Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Published by napapon.p, 2020-06-24 01:02:36

Description: การเขียนเบื้องต้นและการเขียนแบบก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

การเขียนแบบเบ้อื งตน้ และเขียนแบบกอ่ สรา้ งอาคาร

งานเขยี นแบบ เปน็ การถ่ายทอดความคดิ สรา้ งสรรคด์ ้วยการเขียนหรือวาดเสน้ รปู ภาพ สัญลักษณ์ และ รายการประกอบแบบ ลงบนกระดาษเขยี นแบบหรือคอมพิวเตอร์ เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางให้ การสร้าง หรอื การซอ่ มแซมชิน้ งานตา่ ง ๆ เปน็ ไปอย่างถกู ต้อง โดยแบบจะแสดงรายละเอียดหรือขอ้ กาหนด ของงานที่ช่างหรอื ฎบิ ตั งิ านตอ้ งเขา้ ใจตรงกันกบั ผู้ออกแบบ สามารถอา่ นแบบไดถ้ ูกตอ้ งและปฏิบตั ิ ตามรปู แบบรายการทก่ี าหนดไว้ได้ ลักษณะของแบบ แบบโดยท่วั ไปมี 3 ลกั ษณะ ได้แก่ รูปแปลนและรูปดา้ น รูปตัดและรูปขยาย

การเขยี นภาพไอโซเมตรกิ การเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกเปน็ ภาพลักษณะ สามมติ อิ กี แบบหน่งึ ของการเขียนแบบ มี ลักษณะเป็นภาพท่ีมองเหน็ จากมมุ ท่ีกาหนดเป็น จดุ เรม่ิ ตน้ การสร้างภาพไอโซเมตริกน้จี ึงเปน็ การวัดเอาขนาดกวา้ ง ยาว ของดา้ นตา่ ง ๆ มา เป็นขนาดในภาพนั้นเอง การเขียนแบบภาพไอ โซเมตรกิ นจ้ี ะแสดงการเขยี นโดยใช้มุมทง้ั สอง ข้างเท่ากัน คอื เป็นมมุ 30 องศา โดยวัดจาก เส้นระนาบ

ลาดับข้นั ตอนการเขียนแบบภาพไอโซเมตรกิ - ขีดเส้นระนาบ - ขดี เส้นตั้งฉากและ 30 องศา ซา้ ยและขวา - ขีดเส้นต้ังฉากและ 30 องศา ซา้ ยและขวา

ขอ้ สงั เกตในการเขยี นแบบภาพไอโซเมตริก 1. มมุ ทีใ่ ชใ้ นการเขยี นแบบภาพไอโซเมตริกนี้จะมีเพียง 2 มมุ เทา่ นั้นคอื มุม 30 และ 90 กล่าวคือ เส้นทข่ี ีดทามมุ ด้านซา้ ยและขวา จะทามมุ 30 องศา สว่ นเส้นทข่ี ีดข้ึนหรือขดี ลงจะเป็นมมุ 90 องศา 2. เสน้ ทขี่ ดี จะเป็นเส้นขนานกันโดยตลอดคืนเสน้ ทท่ี ามุมด้านซ้ายก็จะ ขนานกัน เส้นทล่ี ากด้านขวากจะขนานกนั และเสน้ ต้งั ฉากกจ็ ะขนานกนั 3. การเขยี นเส้นระนาบเสน้ แรกควรให้อยดู่ ้านล่างเพราะภาพท่เี ขียนจะอยู่ ดา้ นบนและควรคานงึ ถึงความสูงของภาพทจ่ี ะเขียนดว้ ยเพ่ือไมใ่ หภ้ าพทเี่ ขียน ล้นกรอบกระดาษเขียนแบบ 4. กอ่ นที่จะเขียนเส้นตัง้ ฉากจะตอ้ งดูกอ่ นวา่ ภาพเอยี งไปดา้ นใด หากภาพ ทจ่ี ะเขยี นเอียงดา้ นซ้ายเสน้ ตัง้ ฉากจะต้องอยู่ดา้ นขวา เปน็ ต้น

