ใจ และไวว้ างใจซงึ่ กันและกนั

- ๔- 3. ฝึกประสบการณ์การบริหารเงินทนุ ใหก้ บั บุคคลในชุมชน 4. พฒั นาศักยภาพของคนในด้านตา่ ง ๆ เช่น การเป็นผนู้ า การปกครอง ตามระบบประชาธิปไตย 5. ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีส่วนรว่ มในการพฒั นา คิดและแก้ปัญหาของตนเองด้วยวธิ กี ารทางานรว่ มกนั

แบบบนั ทึกองคค์ วามรู้ ชื่อความรู้ การใช้ข้อมลู จปฐ. เพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน เจา้ ของความรู้ นายจตุพล อ้นกล้ิง ตาแหนง่ /สงั กดั นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏิบตั ิการ สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอนา้ หนาว จงั หวดั เพชรบรู ณ์ แก้ไขปัญหาเกีย่ วกับ การนาข้อมลู จปฐ. เพือ่ พัฒนาชมุ ชน เร่อื งเลา่ ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยท่ีพึงประสงค์ ตามเกณฑ์มาตรฐานข้ันต่าของเครื่องชี้วัด ว่าอย่างน้อยคนไทยควรจะมีคุณภาพชีวิตในเรื่องอะไรบ้าง และควร จะมีระดับความเป็นอยู่ไม่ต่ากว่าระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และทาให้ประชาชนสามารถทราบได้ด้วย ตนเองว่า ในขณะน้ีคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รวมทั้งหมู่บ้าน/ชุมชนอยู่ในระดับใด มีปัญหาที่ จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและ สังคม ดงั นัน้ ข้อมูล จปฐ. ที่จัดเก็บโดยผู้นาชุมชน หัวหน้าคุ้ม หรืออาสาสมัคร ด้วยความสนับสนุน ของคณะทางานบริหารจัดเก็บข้อมูลระดับตาบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะทาให้ทราบว่าแต่ละ ครวั เรือน และหม่บู ้านชมุ ชนมีปัญหาเร่ืองอะไรบา้ ง เมอื่ ทราบแลว้ สมาชิกในครวั เรือนต้องช่วยกันแก้ไข ส่วนใด ท่ีไม่สามารถแก้ไขได้เอง ก็ให้เป็นหน้าท่ีของผู้นาชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และส่วนราชการที่ เกีย่ วขอ้ งที่จะเข้ามาดาเนินการตอ่ ไป ข้าพเจ้าในฐานะเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนท่ีรับผิดชอบงานข้อมูล จปฐ. ของอาเภอน้าหนาว ซ่ึงในปี 2562 มีการจัดเก็บมูล จปฐ. ทั้งหมด จานวน 4,644 ครัวเรือน โดยมีตัวช้ีวัดที่ตกเกณฑ์ เรียงลาดับ จากมากไปน้อย ดังน้ี ตัวชี้วัดท่ี 8 ครัวเรือนมีความม่ันคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร ตัวนี้วัดท่ี 25 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหร่ี ตัวช้ีวัดท่ี 24 คนในครัวเรือนไม่ด่ืมสุรา ตัวชี้วัดที่ 23 ครัวเรือนมีการเก็บออม และตัวชี้วัดท่ี 1 เด็กแรกเกิดมีน้าหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป ตามลาดับ ซึ่งจะพบว่าข้อมูลท่ีได้จากการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ส่วนใหญ่ไม่ได้นาไปใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหาของคนในชุมชน อีกท้ัง คนในชุมชนไม่ทราบ ปัญหาของตนและชุมชน ข้าพเจ้าจึงได้กาหนดแนวทางการดาเนินงาน เพื่อแก้ไขปัญหา/อุปสรรคในการ ดาเนนิ งาน โดยสามารถสรุปไดด้ งั น้ี 1. ประชุมวางแผนร่วมกันระหว่างราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ผู้นาองค์กร ชุมชน ผู้นา อช. และแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ารดาเนนิ งาน ปัญหา อปุ สรรค์ เพอ่ื หาแนวทางร่วมกนั 2. การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้นาชุมชน หรืออาสาสมัคร ในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ความสาคญั ของข้อมูล จปฐ. ตลอดจนการนาขอ้ มูล จปฐ. ไปใช้ในการวางแผนเพ่ือแกไ้ ขปัญหาของชมุ ชน 3. การประชาสัมพันธ์การดาเนินงานการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ตลอดจนการส่งเสริมการใช้ ขอ้ มลู ในการวางแผนเพื่อแกไ้ ขปัญหาของชุมชน 4. ส่งเสริมการจัดทาแผนชุมชน เพื่อนาข้อมูล จปฐ. ไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาของ ชมุ ชนโดยชุมชน 5. จดั ตงั้ ทีมแกไ้ ขปญั หาจากตวั ชี้วัดที่ตกเกณฑ์ จปบ. แบบบรู ณาการ 6. ติดตามการดาเนินงานและให้การสนบั สนุนอย่างใกลช้ ดิ

-2 - บนั ทกึ องค์ความรู้ (Knowledge Assets) 1. ส่งเสริมให้ชมุ ชนเรยี นรู้รว่ มกัน โดยการประชมุ ผ่านเวทีประชาคมหมบู่ ้าน 2. การเรยี นรู้รว่ มกันระหวา่ ง องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ภาคกี ารพฒั นา 3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ โดยการประชุม ปรกึ ษาหารือ มอบหมายความรับผดิ ชอบ ให้ผู้นาชุมชน ผู้นาองคก์ รชมุ ชน ในแตล่ ะกิจกรรม 4. นาเสนอขอ้ มลู การประมวลผลข้อมลู และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จปฐ. ในภาพรวม 5. ประสานหนว่ ยงานตา่ งๆ เพ่ือแกไ้ ขปัญหารายตัวชี้วดั 6. การติดตาม/สนับสนุนการดาเนนิ งาน อยา่ งใกลช้ ิด กลยทุ ธ์ในการทางาน 1. มีการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) และปรับปรุงแก้ไข (Act) ด้วยการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงาน เพ่ือหาแนวทางแก้ไข เพื่อพัฒนางานให้เกดิ ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย 2. เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการประชาคม (การคัดเลือกอาสาสมัคร การรับรอง ขอ้ มลู ฯ ก่อนนาส่งผู้บันทึกข้อมลู ) การรับรองข้อมูล การนาเสนอข้อมูล การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล และ การนาขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์ 3. แสวงหาความร่วมมือจากภาคีพัฒนา ในการสนับสนุนการดาเนินงาน งบประมาณ และ การบรหิ ารจัดการ 4. การเผยแพรป่ ระชาสมั พันธต์ ัง้ แต่เรมิ่ ตน้ จากการจัดเกบ็ ขอ้ มูล จปฐ. การรับรองข้อมูล การ นาเสนอขอ้ มลู และการนาขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ 5. ส่งเสรมิ /สนบั สนุนการใช้แผนชุมชน การนาข้อมูล จปฐ. ไปบูรณาการกับแผนชุมชน แผน ทอ้ งถน่ิ แก่นความรู้ (Core Competency) 1. การศกึ ษาหาข้อมูลในการดาเนินงาน 2. การทางานเป็นทมี และการสรา้ งเครอื ข่าย ภาคีพฒั นา 3. มแี ผนการดาเนินงานในทุกข้ันตอน 4. การประสานงาน ทง้ั ภาครฐั องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ 5. การประชาสมั พันธ์ 6. การตดิ ตามประเมินผล ที่อย/ู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอน้าหนาว จงั หวัดเพชรบรู ณ์ โทร. 0 056705 817


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook