Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดบริการสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานฯ

คู่มือการจัดบริการสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานฯ

Description: คู่มือการจัดบริการสุขภาพ กลุ่มวัยทำงานฯ

Search

Read the Text Version

ชอื่ หนงั สอื : คมู่ อื การจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ทปี่ รึกษา นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดกี รมควบคุมโรค นายแพทย์นพพร ชนื่ กล่ิน รองอธบิ ดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์ภานวุ ัฒน์ ปานเกต ุ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั โรคไมต่ ิดตอ่ แพทยห์ ญงิ จรุ พี ร คงประเสริฐ รองผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักโรคไม่ตดิ ต่อ กองบรรณาธิการ แพทย์หญิงจรุ ีพร คงประเสริฐ นางนติ ยา พนั ธุเวทย์ นางณฐั ธวิ รรณ พนั ธม์ ุง นางสาวลินดา จ�ำ ปาแก้ว พิมพค์ ร้งั ที่ 1 : กันยายน 2557 จำ�นวนพิมพ์ : 20,000 เลม่ จดั พมิ พ์โดย : ส�ำ นักโรคไม่ตดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0-2590-3987 โทรสาร 0-2590-3988 website : www.thaincd.com พมิ พท์ ่ี : สำ�นักงานกิจการโรงพมิ พอ์ งค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ กรุงเทพฯ โทรศพั ท์ 0-2910-7001 โทรสาร 0-2585-6466 สงวนลิขสทิ ธิ์ตามพระราชบญั ญัติ ห้ามลอกเลยี นแบบสว่ นหนึ่งส่วนใดของหนงั สือเลม่ นโ้ี ดยไม่ได้รบั อนุญาต จากเจ้าของลขิ สิทธ์ิ

คูม่ ือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 ก ค�ำ นำ� กรมควบคมุ โรค กรมอนามยั กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ และกรมสขุ ภาพจติ รวมกันจัดทำ�คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำ�งานแบบบูรณาการ ซึ่งเป็น สว่ นหนงึ่ ทจี่ ะชว่ ยสนบั สนนุ ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ�เนนิ งาน ส่งเสริม ป้องกันควบคุมโรคทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของกลุ่มวัยทำ�งาน ซ่ึงประกอบด้วย เกาะติดปัญหาสุขภาพกลุ่มวัยทำ�งาน แนวคิดการพัฒนาสุขภาพ กลุ่มวัยทำ�งาน การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำ�งาน (การบังคับใช้กฎหมายสุรา ยาสูบ ต�ำ บลจดั การสขุ ภาพ สถานท่ที �ำ งานปลอดโรคปลอดภัย กายใจเป็นสขุ การ บรกิ ารประเมนิ สขุ ภาพกลมุ่ วยั ท�ำ งาน คลนิ กิ NCD คณุ ภาพ ระบบสขุ ภาพอ�ำ เภอ) การเฝา้ ระวงั ตดิ ตามและประเมนิ ผล มาตรการทสี่ ำ�คญั ไดแ้ ก่ ลดพฤตกิ รรม/ปจั จยั เสี่ยงในประชากร พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค ผลลัพธ์ท่ีคาดหวังคือ ประชากรวยั ท�ำ งานปว่ ยและตายลดลงจากโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั โรคจากการประกอบ อาชีพ รวมถึงอุบัติเหตุทางถนน และมพี ฤตกิ รรมท่ีพ่ึงประสงค์ ได้แก่ ลดพฤติกรรม เสย่ี ง/ปจั จยั เสยี่ งตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ มพี ฤตกิ รรมทปี่ ลอดภยั ในการทำ�งาน ลดพฤตกิ รรม การขับขไี่ ม่ปลอดภัย ทงั้ นี้ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ สามารถน�ำ คมู่ อื ดงั กลา่ วไปปรบั ใชต้ ามบรบิ ทของ พ้ืนท่ใี นการด�ำ เนนิ งานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ เรอื้ รงั โรคจากการท�ำ งาน และ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ประชากรวยั ทำ�งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล คณะผ้จู ัดทำ�



คมู่ อื การจดั บริการสขุ ภาพ “กลมุ่ วัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ข สารบญั 1. เกาะติดปัญหาสขุ ภาพกล่มุ วยั ท�ำ งาน หนา้ 2. แนวคดิ การพัฒนาสขุ ภาพกลุม่ วัยท�ำ งาน 1-1 3. การจัดบรกิ ารสุขภาพกล่มุ วัยทำ�งาน 2-1  การบงั คบั ใชก้ ฎหมายสรุ า ยาสบู 3-1  ต�ำ บลจัดการสขุ ภาพ 3-2  สถานท่ที �ำ งาน สถานประกอบการปลอดโรค 3-7 ปลอดภยั กายใจเป็นสุข 3-13  การบริการประเมนิ สขุ ภาพกลมุ่ วยั ท�ำ งาน 3-18  คลินกิ NCD คณุ ภาพ 3-20  ระบบสุขภาพอ�ำ เภอ (DHS) 3-27 4. การเฝา้ ระวงั ติดตาม และประเมินผล 4-1



คู่มือการจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลมุ่ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 1-1 1 เกาะติดปญั หาสขุ ภาพกลุม่ วัยทำ�งาน รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บในประชากรไทย พ.ศ.2552 ชี้ให้เห็นว่า วัยทำ�งานอายุ 15-59 ปี ในภาพรวมตายจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อในสัดส่วนท่ีสูงสุด รองลงมา ไดแ้ ก่ กล่มุ การบาดเจ็บ และกลุ่มโรคติดเชอ้ื เมื่อแยกตามชว่ งอายุพบว่า กลุ่มวัยทำ�งานตอนต้นอายุ 15-29 ปี เพศชายตายจากกลุ่มการบาดเจ็บมากท่ีสุด เพศหญงิ ตายจากสามกลมุ่ สาเหตใุ นสดั สว่ นเทา่ ๆกนั และเมอื่ อายสุ งู ขนึ้ ทงั้ สองเพศ ตายจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อในสดั สว่ นท่สี ูงขึ้น ดังภาพท่ี 1ก ภาพท่ี 1ก สดั ส่วนการตายของประชากรไทย พ.ศ.2552 ในกลมุ่ วยั ทำ�งาน (อายุ 15-59 ปี) จ�ำ แนกตามเพศและกลุม่ โรค ที่มา: รายงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ในประชากรไทย พ.ศ.2552, หนา้ 8 และขอ้ มลู จากสำ�นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ ตง้ั แตป่ ี 2548-2553 พบว่า กลมุ่ คนวัยท�ำ งานอายรุ ะหว่าง 15-59 ปี เปน็ กล่มุ คนทีม่ อี ัตรา ฆ่าตัวตายสูงสดุ 7.1 ตอ่ แสนประชากร สาเหตขุ องการฆ่าตวั ตาย คือ ความเครยี ด โรคซึมเศรา้ ติดยาเสพตดิ และการเจบ็ ปว่ ยทางกาย ตามลำ�ดับ จากการสำ�รวจภาวะสุขภาพแรงงานไทย ปี 2552 พบว่า กวา่ 1 ใน 10 ของ วัยแรงงานในระบบเป็นโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง และ 3 ล�ำ ดับท่ีพบสูงสุดคือ โรคหัวใจ และหลอดเลือด ร้อยละ 32.4 รองลงมาเป็นโรคเบาหวาน/ความผิดปกติของ

1-2 คมู่ ือการจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตอ่ มไรท้ ่อ ร้อยละ 21.1 และโรคระบบทางเดนิ หายใจเรื้อรงั ร้อยละ 18.7 และกวา่ 1 ใน 4 ของการบาดเจ็บเน่ืองมาจากอุบัติเหตุจากยานพาหนะ โดยเฉพาะจาก รถจกั รยานยนต์รอ้ ยละ27.1รองลงมาจากการพลดั ตกหกลม้ รอ้ ยละ20.0นอกจากนน้ั ยังพบว่ามีปัญหาสุขภาพจากโรคท่ีเกิดจากการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การใช้สารเสพติด อ่ืนๆ และปัญหาสุขภาพ อันเนื่องมาจากการทำ�งาน ซึ่งข้อมูลการเฝ้าระวังโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมเชิงรบั (รง.506/2) พ.ศ. 2546-2552 ของ สำ�นกั ระบาดวทิ ยา พบวา่ มีผูป้ ่วยดว้ ยโรคจากการประกอบอาชีพและส่งิ แวดล้อม เฉล่ยี 4,378 รายต่อปี กลุ่มโรคทมี่ กี ารรายงานผู้ปว่ ยมากตามลำ�ดับ ไดแ้ ก่ กล่มุ โรค กระดกู และกล้ามเนื้อ ร้อยละ 45.0 กลมุ่ พษิ จากสัตว์ ร้อยละ 24.5 กลมุ่ โรคผวิ หนัง รอ้ ยละ 20.3 กลมุ่ โรคปอดและทางเดนิ หายใจ รอ้ ยละ 2.7 และกลมุ่ สารก�ำ จดั แมลง ศตั รพู ชื รอ้ ยละ 1.6 โดยมแี นวโนม้ การรายงานจ�ำ นวนผปู้ ว่ ยในแตล่ ะกลมุ่ โรคเพมิ่ ขน้ึ เอกสารอ้างองิ คณะทำ�งานการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงประชากรไทย พ.ศ.2552. รายงานการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2552. ส�ำ นักงานพัฒนานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ. ส�ำ นักงานสถิตแิ หง่ ชาติ. การส�ำ รวจสุขภาพวยั แรงงาน พ.ศ. 2557. อรพินท์ ทรัพย์ล้น. ข้อมูลมรณะบัตรและหนังสือรับรองการตาย ปี 2555. สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำ�นักปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2556 ข้อมูลผลการดำ�เนินงานเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2546-2553 : สำ�นักระบาดวิทยา

คมู่ อื การจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กล่มุ วัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 2-1 2 แนวคดิ การพฒั นาสขุ ภาพกลมุ่ วยั ท�ำ งาน ประชากรวัยทำ�งานเป็นกลุ่มท่ีเป็นกำ�ลังสำ�คัญของครอบครัวและประเทศ ชาติ สุขภาพท่ีดีทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณของประชากรวัยท�ำ งานต้อง มาจากการมีวิถีชีวิตท่ีเหมาะสม รวมถึงปัจจัยที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย ท้งั ในบา้ น สถานทีท่ ำ�งาน ชมุ ชนและสถานทีส่ าธารณะต่างๆ เพื่อลดการป่วยและ การบาดเจ็บใหไ้ ด้มากท่ีสุด ขณะเดียวกันเมอื่ เจบ็ ป่วยต้องได้รับการบริการสขุ ภาพ ท่ีเหมาะสม รวดเรว็ และมีคณุ ภาพ ตารางที่ 2ก ผลลพั ธท์ ี่คาดหวัง พฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ มาตรการ และ Key Result areas ของการพัฒนาสุขภาพกล่มุ วัยท�ำ งาน ผลลัพธท์ ่ี ประชากรกลุม่ วัยท�ำ งานปว่ ยและตาย ลดลง จาก คาดหวัง  โรคไมต่ ดิ ตอ่ (เบาหวาน ความดันโลหติ สงู มะเรง็ หวั ใจ หลอดเลือดสมอง ปอดอดุ กัน้ เรอ้ื รัง)  โรคจากการประกอบอาชพี  อบุ ตั ิเหตุทางถนน พฤตกิ รรม 1) ลดพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเส่ียงต่อโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ บริโภค ทพี่ ึง เกลอื เกนิ ออกก�ำ ลงั กายไมเ่ พยี งพอ ด่ืมสุรา สบู บุหรี่ อว้ น ภาวะ ประสงค์ นา้ํ ตาลในเลอื ดสงู ภาวะความดนั โลหติ สงู รบั ประทานผกั ผลไมน้ อ้ ย 2) มพี ฤตกิ รรมความปลอดภยั ในการท�ำ งาน 3) ลดพฤติกรรมการขับข่ีไม่ปลอดภัย ได้แก่ ไม่สวมหมวกนิรภัย เมาแลว้ ขบั ไม่คาดเข็มขัดนริ ภยั ขับรถเร็ว มาตรการ การดำ�เนนิ งานเชงิ รุก พฒั นาระบบและคลินิกบริการ เพอ่ื สร้างเสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกัน ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ปัจจยั เสี่ยง และลดพฤตกิ รรม เส่ยี งในประชากร

2-2 คมู่ อื การจัดบรกิ ารสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตารางท่ี 2ก ผลลพั ธท์ ี่คาดหวงั พฤติกรรมท่พี ึงประสงค์ มาตรการ และ Key Result areas ของแนวคดิ การพฒั นาสขุ ภาพกลมุ่ วยั ท�ำ งาน (ตอ่ ) Key บังคับใช้กฎหมาย การบรกิ ารประเมนิ สุขภาพ Result  สรุ า กลมุ่ วยั ท�ำ งาน areas  ยาสูบ  ประเมินสุขภาพพ้นื ฐาน  ประเมนิ สขุ ภาพใน กลมุ่ อาชพี เฉพาะ ตำ�บลจัดการสขุ ภาพ คลินิก NCD คุณภาพ  อาสาสมคั รสาธารณสขุ  เชอ่ื มโยงคลนิ กิ บรกิ ารตา่ งๆ  แผนสุขภาพตำ�บลและ ไดแ้ ก่ คลนิ กิ DPAC คลนิ กิ กิจกรรมสขุ ภาพ อดบหุ ร่-ี อดสรุ า  ความร่วมมือขององค์กร psychosocial clinic ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ  ประเมินปัจจัยเส่ียง: อ้วน สถานทท่ี �ำ งาน/สถานประกอบการ CVD Risk ตดิ บหุ รี่ ตดิ สรุ า  กจิ กรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. สขุ ภาพจิต (อาหาร ออกกำ�ลังกาย  การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม อารมณ์ ไม่ดื่มสุรา ไม่สูบ บหุ ร)ี่  ปรับสภาพแวดล้อมท่ี เอื้อต่อสุขภาพและความ ปลอดภัย  เฝา้ ระวงั พฤตกิ รรมสขุ ภาพ โรคและการบาดเจบ็ ระบบสุขภาพอำ�เภอ (DHS) : บูรณาการงานป้องกนั ควบคุม อุบัตเิ หตทุ างถนน บหุ รี่ ในระบบสุขภาพอำ�เภอ

ค่มู ือการจดั บริการสุขภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-1 3 การจัดบริการสุขภาพกลุ่มวยั ท�ำ งาน ภาพท่ี 3ก การจัดบริการสุขภาพกลมุ่ วัยทำ�งาน การจดั บริการสขุ ภาพกลุ่มวัยท�ำ งานแบบบูรณาการ ปี 2558 ตามมาตรการ หลักและสนับสนุนประกอบด้วย 1. การสร้างเสริมสุขภาพ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดป่วย 2. การคน้ หาผ้ปู ่วย ดแู ลรกั ษา มีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี 3. ระบบสุขภาพอ�ำ เภอ โดยมี Key results area 6 ประเด็น ได้แก่ 1. การบังคบั ใชก้ ฎหมายสรุ ายาสูบ 2. ตำ�บลจดั การสุขภาพ 3. สถานทที่ ำ�งาน/สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเปน็ สขุ 4. การบรกิ ารประเมนิ สขุ ภาพกลมุ่ วยั ทำ�งาน 5. คลนิ กิ NCD คณุ ภาพ และ 6. ระบบสุขภาพอำ�เภอ ดงั แผนภาพที่ 3ก

3-2 คูม่ อื การจัดบริการสขุ ภาพ “กลมุ่ วัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 การบงั คับใช้กฎหมายสุรา ยาสูบ ขั้นตอนการดำ�เนินการเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบ ส�ำ หรบั สถานบริการสาธารณสุข 1) มีนโยบายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อดำ�เนินการจัดเขตปลอดบุหร่ี หรือเขตสูบบุหร่ีในสถานที่สาธารณะและสถานที่ท�ำ งานตามท่ีกฎหมาย ก�ำ หนด 2) ผบู้ รหิ ารมอบหมายอยา่ งเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบหลกั เพอื่ ดำ�เนินการจัดเขตปลอดบุหรี่หรือเขตสูบบุหรี่ในสถานท่ีสาธารณะและ สถานทีท่ ำ�งานตามท่กี ฎหมายกำ�หนด 3) จัดทำ�ฐานข้อมูลสถานที่สาธารณะและสถานที่ทำ�งานรวมถึงผู้จำ�หน่าย ผลติ ภัณฑย์ าสูบในพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบ 4) มีกระบวนการหรือสถานที่รับแจ้งการกระทำ�ละเมิดกฎหมาย ได้แก่ การมีช่องทางรับเร่ืองร้องเรียน เช่น โทรศัพท์ โทรสาร กล่องรับเรื่อง ร้องเรียน มีเจ้าหน้าท่ีรับเร่ืองร้องเรียน เบอร์สายด่วน หรือเว็บไซต์รับ เรื่องร้องเรยี น 5) มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารเฝา้ ระวงั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายควบคมุ ยาสบู โดยความ ร่วมมอื กับหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องในพื้นท่ี 6) ด�ำ เนนิ การเฝา้ ระวงั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายควบคมุ ยาสบู โดยความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องในพ้นื ที่ 6.1 ด�ำ เนนิ การเฝา้ ระวงั เพอ่ื มงุ่ สกู่ ารสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มปลอดบหุ รใี่ นสถาน ที่สาธารณะและสถานท่ีทำ�งานให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมาย กำ�หนด 6.2 ด�ำ เนนิ การเฝา้ ระวงั เพอ่ื ควบคมุ ผลติ ภณั ฑย์ าสบู ตามพระราชบญั ญตั ิ ควบคมุ ผลติ ภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2535 6.3 ดำ�เนินการแจ้งร้องเรียน ในกรณีท่ีพบเห็นการกระทำ�ที่ละเมิด กฎหมาย หรอื มีประเด็นน่าสงสัย

คมู่ อื การจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-3 7) มีการรายงานผลการดำ�เนินงานเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมาย ได้แก่ รายงานสรุปการจัดสถานท่ีสาธารณะและสถานท่ีทำ�งานให้เป็นเขต ปลอดบหุ รตี่ ามทกี่ ฎหมายกำ�หนด เทยี บกบั ฐานขอ้ มลู ทมี่ ตี ามขอ้ 3 และ รายงานการแจ้งการกระทำ�ละเมดิ กฎหมายในพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบ 8) ใหค้ �ำ แนะน�ำ ประชาสมั พนั ธก์ ฎหมายในสถานทท่ี �ำ งาน สถานทรี่ าชการ สถานประกอบการ ภาพที่ 3ข กระบวนการเฝ้าระวังการละเมิดกฎหมายควบคุมเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์และยาสูบ พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบและพรบ. ค้มุ ครองสขุ ภาพของผไู้ ม่สูบบุหร่ี

3-4 คมู่ อื การจดั บริการสขุ ภาพ “กล่มุ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 การด�ำ เนินการเฝ้าระวงั เพอ่ื ม่งุ สูก่ ารสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มปลอดบหุ รี่ฯ 1. สถานที่สาธารณะที่กำ�หนดให้เป็นเขตปลอดบุหร่ีท้ังหมด รวม 5 ประเภท ได้แก่ สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ สถานศึกษาระดับ ตาํ่ กวา่ อดุ มศกึ ษาทกุ ประเภท สถานทส่ี าธารณะทใ่ี ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ทง้ั ภาครฐั และ เอกชน ยานพาหนะสาธารณะทกุ ประเภท และศาสนสถาน ท้ังน้ี เขตปลอดบุหรี่ต้องมีสภาพและลักษณะ (ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข พ.ศ. 2550 เรื่อง สภาพและลักษณะของเขตปลอดบุหร่ี) ดังนี้ 1. ต้องแสดงเคร่ืองหมายเขตปลอดบุหร่ี 2. ไม่มีการสูบบุหรี่ในเขตปลอด บุหรี่ และ 3. ไม่มีอุปกรณ์ หรือส่ิงอำ�นวยความสะดวกสำ�หรับการสูบบุหรี่ เช่น ทีเ่ ขย่ี บุหรี่ 2. สถานท่ีสาธารณะท่ีกำ�หนดให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ แต่มีข้อยกเว้นให้ สามารถจดั เขตสบู บหุ รไี่ ด้ ไดแ้ ก่ สถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา นอกเหนอื จากพนื้ ท่ี ส่วนท่ีเป็นอาคาร สถานท่ีให้บริการนํ้ามันเชื้อเพลิง หรือแก๊สเชื้อเพลิง นอกเหนือ จากพ้ืนท่ีส่วนท่ีเป็นอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้าง สถานท่ีราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หนว่ ยงานอ่ืนของรัฐ นอกเหนอื จากพื้นท่ีส่วนที่เปน็ อาคาร หรอื ส่ิงปลูกสร้าง และ ทา่ อากาศยานนานาชาติ กรณสี ถานทส่ี าธารณะตามทกี่ ำ�หนดไวท้ ใ่ี ดไมม่ ขี อบเขตที่ ชดั เจน ใหถ้ ือเอา “พฤตกิ ารณ์การสบู บุหร”่ี ว่ารบกวนผ้อู ่ืนหรือไม่เป็นหลัก ทั้งน้ี เขตสูบบุหรี่ต้องมีสภาพและลักษณะ (ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุข ฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2540 เรื่อง สภาพและลักษณะ ของเขตสูบบุหรี่) ดังน้ี 1. ไม่อยู่ในบริเวณที่ก่อให้เกิดความ เดือดร้อนรำ�คาญแก่ประชาชนท่ีอยู่บริเวณใกล้เคียง 2. ไม่อยู่ ในบริเวณทางเข้า-ออกของสถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพ ของผไู้ ม่สบู บุหรี่ และ 3. ไม่อยู่ในบรเิ วณทีเ่ ปดิ เผยอนั เป็นท่ีเห็น ได้ชัดแก่ผูม้ าใชส้ ถานท่นี ัน้

คูม่ ือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-5 3. ความรับผิดชอบของเจ้าของ/เจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบอาคารสถานที่ หรือส่ิงปลูกสร้าง เจ้าของ/เจ้าหน้าท่ี ศึกษาให้ชัดเจนว่าอาคารสถานท่ีในความ รับผิดชอบนั้น เป็นเขตปลอดบุหร่ีท้ังหมดหรือไม่ กรณี อาคารและส่ิงปลูกสร้างที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ทั้งหมด ต้องติด เคร่ืองหมายเขตปลอดบุหร่ีตามท่ีกฎหมายกำ�หนด และต้อง ดแู ลไมใ่ หม้ กี ารสบู บหุ รใ่ี นพน้ื ทที่ เี่ ปน็ เขตปลอดบหุ รี่ สว่ นกรณที ี่ ภายนอกอาคารและสง่ิ ปลกู สรา้ งสามารถจดั เขตสบู บหุ รไี่ ด้ และ มีความประสงค์จะจัดให้มีเขตสูบบุหร่ี ต้องดูแลให้มีการจัดเขต สบู บุหร่ตี ามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด การด�ำ เนินการเฝา้ ระวงั เพื่อควบคุมผลิตภัณฑย์ าสูบ ตามพระราชบญั ญัติควบคมุ ผลิตภัณฑย์ าสูบ พ.ศ. 2535 1. ผลติ ภัณฑย์ าสูบ คือ ยาสูบตามกฎหมายว่าดว้ ยยาสูบ รวมถงึ ผลติ ภณั ฑ์ ที่มสี ว่ นประกอบของใบยาสบู เชน่ ยาเสน้ บุหรซ่ี กิ าแรต ซกิ าร์ (มาตรา 3) 2. ห้ามขาย หรือให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบแก่บุคคลอายุต่ํากว่า 18 ปี ฝ่าฝืนมี โทษจ�ำ คกุ ไมเ่ กนิ หนง่ึ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สองพนั บาท หรอื ทง้ั จำ�ทง้ั ปรบั (มาตรา 4) 3. ห้ามขายสนิ ค้า หรอื ให้บรกิ าร โดยมกี ารแจก แถมผลิตภัณฑ์ยาสบู และ หา้ มขายผลติ ภณั ฑย์ าสบู โดยมกี ารแจก แถม สนิ คา้ หรอื ใหบ้ รกิ ารอยา่ งอนื่ ประกอบ ฝ่าฝืนมโี ทษปรบั ไมเ่ กินสองหมื่นบาท (มาตรา 6) 4. ห้ามโฆษณาผลิตภัณฑ์ยาสูบ หรือแสดงชื่อ หรือเครื่องหมายของ ผลิตภณั ฑ์ยาสบู ผ่านสื่อตา่ งๆ ฝา่ ฝนื ปรับไมเ่ กนิ สองแสนบาท (มาตรา 8) 5. ห้ามโฆษณาสินค้าที่ใช้ชื่อ หรือเครื่องหมายของผลิตภัณฑ์ยาสูบ ฝ่าฝืน ปรบั ไมเ่ กินสองหมนื่ บาท (มาตรา 9) 6. หา้ มผลติ น�ำ เขา้ เพอ่ื ขาย หรอื เพอื่ แจกจา่ ยเปน็ การทวั่ ไป หรอื หา้ มโฆษณา สง่ิ เลยี นแบบผลติ ภณั ฑย์ าสบู ประเภทบหุ รซ่ี กิ าแรต หรอื บหุ รซ่ี กิ าร์ ฝา่ ฝนื มโี ทษปรบั ไม่เกินสองหมน่ื บาท (มาตรา 10)

3-6 คู่มอื การจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กล่มุ วยั ทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 7. ผู้ผลิต หรือนำ�เข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบ จะต้องแสดงฉลากภาพคำ�เตือน บนหบี ห่อผลิตภณั ฑ์ ฝา่ ฝนื มีโทษปรบั ไม่เกินหนงึ่ แสนบาท (มาตรา 12) 8. ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ไม่แสดงฉลากภาพค�ำ เตือน บนหีบห่อผลิตภัณฑ์ ฝ่าฝนื มีโทษปรับไมเ่ กินสองหม่ืนบาท (มาตรา 13) เอกสารอ้างองิ สำ�นักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญตั ิควบคุมผลิตภณั ฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2535. พิมพ์คร้ังที่ 7. 2556; หนา้ 93 สำ�นักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 7. 2556; หน้า 39

คมู่ ือการจัดบรกิ ารสขุ ภาพ “กลุ่มวัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-7 ต�ำ บลจดั การสขุ ภาพ ต�ำ บลจดั การสขุ ภาพดี หมายถงึ ต�ำ บลทม่ี กี ระบวนการสรา้ งสขุ ภาพดวี ถิ ไี ทย ทใี่ หค้ วามส�ำ คญั กบั การพฒั นาบทบาทภาคประชาชน ทอ้ งถนิ่ และทกุ ๆ ภาคสว่ นใน ทอ้ งถนิ่ ทม่ี กี ารบรู ณาการรว่ มกนั ชว่ ยกนั คน้ หาหรอื ก�ำ หนดปญั หาสขุ ภาพ ก�ำ หนด อนาคต ดำ�เนนิ กจิ กรรมทางการพฒั นาดา้ นสขุ ภาพและมาตรการทางสงั คม รวมทงั้ นวตั กรรมตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ดว้ ยความตง้ั ใจ เตม็ ใจ มจี ติ สำ�นกึ สาธารณะ โดยเนน้ กระบวนการการมสี ว่ นรว่ มและการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทงั้ นเี้ พอื่ ลดปจั จยั เสย่ี ง (3อ.2ส.) และโรควถิ ชี วี ติ 5 โรค ไดแ้ ก่ เบาหวาน ความดันโลหติ สงู หวั ใจ หลอดเลอื ดสมอง และมะเร็ง ตารางที่ 3ก ผลทเี่ กดิ ขึน้ จากการพฒั นาตำ�บลจัดการสขุ ภาพ เชงิ กระบวนการ เชิงผลผลติ เชงิ ผลลพั ธ์ 1. มกี ลไกความรว่ มมือ 1. มกี ิจกรรม / โครงการ 1. ลดพฤติกรรมเสีย่ ง แบบบรู ณาการระดับ ทีด่ ำ�เนินการโดย ตอ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ และ ต�ำ บล ชุมชน / ทอ้ งถ่นิ อบุ ตั เิ หตมุ ีพฤติกรรม 2. มกี ระบวนการจดั การ 2. มีประชาชนกลุ่ม สขุ ภาพทถ่ี กู ต้อง สุขภาพทั้งดา้ นการ เปา้ หมายได้รบั การ 2. ลดอตั ราการป่วยตาย เฝา้ ระวัง การสง่ เสริม คัดกรองและมกี าร ดว้ ยโรควิถีชวี ติ การป้องกัน การสร้าง เฝ้าระวงั ปจั จยั เสย่ี ง 3. ลดความรนุ แรงของ สุขภาพโดยชมุ ชนและ ด้านสุขภาพมีการ โรคทเ่ี กิดจากการ ทอ้ งถิ่น สร้างสขุ ภาพที่ดี เปล่ียนแปลงวถิ ชี วี ิต 3. มกี ระบวนการ 3. มปี ระชาชนกลุม่ 4. ลดค่าใช้จา่ ยดา้ น แลกเปลย่ี นเรยี นรสู้ ง่ิ ดๆี เปา้ หมายไดร้ บั บริการ สขุ ภาพ ในการพฒั นา และ สุขภาพทีเ่ หมาะสม ต่อยอดความส�ำ เรจ็ และมีการดูแลสขุ ภาพ ของการพัฒนาระบบ ตนเอง (Self Care)

3-8 คมู่ ือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุม่ วยั ทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตารางที่ 3ก ผลที่เกดิ ขน้ึ จากการพฒั นาต�ำ บลจดั การสขุ ภาพ (ตอ่ ) เชงิ กระบวนการ เชิงผลผลติ เชิงผลลพั ธ์ สขุ ภาพชุมชนและ 4. มีการสร้างและใช้ 5. นโยบายสาธารณะ นวตั กรรมด้านสุขภาพ นวตั กรรมด้านสุขภาพ ท่ีเอ้อื ต่อสุขภาพดี เพือ่ การดแู ลสุขภาพ (Healthy public ประชาชนในชมุ ชน Policy) 6. ชุมชนสุขภาพดี (Healthy community) 7. สง่ิ แวดลอ้ มดี พลงั งาน สะอาด (Green community) แนวทางการขับเคล่ือนการดำ�เนินงานต�ำ บลจัดการสขุ ภาพ 1. มกี ารทบทวนแผนการด�ำ เนินงาน 2. มคี �ำ สงั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการและคณะท�ำ งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การ ดำ�เนนิ งานตำ�บลจัดการสุขภาพ 3. มีการพัฒนาช่องทาง/กลไกการประสานงาน/บทบาทของหน่วยงานใน ตำ�บล 4. มกี ารสอ่ื สารความเขา้ ใจรว่ มกนั ของกลไกระดบั ทเี่ กยี่ วขอ้ งในระดบั ต�ำ บล 5. มกี ารพฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการด�ำ เนนิ การต�ำ บลจดั การ สุขภาพ เชน่ อสม. แกนนำ� เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข 6. มกี ารพฒั นา เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ วธิ กี ารเพอ่ื การสนบั สนุนการทำ�งาน 7. มีการสนบั สนุนงบประมาณเพอ่ื การพฒั นาศกั ยภาพภาคเี ครือขา่ ยท้ังใน และนอกกระทรวงสาธารณสุข 8. มกี ารสนบั สนนุ งบประมาณเพอื่ จดั กิจกรรม 9. ชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ใชแ้ บบประเมนิ ผลต�ำ บลจดั การสขุ ภาพในการประเมนิ ตนเอง 10. มีระบบฐานข้อมูลและระบบการกำ�กับ ติดตาม ประเมินผลที่มุ่งเน้น เชงิ กระบวนการ

คมู่ อื การจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลมุ่ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-9 กระบวนการการพัฒนาตำ�บลจดั การสุขภาพ มี 5 ระดบั 1. ระดบั พ้นื ฐาน : การพฒั นาทมี สุขภาพต�ำ บล 2. ระดับพฒั นา : การพัฒนากระบวนการจดั ทำ�แผนสุขภาพต�ำ บล 3. ระดับดี : การขับเคลือ่ นแผนสขุ ภาพตำ�บลสูก่ ารปฏบิ ัติ 4. ระดับดมี าก : ต�ำ บลมีระบบการบริหารจดั การอย่างตอ่ เน่อื ง 5. ระดบั ดีเยยี่ ม : ต�ำ บลจัดการสุขภาพตน้ แบบ ภาพท่ี 3ค กรอบแนวคิดการลดปัญหา NCD และอุบัติเหตุในตำ�บลจัดการ สุขภาพ เน่ืองจากหม่บู า้ น ต�ำ บล ชมุ ชน มคี วามหลากหลายตามบริบททีแ่ ตกต่างกัน ทง้ั ดา้ นความเช่อื วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน และทรพั ยากรทม่ี ีอยใู่ นชุมชนนั้น การออกแบบกจิ กรรมสขุ ภาพเพอ่ื ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ และอบุ ตั เิ หตจุ งึ มคี วามแตกตา่ งกนั

3-10 คมู่ ือการจัดบริการสขุ ภาพ “กลุม่ วัยท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 ตวั อยา่ งแผนงาน/กจิ กรรม เปา้ หมายลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ และอบุ ตั เิ หตทุ างถนน การเฝา้ ระวัง/การคดั กรอง 1. การประเมินตนเอง : ดัชนีมวลกาย รอบเอว ความดันโลหิต การออกกำ�ลงั กาย การบริโภคอาหาร 2. การคดั กรองเชิงรุก  การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเส่ียงต่อปัญหาสุขภาพ กายและสุขภาพจิต กลุ่มป่วยจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การต้ังด่าน ชุมชนในการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนน อยา่ งต่อเน่อื งและโดยเฉพาะในชว่ งเทศกาล งานประจำ�ปี  สนบั สนุนแกนน�ำ ชมุ ชน อสม. ดแู ลตดิ ตามกลมุ่ เสีย่ ง กลมุ่ ป่วยอยา่ ง ตอ่ เนื่อง การสอ่ื สารดา้ นสขุ ภาพในชมุ ชนเพอ่ื ปรบั พฤตกิ รรม (*3อ. 2ส. **3ม 2ข 1ร) 1. ข้อมูลการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในตำ�บลหรือชุมชน : อ้วน บุหรี่ สรุ า การออกกำ�ลังกาย อาหาร (หวาน มัน เคม็ ผัก ผลไม้) ความเครียด 2. วิเคราะห์ รวบรวมเนื้อหาประเด็นสำ�คัญ รวบรวม/จัดทำ�สื่อในการ เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ สือ่ สารความรู้สุขภาพ ผา่ นช่องทางต่างๆ เช่น แผน่ ปา้ ย แผน่ พบั แผน่ ปลวิ หอกระจายขา่ ว ครอบคลมุ พน้ื ทอ่ี ยา่ งสมา่ํ เสมอ 3. การรณรงคส์ อื่ สารเตอื นภยั โรคไมต่ ดิ ตอ่ อบุ ตั เิ หตุ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครง้ั 4. แนะนำ�การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3อ. 2ส. 3ม 2ข 1ร) โดยเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุข/นักปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพระดับตำ�บล/อสม. นักจัดการสุขภาพ 5. สนับสนุนระบบพี่เลี้ยง/เพื่อนช่วยเพ่ือน เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรม สุขภาพ 6. การถา่ ยทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ เพอื่ ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมสุขภาพ

คู่มือการจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-11 7. ผลกั ดนั ให้มีบคุ คลตน้ แบบ ชุมชนตน้ แบบ 8. การติดตามการรับรู้ ความตระหนัก/ความตั้งใจท่ีจะปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ 9. การตดิ ตามพฤตกิ รรมสขุ ภาพ เชน่ สบู บหุ รี่ ดม่ื สรุ า พฤตกิ รรมการบรโิ ภค การเคลอ่ื นไหวร่างกาย ความปลอดภัย ความเครียด ภาวะซมึ เศรา้ * 3อ. 2ส. : อาหาร ออกก�ำ ลังกาย อารมณ์ สูบบหุ รี่ สุรา ** 3ม 2ข 1ร : มอเตอรไ์ ซคป์ ลอดภยั สวมหมวกกนั น็อก เมาไมข่ บั ใบขับข่ี คาดเขม็ ขดั นริ ภยั ความเร็วไม่เกินกวา่ กฎหมายก�ำ หนด ปรบั เปลย่ี นสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ตอ่ สขุ ภาพดี ลดจดุ เสย่ี งอนั ตราย 1. มสี ถานท่อี อกก�ำ ลังกาย ชมรมออกก�ำ ลงั กาย ชมรมผ้สู งู อายุ 2. มีศนู ย์แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ของชมุ ชน 3. มอี ปุ กรณใ์ นการตดิ ตามพฤตกิ รรมสขุ ภาพตนเอง เชน่ เครอ่ื งวดั ความดนั โลหิต เครอ่ื งชั่งนํา้ หนกั ทีป่ ระชาชนเข้าถึงไดง้ ่าย 4. มีแปลงสาธิตในการปลูกผักปลอดสารพิษ ส่งเสริมให้มีตลาดผักปลอด สารพษิ 5. ส่งเสรมิ ศาสนกจิ ในชมุ ชน 6. สถานที่สาธารณะปลอดบุหรี่ ปลอดสุรา 7. มีการแกไ้ ขจุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดท่ีเกดิ อบุ ตั เิ หตบุ ่อย ก�ำ หนดมาตรการทางสงั คมหรอื ขอ้ ตกลงรว่ ม 1. ก�ำ หนดขอ้ ตกลงร่วมกนั ของชมุ ชน ตำ�บล ในการลดพฤติกรรมเสีย่ ง  ลดการบริโภคน้ําปลา เกลอื เครอื่ งปรงุ รสในครัวเรอื น  ใชพ้ ชื สมนุ ไพรแทนเครอ่ื งปรงุ รสในครวั เรอื น เชน่ หญา้ หวาน ผกั หวาน ใบยา่ นาง

3-12 คู่มอื การจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558  งดเหล้า ลดอาหารหวาน มัน เคม็ งดชากาแฟ ในงานศพและ งานบญุ  ลด ละ เลกิ บหุ รี่  สวมหมวกนิรภัย เมาไม่ขับ ไมข่ บั รถเรว็ 2. ให้รางวัลบุคคลท่ีมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน เช่น บุคคลที่เลกิ บุหร่ี เลิกสรุ า ลดนา้ํ หนกั เอกสารอา้ งอิง กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือนัก ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ และการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กัด. 2557. กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทาง การดำ�เนินงานการสื่อสารด้านสุขภาพในชุมชน. พิมพ์คร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ�กดั . 2556. กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข. แนวทางการดำ�เนินงานตำ�บลจัดการสุขภาพดี วสิ าหกจิ ชมุ ชนยง่ั ยนื เพอ่ื การขบั เคลอื่ นชมุ ชนจดั การระบบสขุ ภาพ เข้มแข็งเมืองไทยแข็งแรง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กัด. 2556.