การเขียนแบบภาพออบลคิ รปู ออบลิคเปน็ แบบภาพสามมติ ิอีกชนดิ หนงึ่ มลี กั ษณะคลา้ ยกับรปู ไอโซเมตริก สว่ นท่ี แตกต่างกนั คอื ภาพออบลิคจะแสดงด้านหน้า ตรงๆ สว่ นดา้ นขา้ งจะทามุม 45 องศา เพียง ด้านเดียว คอื ด้านขวามอื เนอ่ื งจากภาพออบ ลิคแสดงด้านหน้าไดช้ ดั เจนดี จงึ นิยมเขยี นภาพ ท่มี รี ายละเอยี ดดา้ นหนา้ มาก ๆ

ลาดบั ขนั้ การเขียนแบบภาพออบลคิ - ให้เขียนภาพดา้ นหน้ากอ่ น - ขีดเส้นด้านข้าง 45 องศา - ขีดเส้นตง้ั ฉากและเสน้ ระนาบให้ครบ - จะไดภ้ าพออบลคิ

ขอ้ สงั เกตในการเขียนแบบภาพออบลิค 1. มุมทใ่ี ชใ้ นการเขยี นแบบภาพออบลคิ จะมีเพียง 2 มมุ เทา่ น้นั คอื 45, 90 เส้นที่ขีดทามุม ด้านขวามอื จะเป็นมุม 45 องศา ส่วนเส้นที่ลากขึน้ หรอื ลากลงจะเปน็ มุม 90 องศา 2. เสน้ ท่ีขีดจะเปน็ เสน้ ขนานกนั โดยตลอดคอื เส้นที่ลากทามุมด้านขวาก็จะขนานกนั กับ ดา้ นขวา เสน้ ท่ีลากดา้ นซ้ายเป็นเส้นระนาบ และเส้นทีล่ ากขนึ้ หรือลงก็จะขนานกัน 3. การเขียนเสน้ ระนาบเส้นแรกควรใหอ้ ยดู่ า้ นลา่ งเพราะภาพท่ีเขียนจะอยดู่ า้ นบนและควร คานงึ ถึงความสูงของภาพดว้ ย 4. ก่อนทจี่ ะเขยี นเส้นต้งั ฉากจะตอ้ งคานงึ ถงึ ความยาวดา้ นหน้าของภาพดว้ ย

ความรูเบอ้ื งตนเรื่องโครงสรางอาคาร ประเภทของแบบก่อสรา้ ง – แบบก่อสร้างทางสถาปตั ยกรรม – แบบวิศวกรรม • แบบวิศวกรรมโครงสราง) • แบบวิศวกรรมไฟฟา • แบบวิศวกรรมสุขาภบิ าล

ความรูเบ้อื งตนเร่ืองโครงสรางอาคาร ส่วนประกอบของโครงสรา้ งใต้ดิน ฐานราก คอื โครงสร้างทอี่ ยู่ลา่ งสดุ ของอาคาร มีหน้าท่ีรับน้าหนกั ทัง้ หมดของอาคาร และทาการถ่ายเทน้าหนักสดู่ นิ และ/หรอื เสาเขม็ • เสาตอม่อ คอื เป็นเสาที่ติดอยกู่ ับฐานราก โดยทั่วไปเสาตอมอ่ จะจม อย่ใู ต้ ดนิ มีหนา้ ท่รี ับน้าหนกั ในแนวดง่ิ ของอาคารและถ่ายเทน้าหนัก ลงสฐู่ านราก

โครงสร้างอาคารที่อยเู่ หนอื ดนิ เสา ทาหนา้ ทเ่ี ป็นแกนรบั นาหนกั ในแนวด่ิงจากโครงสรา้ งส๋วน อนื่ ๆ แลว้ ถ่ายน้าหนัก ทั้งหมดลงฐานรากนิยมใชท้ ้งั เสาไม้ และเสาคอนกรีต คาน โครงสรา้ งทว่ี างตัวในแนวระดับ มี ฐานรากแผ่ปพู รม ฐานรากแพ หน้าที่ถ่ายนา้ หนกั ที่ได้ รบั ลงสเู่ สาแบ่งได้เป็น คาน คอดนิ (Ground Beam) เป็นคานท่อี ยู่ชน้ั ลา่ งสดุ มหี น้า ที่รบั น้าหนักพืน้ และผนงั ยดึ ตนี เสา และ เป็นกาแพงกนั ดนิ คานทั่วไป (Beam) เป็นคานที่ อยใู่ นแตล่ ะชัน้ เหนือชัน้ ลา่ ง สุดขึ้นไป มีหนา้ ท่ี ถา่ ยนา้ หนกั ลงสเู่ สา คานหลงั คา (Roof Beam) เป็นคานท่ีอยู่บนสดุ มหี น้าทรี่ ับ นา้ หนกั ของโครง หลงั คา และยึดหวั เสาให้มัน่ คง

พน้ื (Slab) โครงสร้างท่ีวางตัวในแนวระดบั มี หนา้ ทถ่ี ่ายนา้ หนกั ท่ไี ด้ รับลงสู่เสาแบ่งได้เปน็ พื้นเป็นส่วนของโครงสรา้ งทร่ี บั น้าหนักจาก การอยู่อาศัย ได้แก่ น้าหนกั จากผอู้ ยู่อาศัย, เครื่องเรอื น, สมั ภาระตา่ งๆ เป็นต้น แลว้ ถา่ ย ลงสูเ่ สาโดยผ่านคาน พื้นเปน็ โครงสร้างที่ นามาบอกลกั ษณะของอาคาร เช่น อาคาร 2 ชัน้ หมายถงึ อาคารที่มีพน้ื 2 ช้ัน

งานเขียนแบบโยธา 1. ผงั พ้ืน 2. รปู ตัด 3. รูปด้าน 4. ผังโครงสร้าง 5. แบบขยายรายละเอียดงานสถาปัตยกรรม 6. แบบขยายรายละเอียดงานวศิ วกรรม 7. งานสขุ าภบิ าล 8. แบบไฟฟ้า 9. ผังบริเวณและผงั ทีต่ ง้ั 10. ตารางรายการประกอบแบบ

แปลนพ้ืนหรอื ผงั พื้น (Floor Plan) หมายถึง แบบรูปตดั ในทางราบหรือในทาง นอนที่แสดงรายละเอยี ดเกี่ยวกับรูปร่าง ขนาด การจดั ส่วนพืน้ ที่ใช้สอย แสดงออกมาในลักษณะสัญลกั ษณ์ เสน คายอ ตวั อกั ษร และ มาตราส่วน ประกอบกนั เพ่ือส่ือความหมาย

หลังคา คอื ส่วนทีอ่ ยบู่ นสุดของ อาคาร ทาหน้าทกี่ นั แดด ลม และฝนให้กบั ตวั อาคาร • วสั ดุทน่ี ามาใช้มุงหลงั คา ได้แก่ กระเบอื้ ง, สงั กะสี เป็นต้น • โครงสรา้ งโครงหลงั คา ได้แก่ ไม,้ เหลก็ เป็นต้น • ลกั ษณะของหลงั รปู แบบตา่ งๆ - หลังคาทรงจ่วั - หลงั คาเพงิ แหงน - หลงั คาแบน - หลงั คาทรงปนั้ หยา

รายละเอียดที่ไดจ้ ากผงั พ้นื • มาตราส่วน • การวางทิศทางของตวั อาคาร • ตาแหน่งของเสา • ขนาดและขอบเขตของผงั พน้ื • ตาแหน่งผงั ประตู หนา้ ต่าง • การกาหนดตาแหน่งของห้องตา่ งๆ • ระดบั ของอาคาร • แนวแสดงเส้นตัด

รปู ตัด (Section) แสดงให้เห็นถงึ โครงสร้างภายในอาคารใน แนวด่ิง เช่น ความสงู ตงั้ แต่ ใต้ดนิ จนถึงชน้ั บนสดุ ไดแ้ ก่ ระดับของฐานราก พ้ืนชั้น ล่าง พน้ื ชน้ั ท่ีสอง ฝ้าเพดาน หลงั คานยิ มแสดงอย่างนอ้ ย 2 รูป ในแนวตัดท่ีตง้ั ฉาก กัน