คูม่ อื การจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-13 สถานที่ทำ�งาน สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสขุ กลุ่มเป้าหมายสถานที่ทำ�งาน สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สุข 1. สถานทที่ ำ�งานทว่ั ไป 2. สถานประกอบการพ่ีเล้ียง : สถานประกอบการท่ีเป็นโรงงาน ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535 และ ผ่านการประเมินโครงการต่างๆ เช่น โครงการสถานทที่ ำ�งานนา่ อยู่ นา่ ท�ำ งาน โครงการโรงงานสขี าว โครงการ สถานประกอบกจิ การดเี ดน่ ดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพ แวดล้อมในการทำ�งาน หรือเป็นสถานประกอบการท่ีได้รับรองระบบ มาตรฐานต่างๆ เช่น ISO9001 ISO14001 TIS18001 เปน็ ตน้ 3. สถานประกอบการท่ัวไป : สถานประกอบการท่ีเป็นโรงงานตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535 แต่ยังไม่ได้รับรองระบบมาตรฐานใดๆ หรือ สถานประกอบการท่ีมีการปฏิบัติงานของลูกจ้างท่ีมีโอกาสเสี่ยงต่อโรค และการบาดเจ็บ และมคี วามสนใจเข้าร่วมโครงการฯ เปา้ หมายการด�ำ เนินงาน 1. ลดโรคและการบาดเจบ็ อนั สบื เน่อื งมาจากการท�ำ งาน ในสถานทีท่ �ำ งาน สถานประกอบการ 2. ลดโรคและการบาดเจบ็ อันเนือ่ งมาจากพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 3. ผปู้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ บั ความรแู้ ละปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพทเี่ หมาะสมใน การท�ำ งาน เปา้ หมายกิจกรรมหลกั  รณรงค์ ส่อื สารเตือนภยั สขุ ภาพ กิจกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. 3ม 2ข 1ร. และเพศสัมพนั ธท์ ่ีไม่ปลอดภัย  ปรบั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อือ้ ต่อสุขภาพและความปลอดภัยในทที่ �ำ งาน  เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ โรคและการบาดเจ็บของบุคลากรและ ผปู้ ฏิบัตงิ าน

3-14 ค่มู อื การจัดบริการสขุ ภาพ “กล่มุ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 ภาพที่ 3ง กระบวนการดำ�เนนิ กิจกรรม/โครงการ ข้ันตอนในการผลกั ดนั กจิ กรรม/โครงการ 1. ระดมคน/รวมพล เพื่อกำ�หนดนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม เช่น การปอ้ งกันควบคมุ โรคและการบาดเจ็บ โดยผบู้ รหิ าร ขององค์กร พรอ้ มทงั้ ส่ือสารให้ทกุ คนรบั ทราบ 2. จดั ตงั้ คณะท�ำ งาน สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มและความรว่ มมอื ระหวา่ ง องคก์ รกับบคุ ลากร เช่น สนบั สนนุ ให้เกิดกลุ่มกจิ กรรม หรอื ชมรมต่างๆ เป็นต้น 3. ประเมนิ สถานการณ/์ สำ�รวจความตอ้ งการในประเดน็ และกจิ กรรมตา่ งๆ ของพนกั งาน

คมู่ อื การจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลมุ่ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-15 4. จดั ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั ของปญั หาตามความจ�ำ เปน็ หรอื ความตอ้ งการของ บุคลากร 5. วางแผน/พัฒนาแผน ปรับแผนการดำ�เนินกิจกรรม/โครงการให้ สอดคล้องกับปญั หา 6. ด�ำ เนินการตามแผน/กิจกรรม ตัวอยา่ งเช่น  โครงการ/กจิ กรรมเพอื่ ปลอดโรคและกายใจเปน็ สขุ : โครงการรณรงค์ เพือ่ เลกิ สบู บุหรี่ สุรา หรอื สารเสพตดิ โครงการต้านเอดส์ โครงการ อาหารเพ่ือสุขภาพ โครงการออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ กิจกรรม 3อ. 2ส. โครงการรักษ์หัวใจในที่ทำ�งาน และโครงการส่งเสริม สขุ ภาพจติ ในการทำ�งาน  โครงการ/กิจกรรมด้านความปลอดภัย : โครงการรณรงค์ ส่งเสริม การปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือมาตรการด้านความปลอดภัย โครงการรณรงค์การสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ส่วนบุคคล โครงการอนุรักษ์การได้ยินในสถานท่ีทำ�งาน กิจกรรม 3ม 2ข 1ร 7. ติดตาม/ ตรวจสอบ/ และประเมินผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้ม่ันใจว่า มกี ารด�ำ เนนิ การตามแผนและมกี ารตรวจสอบผลลพั ธเ์ ปน็ ระยะ หากพบ ปญั หา ต้องด�ำ เนนิ การแก้ไขและทบทวนตลอดเวลา 8. ทบทวน สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งานและปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตอ่ ยอด ขยายผลเพอื่ ใหเ้ กดิ การดำ�เนนิ งานอยา่ งต่อเนอ่ื ง

3-16 คู่มอื การจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 ภาพที่ 3จ กระบวนการพฒั นาและขอรบั รองสถานทที่ �ำ งาน / สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสขุ

ค่มู ือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-17 เอกสารอ้างอิง สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการประเมิน สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเปน็ สขุ .กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรประเทศไทย จ�ำ กัด, 2556. สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. เกณฑ์การพัฒนา สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสขุ .กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรประเทศไทย จำ�กดั , 2556. สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการ ด�ำ เนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภยั กายใจเป็นสขุ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรประเทศไทย จ�ำ กัด, 2556.

3-18 คู่มอื การจัดบรกิ ารสขุ ภาพ “กลุ่มวยั ทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 การบรกิ ารประเมินสขุ ภาพกล่มุ วยั ท�ำ งาน การประเมนิ สขุ ภาพกลมุ่ วยั ท�ำ งาน มเี ปา้ หมายเพอ่ื คน้ หาผเู้ ปน็ โรค แตย่ งั ไมม่ ี อาการเพื่อเขา้ สู่ระบบการรกั ษาโดยเรว็ ที่สุด ตารางท่ี 3ข แนวทางการประเมินสุขภาพพื้นฐานและประเมินสุขภาพในกลุ่ม อาชพี เฉพาะ โรค แนวทางการประเมิน กลุ่มเป้าหมาย ประเมินสุขภาพพ้ืนฐาน เบาหวาน 1. การคน้ หาผปู้ ว่ ย 15-59 ปี (DM) กลมุ่ อายุ 15-34 ปี - วเิ คราะห์ข้อมลู ตามการคัดกรองเพ่ือประเมินความเสี่ยง เบื้องต้นด้วยการสอบถาม (verbal screening) และ ส่งดำ�เนนิ การเจาะเลือด เพ่ือดูคา่ นาํ้ ตาลในเลอื ดตามเกณฑ์ กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป - FCG ทุกราย โดยไมต่ อ้ ง verbal screening กอ่ น 2. แบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มท่ีมีปัจจัยเสี่ยง กลมุ่ เสยี่ งสงู เบาหวาน (pre-DM) และกลมุ่ ท่เี ป็นเบาหวานรายใหม่ 3. ใหก้ ารดแู ลรกั ษาตามกลมุ่ ทจี่ �ำ แนกในขอ้ 2 15-59 ปี ความดนั โลหิตสูง 1. วดั ความดันโลหิตตามมาตรฐานทุกราย 15-59 ปี (HT) 2. แบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มท่ีมีปัจจัยเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงสูงความดันโลหิตสูง (pre-HT) และกลุม่ ท่ีเปน็ ความดนั โลหติ สงู รายใหม่ 3. ใหก้ ารดแู ลรกั ษาตามกลมุ่ ทจ่ี �ำ แนกในขอ้ 2

คู่มือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุม่ วัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-19 โรค แนวทางการประเมนิ กลมุ่ เป้าหมาย มะเรง็ เต้านม 1. สอนทกั ษะสตรใี หส้ ามารถตรวจเตา้ นมดว้ ย สตรอี ายุ ตนเอง (self breast examination) ได้ 20 ปีขนึ้ ไป แนะนำ�ใหต้ รวจดว้ ยตนเองทกุ 1 เดอื น 2. ตดิ ตามผลการตรวจเตา้ นมดว้ ยตนเองและ ในรายสงสยั ผดิ ปกตใิ หต้ รวจโดยเจา้ หนา้ ท่ี สาธารณสขุ clinical breast examination มะเรง็ ปาก 1. สำ�รวจขอ้ มลู ประชากรหญงิ อายุ 30-59 ปี สตรอี ายุ มดลกู ในพื้นท่ีรับผิดชอบ 30-59 ปี 2. ตรวจมะเรง็ ปากมดลกู ดว้ ยวธิ ี pap smear หรือ VIA 3. ผู้ที่มีผลผิดปกติ ต้องรีบติดตามเพ่ือส่งต่อ ให้การรกั ษา ประเมินสขุ ภาพในกล่มุ อาชพี เฉพาะ สารก�ำ จดั ศัตรพู ชื แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยใน เกษตรกร /สารเคมี หน่วยบริการปฐมภูมิ แบบประเมินความเสี่ยงในการสัมผัส สารก�ำ จัดศตั รพู ืชและสารเคมี (นบก 1-56) การบาดเจ็บใน  แบบประเมินความเสี่ยงอาการผิดปกติ 15-59 ปี ทที่ �ำ งาน ของระบบโครงร่างกระดูกและกล้ามเน้ือ (MSD-ENVOCC-56)  การใช้เทคนิคแผนภูมิร่างกาย (Body Map)

3-20 คมู่ อื การจดั บริการสขุ ภาพ “กลุ่มวัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 คลินกิ NCD คณุ ภาพ คลินิก NCD คุณภาพ หมายถึง คลินิก/ศูนย์/เครือข่ายของคลินิกในสถาน บรกิ ารทเี่ ชอื่ มโยงในการบรหิ ารจดั การ และด�ำ เนนิ การทางคลนิ กิ ใหเ้ กดิ กระบวนการ ป้องกนั ควบคมุ และดูแลรักษาจัดการโรคเรอื้ รงั แก่บุคคลทีเ่ ข้ามารับการวินิจฉยั โรค กลุ่มท่ีเป็นโรค/ป่วย รวมท้ังกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการด�ำ เนินโรคไม่ติดต่อ ลงทะเบียน ดูแลใกล้ชิดรายบุคคล เพื่อการดูแล ลดปัจจัยเส่ียง (Risk Factors) โอกาสเสี่ยง (Attributed Risk) รกั ษา ควบคมุ ความรนุ แรงของโรค เพมิ่ ความสามารถการจดั การ ตนเอง และสง่ ตอ่ รกั ษาดแู ลทจ่ี �ำ เปน็ ระหวา่ งทมี ใน/ระหวา่ งทมี และเครอื ขา่ ยบรกิ าร ภาพที่ 3ฉ กรอบแนวคิดคลนิ ิกบรกิ ารในโรงพยาบาล : คลนิ ิก NCD คณุ ภาพ เชอ่ื มโยงคลินกิ บริการต่างๆ

ค่มู อื การจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-21 การปรับระบบและกระบวนการบริการในคลินกิ NCD คุณภาพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปา้ หมายผลลพั ธแ์ กผ่ รู้ บั บรกิ ารในคลนิ กิ NCD ใหม้ คี วามสามารถ ในการจัดการตนเอง ปรับพฤติกรรมเสี่ยงควบคู่ไปกับการใช้ยาอย่างเหมาะสม จงึ ควรมกี จิ กรรมสำ�คัญ ไดแ้ ก่ 1. การประเมนิ ปจั จยั เสย่ี ง : อว้ น CVD Risk สขุ ภาพจติ ตดิ บหุ ร่ี ตดิ สรุ า ฟนั 2. เชื่อมโยงคลนิ ิกบริการต่างๆ ไดแ้ ก่ คลนิ ิก DPAC คลินิกอดบหุ รี่-อดสรุ า psychosocial clinic 3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ น้ําหนักเกินและอ้วน Pre-DM, Pre-HT, กลมุ่ เส่ียงสูงมากต่อ CVD (โอกาสเป็นโรคหัวใจและ หลอดเลอื ด >30% ในเวลา 10 ป)ี , กลุ่มป่วย ภาพท่ี 3ช ความเชอ่ื มโยงของคลนิ กิ ในการปรบั ระบบและกระบวนการบรกิ าร

3-22 คู่มือการจดั บรกิ ารสุขภาพ “กล่มุ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตารางที่ 3ค การประเมินปัจจัยเส่ยี งและการจัดบริการ การประเมนิ กล่มุ เป้าหมาย กจิ กรรม การแปลผล การจัดบริการ เครือ่ งมอื ปจั จัยเสย่ี ง ผู้มารบั บริการ One Stop Service สนบั สนุน ภาวะน้าํ หนัก เกนิ และอว้ น ทุกราย วัดรอบเอว รอบเอว  ประเมนิ พฤติกรรม DPAC นา้ํ หนกั ทุก > ½ ของ และแบบแผนการ ประเมนิ ผู้ปว่ ย DM HT คร้ังท่ีมารับ ส่วนสูง บริโภคอาหาร การ โอกาสเสยี่ ง เคลื่อนไหวรา่ งกาย ตอ่ โรคหวั ใจ บริการ (เซนตเิ มตร) ออกแบบการจดั การ และหลอด หรอื มีดัชนี พฤติกรรม Class/ เลอื ด ในเวลา มวลกาย Group/รายบุคคล > 25 กก./ม2 ตามความเหมาะสม 10 ปี  นดั ติดตามพฤติกรรม และนา้ํ หนกั ทุกเดอื น รอบเอว แนะน�ำ และควบคมุ < ครึง่ หน่งึ รอบเอว และนํา้ หนกั ตัว ของสว่ น นัดติดตาม 1 ปี สงู (เซนตเิ มตร) และมีดัชนี มวลกาย < 25 กก./ม2 ประเมิน โอกาสเสีย่ ง  ลงทะเบยี นกลุ่มเส่ยี ง DPAC Color > 30% สูงมากตอ่ CVD คลินิกอด chart ปีละ (เส่ยี งสงู มาก คร้งั ตอ่ CVD)  ให้ขอ้ มลู ปัจจยั เส่ยี ง บุหรี่ และอาการเตือนของ Psycoso- โรค cial clinic  ปรับเปล่ียนพฤติกรรม โภชน สขุ ภาพ/จัดการตนเอง บ�ำ บัด เรง่ ด่วน + /- ใช้ยา ออกกำ�ลัง DM, HT, ไขมนั กายเฉพาะ  ติดตามการจัดการ โรค ตนเองและประเมิน โอกาสเส่ียงซํ้า 1-3 เดือน

คูม่ ือการจดั บริการสขุ ภาพ “กล่มุ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-23 ตารางท่ี 3ค การประเมินปัจจัยเสยี่ งและการจัดบริการ (ต่อ) การประเมิน กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม การแปลผล การจัดบริการ เครื่องมือ ปจั จัยเสี่ยง ผปู้ ว่ ย DM HT One Stop Service สนับสนุน การประเมนิ ความเครยี ด รายทีม่ ี เสี่ยงสูงต่อโรคหัวใจและ และภาวะ โอกาสเสยี่ ง หลอดเลือด ซึมเศร้า 20-<30%  ใหข้ ้อมลู ปัจจัยเส่ยี ง และอาการเตอื นของ โรค  ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม สขุ ภาพ/จัดการตนเอง  ติดตามการจัดการ ตนเองและประเมิน โอกาสเส่ียงซ้ํา 3-6 เดือน รายทีม่ โี อกาส เสี่ยงปานกลางต่อ เสย่ี งน้อยกว่า โรคหัวใจและหลอดเลอื ด 20%  ใหข้ ้อมลู ปัจจัยเส่ยี ง และอาการเตือนของ โรค  ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม สขุ ภาพ/จดั การตนเอง เร่งด่วน  ติดตามการจัดการ ตนเองและประเมิน โอกาสเสีย่ งซ้าํ 1 ปี ประเมนิ 0-4 คะแนน แจง้ ผลการคัดกรอง Psycoso- ความเครยี ด = ไม่มีความ cial clinic (ST-5) เครียดในระดับ ที่กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหา 5-7 คะแนน ควรใหค้ �ำ ปรึกษา/ = สงสยั ว่า คำ�แนะนำ�การจัดการ มีปญั หา ความเครียด ความเครียด

3-24 คู่มอื การจัดบรกิ ารสขุ ภาพ “กล่มุ วัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตารางท่ี 3ค การประเมินปัจจยั เส่ียงและการจดั บรกิ าร (ต่อ) การประเมนิ กลุ่มเป้าหมาย กจิ กรรม การแปลผล การจัดบรกิ าร เคร่ืองมอื ปจั จัยเสยี่ ง One Stop Service สนับสนนุ 8 คะแนน คน้ หาสาเหตุและให้ ขึ้นไป = มี ค�ำ ปรึกษา/แนะนำ�การ ความเครียดสงู จดั การความเครียด ในระดบั ทีอ่ าจ และคดั กรองโรคซมึ เศรา้ จะส่งผลเสียต่อ ( 2Q) รา่ งกาย คดั กรองโรค คะแนน 0 =  แจ้งผลการคัดกรอง ซึมเศร้า ปกติ และแนะน�ำ ใหส้ ำ�รวจ/ (2Q) ประเมนิ โรคซึมเศรา้ ดว้ ย 2Q ด้วยตนเอง คะแนน 1 - 2  แจง้ ผลการคดั กรอง = มีความเสยี่ ง และประเมนิ ปญั หา หรอื มีแนวโน้ม ด้านสังคมจิตใจ หาก ท่จี ะเปน็ โรค พบควรให้การปรกึ ษา ซมึ เศรา้ เพอ่ื แก้ไขและจดั การ ปญั หา และใหข้ อ อนญุ าตประเมนิ ระดบั ความรนุ แรงของโรค ซึมเศร้า (9Q) เพ่มิ ประเมนิ < 7 ไม่มี  แจง้ ผลการคดั กรอง ความรุนแรง อาการระดบั และประเมินปัญหา โรคซมึ เศรา้ นอ้ ยมาก ดา้ นสังคมจิตใจ (9Q) หากพบควรใหก้ าร ปรึกษาเพือ่ จัดการ แก้ไขปญั หา  แนะน�ำ ใหส้ �ำ รวจ/ ประเมนิ โรคซึมเศร้า (2Q) ดว้ ยตนเอง

คู่มอื การจดั บริการสุขภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-25 ตารางท่ี 3ค การประเมินปจั จัยเสีย่ งและการจัดบรกิ าร (ต่อ) การประเมิน กลุม่ เป้าหมาย กจิ กรรม การแปลผล การจดั บรกิ าร เคร่ืองมอื ปจั จัยเสี่ยง One Stop Service สนบั สนนุ 7-12 มีอาการ  แจง้ ผลการคัดกรอง ระดบั น้อย แนะน�ำ การจดั การ 13-18 มี ซึมเศร้าโดยไมใ่ ชย้ า อาการ ระดบั คน้ หาและประเมนิ ปานกลาง ปัญหาจติ สงั คม หาก ≥ 19 มีอาการ พบให้การปรกึ ษา ระดับรุนแรง แก้ไขปัญหา พจิ ารณา ส่งตอ่ Psychosocial Clinic เพอ่ื ประเมนิ การฆา่ ตัวตาย (8Q) บุหรี่ ผมู้ ารบั บรกิ ารใน การประเมนิ มีพฤตกิ รรม A1 - Ask ซักประวตั กิ าร DPAC สถานพยาบาล ความรุนแรง การสูบบุหรี่ สบู บุหรี่ คลนิ กิ อด ทกุ ระดบั ของการตดิ 1 ซองตอ่ วนั A2 - Advise ให้คำ� บหุ ร่ี บุหร่ี ขน้ึ ไป หรอื แนะนำ�ในการเลิกบหุ ร่ี Psycoso- ระยะเวลา ประเมนิ นัดวนั cial clinic หลงั ตนื่ นอน Follow up ภายใน โภชน ท่ีเรมิ่ สูบมวน 2 - 4 สัปดาห์ บำ�บัด แรก ภายใน A3 - Assess ประเมนิ ออกก�ำ ลงั 30 นาที = ตดิ ความรนุ แรง กายเฉพาะ รนุ แรง A4 - Assist ช่วยเหลอื โรค บ�ำ บัดรกั ษาในกรณี ติดรุนแรง ให้คำ�แนะน�ำ ปรกึ ษาแบบรายตวั โดยมี Counselor หรือทมี จิตอาสา สุรา ผู้มารบั บรกิ ารใน แบบ คะแนน 0-7 ใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การ DPAC สถานพยาบาล ประเมนิ ดืม่ สรุ า คลินกิ ทุกระดับ AUDIT: อดสรุ า ฉบบั คะแนน 8-15 ให้คำ�แนะนำ�แบบงา่ ย Psycoso- สมบรู ณ์ คะแนน 16-19 ให้ค�ำ แนะนำ�แบบงา่ ย cial clinic การให้ค�ำ ปรกึ ษาแบบสัน้ โภชน และติดตามต่อเน่อื ง บำ�บัด ออกก�ำ ลงั คะแนน 20-40 ส่งตอ่ เฉพาะทางเพอ่ื กาย การประเมนิ วนิ จิ ฉัยและ เฉพาะโรค รักษา

3-26 คูม่ ือการจดั บริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 การประเมิน กลมุ่ เปา้ หมาย กิจกรรม การแปลผล การจดั บรกิ าร เครอื่ งมือ ปัจจยั เส่ยี ง การ One Stop Service สนบั สนุน สมั ภาษณ์ ฟนั ผูป้ ่วย DM HT สภาวะ ขอ้ 1-4  การท�ำ ความสะอาด คลินิก อยา่ งนอ้ ยปีละ ชอ่ งปาก อยา่ งนอ้ ย 1 ขอ้ โรคเร้ือรัง 1 ครง้ั ดว้ ยวาจา มีเลอื ดออก เหงอื กและฟนั และ OPD เวลาแปรงฟนั , เพม่ิ เติมเฉพาะท่ี สำ�คัญ มหี นิ ปนู , ต่างๆ ของ มฟี ันโยก, โรงพยาบาล มฟี ันผุ /คลนิ ิก ข้อ 5  แนะน�ำ การดแู ล และ ทนั ตกรรม มีแผล/รอย โรคในปาก พบทันตแพทย์โดยเรว็ ข้อ 6  แนะนำ�การดูแล ใสฟ่ ันเทยี ม ชอ่ งปากและการทำ� ชนิดถอดได้ ความสะอาดฟนั เทยี ม พบทนั ตแพทย์ สมํา่ เสมออย่างนอ้ ย ปลี ะ 1 ครัง้ และ เมอ่ื มอี าการผิดปกติ *รพสต./รพช. one stop service, รพท. /รพศ. สง่ ปรกึ ษาคลินิก ตามความเหมาะสม

ค่มู ือการจัดบริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-27 การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมกล่มุ เสยี่ งต่อโรคไม่ติดต่อ (เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง) กล่มุ เส่ยี งสูงตอ่ เบาหวาน (pre-DM) ได้แก่ ผ้ทู ีม่ ี FPG 100-125 มก./ดล. กลมุ่ เสย่ี งสงู ตอ่ ความดนั โลหติ สงู (pre-HT) ไดแ้ ก่ ผทู้ มี่ คี า่ ความดนั โลหติ ตวั บน SBP 120-139 และ/หรือ คา่ ความดันโลหิตตวั ล่าง DBP 80-89 มม.ปรอท ตารางท่ี 3ง เป้าหมายการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม/จดั การตนเองรายกลุ่ม กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมายการจดั การ เครื่องมอื สนับสนุน Pre-DM เป้าหมายลดนํ้าหนัก และเพ่ิมการ DPAC เคลอื่ นไหว ติดตาม 1,2,3 เดอื น และ FPG เดือนที่ 6 Pre-HT เปา้ หมายลดเกลอื -ไขมนั หยดุ บุหรี่ DPAC เพม่ิ ผกั เพม่ิ การเคลอ่ื นไหว และไมเ่ ครยี ด คลนิ กิ อดบุหรี่ ติดตาม BP 1,2,3,6 เดือน Psycosocial clinic กล่มุ ปว่ ย ปรับพฤติกรรม DPAC จัดการตนเอง - ยา ดูแลเท้า สถานการณ์ คลนิ กิ อดบุหรี่ ฉกุ เฉิน Psycosocial clinic กลุ่มท่ซี บั ซอ้ น ดูแลแบบองคร์ วมโดย โภชนบำ�บดั ทีมสหวชิ าชีพ ออกกำ�ลงั กาย เฉพาะโรค

3-28 คมู่ อื การจดั บริการสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 ระบบสขุ ภาพอ�ำ เภอ (DHS) ระบบสขุ ภาพอ�ำ เภอ (DHS) คอื ระบบการท�ำ งานเพอื่ รว่ มแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ บูรณาการภาคี เน้นเป้าหมาย ผ่านกระบวนการชน่ื ชม และ จดั การความรู้แบบองิ บริบทของแต่ละสถานที่ ภาพที่ 3ซ วิธีการดำ�เนนิ งานของ DHS หลกั การบรหิ ารจดั การเครอื ขา่ ยสขุ ภาพระดบั อ�ำ เภอ 5 ดา้ น (U CARE) ดงั น้ี 1. การท�ำ งานร่วมกันในระดับอ�ำ เภอ (Unity District Health Team) 2. การทำ�งานจนเกิดคุณค่าทั้งกับผู้รับบริการและตัวผู้ให้บริการเอง (Appreciation) 3. การแบง่ ปนั ทรพั ยากรและการพฒั นาบคุ ลากร (Resource Sharing and Human Development) 4. การให้บริการสขุ ภาพตามบริบทที่จำ�เปน็ (Essential Health Care) 5. การมีส่วนรว่ มของเครอื ข่ายและชมุ ชน (Community Participation)

คู่มือการจดั บรกิ ารสขุ ภาพ “กลุ่มวยั ทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 3-29 การบูรณาการการเฝ้าระวังและการดำ�เนินป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน ระดบั อ�ำ เภอรว่ มกบั เครอื ขา่ ยในพน้ื ท่ี โดยใชแ้ นวคดิ ขององคก์ ารอนามยั โลก ประยกุ ตเ์ ปน็ หลกั 5ส. ดังน้ี ตารางท่ี 3จ หลกั 5ส. กระบวนการและตวั อยา่ งในการดำ�เนนิ การอบุ ตั เิ หตทุ าง ถนนใน DHS 5ส. กระบวนการ ตัวอยา่ ง สารสนเทศ การบริหารจัดการข้อมูล  จำ�นวนผ้บู าดเจบ็ และ (Information) การวิเคราะห์สถานการณ์ เสยี ชวี ติ จากอบุ ตั เิ หตุ ปจั จยั เสย่ี งของการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ  ปัจจัยเสยี่ ง, กลุ่มเส่ยี ง, ทางถนนในพื้นที่ที่ระบุถึง พฤติกรรมเสีย่ ง, พื้นทเี่ ส่ียง กลุ่มเสี่ยง, พฤติกรรมเส่ียง,  ขอ้ มูลการสอบสวน พ้ืนท่ีเสี่ยงหรือพื้นท่ีที่เกิด อุบตั เิ หตุ อุบตั เิ หตุบ่อยคร้งั และขอ้ มลู จากการสอบสวนสาเหตุการ เกิดอุบัติเหตุ สุดเส่ยี ง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก  พฤตกิ รรมเส่ียง/กล่มุ เสย่ี ง: (Priority) ของแต่ละสาเหตุ/ปัจจัยที่ ไมส่ วมหมวกนิรภยั , สำ�คัญ เพื่อจัดลำ�ดับความ เมาแล้วขับ, ไมค่ าดเข็มขัด สำ�คัญของปัญหา สำ�หรับ นิรภยั และขับรถเรว็ คืนข้อมูลแก่ชุมชนและภาคี  ยานพาหนะ: รถโดยสาร เครือขา่ ยในพ้ืนท่ี สาธารณะ, รถต้,ู รถรบั -สง่ นักเรยี น, รถจกั รยานยนต์  ส่งิ แวดลอ้ ม: จุดทีเ่ กดิ อบุ ัตเิ หตบุ ่อย

3-30 คมู่ อื การจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 ตารางท่ี 3จ หลัก 5 ส. กระบวนการ และตัวอย่างในการดำ�เนินการอุบัติเหตุ ทางถนนใน DHS (ตอ่ ) 5ส. กระบวนการ ตวั อยา่ ง สหสาขาวชิ าชีพ หลายสาขาวิชาชีพ หลาย  การนำ�เสนอขอ้ มูล (Multidisciplinary) ภาคส่วนในพื้นท่ี (ภาคี สถานการณป์ ัญหาแก่ เครอื ขา่ ย) รว่ มกนั ตง้ั เปา้ หมาย สหสาขาวชิ าชีพในพนื้ ที่ วางแผน ออกมาตรการแกไ้ ข  มีการประชุม ปญั หา คณะกรรมการระดบั อ�ำ เภอ/ชมุ ชนท่ีมตี วั แทน จากหลายภาคส่วน ร่วมกนั วางแผน ออก มาตรการและแก้ไขปญั หา ส่วนร่วม ร่วมดำ�เนินการโดยการ  ชมุ ชนร่วมวางแผน รว่ ม (Community มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ชุ ม ช น ด�ำ เนินการ เชน่ มาตรการ participation) ภาคประชาชนในพ้ืนท่ีและ ทางสังคม การบังคบั ใช้ ภาคเี ครอื ขา่ ย กฎหมาย การปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภัย สดุ คุ้ม ประเมนิ ประสทิ ธผิ ล ความคมุ้ คา่  ประเมินประสิทธิผล (Cost effective) ของมาตรการท่ดี �ำ เนนิ งาน มาตรการทีด่ ำ�เนินงาน เชน่ อัตราการสวมหมวก นิรภยั สงู เพิม่ ข้นึ หรือไม,่ จ�ำ นวนครง้ั , จ�ำ นวนผบู้ าดเจบ็ , ผู้เสียชวี ิต ลดลงหรอื ไม่

คูม่ อื การจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวยั ทำ�งาน” แบบบรู ณาการ 2558 3-31 เอกสารอ้างอิง สวุ ฒั น์ วริ ยิ ะพงษส์ กุ จิ ประสทิ ธชิ ยั มงั่ จติ และสริ ชิ ยั นามทรรศนยี ์ (บรรณาธกิ าร). ระบบสุขภาพอำ�เภอ District Health System ฉบับขับเคล่ือน ประเทศ. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2556. องคก์ ารอนามยั โลก. AUDIT แบบประเมนิ ปญั หาการดมื่ สรุ า แนวปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั สถานพยาบาลปฐมภูมิ. ฉบบั ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ 2. บรษิ ทั ทานตะวนั เปเปอร์ จ�ำ กดั ; 2552. Karolinska Institute, WHO Collaborating Center on Community Safety Promotion. Principle for safe Community. Sweden. (เอกสารประกอบการประชมุ การจดั การขอ้ มลู โดยนายแพทยอ์ นชุ า เศรษฐเสถียร โรงแรม TK palace วันที่ 26 สิงหาคม 2554)

3-32 คู่มอื การจัดบรกิ ารสขุ ภาพ “กล่มุ วยั ท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558

คูม่ ือการจดั บรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 4-1 4 การเฝ้าระวงั ติดตาม และประเมินผล ภาพท่ี 4ก ความเชื่อมโยงเป้าหมาย ผลลัพธ์การดำ�เนินงานด้านสุขภาพ กลมุ่ วยั ท�ำ งานในแต่ละระดับ

4-2 คู่มือการจดั บริการสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 ตารางท่ี 4ก กลมุ่ ขอ้ มลู ทคี่ วรใชใ้ นการเฝา้ ระวงั ตดิ ตามการด�ำ เนนิ งานในแตล่ ะ ระดับ ขอ้ มูล ต�ำ บล อ�ำ เภอ จงั หวดั เขต สว่ นกลาง แหลง่ ข้อมูล โรค : ป่วยใหม่ ป่วยใน ตาย / / / / 43-ncd chr/ ป่วยตาย ICD10/ใบ มรณบัตร ปจั จัยเสี่ยง : อว้ น / / / / / 43-ncd screen พฤตกิ รรมเส่ยี ง: การบริโภค / / NHES BRFSS เกลือ ออกก�ำ ลังกายนอ้ ย บรโิ ภคผกั ผลไม้น้อย ไม่สวม หมวกกันน็อก ไม่คาดเข็มขดั นริ ภยั เมาแลว้ ขบั พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิด / // / IS อุบตั ิเหตุ ความครอบคลุมการคัดกรอง / / / / 43-ncd screen ผู้ปว่ ยเบาหวานทคี่ วบคมุ / / / / 43-ncd chr, ระดับน้ําตาลในเลือดได้ดี Lab, ผปู้ ่วยความดันโลหิตสงู ที่ ควบคุมความดันโลหติ ไดด้ ี Med ResNet รพช. รพท.รพศ.ผา่ นประเมนิ / จากการประเมนิ รบั รองคลนิ ิก NCD คุณภาพ รบั รองโดย สคร. ผู้ที่มคี วามเส่ยี งสงู มาก / แบบบันทึกขอ้ มลู ต่อ CVD Risk ได้รับการ ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมอยา่ ง เข้มข้นและ/หรือได้รบั ยาใน การรกั ษา การประสบอนั ตรายหรอื / / กองทุนเงนิ ทดแทน เจ็บป่วยเน่ืองจากการทำ�งาน สำ�นกั งานประกัน และโรคจากการท�ำ งาน สังคม, ส�ำ นกั ความ ปลอดภยั แรงงาน ฐานข้อมูลโรงงาน / / กรมโรงงาน อตุ สาหกรรม

คู่มอื การจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวัยทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 4-3 ภาพท่ี 4ข กรอบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำ�งาน ในภาพรวม ปี 2558 การตดิ ตามประเมนิ ผลโดยจังหวัด คณะทำ�งานติดตามประเมินผลของจังหวัด ลงประเมินติดตามแผนสุขภาพ กลมุ่ วยั ท�ำ งานของจงั หวดั โดยเนน้ คณุ ภาพของการด�ำ เนนิ งานคลนิ กิ NCD คณุ ภาพ ต�ำ บลจดั การสุขภาพและผลลัพธก์ ารด�ำ เนินงาน การติดตามประเมินผลโดยเขต ตดิ ตามความเชอื่ มโยงของระบบ ผลลัพธ์การดำ�เนินงานโรคและปัจจัยเสย่ี ง ในภาพเขต

4-4 คู่มือการจัดบรกิ ารสุขภาพ “กลุ่มวยั ทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 การติดตามประเมนิ ผลโดยสว่ นกลาง ระดบั จงั หวดั 1. กรมควบคมุ โรค โดย สคร. และส�ำ นกั โรคไมต่ ดิ ตอ่ ลงประเมนิ คลนิ กิ NCD คณุ ภาพ 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน และสำ�นกั งานสนบั สนุนบริการสขุ ภาพเขต 12 เขต ตดิ ตามแลกเปลย่ี น เรียนรู้และประเมินกระบวนการและระดับการพัฒนาตำ�บลจัดการ สขุ ภาพ 3. ตดิ ตามผลลพั ธก์ ารดำ�เนินงานโรคและปจั จยั เส่ยี งในภาพประเทศ ระดบั เขต 1. คณะผปู้ ระเมนิ ภายนอก รว่ มกบั กรมควบคมุ โรค ประเมนิ ผล แผนพฒั นา สุขภาพกลุ่มวยั ทำ�งานปี 2558 2. คณะผู้ประเมินระดับเขต ติดตามผลการดำ�เนินงานและการบริหาร จัดการระดับเขตโดยใช้กรอบ SIIIM : Structure, Information, Intervention/InnovationIntegration, Monitoring&Evaluation

ค่มู ือการจดั บริการสขุ ภาพ “กลุ่มวยั ทำ�งาน” แบบบูรณาการ 2558 คณะทำ�งาน กรมควบคมุ โรค 1. นายแพทย์ภานวุ ัฒน์ ปานเกตุ สำ�นกั โรคไมต่ ิดตอ่ 2. แพทย์หญงิ จุรพี ร คงประเสรฐิ สำ�นักโรคไม่ตดิ ตอ่ 3. ผศ.ดร.ศุภวรรณ มโนสุนทร สำ�นักโรคไม่ตดิ ต่อ 4. นางศรีเพ็ญ สวสั ดิมงคล ส�ำ นกั โรคไม่ติดต่อ 5. นางนิตยา พันธเุ วทย์ ส�ำ นักโรคไมต่ ดิ ตอ่ 6. แพทย์หญิงสุมนี วชั รสนิ ธุ์ สำ�นกั โรคไมต่ ิดตอ่ 7. นางณัฐธวิ รรณ พนั ธ์มุง ส�ำ นักโรคไมต่ ดิ ตอ่ 8. นายขจรศกั ด ์ิ จนั ทรพ์ าณชิ ย ์ ส�ำ นกั โรคไม่ติดตอ่ 9. นางสาวสุพัณณา เจริญกุล สำ�นักโรคไม่ติดต่อ 10. นางสาวหทัยชนก ไชยวรรณ ส�ำ นกั โรคไมต่ ิดต่อ 11. นางสาวลนิ ดา จำ�ปาแก้ว สำ�นักโรคไม่ตดิ ตอ่ 12. นางสาววภิ ารัตน์ ค�ำ ภา ส�ำ นักโรคไมต่ ดิ ต่อ 13. นางสาวเพญ็ ศรี อนันตกลุ นธี ส�ำ นักโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม 14. ร.อ.หญงิ วิชชุดา โลจนานนท์ สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพ และสงิ่ แวดล้อม 15. นางสาวรุ้งประกาย วิฤทธ์ิชยั สำ�นกั โรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดล้อม 16. นายอิทธเิ ดช ชัยชนะ สำ�นักงานคณะกรรมการควบคุม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 17. แพทย์หญิงปานทิพย์ โชติเบญจมาภรณ ์ สำ�นกั ควบคุมการบริโภคยาสูบ 18. นางวไิ ลลักษณ ์ หฤหรรษพงศ ์ สำ�นักควบคุมการบริโภคยาสบู 19. นางสาวดวงกมล ลมื จันทร์ สำ�นักควบคมุ การบริโภคยาสูบ

คูม่ ือการจัดบริการสขุ ภาพ “กลมุ่ วยั ท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 กรมอนามัย 1. นางณัฐวรรณ เชาวนล์ ิลิตกุล ส�ำ นกั โภชนาการ 2. นางกลุ พร สุขมุ าลตระกลู ส�ำ นักโภชนาการ 3. นางกานต์ณชั ชา สรอ้ ยเพชร สำ�นกั โภชนาการ 4. นางนงพะงา ศวิ านวุ ัฒน์ กองออกกำ�ลงั กายเพื่อสขุ ภาพ 5. นายชยั รชั ต์ จนั ทรต์ รี กองออกก�ำ ลงั กายเพื่อสขุ ภาพ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ 1. นางสาวสธุ าทิพย์ จนั ทรกั ษ์ กองสนบั สนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน 2. นางสาวรตี สงวนรตั น์ กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ 3. นางนาตยา เกรยี งชัยพฤกษ ์ กองสุขศกึ ษา 4. นางสาวนวลจันทร์ ศกั ดิ์ธนากูล กองสขุ ศึกษา กรมสุขภาพจิต 1. นางอรวรรณ ดวงจนั ทร์ ส�ำ นกั สง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ 2. นางสาวพัชรนิ คุณค้าํ ชู ส�ำ นกั สง่ เสรมิ และพฒั นาสขุ ภาพจติ

คู่มือการจัดบริการสุขภาพ “กลมุ่ วัยท�ำ งาน” แบบบรู ณาการ 2558 รปู กิจกรรมการประชมุ บูรณาการกลุม่ วัยทำ�งาน