ข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการอ่านแบบรูปตดั – ความกวา้ งของตวั อาคาร – ความสูงของตวั อาคารทร่ี ะดับต่างๆ – ลกั ษณะโครงสรา้ งของอาคาร – ขนาดและชนิดของวสั ดกุ อ่ สร้างที่ใช้

รูปด้าน (Elevation) เป็นรปู ที่ เข้าใจความหมายได้ง่าย ทส่ี ดุ เนอื่ งจากเป็นภาพที่ เคยชนิ ตอ่ สายตาใน ชวี ิตประจาวนั ซ่ึงกค็ อื รูปท่ปี รากฏในแนวด่งิ ของ อาคาร แสดงรูปร่าง รายละเอยี ด ภายนอก โดยรอบ

แปลนโครงสร้างหรือผัง โครงสร้าง หมายถงึ แบบท่ีแสดง ขนาด รูปร่าง พน้ื ที่ และ ตาแหน่ง ของการจดั วาง โครงสรา้ ง ในแนวนอน หรือ แนวราบ ที่มี ความสัมพนั ธ์เกย่ี วเน่ือง กับแปลนพ้ืนที่ของแตล่ ะ ชนั้ เริ่มตั้งแตส่ ่วน ทอี่ ยู่ ใตด้ นิ ขนึ้ มาจนถึงส่วนท่ี อยเู่ หนือดิน

แบบขยายรายละเอียดงาน สถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) หมายถึงแบบ ทแี่ สดงรายละเอยี ดบาง จุดท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั งานสถาปัตยกรรม ซึง่ จะไม่เกยี่ วขอ้ ง กบั ความม่ันคง แข็งแรง แตจ่ ะเก่ียวข้องในเรือ่ งความ สวยความงาม และ ประโยชนใ์ ช้สอย ท้งั ภายในและภายนอกอาคาร รวมถึง การเลอื กวสั ดุในการ กอ่ สร้าง แบบขยายรายละเอียดสถาปัตยกรรม Tuesday, August 19, 14

แบบขยายรายละเอียดงานสถาปตั ยกรรม (Architectural Drawing)

แบบขยายรายละเอียดงานวศิ วกรรม (Engineering Drawing) หมายถึงแบบท่ี แสดงรายละเอียดบางจุดที่เกยี่ วข้องกบั ความม่นั คงแขง็ แรง ท่ี ออกแบบและ กาหนดขึน้ โดยวศิ วกรโครงสรา้ ง เพอื่ แสดงรายละเอียดในส่วนท่เี ป็นงาน คอนกรีตเสรมิ เหลก็ และงานโครงสรา้ งเหลก็

งานสขุ าภิบาล (Sanitary Drawing) หมายถงึ งานที่แสดง รายละเอียดระบบท่อ ภายในและ ภายนอกอาคาร ได้แก่ ทอ่ นา้ ประปา ท่อน้าดี ท่อน้าทิง้ ทอ่ โสโครก ท่อ อากาศ รวมไปถงึ การกาจดั หรือบาบัด นา้ เสีย ไดแ้ ก่ บอ่ ส้วม บ่อพักนา้ ทิ้ง ราง ระบายน้า บอ่ ดกั ไขมนั และการ นานา้ เสยี ที่ผา่ นการบาบัดแลว้ ไป ปล่อยทิง้ ยังจุด ท่ีเหมาะสม

รายการประกอบแบบ ตารางรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม และวศิ วกรรม • รายการประกอบแบบกอ่ สรา้ ง – ขอ้ กาหนดและขอบเขตท่ัวไป – สถานที่กอ่ สร้าง – รายละเอียดด้านวัสดุ เช่น คอนกรตี , เหล็กเสริมคอนกรีต เป็น ต้น

ส่วนประกอบของแบบโครงสรา้ ง ประกอบดว้ ย – ผังโครงสรา้ ง • ผงั ฐานราก • ผงั คาน-พน้ื ช้ันท่ี 1,2,3.. • ผงั โครงหลงั คา – แบบขยายรายละเอยี ดทางวศิ วกรรม – ตารางรายละเอยี ดทางวิศวกรรมต่างๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook